Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 30

Pragmatics 8-1

T O U โมดูล​ที่ 8

S OU
Pragmatics
ผู้​ช่วย​ศาสตราจารย์ ดร.ชไม​ภัค เตชั​สอนั​นต์

T
S OU
T
S OU
T
S OU
S T
ชื่อ
วุฒิ
ตำแหน่ง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชไมภัค เตชัสอนันต์
ศศ.บ., M.A., Ph.D. (Education) University of Exeter
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำภาควิชาภาษาต่างประเทศ คณะมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
8-2 ​ภาษาศาสตร์เบื้องต้น​

O U
แบบ​ประเมิน​ผลตนเอง​ก่อน​เรียน

T
S OU
จง​เลือก​คำ​ตอบ​ที่​ถูก​ต้อง​ที่สุด
1. ข้อ​ใด​ต่อ​ไป​นี้ไ​ ม่ใช่ข​ อบเขต​การ​ศึกษา​ของ​นักภ​ าษาศาสตร์ส​ า​ขาวั​จน​ปฏิบัติศ​ าสตร์
1. การ​วิเคราะห์​ความ​หมาย​ถ้อยคำ
2. การ​ศึกษา​ความ​หมาย​ตาม​บริ​บท

T
3. การ​วิเคราะห์​ตัวแปร​ทาง​สังคม

S OU
4. การ​ศึกษา​ข้อความ​ที่​ผู้​พูด​เลือก​ใช้
5. การ​ศึกษา​ความ​สุภาพ​ของ​ผู้​พูด
2. ข้อ​ใด​ต่อ​ไป​นี้ไ​ ม่ใช่ป​ ระเด็น​สำคัญ​ของ​สา​ขาวั​จน​ปฏิบัติ​ศาสตร์
1. การ​อนุมาน
2. สภาวะ​เกิด​ก่อน

T
3. วัจ​นกร​รม

S OU
4. การ​สลับภ​ าษา
5. เหตุการณ์​การ​พูด
3. ดรรชนี​ย​พจน์ (deixis) คือ​อะไร
1. การ​สันนิษฐาน​หรือ​สิ่ง​ที่​สันนิษฐาน​ก่อน​การ​พูด​หรือเ​ขียน
2. “การ​ชี้” ไป​ที่​บาง​สิ่ง​บาง​อย่าง​ผ่าน​การ​ใช้​คำ​หรือข​ ้อความ

T
3. การ​ใช้​ความ​รู้​เพิ่ม​เติมเ​พื่อ​ตีความ​หมาย​โดย​นัยข​ อง​ผู้​พูด

S OU
4. การ​ร่วม​มือ​ของ​ผู้​ร่วม​สนทนา​เพื่อ​ให้การ​สนทนา​เหมาะ​สม
5. การ​ปฏิสัมพันธ์​ผ่าน​ภาษา​ตาม​แบบแผน​ระหว่าง​ผู้​ร่วม​สนทนา
4. สหการ (cooperation) คือ​อะไร
1. การ​สันนิษฐาน​หรือ​สิ่ง​ที่​สันนิษฐาน​ก่อน​การ​พูด​หรือ​เขียน
2. “การ​ชี้” ไป​ที่​บาง​สิ่ง​บาง​อย่าง​ผ่าน​การ​ใช้​คำ​หรือข​ ้อความ

T
3. การ​ใช้​ความ​รู้​เพิ่ม​เติม​เพื่อ​ตีความ​หมาย​โดย​นัยข​ อง​ผู้​พูด

S
4. การ​ร่วม​มือ​ของ​ผู้​ร่วม​สนทนา​เพื่อ​ให้การ​สนทนา​เหมาะ​สม
5. การ​ปฏิสัมพันธ์​ผ่าน​ภาษา​ตาม​แบบแผน​ระหว่าง​ผู้ร​ ่วม​สนทนา
5. สภาวะ​เกิดก​ ่อน (presupposition) คือ​อะไร
1. การ​สันนิษฐาน​หรือ​สิ่ง​ที่​สันนิษฐาน​ก่อน​การ​พูดห​ รือเ​ขียน
2. “การ​ชี้” ไป​ที่​บาง​สิ่งบ​ าง​อย่าง​ผ่าน​การ​ใช้​คำ​หรือข​ ้อความ
3. การ​ใช้​ความ​รู้​เพิ่ม​เติม​เพื่อ​ตีความ​หมาย​โดย​นัยข​ อง​ผู้พ​ ูด
4. การ​ร่วม​มือ​ของ​ผู้​ร่วม​สนทนา​เพื่อ​ให้การ​สนทนา​เหมาะ​สม
5. การ​ปฏิสัมพันธ์​ผ่าน​ภาษา​ตาม​แบบแผน​ระหว่าง​ผู้ร​ ่วม​สนทนา
Pragmatics 8-3

O U
6. การ​อนุมาน (inference) คือ​อะไร
1. การ​สันนิษฐาน​หรือ​สิ่ง​ที่​สันนิษฐาน​ก่อน​การ​พูดห​ รือเ​ขียน

T
2. “การ​ชี้” ไป​ที่​บาง​สิ่ง​บาง​อย่าง​ผ่าน​การ​ใช้​คำ​หรือข​ ้อความ

S OU
3. การ​ใช้​ความ​รู้​เพิ่ม​เติมเ​พื่อ​ตีความ​หมาย​โดย​นัยข​ อง​ผู้​พูด
4. การ​ร่วม​มือ​ของ​ผู้​ร่วม​สนทนา​เพื่อ​ให้การ​สนทนา​เหมาะ​สม
5. การ​ปฏิสัมพันธ์ผ​ ่าน​ภาษา​ตาม​แบบแผน​ระหว่าง​ผู้ร​ ่วม​สนทนา
7. หลัก​ปริมาณ หลัก​คุณภาพ หลัก​ความ​สัมพันธ์ และ​หลักค​ วาม​เหมาะ​สม เป็นอ​ งค์​ประกอบ​ของ​อะไร
1. กฎ​หลัก​ของ​การ​สนทนา

