Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 10

คำอธิบำยและ

กำรวิเครำะห์ของฝ่ำยจัดกำร
ไตรมำสที่ 3 ปี 2565
คำอธิบำยและ
กำรวิเครำะห์ของฝ่ำยจัดกำร
สำหรับไตรมำสที่ 1 ปี 2565

หน้า 0
บทสรุปผู้บริหาร

อุ ต สาหกรรมการท่ อ งเที่ ย วมี แนวโน้ ม ฟื้ นตัวแข็ ง แกร่ง นักท่องเที่ยวจากอาเซียน ยุโรป และเอเชียใต้ มีสดั ส่วนร้อ ยละ
แม้ว่าความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจจากไตรมาสที่ผ่านๆ 47 ร้อ ยละ 16 และร้อ ยละ 11 ของนั ก ท่ อ งเที่ ย วทั้ง หมด
มายังคงอยู่ ตามลาดับ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (“ททท”) ยังคงส่ง
การผ่อนคลายมาตรการจากัดการเดินทางเนื่องจากโควิด -19 สัญญาณเชื่อมั่นว่าจานวนนักท่องเที่ยวจะถึง 10 ล้านคนในปี นี ้
ยั ง คงทยอยเกิ ด ขึ ้น ทั่ ว โลก ท าให้ใ นไตรมาสที่ 3 ปี 2565 สอดคล้องกับคาดการณ์ของธนาคารแห่งประเทศไทย (“ธปท”)
ปริมาณการขนส่งด้านผูโ้ ดยสาร (“RPK”) เฉลี่ยทั่วโลกเพิ่มเป็ น ที่ 9.5 ล้านคน ทัง้ นี ้ การท่องเที่ยวภายในประเทศเติบโตกว่า
ร้อยละ 741 เทียบกับช่วงเดียวกันในปี 2562 (“ช่วงก่อนโควิด- ร้อยละ 10 เทียบกับไตรมาสก่อน มาอยู่ที่ 56.1 ล้านคน-ครัง้
19”) สะท้อนถึงอุปสงค์การท่องเที่ยวคงค้างและความมั่นใจ บางส่วนได้รบั อานิสงค์จากแคมเปญกระตุน้ การท่องเที่ยวของ
ของผูโ้ ดยสารที่ปรับตัวดีขนึ ้ แม้การเดินทางในแถบทวีปเอเชีย ภาครัฐ จากแนวโน้มดังกล่าว ทัง้ ภาครัฐและเอกชนมีมุมมอง
แปซิฟิคยังคงตามหลังภูมิภาคอื่น จากการที่ประเทศจีนยังคง สอดคล้องกันว่าการท่องเที่ยวและการบริโภคภายในประเทศ
มาตรการโควิดเป็ นศูนย์ ทัง้ นี ้ ราคานา้ มันดิบเบรนท์เฉลี่ยอยู่ที่ จะเป็ นปั จจัยสาคัญสาหรับการเติบโตของประเทศไทยในปี หน้า
97.5 ดอลลาร์สหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 13 จากไตรมาสก่อน แต่ ผลประกอบการของบมจ. เอเชี ย เอวิ เ อชั่ น (“บริษัท ”)
ความกัง วลด้า นอุป ทานน ้า มัน ยัง คงไม่ ค ลี่ ค ลายเนื่ อ งจาก และบจ. ไทยแอร์เอเชีย ฟื้ นตัวชัดเจน แต่ยังคงถูกกดดัน
สงครามระหว่างรัสเซียและยูเครนที่ยงั ดาเนินต่อ จากขาดทุนอัตราแลกเปลี่ยนที่ยงั ไม่รับรู้
กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (“IMF”) คาดการณ์การเติบโต บจ. ไทยแอร์เอเชียขนส่งผูโ้ ดยสาร 2.75 ล้านราย ในไตรมาสนี ้
ของเศรษฐกิจโลกในปี นีท้ ี่รอ้ ยละ 3.2 เทียบกับปี ก่อน อย่างไร โดยคงความเป็ น ผู้น าในตลาดภายในประเทศจากจ านวน
ก็ดี นโยบายทางการเงินที่ดาเนินการโดยธนาคารกลางทั่วโลก เครื่อ งบิ น ที่ มากกว่า คู่แ ข่ง และได้ข ยายเส้น ทางบิ น ระหว่าง
เพื่อควบคุมระดับอัตราเงินเฟ้ออาจทาให้เกิดเศรษฐกิจชะลอ ประเทศอย่างต่อเนื่องทัง้ ในตลาดอาเซียนและเอเชียใต้ ทาให้
ตัวได้ในช่วงระยะสัน้ จากนี ้ โดยเฉพาะเศรษฐกิจของประเทศ ปริมาณที่น่งั รวมในไตรมาสนี ้ ฟื ้ นตัวได้รอ้ ยละ 48 ของช่วงก่อน
สหรัฐอเมริกาและกลุม่ สหภาพยุโรป ทัง้ นี ้ ในไตรมาสนี ้ ค่าเงิน โควิด-19 โดยบริษัทรายงานรายได้รวมอยู่ที่ 4,892.3 ล้านบาท
ดอลลาร์สหรัฐฯ ได้ปรับตัวแข็งค่าขึน้ สูงสุดในรอบ 20 ปี ทาให้ เพิ่มขึน้ ร้อยละ 969 เทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน และร้อย
ค่าเงินสกุลอื่นๆ อ่อนค่าลง รวมทัง้ ค่าเงินบาทที่อ่อนค่าจาก ละ 76 เทียบกับไตรมาสก่อน จากอัตราขนส่งผูโ้ ดยสารที่สงู ถึง
35.5 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐฯ ในไตรมาสก่อน มาอยู่ที่ 38.1 ร้อยละ 87 บริษัทยังคงให้ความสาคัญกับการบริหารต้นทุน ทา
บาทต่อดอลลาร์สหรัฐฯ ในไตรมาสนี ้ ซึ่งลดทอนผลประโยชน์ ให้ตน้ ทุนต่อปริมาณการผลิตด้านผูโ้ ดยสาร (“CASK”) ลดลง
ที่ได้จากราคานา้ มันที่ปรับตัวลงมา ร้อยละ 18 จากไตรมาสก่อน มาอยู่ที่ 2.62 บาท ในไตรมาสนี ้
อย่างไรก็ดี บริษัทยังมีผลขาดทุนสุทธิอยูท่ ี่ (4,050.2) ล้านบาท
นั กท่องเที่ยวเดินทางเข้าประเทศไทยสูงกว่า 1 ล้านคน
แต่ ห ากไม่ ร วมผลขาดทุน จากอัต ราแลกเปลี่ ย นและก าไร/
ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม ส่งผลบวกต่ออุตสาหกรรมการบิน
ขาดทุนจากตราสารอนุพนั ธ์ บริษัทมีขาดทุนก่อนดอกเบีย้ ภาษี
และการบริการ
ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจาหน่าย (“EBITDA”) ลดลงต่อเนื่อง
นักท่องเที่ยวในไตรมาสที่ 3 ของปี นี ้ มีจานวน 3.61 ล้านคน
มาอยูท่ ี่ (601.1) ล้านบาท
เพิ่มขึน้ จาก 1.58 ล้านคน ในไตรมาสก่อน หลังจากที่มาตรการ
Thailand Pass ถู ก ยกเลิ ก ตั้ ง แต่ ต ้ น เดื อ นกรกฎาคม โดย