T
2. หลัก​การ​วิ​เคราะห์​วัจ​นกร​รม

S OU
3. กลยุทธ์​ใน​การ​แสดง​ความ​สุภาพ
4. กลยุทธ์​ใน​กา​รรักษา​หน้า
5. การ​วิเคราะห์​ความ​หมาย​ตกทอด
8. วัตถุ​ประ​สงค์ข​ อง​วัจ​นกร​รม ‘I name this ship Elizabeth.’ คืออ​ ะไร
1. การ​เตือน สั่ง และ​แนะนำ

T
2. การ​สัญญา​และ​ขอร้อง

S OU
3. การ​แสดง​ความ​คิด​เห็น
4. การ​แสดง​ความ​รู้สึก
5. การ​ประกาศ
9. ผล​ของ​วัจ​นกร​รม ‘Have you closed the windows?’ ที่ผ​ ู้พ​ ูด​คาด​หวังน​ ่าจ​ ะ​เป็น​ข้อ​ใด
1. การ​ตอบ​ว่า​ยัง​ไม่​ได้ป​ ิด​หน้าต่าง

T
2. การ​เดินไ​ ป​ปิด​หน้าต่าง​ทุก​บาน

S OU
3. การ​ชี้แจง​เหตุผล​ของ​ความ​ล่าช้า​ใน​การ​ปิดห​ น้าต่าง
4. การ​ถาม​กลับ​ถึง​ความ​จำเป็น​ของ​การ​ปิดห​ น้าต่าง
5. การ​ปิดห​ น้าต่าง​เพียง​บาง​บาน​แล้วร​ ีบ​เดิน​จาก​ไป
10. ‘I was wondering whether you could turn down the television.’ ใช้ก​ ลยุทธ์ใ​ น​การ​แสดง​ความ​
สุภาพ​และ​การ​รักษา​หน้า​แบบ​ใด

T
1. กลยุทธ์​ใน​การ​แสดง​ความ​สุภาพ​ด้าน​บวก​และ​หน้าด​ ้าน​บวก

S
2. กลยุทธ์​ใน​การ​แสดง​ความ​สุภาพ​ด้าน​บวก​และ​หน้าด​ ้าน​ลบ
3. กลยุทธ์​ใน​การ​แสดง​ความ​สุภาพ​ด้าน​ลบ​และ​หน้าด​ ้าน​บวก
4. กลยุทธ์​ใน​การ​แสดง​ความ​สุภาพ​ด้าน​ลบ​และ​หน้าด​ ้าน​ลบ
5. ไม่มี​คำ​ตอบ​ที่​ถูก​ต้อง
8-4
แผนผัง​แนวคิด
Pragmatics

Pragmatics
​ภาษาศาสตร์เบื้องต้น​

ความ​หมาย​และ​ประเด็นสำคัญ

T
ดรรชนี​ย​พจน์​
และ​ระยะ​ทาง
การ​อ้างอิงแ​ ละ
​การ​อนุมาน
สภาวะ​เกิด​ก่อนและ​
ความ​หมาย​ตกทอด
สหการ​และ​ความ​หมาย
​ชี้​บ่ง​เป็นน​ ัย
วัจ​นกร​รม​และ​
เหตุการณ์​พูด
ความ​สุภาพ​และ​
การ​รักษา​หน้า

S
T
ดรรชนี​ย- การ​ การ สภาวะ ความ​ ความ​หมาย​ วัจน- เหตุการณ์​ ความ​ การ​รักษา​

T
สหการ
พจน์ อ้างอิง อนุมาน ​เกิด​ก่อน หมาย​ตก ชี้​บ่งเ​ป็นน​ ัย กรรม การพูด สุภาพ หน้า
ทอด

T
บริ​บท​
O

T
บุคคล คำ​ ต่างๆ​ ใน semantics ปริมาณ ตาม ตรง​ตาม​ ด้าน​บวก ด้าน​บวก
สรรพนาม ข้อความ ​แบบแผน คำ​พูด

คำ​นาม ข้อความ​ที่​ ไม่ต​ าม


สถาน​ที่ ใช้​เพื่อ​การ pragmatics คุณภาพ ปฏิบัติ ด้าน​ลบ ด้าน​ลบ
​เฉพาะ ​แบบแผน
​อ้างอิง
U
ความรู้รอบตัว ความ
เวลา นาม​วลี สัมพันธ์ วัจ​นกร​รม
ร่วมกัน
S OU
ข้อความ​ ความ​
S OU
กำกวม เหมาะ​สม
S OU
S OU
Pragmatics 8-5

O U
แผนการ​สอน​โมดูล​ที่ 8

T
Pragmatics

S OU
แนวคิด
1. สาขา​วิ​ชาวั​จน​ปฏิบัติ​ศาสตร์​มี​แนวคิด​ใน​การ​ศึกษา​วิเคราะห์​การ​ใช้​ภาษา​โดย​คำนึง​ถึง​ขอบเขต​และ​
ปัจจัยท​ ี่​เกี่ยวข้อง​กับ​ผู้​พูด (speaker) เป็นห​ ลัก

T
2. ผู้พ​ ูดใ​ ช้ด​ รรชนี​ยพ​ จน์ (deixis) ใน​การ​ชี้บ​ ่งต​ ัวบ​ ุคคล เวลา และ​สถาน​ที่ท​ ี่ส​ ัมพันธ์ก​ ับต​ นเอง ทั้งนี้ข​ ึ้น​