1
สมาคมขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ หรือ IATA

หน้า 1
คงเป้ าหมายผู้ โ ดยสาร 10 ล้ า นราย หนุ น ด้ ว ยจ านวน เดือนของปี 2565 บจ. ไทยแอร์เอเชีย ขนส่งผูโ้ ดยสารรวม 5.89
เครื่ อ งบิ น ที่ ป ฏิ บั ติ ก ารบิ น และความถี่ เ ส้ น ทางบิ น ที่ ล้า นราย และใช้เ ครื่อ งบิ น ปฏิ บัติ ก ารบิ น ทั้ง สิน้ 35 ลา จาก
เพิ่มขึน้ จานวนฝูงบินรวม 58 ลา เครื่องบินที่ยงั ไม่ได้ปฏิบัติการบินที่
ในไตรมาสนี ้ กลุม่ สายการบินแอร์เอเชียได้รบั รางวัล “สายการ เหลือ มีแผนรองรับการท่องเที่ยวในไตรมาสถัดๆ ไป รวมถึง
บินราคาประหยัดที่ดีที่สดุ ในโลก” จาก Skytrax ติดต่อกันเป็ นปี เส้น ทางบิ น ไปยัง เมื อ งฟุกุโอกะ ธากา และไทเปในไตรมาส
ที่ 13 อี ก ทั้ง บริ ษั ท ยัง ได้ถูก คัด เลื อ กให้อ ยู่ใ นดัช นี หุ้น ยั่ง ยื น สุด ท้า ยของปี นี ้ โดยบริ ษั ท ยัง คงเป้ า หมายขนส่ง ผู้โ ดยสาร
(“THSI”) จากตลาดหลักทรัพย์ฯ ติดต่อกันเป็ นปี ที่ 4 สะท้อนถึง จ านวน 10 ล้า นราย จากช่ ว งไฮซี ซ่ ัน และการเพิ่ ม เครื่อ งบิน
การให้ความสาคัญต่อผูม้ ีสว่ นได้เสียของบริษัท ทัง้ นี ้ ในช่วง 9 ปฏิบตั ิการบินในช่วงที่เหลือของปี นี

สรุปผลการดาเนินงาน

บมจ. เอเชีย เอวิเอชั่น เป็ นผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ใน บจ. ไทยแอร์เอเชีย ซึง่ ประกอบธุรกิจสายการบินไทยแอร์เอเชีย โดยถือหุน้ ร้อยละ 100
ผลประกอบการของ บมจ. เอเชีย เอวิเอชั่น สาหรับงวดสามเดือนและงวดเก้าเดือนสิน้ สุดวันที่ 30 กันยายน 2564 และ
2565 เป็ นดังนี้:
รายได้
ในช่วงระหว่างวันที่ 12 กรกฎาคม 2564 ถึง 2 กันยายน 2564 บจ. ไทยแอร์เอเชียได้หยุดให้บริการการบินชั่วคราว เพื่อให้ความ
ร่วมมือในการควบคุมจานวนผูต้ ิดเชือ้ โควิด-19 ที่เพิ่มสูงขึน้ ในช่วงดังกล่าว
รายได้รวมในไตรมาสนีอ้ ยู่ที่ 4,892.3 ล้านบาท เพิ่มขึน้ ร้อยละ 969 เทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน และยังเติบโตร้อยละ 76 เมื่อ
เทียบกับไตรมาสก่อน จากแนวโน้มการท่องเที่ยวที่ฟื้นตัวต่อเนื่องมาจากไตรมาสที่แล้ว บจ. ไทยแอร์เอเชีย ได้ให้บริการที่น่งั รวม
3.16 ล้า นที่ น่ ัง และมี อัต ราขนส่ง ผู้โ ดยสารอยู่ที่ ร ้อ ยละ 87 ซึ่ ง สูง ที่ สุด นับ ตั้ง แต่ ไ ตรมาสที่ 1 ปี 2562 ทั้ง นี ้ จ านวนเที่ ย วบิ น
ภายในประเทศกลับมาร้อยละ 62 ของช่วงก่อนโควิด-19 ตอกยา้ ความเป็ นผูน้ าของบจ. ไทยแอร์เอเชีย ในตลาดภายในประเทศ ใน
อีกด้านหนึ่ง จานวนเที่ยวบินระหว่างประเทศที่ไม่รวมประเทศจี นฟื ้ นตัวร้อยละ 43 ของช่วงก่อนโควิด -19 จากการเพิ่ มจานวน
เที่ยวบินในภูมิภาคอาเซียนและเอเชียใต้ โดยเฉพาะในประเทศเวียดนาม มาเลเซีย สิงคโปร์ และอินเดีย ทาให้ปริมาณการผลิตด้าน
ผูโ้ ดยสาร (“ASK”) เพิ่มขึน้ เป็ น 2,863 ล้านที่น่งั -กม. หรือเติบโตร้อยละ 2,791 เทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน และร้อยละ 58 เทียบ
กับไตรมาสก่อน ในขณะที่อตั ราการตรงต่อเวลายังคงสูงที่ระดับร้อยละ 92
 รายได้จากการขายและบริการ อยู่ที่ 4,811.2 ล้านบาท เพิ่มขึน้ ร้อยละ 2,733 เทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน และร้อย
ละ 79 เทียบกับไตรมาสก่อน จากการขนส่งผูโ้ ดยสารจานวน 2.75 ล้านราย และค่าโดยสารเฉลี่ยที่เพิ่มขึน้ ร้อยละ 7 จาก
ไตรมาสก่อน มาอยู่ที่ 1,404 บาท ทัง้ นี ้ บจ. ไทยแอร์เอเชียใช้เครื่องบินปฏิบตั ิการบินรวม 35 ลา ในไตรมาสนี ้ เพิ่มขึน้ จาก
25 ลาในไตรมาสก่อน โดยมีอตั ราการใช้เครื่องบินสูงถึง 9.9 ชั่วโมงปฏิบตั ิการบินต่อลาต่อวัน ซึ่งสูงที่ สดุ นับตัง้ แต่ไตรมาส
ที่ 4 ปี 2562 ทาให้รายได้ตอ่ ปริมาณการผลิตด้านผูโ้ ดยสาร (“RASK”) อยูท่ ี่ 1.68 บาท เทียบกับ 1.72 บาท ในไตรมาสที่ 3
ปี 2564 และ 1.49 บาท ในไตรมาสที่แล้ว
o รายได้จากบริการเสริม อยูท่ ี่ 954.7 ล้านบาท เพิ่มขึน้ ร้อยละ 3,767 จากช่วงเดียวกันของปี ก่อน และร้อยละ 99
จากไตรมาสก่อน จากการปรับตัวดีขนึ ้ ของรายได้บริการฝากสัมภาระใต้ทอ้ งเครือ่ งและรายได้คา่ ธรรมเนียมอื่นๆ
ตามการฟื ้ นตัวของเที่ยวบินระหว่างประเทศ ทาให้ในไตรมาสนี ้ รายได้จากบริการเสริมคิดเป็ นร้อยละ 20 ของ
รายได้จากการขายและบริการ เพิ่มขึน้ จากร้อยละ 15 ในช่วงเดียวกันของปี ก่อน และคิดเป็ นรายได้จากบริการ

หน้า 2
เสริมต่อผูโ้ ดยสารเท่ากับ 347 บาท เพิ่มขึน้ จาก 310 บาท ในช่วงเดียวกันของปี ก่อน และจาก 285 บาท ใน
ไตรมาสที่แล้ว
รายได้อื่นๆ อยูท่ ี่ 81.1 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 72 เทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน จากกาไรจากตราสารอนุพนั ธ์ที่ลดลง แต่ทรงตัว
หากเทียบกับไตรมาสที่แล้ว
งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
บริษัท เอเชีย เอวิเอชั่น จากัด (มหาชน) งบการเงินรวม งบการเงินรวม
หน่วย: ล้านบาท สาหรับงวด เปลี่ยน สาหรับงวด เปลี่ยน
สามเดือนสิน้ สุด แปลง เก้าเดือนสิน้ สุด แปลง
วันที่ 30 กันยายน วันที่ 30 กันยายน
2565 2564 2565 2564
รายได้รวม 4,892.3 457.5 +969% 9,503.9 2,888.9 +229%
ค่าใช้จ่ายรวม 9,903.0 4,174.4 +137% 22,260.3 12,625.5 +76%
กาไร (ขาดทุน) จากกิจกรรมดาเนินงาน (5,010.7) (3,716.9) -35% (12,756.4) (9,736.6) -31%
กาไร (ขาดทุน) สาหรับงวด (4,050.2) (3,818.1) -6% (11,328.8) (10,286.6) -10%
ส่วนที่เป็ นของผูถ้ ือหุน้ ของบริษัท (4,050.2) (2,098.3) -93% (11,144.4) (5,654.7) -97%
ส่วนที่เป็ นของผูม้ ีสว่ นได้เสียที่ไม่มีอานาจ
ควบคุมของบริษัทย่อย - (1,719.8) N.A. (184.4) (4,631.8) +96%
กาไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวมสาหรับงวด (4,050.2) (3,776.7) -7% (11,217.9) (10,045.2) -12%
ส่วนที่เป็ นของผูถ้ ือหุน้ ของบริษัท (4,050.2) (2,075.5) -95% (11,085.8) (5,522.0) -101%
ส่วนที่เป็ นของผูม้ ีสว่ นได้เสียที่ไม่มีอานาจ
ควบคุมของบริษัทย่อย - (1,701.2) N.A. (132.0) (4,523.2) +97%
กาไร (ขาดทุน) ต่อหุน้ ขัน้ พืน้ ฐาน (0.3451) (0.4326) +20% (0.9661) (1.1659) +17%
และปรับลด (บาท)
การคานวณ EBITDA
กาไร (ขาดทุน) จากการดาเนินงาน (5,010.7) (3,716.9) -35% (12,756.4) (9,736.6) -31%
กาไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลีย่ น (2,885.1) (2,066.6) -40% (5,073.9) (4,187.2) -21%
กาไร (ขาดทุน) จากตราสารอนุพนั ธ์ 14.6 135.4 -89% (17.5) 373.0 N.A.
กาไร (ขาดทุน) จากการขายสินทรัพย์ 1.7 (0.0) N.A. (39.1) (0.1) -26,751%
ค่าเสือ่ มราคาและค่าตัดจาหน่าย 1,540.8 1,119.7 +38% 4,719.2 3,548.2 +33%
EBITDA (601.1) (665.9) +10% (2,906.8) (2,374.1) -22%

ต้นทุนและค่าใช้จ่าย
ในไตรมาสที่ 3 ปี 2565 บริษัทมีค่าใช้จ่ายรวมอยูท่ ี่ 9,903.0 ล้านบาท เพิ่มขึน้ ร้อยละ 137 จากช่วงเดียวกันของปี ก่อน และร้อยละ
27 จากไตรมาสก่อน โดยหลักมาจากต้นทุนขายและการบริการ และผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ นที่เพิ่มขึน้ ในไตรมาสนี ้
 ต้นทุนขายและการบริการอยูท่ ี่ 6,618.5 ล้านบาท เพิ่มขึน้ ร้อยละ 264 จากช่วงเดียวกันของปี ก่อน และร้อยละ 33 จาก
ไตรมาสก่อน ซึง่ เพิ่มขึน้ สอดคล้องกับจานวนเที่ยวบินที่เพิ่มขึน้ ร้อยละ 40 จากไตรมาสก่อน