S OU
อยู่​กับ​ปัจจัยด​ ้าน​ระยะ​ทาง (physical distance) และ​ระดับค​ วาม​ใกล้ช​ ิดส​ นิท​สนม​ระหว่าง​ผู้ร​ ่วม​
สนทนา (social distance)
3. ผู้พ​ ูดใ​ ช้ค​ ำ​หรือข​ ้อความ​อ้างอิง (reference) เพื่อท​ ำให้ข​ ้อความ​ที่พ​ ูดอ​ อก​ไป​กระชับ และ​คาด​หวังใ​ ห้​
ผู้​ร่วม​สนทนา​อนุมาน (inference) สิ่งท​ ี่ต​ น​พูดไ​ ด้
4. ผพู้​ ูดม​ กี​ าร​สันนิษฐาน​บาง​สิ่งบ​ าง​อย่าง​ก่อน​การ​พูด (presupposition) และ​สิ่งท​ พี่​ ูดอ​ อก​มา​มแี​ นวคิด​

T
เชิง​เหตุผล (entailment)

S OU
5. การ​สนทนา​จะ​สำเร็จ​ได้​ต้อง​อาศัย​การ​ร่วม​มือ​กัน (cooperation) โดย​ปฏิบัติ​ตา​มกฎ​เกณฑ์​
การ​สนทนา​ที่​สมาชิก​ใน​สังคม​รับ​รู้ร​ ่วม​กัน และ​การ​ตีความ​หมาย​ชี้​บ่ง​เป็นน​ ัยป​ ระเภท​ต่างๆ (impli-
cature)
6. คำ ข้อความ หรือเ​หตุการณ์ส​ นทนา (speech event) ต่างๆ ไม่เ​พียง​แต่ส​ ื่อค​ วาม​หมาย​ตาม​ตัวอ​ ักษร
แต่​อาจ​ใช้​เป็นว​ ัจ​นกร​รม (speech acts) เพื่อใ​ ห้บ​ รรลุ​วัตถุประสงค์ข​ อง​ผู้พ​ ูด

T
7. ใน​การ​สนทนา​ผู้​พูด​สามารถ​กำหนด​ระดับค​ วาม​สุภาพ (politeness) ของ​ตนเอง​และ​การ​รักษา​หน้า​

S OU
ผู้​ฟัง (face saving act) ผ่าน​ทาง​ภาษา​และกลยุทธ์ต​ ่างๆ

วัตถุประสงค์
เมื่อ​ศึกษา​โมดูลท​ ี่ 8 จบ​แล้ว นักศึกษา​สามารถ
1. ระบุ​ความ​หมาย ขอบเขต​และ​ประเด็นส​ ำคัญท​ ี่เ​ป็น​องค์ป​ ระ​กอบ​ของ​วัจน​ปฏิบัติศ​ าสตร์

T
2. ระ​บุ​ดรรชนี​ย​พจน์​ประเภท​ต่างๆ และ​อิทธิพล​ของ​ระยะ​ทาง​ที่ม​ ีต​ ่อก​ าร​ใช้​ดรรชนี​ยพ​ จน์

S
3. อธิบาย​ความ​แตก​ตา่ ง​ระหว่าง​การ​อา้ งอิงแ​ ละ​การ​อนุมาน รวม​ทัง้ เ​ครือ่ ง​มอื ท​ าง​ภาษา​ทใี​่ ช้ใ​ น​การ​อา้ งอิง​
และ​การ​อนุมาน
4. ระบุ​ความ​หมาย​ของ​สภาวะ​เกิด​ก่อน​ใน​สาขา​วิชา​ภาษาศาสตร์​ที่​เกี่ยวข้อง​และ​ความ​หมาย​ของ​
ความ​หมาย​ตกทอด
5. อธิบาย​หลักก​ าร​ที่ก​ ่อใ​ ห้เ​กิดก​ าร​ร่วม​มือก​ ันใ​ น​การ​สนทนา​และ​ความ​หมาย​ชี้บ​ ่งเ​ป็นน​ ัยป​ ระเภท​ต่างๆ
6. อธิบาย​ขั้น​ตอน​และ​ประ​เภท​ของ​วัจน​ กร​รม​และ​เหตุการณ์ก​ าร​พูด
7. ระบุ​กลยุทธ์​ใน​การ​แสดง​ความ​สุภาพ​ด้าน​ต่างๆ รวม​ทั้งก​ าร​รักษา​หน้าผ​ ู้ฟ​ ัง
8-6 ​ภาษาศาสตร์เบื้องต้น​

T O U
S OU
กิจกรรม​การ​เรียน
1. ทำ​แบบ​ประเมิน​ผลตนเอง​ก่อน​เรียน​ใน​คู่มือก​ าร​ศึกษา​โมดูลท​ ี่ 8
2. อ่าน​แผนการ​สอน​ประจำ​โมดูล
3. อ่าน​สาระ​สำคัญ

T
4. ศึกษา​เพิ่ม​เติม​จาก​สื่อ​เสริม​ออนไลน์​ประจำ​โมดูล

S OU
5. ทำ​กิจกรรม​ที่​กำหนด​ไว้​ใน​คู่มือก​ าร​ศึกษา
6. ติดตาม​ประกาศ​ออนไลน์
7. เข้า​ร่วม​การ​สนทนา ถาม​และ​ตอบ​คำถาม กับเ​พื่อน​นักศึกษา​และ​อาจารย์ใ​ น​ห้อง​สนทนา
8. ทำ​แบบ​ประเมิน​ผลตนเอง​หลังเ​รียน