หน้า 3
o ค่าน้ามันเชื้อเพลิงอยู่ที่ 2,490.2 ล้านบาท เพิ่มขึน้ ร้อยละ 5,357 จากช่วงเดียวกันของปี ก่อน และร้อยละ 60
จากไตรมาสก่อน โดยต้นทุนที่เพิ่มขึน้ จากไตรมาสก่อนเป็ นผลจากปริมาณการใช้นา้ มันเชื อ้ เพลิงที่เพิ่มขึน้ ร้อยละ
53 ค่าเงินบาทที่อ่อนค่า และราคาอ้างอิงนา้ มันอากาศยานที่ยงั คงเพิ่มขึน้ ร้อยละ 5 มาอยู่ที่ 143.8 ดอลลาร์
สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ทัง้ นี ้ บริษัทไม่มีสถานะในสัญญาป้องกันความเสีย่ งราคานา้ มัน
o ค่าใช้จ่ายพนักงานอยู่ที่ 710.7 ล้านบาท เพิ่มขึน้ ร้อยละ 266 เทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน และร้อยละ 30
เทียบกับไตรมาสก่อน จากจานวนพนักงานปฏิบตั ิการที่เพิ่มขึน้ ตามจานวนเครือ่ งบินปฏิบตั ิการ
o ค่าซ่อมบารุ งอากาศยานอยูท่ ี่ 1,160.2 ล้านบาท เพิ่มขึน้ ร้อยละ 245 เทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน และร้อย
ละ 24 เทียบกับไตรมาสก่อน จากการเร่งนาเครือ่ งบินที่จอดอยูม่ าให้บริการมากขึน้ ทัง้ นี ้ บริษัทได้สง่ คืนเครือ่ งบิน
จานวนหนึง่ ลา และอยูร่ ะหว่างการคืนเครือ่ งบินอีกจานวน 5 ลา ในช่วงไตรมาสสุดท้าย
o ต้นทุนขายและการให้บริการอื่นๆ อยูท่ ี่ 2,257.4 ล้านบาท เพิ่มขึน้ ร้อยละ 82 เทียบกับช่วงเดียวกันของปี กอ่ น
และร้อยละ 16 เทียบกับไตรมาสก่อน จากค่าใช้จ่ายบริการในสนามบินและลานจอดที่เพิ่มขึน้
 ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารอยู่ที่ 412.4 ล้านบาท เพิ่มขึน้ ร้อยละ 45 เทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน และร้อยละ
10 จากไตรมาสก่อน ส่วนใหญ่มาจากค่าบริการจัดจาหน่ายและรับชาระเงินสาหรับการขายตั๋วโดยสารแบบออนไลน์ให้แก่
บริษัท AirAsia Com Travel ซึง่ เพิ่มขึน้ ตามยอดขาย ทัง้ นี ้ ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารคิดเป็ นร้อยละ 9 ของรายได้จาก
การขายและบริการ ลดลงจากร้อยละ 14 ในไตรมาสก่อน และอยูใ่ นระดับใกล้เคียงกับช่วงก่อนโควิด-19 ที่รอ้ ยละ 8
 ค่าใช้จ่ายอื่นๆ อยู่ที่ 2,872.0 ล้านบาท เพิ่มขึน้ ร้อยละ 39 เทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน และร้อยละ 18 เทียบกับ
ไตรมาสก่อน ส่วนใหญ่มาจากผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยงั ไม่รบั รูข้ องหนีส้ ินตามสัญญาเช่าจานวน 2,885.1 ล้าน
บาท ในไตรมาสนี ้
จากต้นทุนและค่าใช้จ่ายดังกล่าว ทาให้ตน้ ทุนต่อปริมาณการผลิตด้านผูโ้ ดยสาร (“CASK”) ในไตรมาสนีอ้ ยูท่ ี่ 2.62 บาท ลดลงร้อย
ละ 89 เทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน และร้อยละ 18 เทียบกับไตรมาสก่อน หากไม่รวมค่านา้ มันเชือ้ เพลิง ต้นทุนดังกล่าวจะอยูท่ ี่
1.75 บาท ลดลงอย่างมากจาก 23.83 บาท ในช่วงเดียวกันของปี ก่อน และ 2.33 บาท จากไตรมาสก่อน โดยเป็ นผลจากการควบคุม
ต้นทุนและการขยายตัวของปริมาณการผลิตด้านผูโ้ ดยสาร

กาไร/ขาดทุน
ในไตรมาสนี ้ จากผลการดาเนินงานหลักที่ดีขนึ ้ ทาให้บริษัทมีขาดทุน EBITDA ลดลงมาอยูท่ ี่ (601.1) ล้านบาท ซึง่ ลดลงจากขาดทุน
(665.9) ล้านบาท และ (1,046.5) ล้านบาท เทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อนและไตรมาสก่อน ตามลาดับ ต้นทุนทางการเงินอยูท่ ี่
625.1 ล้านบาท เพิ่มขึน้ ร้อยละ 31 เทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน และร้อยละ 13 เทียบกับไตรมาสก่อน จากค่าใช้จา่ ยดอกเบีย้ ของ
หนีส้ นิ ตามสัญญาเช่า (“TFRS 16”) และต้นทุนทางการเงินที่สงู ขึน้ ทัง้ นี ้ อัตราต้นทุนทางการเงินสุทธิ (“effective interest rate”) อยู่
ที่รอ้ ยละ 5.4 เพิ่มขึน้ จากร้อยละ 4.4 ในช่วงเดียวกันของปี ก่อน รายได้ภาษีเงินได้อยูท่ ี่ 1,578.1 ล้านบาท โดยหลักมาจากผลขาดทุน
ทางภาษี ในงวดที่นาไปใช้ได้ในอนาคต ทาให้โดยสรุปบริษัทรายผลขาดทุนส่วนทีเ่ ป็ นของผูถ้ ือหุน้ ของบริษัทสาหรับงวดเท่ากับ
(4,050.2) ล้านบาท เทียบกับผลขาดทุน (2,098.3) ล้านบาท ในช่วงเดียวกันของปี ก่อน และผลขาดทุน (4,723.6) ล้านบาท ในไตร
มาสก่อน หรือคิดเป็ นขาดทุนต่อหุน้ ขัน้ พืน้ ฐานและปรับลดอยูท่ ี่ (0.35) บาท โดยบริษัทรับรูผ้ ลขาดทุนของ บจ. ไทยแอร์เอเชียที่รอ้ ย
ละ 100 ในไตรมาสนี ้ เทียบกับร้อยละ 55 ในช่วงเดียวกันของปี ก่อน

หน้า 4
สถิติการดาเนินงานทีส่ าคัญ
บริษัท ไทยแอร์เอเชีย จากัด ไตรมาส 3 ไตรมาส 3 เปลี่ยน 9 เดือน 9 เดือนปี เปลี่ยน
ปี 2565 ปี 2564 แปลง แรกปี แรกปี แปลง
2565 2564
จานวนผูโ้ ดยสาร (ล้านคน) 2.75 0.80 +3,354% 5.89 1.78 +231%
ปริมาณที่น่งั (ล้านที่น่งั ) 3.16 0.13 +2,263% 7.38 2.80 +164%
อัตราการขนส่งผูโ้ ดยสาร (ร้อยละ) 87 60 +27 จุด 80 64 +16 จุด
ปริมาณการขนส่งด้านผูโ้ ดยสาร (ล้านที่น่งั -กม.) 2,478 64 +3,767% 4,854 1,300 +273%
ปริมาณการผลิตด้านผูโ้ ดยสาร (ล้านที่น่งั -กม.) 2,863 99 +2,791% 6,062 1,972 +207%
ค่าโดยสารเฉลีย่ (บาท) 1,404 1,836 -24% 1,284 1,064 +21%
รายได้ตอ่ ปริมาณการผลิตด้านผูโ้ ดยสาร (บาท) 1.68 1.72 -2% 1.53 1.17 +31%
ต้นทุนต่อปริมาณการผลิตด้านผูโ้ ดยสาร (บาท) 2.62 24.29 -89% 3.03 4.60 -34%
ต้นทุนต่อปริมาณการผลิตด้านผูโ้ ดยสาร 1.75 23.83 -93% 2.22 4.20 -47%
(ไม่รวมนา้ มันเชือ้ เพลิง) (บาท)