T
S OU
T
S OU
S T
Pragmatics 8-7

O U
วัจน​ปฏิบัติ​ศาสตร์ (pragmatics) เป็น​สาขา​ย่อย​ของ​ภาษาศาสตร์ท​ ี่เ​กิด​ขึ้นใ​ น​ช่วง​ปลาย​ทศวรรษ​ที่ 70
มุ่ง​การ​ศึกษา​ถ้อยคำ​ของ​ผู้​พูด​และ​ความ​เข้าใจ​ของ​ผู้​พูด​ที่​มี​ต่อ​ถ้อยคำ​ของ​ผู้​อื่น สาขา​วิชา​นี้​จึง​มัก​เกี่ยวข้อง​กับ​

T
การ​วิเคราะห์บ​ ท​สนทนา (conversation analysis) ใน​ด้าน​ความ​หมาย​และ​ประเด็นส​ ำคัญใ​ น​วัจนปฏิบัตศิ​ าสตร์

S OU
ขอ​ให้​ศึกษา​จาก​สิ่ง​ที่​มี​ผู้​ให้​คำ​อธิบาย​ไว้​ดังนี้

8.1 ความ​หมาย​ของ​วัจน​ปฏิบัติ​ศาสตร์​และ​ประเด็น​สำคัญ​ใน​วัจน​ปฏิบัติ​ศาสตร์ (Def initions of


Pragmatics and Its Main Issues)

T
ลีช (Leech, 1983) และส​เปอร์​เบอร์​และ​วิล​สัน (Sperber and Wilson, 1986) กล่าว​ว่า นัก​วัจน​ปฏิบัติ​
ศาสตร์​เน้น​การ​วิเคราะห์​ความ​หมาย​หรือ​เจตนา​ของ​ถ้อยคำ​ใน​สอง​ระดับ ระดับแ​ รก คือ ​เจตนา​ใน​การ​ให้ข​ ้อมูล

S OU
(informative intent) หรือ​ความ​หมาย​ของ​ประโยค (sentence meaning) ระดับ​ที่​สอง คือ เจตนา​ใน​การ​
สื่อสาร (communicative intent) หรือค​ วาม​หมาย​ของ​ผู้​พูด (speaker meaning)
แค​ส​เปอร์ (Kasper, 1997) ระบุ​ว่า​ความ​สามารถ​ใน​การ​เข้าใจ​และ​ใช้​ถ้อยคำ​ใน​ระดับ​ที่​สอง​นี้​นับ​เป็น​
ความ​สามารถ​ระ​ดับ​วัจน​ปฏิบัติ​ศาสตร์ (pragmatic competence) ซึ่ง​ประกอบ​ด้วย​ความ​รู้​ความ​เข้าใจ​ของ​

T
ผู้​พูด​ใน​เรื่อง​ของ​ระดับ​ชั้น​ทาง​สังคม​ของ​ผู้​พูด ระดับ​ความ​ใกล้​ชิด​และ​สนิท​สนม​หรือ​ห่าง​ไกล​ของ​คนใน​สังคม
(social distance) รวม​ถึง​ความ​รู้​ทาง​วัฒนธรรม​ของ​ผู้​พูดท​ ี่เ​กี่ยวข้อง​กับค​ วาม​สุภาพ ความ​หมาย​โดยตรง​และ​

S OU
ความ​หมาย​แฝง​ต่างๆ เป็นต้น
ยูล (Yule, 1996) แบ่งข​ อบเขต​หลักในการ​ศึกษา 4 ด้าน ได้แก่
1) วัจน​ปฏิบัติ​ศาสตร์ คือ การ​วิเคราะห์​ความ​หมาย​ของถ้อยคำ (utterance meaning) ที่​ผู้​
พูด​หรือ​ผู้​เขียน​ตั้งใจ​จะ​สื่อ​ความ ตลอด​จน​การ​ตีความ​ของ​ถ้อยคำ​ของ​ผู้ฟ​ ัง​หรือผ​ ู้อ​ ่าน กล่าว​คือ นักว​ ัจน​ปฏิบัติ​
ศาสตร์​ไม่​ศึกษา​เพียง​แค่ค​ วาม​หมาย​โดยตรง​ของ​คำ วลี หรือ​ประโยค

T
2) วัจน​ปฏิบัติศ​ าสตร์ คือ การ​ศึกษา​ความ​หมาย​ตาม​บริ​บท (contextual meaning) กล่าว​คือ

S OU
ความ​หมาย​ของ​ผูพ้​ ูดห​ รือผ​ ูเ้​ขียน​ใน​แต่ละ​บริบ​ ท (context) รวม​ทั้งอ​ ิทธิพล​ของ​บริบ​ ท​ทีม่​ ตี​ ่อภ​ าษา​ของ​ผูพ้​ ูดห​ รือ​
ผู้​เขียน
3) วัจน​ปฏิบัติศ​ าสตร์ คือ การ​ศึกษา​การ​อนุมาน (inference) หรือ​การ​ใช้ถ​ ้อยคำ​ของ​ผู้พ​ ูดห​ รือ​
ผูเ้​ขียน​ใน​การ​สื่อค​ วาม​หมาย​ทีไ่​ กล​กว่าห​ รือล​ ึกซ​ ึ้งก​ ว่าต​ ัวถ​ ้อยคำ​ทีป่​ รากฏ และ​ความ​สามารถ​ของ​ผูฟ้​ ังห​ รือผ​ ูอ้​ ่าน​
ใน​การ​ตีความ​หมาย​ที่​ผู้​พูด​หรือ​ผู้​เขียน​ตั้งใจ​จะ​สื่อ (intended meaning)