ผลประกอบการโดยสรุ ปของ บมจ. เอเชีย เอวิเอชั่น สาหรับงวดเก้าเดือนสิน้ สุดวันที่ 30 กันยายน 2564 และ 2565 เป็ น
ดังนี้:
ในช่วงเก้าเดือนแรกของปี 2565 บริษัทรายงานรายได้รวมเท่ากับ 9,503.9 ล้านบาท เพิ่มขึน้ ร้อยละ 229 เทียบกับช่วงเดียวกันของ
ปี ก่อน จากการฟื ้ นตัวของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวต่อเนื่องมาจากไตรมาสที่แล้ว รายได้จ ากการขายและให้บริ การอยู่ที่
9,289.4 ล้านบาท เพิ่มขึน้ ร้อยละ 304 เทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน โดยกว่าร้อยละ 52 มาจากรายได้ของไตรมาสนี ้ จานวน
เที่ยวบินเพิ่มขึน้ เป็ น 40,597 เที่ยว จาก 15,670 เที่ยวในปี ก่อน โดย บจ. ไทยแอร์เอเชีย ได้กลับมาบินเส้นทางในประเทศครบทุก
เส้นทางที่เคยบินก่อนช่วงโควิด-19 และเพิ่มเที่ยวบินในประเทศจากสนามบินสุวรรณภูมิมากขึน้ นอกเหนือจากสนามบินดอนเมือง
โดยเฉพาะเส้นทางบินที่ไปยังเชียงใหม่และภูเก็ต นอกจากนัน้ บจ. ไทยแอร์เอเชีย ได้เพิ่มเที่ยวบินในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาค
เอเชียใต้ที่ยงั มีแนวโน้มการท่องเที่ยวที่ โดดเด่น โดยในช่วงเก้าเดือนแรกของปี นี ้ บจ. ไทยแอร์เอเชีย ขนส่งผูโ้ ดยสาร 5.89 ล้านราย
เทียบกับเป้าหมายที่คงไว้ทงั้ ปี ที่ 10 ล้านราย อัตราการขนส่งผูโ้ ดยสารอยู่ที่รอ้ ยละ 80 เพิ่มขึน้ จากร้อยละ 64 ในช่วงเดียวกันของปี
ก่อน และสามารถรักษาอัตราตรงต่อเวลาได้ที่รอ้ ยละ 95 ทัง้ นี ้ จากเที่ยวบินต่างประเทศที่เพิ่มขึน้ ทาให้รายได้จากบริการเสริม
เติบโตร้อยละ 320 เทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อนเป็ น 1,747.7 ล้านบาท หนุนจากรายได้บริการฝากสัมภาระใต้ทอ้ งเครือ่ ง รายได้
จากการขายสินค้าบนเครื่องบิน และรายได้ค่าธรรมเนียมอื่นๆ รายได้อื่นๆ อยู่ที่ 214.4 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 64 เทียบกับช่วง
เดียวกันของปี ก่อน เนื่องจากบริษัทมีผลขาดทุนตราสารอนุพนั ธ์ในช่วงเก้าเดือนของปี นี ้ ในขณะที่ มีผลกาไรจากตราสารอนุพนั ธ์
ในช่วงเก้าเดือนของปี ที่แล้ว
ค่าใช้จ่ายรวมอยู่ที่ 22,260.3 ล้านบาท เพิ่มขึน้ ร้อยละ 76 เทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน จากการเพิ่มของต้นทุนขายและการ
บริการร้อยละ 115 และผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่รบั รู ร้ อ้ ยละ 21 ทัง้ นี ้ ค่า ใช้จ่ ายในการขายและบริ หารอยู่ที่
1,155.6 ล้านบาท เพิ่มขึน้ ร้อยละ 28 เทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน จากค่าบริการจัดจาหน่ายและรับชาระเงินสาหรับการขายตั๋ว
โดยสารแบบออนไลน์ให้แก่บริษัท AirAsia Com Travel ตามยอดขายที่เพิ่มขึน้ บจ. ไทยแอร์เชีย ได้ดาเนินการคืนเครื่องบินทัง้ สิน้ 2

หน้า 5
ลา ทาให้ปัจจุบนั มีฝูงบินรวม 58 ลา โดย 35 ลา เป็ นเครื่องบินที่ปฏิบตั ิการบิน ทัง้ นี ้ ยังคงแผนการคืนเครื่องบินอีก 5 ลา ที่เหลือ
ในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปี นี ้
ขาดทุ น EBITDA อยู่ที่ (2,906.8) ล้านบาท เทียบกับขาดทุน (2,374.1) ล้านบาท ในช่วงเดียวกันของปี ก่อน ต้นทุนทางการเงิน
เพิ่มขึน้ ร้อยละ 31 เทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน มาอยู่ที่ 1,735.3 ล้านบาท จากผลของ TFRS 16 และต้นทุนทางการเงินที่สงู ขึน้
รายได้ภาษี เงินได้อยู่ที่ 3,141.5 ล้านบาท เพิ่มขึน้ จาก 732.9 ล้านบาท ในช่วงเดียวกันของปี ก่อน โดยหลักมาจากผลขาดทุนทาง
ภาษี ในงวดที่นาไปใช้ได้ในอนาคต ทาให้โดยสรุ ป บริษัทมีผลขาดทุ นส่วนที่เป็ นของผู้ ถือหุ้นของบริ ษัท สาหรับงวดเท่ากับ
(11,144.4) ล้านบาท เทียบกับผลขาดทุน (5,654.7) ล้านบาท ในช่วงเดียวกันของปี ก่อน โดยปั จจุบนั บริษัทถือหุน้ ร้อยละ 100 ใน
บจ. ไทยแอร์เอเชีย
งบแสดงฐานะการเงิน
บริษัท เอเชีย เอวิเอชั่น จากัด (มหาชน) งบการเงินรวม
หน่วย: ล้านบาท ณ วันที่ 30 ณ วันที่ 31 เปลี่ยนแปลง
กันยายน 2565 ธันวาคม 2564
สินทรัพย์ 66,670.8 71,208.3 -6%
หนีส้ นิ 61,956.0 54,379.5 +14%
ส่วนของผูถ้ ือหุน้ ของบริษัทฯ 4,714.8 20,201.1 -77%
ส่วนของผูม้ ีสว่ นได้เสียที่ไม่มีอานาจควบคุมของบริษัทย่อย - (3,372.3) N.A.
รวมส่วนของผูถ้ ือหุน้ 4,714.8 16,828.8 -72%