T
4) วัจน​ปฏิบัติ​ศาสตร์ คือ การ​ศึกษา​ข้อความ​ที่​ผู้​พูด​หรือ​ผู้​เขียน​เลือก​ใช้​และ/หรือ​ข้อความ​ที่​

S
ผู้​พูด​หรือ​ผู้​เขียน​เลือก​ที่​จะ​ไม่​ใช้ (choice) ซึ่ง​ขึ้นอ​ ยู่ก​ ับค​ วาม​ใกล้ช​ ิด​ทาง​กายภาพ สังคม และ​แนว​ความ​คิด
เพื่อค​ วาม​ชัดเจน​ใน​การ​จำกัดค​ วาม​ของ​วัจน​ปฏิบัตศิ​ าสตร์ ยูล (Yule, 1996) ได้เ​ปรียบ​เทียบ​สาขา​วิชา​นี​้
กับ​สาขา​วิ​ชา​อื่นๆ ใน​ภาษาศาสตร์ท​ ี่​เกี่ยวข้อง ดังนี้
วากยสัมพันธ์ มุ่ ง ศึ ก ษาความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งคำและกลุ่ ม คำและการจั ด เรี ย งลำดั บ คำและ
(Syntax) กลุ่มคำ รวมทั้งวิเคราะห์ว่าการจัดเรียงแบบใดดีหรือถูกต้องและการจัดเรียง
แบบใดไม่ดีหรือไม่ถูกต้อง
8-8 ​ภาษาศาสตร์เบื้องต้น​

O U
อรรถศาสตร์ มุ่งศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรูปภาษา (form) และสิ่งต่างๆ รอบตัว (entities)

T
(Semantics) กล่าวคือ ความหมายตามตัวอักษรของคำพูด ตลอดจนมุ่งวิเคราะห์และสร้าง

S OU
ความสัมพันธ์ระหว่างข้อความกับสภาพการณ์ในโลกว่าเป็นความจริงหรือไม่
โดยไม่นำผู้พูดมาเกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์
วัจนปฏิบัติศาสตร์ มุ่งศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรูปภาษา (form) และผู้ใช้ภาษา (speaker)
(Pragmatics)

T
ดัง​นั้น​อาจ​กล่าว​ได้​ว่า​ใน​สาขา​วิชา​ทั้ง​สาม​นี้ วัจน​ปฏิบัติ​ศาสตร์​เป็น​สาขา​วิชา​เดียว​ที่​มี​การ​วิเคราะห์​ตัว​

S OU
บุคคล​ที่​ใช้ภ​ าษา แต่เ​นื่องจาก​ปัจจัยท​ ี่​เกี่ยวข้อง​กับม​ นุษย์ม​ ักม​ ีค​ วาม​ไม่แ​ น่นอน จึงเ​ป็นค​ วาม​ยาก​หรือส​ ิ่งท​ ้าทาย​
ของ​สาขา​วิชา​นี้ ดัง​ตัวอย่าง​การ​วิ​เครา​ะห์ของ​ยูล (Yule, 1996: 4)
Her: So – did you? (ผู้​หญิง: ดังน​ ั้น คุณ​ได้​ทำ​มั้ย)
Him: Hey – who wouldn’t? (ผู้ชาย: เฮ้ ใคร​บ้าง​ล่ะจะ​ไม่​ทำ​)
บท​สนทนา​ข้าง​ต้น​เป็น​ตัวอย่าง​ของ​การ​เลือก​ใช้​ข้อความ​ที่​สั้น​และ​กระชับ​โดย​ผู้​ร่วม​สนทนา​คาด​ว่า​อีก​

T
ฝ่าย​หนึ่งจ​ ะ​สามารถ​เข้าใจ​ความ​หมาย​ของ did หรือ wouldn’t ว่าห​ มาย​ถึงก​ ารก​ระ​ทำ​ใด​ที่เ​กิดข​ ึ้นม​ า​ก่อน​หน้าน​ ี้​

S OU
โดย​อาศัยห​ ลักเ​กณฑ์ข​ อง​ภาษา​และ​หลักว​ จั น​ปฏิบตั ศ​ิ าสตร์ (เช่น บริบท​ของ​การ​สือ่ สาร หรือค​ วาม​รรู​้ อบ​ตวั ท​ ผี​่ พู​้ ดู ​
มีร​ ่วม​กัน) ความ​หมาย​ของ​บท​สนทนา​นี้​จึงย​ าก​ใน​การ​ตีความ​สำหรับผ​ ู้ท​ ี่อ​ ยู่น​ อก​สถานการณ์ข​ อง​การ​สนทนา
อย่างไร​กด็​ ี นักภ​ าษาศาสตร์ย​ ังค​ ง​สามารถ​วิเคราะห์ภ​ าษา​ตาม​แนว​ทาง​วัจน​ปฏิบัตศิ​ าสตร์ไ​ ด้เ​นื่องจาก​พบ​
ว่า​มนุษย์​มีร​ ูป​แบบ​การ​ใช้​ภาษา​ใน​ชีวิต​ประจำ​วันท​ ี่ส​ ม่ำเสมอ โดย​อาจ​มี​สาเหตุข​ อง​ความ​สม่ำเสมอ ได้แก่
1) ความ​คุ้น​เคย​จาก​การ​เป็น​สมาชิก​ของ​กลุ่ม​สังคม​เดียวกัน ซึ่ง​ทำให้​ต้อง​ใช้​ภาษา​ตาม​ความ​คาด​หวัง​

T
ของ​กลุ่ม เช่น ใน​สังคม​อาหรับ​เมื่อ​มี​การ​ทักทาย​กันด​ ้วย​การ​ถาม​ว่าส​ บาย​ดีห​ รือ​ไม่ คนใน​สังคม​ดังก​ ล่าว (insid-

S OU
ers) มัก​จะ​ไม่​ตอบ​ว่า​สบาย​ดี​หรือ​ไม่​สบาย แต่​จะ​พูด​คำ​สรรเสริญ​พระเจ้า​แทน​ซึ่ง​มี​ความ​หมาย​เป็น​นัยว่า​ดี ทั้งนี้​
การ​ตอบ​โดยตรง​ว่า​สบาย​ดี แม้จ​ ะ​ใช้​คำ​พูด​ที่​ถูกต​ ้อง​ตาม​หลักภ​ าษา ก็จ​ ะ​เป็นการ​บ่งบ​ อก​ได้​ว่า​ผู้พ​ ูดเ​ป็นค​ นนอก
(outsiders) หรือ​ไม่​ได้​มา​จาก​สังคม​และ​วัฒนธรรม​อาหรับ
2) ประสบการณ์​พื้น​ฐาน​ของ​ชีวิต​และ​ความ​รู้​รอบ​ตัว​ที่ไ​ ม่​เกี่ยวข้อง​กับภ​ าษา เช่น เรา​สามารถ​พูดว​ ่า
I found an old bicycle lying on the ground. The chain was rusted and the tires

T
were flat.

S
(ฉันเ​ห็นจ​ ักรยาน​เก่า​ล้ม​อยู่​ที่พ​ ื้น โซ่​ขึ้นส​ นิมแ​ ละ​ยาง​แบน)
โดย​ผู้​พูด​ประโยค​นี้​สามารถ​คาด​หวัง​ว่า​ผู้​ฟัง​จะ​รู้​ว่า​โซ่​และ​ยาง​เป็น​ส่วน​ประกอบ​ของ​จักรยาน จึง​ไม่​
จำเป็น​ต้อง​พูดโดย​ละเอียด​ว่า
I found an old bicycle on the ground. A bicycle has a chain. The chain was rusted.
A bicycle also has tires. The tires were flat.
(ฉันเ​ห็น​จักรยาน​เก่า จักรยาน​มีโ​ ซ่ โซ่​ขึ้นส​ นิม และ​จักรยาน​มีย​ าง ยาง​แบน)
จึงอ​ าจ​กล่าว​ได้ว​ ่าห​ าก​ผูพ้​ ูดพ​ ูดโ​ ดย​ละเอียด​เกินไ​ ป แม้จ​ ะ​ถูกต​ ้อง​ตาม​หลักภ​ าษา​แต่ผ​ ิดห​ ลักว​ ัจน​ปฏิบัติ-
ศาสตร์ ซึ่ง​เป็นการ​ดูถูก​ผู้​ฟัง​ว่า​โง่เ​ขลา​และ​ทำให้ผ​ ู้ฟ​ ังไ​ ม่​พอใจ​ได้
Pragmatics 8-9

O U
นัก​วัจน​ปฏิบัติ​ศาสตร์​ให้​ความ​สนใจ​ศึกษา​วิเคราะห์​ประเด็น​ทาง​ภาษา​หลักๆ ดังต​ ่อไ​ ป​นี้
• ดรรชนี​ย​พจน์ (deixis) และ​ระยะ​ทาง (distance) ดรรชนี​ยพ​ จน์ (deixis) หมาย​ถึง “การ​ชี้”

T
ไป​ที่​บาง​สิ่ง​บาง​อย่าง​ผ่าน​การ​ใช้​คำ​หรือ​ข้อความ เช่น คำ​สรรพนาม​ระบุ​ตัว​บุคคล​หรือ​คำ​วิเศษณ์​บอก​เวลา​และ​

S OU
สถาน​ที่ เป็นต้น โดย​มีป​ ัจจัย​ด้าน​ระยะ​ทาง​หรือ​ระยะ​ห่าง​ทาง​สังคม (distance) เป็น​ตัวก​ ำหนด​คำ​หรือข​ ้อความ​
ที่​ผู้​พูดใ​ ช้
• การ​อา้ งอิง (reference) และ​การ​อนุมาน (inference) การ​อ้างอิง (reference) คือ การ​ใช้ค​ ำ​พูด​
ที่​ช่วย​ให้​ผู้​ฟัง​หรือ​ผู้​อ่าน​ระบุ​บุคคล​หรือ​สิ่ง​ที่​ถู​กกล่าว​ถึง​ได้ ทั้งนี้​ผู้​ฟัง​หรือ​ผู้​อ่าน​มัก​ต้อง​อนุมาน​หรือ​ใช้​ความ​รู้​
เพิ่มเ​ติม​ใน​การ​ตีความ​สิ่งท​ ี่​ผู้​พูด​หรือ​ผู้​เขียน​กล่าว​ไว้​เป็นน​ ัย (inference)

T
• สภาวะ​เกิด​ก่อน (presupposition) และ​ความ​หมาย​ตกทอด (entailment) สภาวะ​เกิด​ก่อน

S OU
(presupposition) คือ การ​สันนิษฐาน​บาง​สิ่ง​บาง​อย่าง​หรือส​ ิ่งท​ ี่ส​ ันนิษฐาน​ก่อน​การ​พูดห​ รือ​การ​เขียน ใน​ขณะ​
ที่​ความ​เป็น​เหตุเ​ป็น​ผล​ของ​เนื้อ​ความ​หรือ​สาร​นับเ​ป็นความ​หมาย​ตกทอด (entailment)
• สหการ (cooperation) และ​ความ​หมาย​ชี้​บ่ง​เป็น​นัย (implicature) การ​ร่วม​มือ​หรือ​สหการ
(cooperation) คือ การ​ร่วม​มือ​ระหว่าง​ผู้​ร่วม​สนทนา​เพื่อ​มี​ส่วน​ทำให้​การ​สนทนา​เป็น​ไป​ด้วย​ความ​เหมาะ​สม​
และ​กระชับ โดย​ผู้​ร่วม​สนทนา​เข้าใจ​ความ​หมาย​ชี้​บ่ง​เป็น​นัย (implicature) ร่วม​กัน ซึ่ง​มัก​เป็น​ความ​หมาย​ที่​