สินทรัพย์
ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 บริษัทมีสนิ ทรัพย์รวม 66,670.8 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 6 จากสิน้ ปี กอ่ น โดยหลักมาจากการลดลงของ
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด สินทรัพย์ถาวร2 และสินทรัพย์สทิ ธิการใช้ ชดเชยบางส่วนด้วยสินทรัพย์ภาษี เงินได้รอการตัดบัญชี
ที่เพิ่มขึน้
(1) สินทรัพย์หมุนเวียนอยู่ที่ 5,184.7 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 32 เทียบกับสิน้ ปี ก่อน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดอยูท่ ี่
1,456.3 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 73 จากผลขาดทุนในงวด ค่าใช้จ่ายเพื่อยกเลิกสัญญาเช่าก่อนกาหนด และการคืนเงินกู้
ทัง้ นี ้ ลูกหนีก้ ิจการที่เกี่ยวข้องกันเพิ่มขึน้ ร้อยละ 69 มาอยู่ที่ 1,852.4 ล้านบาท จากรายได้ของบริษัทที่รบั ผ่านกลุ่มแอร์
เอเชีย
(2) สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอยูท่ ี่ 61,486.1 ล้านบาท ลดลงเล็กน้อยที่รอ้ ยละ 3 จากการลดลง 5,057.8 ล้านบาท ของเงินสารอง
บารุ งรักษาเครื่องบิน สินทรัพย์ถาวรที่ตดั ค่าเสื่อมราคา และสิทธิการใช้จากการยกเลิกสัญญาเช่าก่อนกาหนด ในขณะที่
สินทรัพย์ภาษี เงินได้รอการตัดบัญชีเพิ่มขึน้ 2,805.9 ล้านบาท

หนี้สนิ
ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 บริษัทมีหนีส้ นิ รวม 61.956.0 ล้านบาท เพิ่มขึน้ ร้อยละ 14 เทียบกับสิน้ ปี ก่อน โดยหลักจากหนีส้ นิ ตาม
สัญญาเช่า รายได้รบั ล่วงหน้า และค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย

2
สินทรัพย์ถาวรประกอบด้วยที่ดิน อาคาร เครื่องบิน ส่วนปรับปรุงอาคารเช่าและอุปกรณ์

หน้า 6
(1) หนีส้ ินหมุนเวียนอยู่ที่ 22,898.9 ล้านบาท เพิ่มขึน้ ร้อยละ 30 โดยมีรายได้รบั ล่วงหน้าอยู่ที่ 4,668.7 ล้านบาท เพิ่มขึน้ ร้อย
ละ 92 จากปริมาณการขายตั๋วโปรโมชั่นที่เพิ่มขึน้ ตามการฟื ้ นตัวของภาคการท่องเที่ยว ทัง้ นี ้ ค่าใช้จ่ายค้างจ่ายอยู่ที่
4,218.4 ล้านบาท หนีส้ ินตามสัญญาเช่าที่ครบกาหนดชาระภายใน 1 ปี อยู่ที่ 7,642.4 ล้านบาท เพิ่มขึน้ ร้อยละ 71 และ
ร้อยละ 29 ตามลาดับ ส่วนใหญ่มาจากธุรกรรมการขายและเช่ากลับอากาศยานที่เกิดขึน้ ในงวด และผลกระทบจากค่าเงิน
บาทอ่อน
(2) หนีส้ นิ ไม่หมุนเวียนอยูท่ ี่ 39,057.1 ล้านบาท เพิ่มขึน้ ร้อยละ 6 จากหนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าที่เพิ่มขึน้ เป็ น 34,235.8 ล้านบาท
จากเหตุผลเช่นเดียวกับที่กล่าวไปข้างต้น

ส่วนของผู้ถอื หุ้น
ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 บริษัทมีสว่ นของผูถ้ ือหุน้ ทัง้ สิน้ 4,714.8 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 72 จากสิน้ ปี ก่อน โดยหลักมาจากผล
ขาดทุนในงวด และชดเชยบางส่วนด้วยส่วนเกินมูลค่าหุน้ สามัญที่เพิ่มขึน้ จากหุน้ กูท้ ี่แปลงสภาพในช่วงครึง่ ปี แรก บริษัทมีอตั ราส่วน
หนีส้ ินที่มีภาระดอกเบีย้ จ่าย (“Interest-bearing debt”) และหนีส้ ินที่มีภาระดอกเบีย้ จ่ายสุทธิ (“Net interest-bearing debt”) ต่อ
ส่วนของผูถ้ ือหุน้ เท่ากับ 10.46 เท่า และ 10.15 เท่า ตามลาดับ ทัง้ นี ้ หากไม่รวมหนีส้ ินสัญญาเช่าดาเนินงาน อัตราส่วนดังกล่าวจะ
อยูท่ ี่ 1.86 เท่า และ 1.55 เท่า ตามลาดับ

งบกระแสเงินสด
บริษัท เอเชีย เอวิเอชั่น จากัด (มหาชน) งบการเงินรวม
หน่วย: ล้านบาท สาหรับเก้าเดือน สิน้ สุดวันที่ 30 กันยายน
2565 2564
เงินสดสุทธิได้มาจาก(ใช้ไปใน)กิจกรรมดาเนินงาน (1,319.4) (660.1)
เงินสดสุทธิได้มาจาก(ใช้ไปใน)กิจกรรมลงทุน (240.7) (37.1)
เงินสดสุทธิได้มาจาก(ใช้ไปใน)กิจกรรมจัดหาเงิน (2,351.9) (390.6)
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึน้ (ลดลง)สุทธิ (3,912.0) (1,087.9)
กาไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลีย่ นที่ยงั ไม่เกิดขึน้ จริงของเงินสดและ
รายการเทียบเท่าเงินสด 8.7 0.6
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นงวด 5,359.6 1,110.4
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายงวด 1,456.3 23.1

ในช่วงเก้าเดือนสิน้ สุดวันที่ 30 กันยายน 2565 บริษัทมีเงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมดาเนินงานจานวน 1,319.4 ล้านบาท ส่วนใหญ่