T
ซ่อน​อยู่ ไม่ใช่ค​ วาม​หมาย​ตาม​ตัว​อักษร

S OU
• วัจน​ กร​รม (speech acts) และ​เหตุการณ์ก​ าร​พดู (speech event) วัจน​ กร​รม (speech acts) คือ
การก​ระ​ทำ​ผ่าน​การ​ใช้​ถ้อยคำ เช่น การ​ขอโทษ การ​ชมเชย การ​บ่น การ​สัญญา การ​เชิญ หรือก​ าร​ขอร้อง โดย​มี​
เหตุการณ์ก​ าร​พูด (speech event) ช่วย​ให้​กระบวนการ​กระทำ​ผ่าน​การ​ใช้​ถ้อยคำ​ประสบ​ความ​สำเร็จ
• ความ​สุภาพ (politeness) และ​การ​รักษา​หน้า (face saving act) ความ​สุภาพ (politeness) ใน​
การ​ปฏิสัมพันธ์ คือ วิธี​การ​ต่างๆ ที่​ผู้​พูด​แสดง​ให้​ผู้ฟ​ ัง​เห็นผ​ ่าน​คำ​พูดแ​ ละ​การก​ระ​ทำ​ว่า​ตนเอง​เคารพ​และ​รักษา​

T
หน้า​ผู้​ฟัง (face saving act) โดย​มีป​ ัจจัย​ด้าน​ระยะ​ห่าง​ทาง​สังคม​เป็น​ตัว​กำหนด

S OU
ขอ​ให้​ศึกษา​ประเด็น​ต่างๆ ใน​สาขา​วิ​ชาวั​จน​ปฏิบัติศ​ าสตร์ ดังต​ ่อไ​ ป​นี้

8.2 ดรรชนี​ย​พจน์ (Deixis) และ​ระยะ​ทาง (Distance)


นักภ​ าษาศาสตร์เ​ชื่อว​ ่า การ​ใช้ด​ รรชนีย​ พ​ จน์ (deixis) สามารถ​สื่อค​ วาม​หมาย​ได้ม​ ากกว่าป​ ริมาณ​ถ้อยคำ​
หรือ​ข้อความ​ที่​ผู้​พูด​ใช้​คำ​หรือ​ข้อความ​ที่​เป็น​ดรรชนี​ย​พจน์ (deictic expression หรือ indexical) แบ่ง​ออก​

T
เป็น​ 3 ​ประเภท​หลัก ได้แก่

S
8.2.1 ดรรชนี​ย​พจน์​บุคคล (Person Deixis) คือ การ​ใช้​คำ​สรรพนาม​บุรุษ​ที่​หนึ่ง​เพื่อ​ระบุ​ผู้​พูด​หรือ​
ผู้​เขียน (เช่น ผม ฉัน I, we) คำ​สรรพนาม​บุรุษ​ที่​สอง​เพื่อ​ระบุ​ผู้​ฟัง​หรือ​ผู้​อ่าน (เช่น คุณ เธอ you) และ​
คำ​สรรพนาม​บุรุษ​ที่​สาม​เพื่อ​ระบุ​ผู้​ที่​ไม่​ได้​อยู่​ใน​เหตุการณ์​สนทนา (เช่น เขา เธอ มัน he, she, it) ทั้งนี้​ใน​
การ​สนทนา​จะ​มี​การ​สลับ​บทบาท​ระหว่าง​บุคคล จึง​ทำให้​มี​การ​สลับ​ไป​มาระ​หว่าง​บุคคล​ที่​ระบุ​โดย​คำ​สรรพนาม​
บุรุษ​ที่ห​ นึ่ง​และ​คำ​สรรพนาม​บุรุษ​ที่​สอง
ดรรชนีย​ พ​ จน์บ​ ุคคล​มคี​ วาม​เชื่อม​โยง​กับส​ ถานะ​ทาง​สังคม​ของ​ผูร้​ ่วม​สนทนา​อย่าง​หลีกเ​ลี่ยง​ไม่ไ​ ด้ ภาษา​
ไทย​มี​การ​ใช้​สรรพนาม​แสดง​ระดับ​เกียรติยศ​ใน​ภาษา (honorifics) บ่งช​ ี้​ความ​ต่าง​ใน​สังคม เช่น ท่าน คุณ​ท่าน
พระคุณ​เจ้า ซึ่ง​ได้​ชื่อ​ว่า​เป็น ดรรชนี​ย​พจน์ส​ ังคม (social deixis)
8-10 ​ภาษาศาสตร์เบื้องต้น​

O U
นอกจาก​นี้ ยัง​มี​ข้อ​สังเกต​อื่นๆ เกี่ยว​กับก​ าร​ใช้​ดรรชนี​ย​พจน์บ​ ุคคล เช่น การ​ใช้ we อาจ​ไม่ไ​ ด้​หมาย​ถึง​

T
กลุ่ม​ผู้​พูด​หรือ​ผู้​เขียน​อย่าง​เดียว แต่เ​ป็น​สรรพนาม​ที่น​ ิยม​ใช้​ใน​การ​สร้าง​กฎ​เกณฑ์​ให้ท​ ุกค​ น​ปฏิบัติต​ าม เช่น
We clean up the kitchen after use. (พวก​เรา​ทำความ​สะอาด​ครัว​หลังก​ าร​ใช้)