เกิดจากผลขาดทุนภายในงวด ในส่วนของเงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุนมีจานวน 240.7 ล้านบาท โดยหลักมาจากการเข้าซือ้ หุน้
เพื่อเพิ่มสัดส่วนการถือหุน้ ใน บจ. ไทยแอร์เอเชีย เป็ นร้อยละ 100 จานวน 3,896.1 ล้านบาท ในขณะที่มีเงินสดรับจากการจาหน่าย
เครื่องบินและอุปกรณ์มลู ค่า 3,873.4 ล้านบาท ขณะที่เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงินมีจานวน 2,351.9 ล้านบาท ส่วนใหญ่
เกิดจากการชาระหนีส้ นิ ภายใต้สญ ั ญาเช่า (รวมค่าใช้จ่ายเพื่อยกเลิกสัญญาเช่าก่อนกาหนด) มูลค่า 4,853.1 ล้านบาท และชาระคืน
หุน้ กูแ้ ละเงินกูส้ ทุ ธิ 240.8 ล้านบาท แต่ได้ชดเชยบางส่วนจากการเสนอขายหุน้ เพิ่มทุนต่อผูถ้ ือหุน้ เดิมจานวน 3,000.0 ล้านบาท ทา
ให้โดยสรุป บริษัทมีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดลดลง 3,912.0 ล้านบาท และมีเงินสดปลายงวดอยูท่ ี่ 1,456.3 ล้านบาท

หน้า 7
ภาพรวมการดาเนินงานในอนาคต

เศรษฐกิจโลกยังเติบโตแต่แผ่วลง ท่ามกลางคาดการณ์เงิน การบริโภคภายในประเทศและการท่องเที่ยวเป็ นปั จจัยหลัก


เฟ้ อและราคาน้ามันที่ยงั อยูร่ ะดับสูง ในการขับเคลื่อนการเติบโตของไทย
จากรายงานเดือนตุลาคม 2565 กองทุนการเงิ นระหว่างประเทศ สาหรับสถานการณ์ของประเทศไทย จากรายงานเดือนตุลาคม
(“IMF”) คาดการณ์การเติบโตของเศรษฐกิจโลกในปี 2565 ฟื ้ นตัวที่ 2565 ธนาคารแห่งประเทศไทย (“ธปท.”) คาดการณ์เศรษฐกิจไทยใน
ร้อยละ 3.2 โดยคงจากคาดการณ์ครั้งก่ อนในเดื อนกรกฎาคม ปี 2565 มี แ นวโน้ ม ขยายตั ว ร้ อ ยละ 3.3 โดยมี ก ารบริ โ ภค
อย่างไรก็ตาม เศรษฐกิจหลายแห่งอาจประสบกับภาวะถดถอยใน ภายในประเทศและการฟื ้ นตัวของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเป็ น
ระยะสัน้ ข้างหน้า จากการใช้นโยบายทางการเงินของธนาคารกลาง เครือ่ งยนต์ขบั เคลือ่ นเศรษฐกิจหลัก ทัง้ นี ้ ธปท. และ ททท ประมาณ
ในการขึน้ ดอกเบีย้ เพื่อลดอัตราเงินเฟ้อ รวมทัง้ ความขัดแย้งระหว่าง การจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติในปี 2565 เป็ น 9.5 ล้านคน และ
รัสเซียและยูเครนที่ยงั ไม่คลีค่ ลาย แต่ผลกระทบต่อ ASEAN 53 และ 10 ล้านคน ตามลาดับ หลังจากการผ่อนคลายมาตรการโรคติดเชือ้
อินเดีย สองตลาดใหญ่ของ บจ. ไทยแอร์เชีย อาจได้รบั ผลกระทบ โควิด-19 ของรัฐบาลต่างๆ กอปรกับช่วงวันหยุดยาวช่วงปลายปี
น้อยกว่า โดยมีคาดการณ์การเติบโตเศรษฐกิจปี นที ้ ี่รอ้ ยละ 5.3 และ ส่วนการท่องเที่ยวภายในประเทศยังคงได้รบั การกระตุน้ จากภาครัฐ
6.8 ตามลาดับ ซึง่ สูงกว่าค่าเฉลีย่ ในภูมิภาคอื่น เช่น โครงการเราเที่ยวด้วยกัน ที่คาดว่าจะดาเนินการจนถึงปลายปี
อัตราดอกเบีย้ ระหว่างประเทศที่แตกต่างกันมากขึน้ ส่งผลให้คา่ เงิน บริษัทตั้งเป้ าขนส่งผู้โดยสาร 10 ล้านคนทั้งปี 2565 เติบโต
ดอลลาร์สหรัฐฯ แข็งค่าเทียบกับค่าเงินหลักอื่นๆ รวมทัง้ เงินบาท เด่นช่วงครึ่งปี หลัง พร้อมเพิ่มอัตราขนส่งผู้โดยสารเป็ น
ไทย ซึ่ งบริ ษั ทอาจเสี ยประโยชน์จากค่ าใช้จ่ ายที่ เป็ นเงิ นตรา ร้อยละ 81
ต่างประเทศ เช่น สัญญาซ่อมบารุ งและสัญญาเช่าเครื่องบิน เป็ น จากเหตุผลข้างต้น บริษัทคาดการณ์วา่ กิจกรรมการท่องเที่ยวจะฟื ้ น
ต้น ดังนัน้ บริษัทจึงทาการบริหารภายใต้นโยบายการบริหารความ ตัวแข็งแกร่งในช่วงที่เหลือของปี 2565 โดยมีเป้าจานวนผูโ้ ดยสาร
เสี่ยงแบบธรรมชาติ โดยจัดการให้รายจ่ายอยู่ในสกุลเงินเดียวกับ ทัง้ ปี ทงั้ สิน้ 10 ล้านคน หนุนด้วยความต้องการท่องเที่ยวที่สะสม
รายรับให้มากที่สดุ นอกจากนีโ้ ครงสร้างเงินกูใ้ นสกุลเงินต่างๆ จะ จากปี ที่ผ่านมา โดยบริษัทได้ใช้กลยุทธ์ในการบริหารปริมาณที่น่งั
ถูกปรับให้สอดคล้องกับสกุลเงินของเงินสดสุทธิจากการดาเนินงาน และเส้นทางการบินให้เกิดรายได้สงู สุด และตัง้ เป้าอัตราการขนส่ง
โดยบริษัทจะพิจารณานาเครื่องมือทางการเงินมาใช้ในการบริหาร ผู้โดยสารที่ ร ้อยละ 81 พร้อมทั้งเพิ่ มการเติ บโตของรายได้ผ่าน
ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนตามความเหมาะสม ทัง้ นี ้ แนวโน้ม โปรโมชั่นและแคมเปญ อาทิเช่น Super+ Pass และการเปิ ดเส้นทาง
อุปทานนา้ มันดิบในตลาดโลกมีความเสีย่ งที่จะตึงตัวถึงปลายปี จาก ใหม่ไปยังเมื องฟุกุโอกะ ธากา และไทเป ผนวกกับในต้นเดื อน
การคว่ าบาตรประเทศผู้ผลิ ตน ้ามั นหลายประเทศ และกลุ่ ม กรกฎาคมที่ผ่านมาสานักงานการบินพลเรือนฯ ได้อนุญาตให้สาย
โอเปกพลัสที่ยงั เพิ่มกาลังการผลิตนา้ มันได้นอ้ ยกว่าที่คาดไว้ โดย การบินให้บริการอาหารและเครื่องดื่มในเที่ยวบินในประเทศไทยได้
IATA คาดการณ์ราคาน า้ มันอากาศยานเฉลี่ยทั้งปี 2565 นี อ้ ยู่ที่ ซึ่งจะช่วยให้รายได้บริการเสริมของบริษัทปรับตัวดีขนึ ้ โดยในไตร
125.5 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ทั้งนี ้ สิน้ ไตรมาสที่ 3 ปี 2565 มาสุดท้าย บจ. ไทยแอร์เอเชีย ตัง้ เป้าการกลับมาบินโดยมีปริมาณ
บริษัทไม่มีสถานะในสัญญาป้องกันความเสีย่ งราคานา้ มัน ที่น่ งั ใกล้เคียงกับช่วงปลายปี 2562 ก่อนการระบาดของโควิด-19
ในขณะที่เส้นทางบินระหว่างประเทศจะกลับมาใกล้เคียงร้อยละ
50

3
ประกอบไปด้วยประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย ไทย ฟิ ลิปปิ นส์ และเวียดนาม

หน้า 8
นิยามศั พท์

อัตราส่วนการขนส่งผู้โดยสาร คือจานวนผูโ้ ดยสารเทียบเป็ น ที่เกี่ยวข้อง โดยจานวนชั่วโมงปฏิบตั ิการบินเริ่มนับตัง้ แต่ช่วง


สัดส่วนกับปริมาณที่น่งั ซึง่ เป็ นจานวนที่น่งั ผูโ้ ดยสารที่มีอยู่ ขณะที่เครือ่ งบินเคลือ่ นที่ ณ สนามบินหนึง่ ถึงเครือ่ งบินหยุดนิ่ง
ปริ ม าณการผลิ ต ด้ า นผู้ โ ดยสาร คื อ จ านวนที่ น่ ัง บนทุก ณ สนามบินอีกแห่งหนึง่
เที่ยวบิน คูณด้วยจานวนกิโลเมตรที่ทาการบินบนที่น่งั เหล่านัน้ อั ต ราส่ ว นเงิ น กู้ ยื ม ต่ อ ส่ ว นของผู้ ถื อ หุ้ น ค านวณโดยนา
ปริมาณการขนส่งด้านผู้โดยสาร คือจานวนบรรทุกผูโ้ ดยสาร ผลรวมของหนีส้ นิ เฉพาะที่มีภาระดอกเบีย้ จ่ายทัง้ หมด หารด้วย
ที่จ่ายค่าโดยสารบนทุกเที่ยวบิน คูณด้วยจานวนกิโลเมตรที่ทา ส่วนของผูถ้ ือหุน้
การบินบนที่น่งั เหล่านัน้ อัตราส่วนเงินกู้ยมื สุทธิต่อส่วนของผู้ถอื หุ้น คานวณโดยนา
ค่ า โดยสารเฉลี่ ย ค านวณโดยน ารายได้ค่ า โดยสารและ ผลรวมของหนีส้ ินเฉพาะที่มีภาระดอกเบีย้ จ่ายทัง้ หมด หักด้วย
ค่าธรรมเนียมนา้ มันเชือ้ เพลิง ของ บจ. ไทยแอร์เอเชีย หารด้วย เงินสด รายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนระยะสัน้ และเงินฝาก
จานวนผูโ้ ดยสาร หารด้วยส่วนของผูถ้ ือหุน้
รายได้ต่อปริมาณการผลิตด้านผู้โดยสาร คานวณโดยนา อั ต ราก าไรขั้ น ต้ น ค านวณโดยน ารายได้จ ากการขายและ
รายได้หารด้วยปริมาณการผลิตด้านผูโ้ ดยสาร บริหาร หักด้วยต้นทุนขายและบริการ หารด้วยรายได้จากการ
ต้นทุ นต่อปริมาณการผลิตด้านผู้โดยสาร คานวณโดยนา ขายและบริการ
ผลรวมของต้น ทุน จากการด าเนิ น งาน และค่ า ใช้จ่ า ย ของ อั ต ราก าไรก่ อ นค่ า ใช้ จ่ า ยทางการเงิ น , ภาษี เ งิ น ได้ ,
บจ. ไทยแอร์เอเชีย หารด้วยปริมาณการผลิตด้านผูโ้ ดยสาร ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจาหน่าย (EBITDA) จากรายได้รวม
ต้นทุนต่อปริมาณการผลิตด้านผู้โดยสาร (ไม่รวมน้ามัน (ไม่รวมรายได้เงินปั นผล กาไร/ขาดทุนจากการขายเงินลงทุน
เชื้ อ เพลิ ง ) ค านวณโดยน าผลรวมของต้ น ทุ น จากการ และสินทรัพย์ กาไรจากอัตราแลกเปลีย่ น ดอกเบีย้ รับ และกาไร
ดาเนินงาน และค่าใช้จ่าย ของ บจ. ไทยแอร์เอเชีย หักด้วยค่า จากตราสารอนุพนั ธ์) หักด้วยค่าใช้จ่ายรวม บวกกลับด้วยค่า
นา้ มันเชือ้ เพลิง หารด้วยปริมาณการผลิตด้านผูโ้ ดยสาร เสื่อมราคาและค่าตัดจาหน่ายหารด้วยรายได้จากการขายและ
ระยะทางบินโดยเฉลี่ย (กิโลเมตร) คือจานวนกิโลเมตรที่ทา บริการ
การบินเฉลีย่ ต่อเที่ยวบิน อัตรากาไรสุทธิ คานวณโดยนากาไรสุทธิ หารด้วยรายได้จาก
อัตราการใช้เครื่องบินต่อลา (ชั่วโมงปฏิบตั ิการบินต่อวัน) คือ การขายและบริการ
จานวนชั่วโมงปฏิบตั ิการบินเฉลี่ยต่อวันต่อลาในช่วงระยะเวลา

หน้า 9

You might also like