S OU
ทั้ง​ใน​ภาษา​อังกฤษ​และ​ภาษา​ไทย คำ​ว่า We หรือ “พวก​เรา” หมาย​ถึง​ ผู้​พูดห​ รือก​ ลุ่มผ​ ู้​พูดเ​ท่านั้น หรือ​
ผู้​พูด​หรือ​กลุ่ม​ผู้​พูด​และ​ผู้​อื่น
8.2.2 ดรรชนี​ย​พจน์​สถาน​ที่ (Spatial Deixis) คือ การ​ใช้​คำ​สรรพนาม ได้แก่ อัน​นี้ อัน​นั้น พวก​นี้
พวก​นั้น this, that, these, those ตลอด​จน​คำ​วิเศษณ์ ที่​นี่ ที่​นั่น here, there เพื่อ​ระบุ​ที่​ตั้ง​ของ​สิ่ง​ต่างๆ
บน​พื้น​ฐาน​ของ​ผู้​พูด​หรือ​ผู้​เขียน เช่น I’ll leave this here. (ฉัน​จะ​ปล่อย​อันน​ ี้ไ​ ว้​ตรง​นี้) ผู้​ฟังม​ ักต​ ้อง​ตีความ​

T
ประโยค​ทีด่​ รรชนีย​ พ​ จน์ล​ ักษณะ​นีโ้​ ดย​ใช้บ​ ริบ​ ท​เดียว​กับผ​ ูพ้​ ูดแ​ ละ​มักค​ ลุมเ​ค​รือส​ ำหรับผ​ ูท้​ ีไ่​ ม่ไ​ ด้อ​ ยูใ่​ น​เหตุการณ์​

S OU
การ​พูด​และ​ต้อง​มีก​ าร​แปล​หรือ​อธิบาย​ว่า this และ here หมาย​ถึงส​ ิ่งใ​ ด​และ​สถาน​ที่ใ​ ด
อย่างไร​ก็​ดี ระยะ​ทาง (distance) ที่​ระบุ​ใน​ดรรชนี​ย​พจน์​สถาน​ที่​มี​ทั้ง​ระยะ​ทาง​ใกล้​ไกล​ทาง​กายภาพ
(physical distance) ที่​เป็น​จริง​หรือ​อาจ​เป็น​ระยะ​ทาง​ตาม​ความ​รู้สึกข​ อง​ผู้พ​ ูด เช่น ผู้ห​ ญิงค​ น​นั้น อาจ​หมาย​ถึง​
ผู้​หญิง​ที่​อยู่​ไกล​ออก​ไป หรือ​ไม่​ได้​อยู่​ไกล​แต่​ผู้พ​ ูดไ​ ม่​ได้​รู้สึกใ​ กล้ช​ ิด​ด้วย
8.2.3 ดรรชนี​ย​พจน์​เวลา (Time Deixis) คือ การ​ใช้​คำ​วิเศษณ์ ได้แก่ ตอน​นี้ ขณะ​นี้ เวลา​นี้ ตอน​นั้น

T
ขณะ​นั้น เวลา​นั้น now, at this moment, at this time, then, at that moment หรือ at that time

S OU
รวม​ถึงก​ าร​ใช้​รูป​คำ​กริยา​ที่​เป็น​ปัจจุบันใ​ น​การ​บอก​เวลา​ที่​ใกล้เ​คียง​กับ​ปัจจุบัน เช่น
Are you joining us here tomorrow?
และ​รูป​คำ​กริยา​ที่​เป็น​อดีต​ใน​การ​บอก​เวลา​ที่​ไกล​ออก​ไป ซึ่ง​สังเกต​ได้​จาก​ประโยค​ที่​มี​ความ​หมาย​
ใกล้​เคียง​กัน เช่น
I asked him whether he was joining us there the following day.

T
นอกจาก​นี้ รูป​คำ​กริยา​ที่เ​ป็น​อดีต​ยัง​ระบุถ​ ึงเ​หตุการณ์ท​ ี่ไ​ ม่​เพียง​แต่ไ​ กล​ออก​ไป​ใน​อดีต แต่ย​ ังไ​ กล​จาก​

S OU
ความ​เป็น​จริง​อีก​ด้วย ดัง​จะ​เห็น​ได้​จากประโยค​เงื่อนไข​ชนิด​ที่​สาม (past unreal conditional sentences)
เช่น
If I had known you were leaving, I would have tried to stop you.
(ถ้า​ฉันร​ ู้​ก่อน​ว่า​คุณ​กำลัง​จะ​ไป​จาก​ที่น​ ี่ ฉันจ​ ะ​พยายาม​ห้าม​คุณ)

S T
กิจกรรม​ที่ 1
ให้​นักศึกษา​ขีด​เส้น​ใต้​คำ​หรือ​ข้อความ​ที่​เป็น​ดรรชนี​ย​พจน์ (deictic expression หรือ indexical)
ของ​ประโยค​ต่างๆ ใน​ย่อหน้า​นี้ และระบุว่าแต่ละคำเป็นดรรชนียพจน์ประเภทใดและหมายถึงสิ่งใด
Talbot lives in Streetly, in the West Midlands, and currently attends a state primary school
there. She lives with her mother, Sharon, her father Gavin, a self-employed property maintenance
engineer, her brother Josh, and her sister, Mollie. Talbot sang "Over the Rainbow", her signature song,
at her grandmother's funeral, because she and her grandmother had enjoyed watching The Wizard of
Oz together. Talbot drew conf idence in Britain's Got Talent from the belief that her grandmother was
Pragmatics 8-11

O U
watching, and vowed to win the show in her memory. Despite Talbot speaking positively of the effects
of her fame, her parents spoke of a darker side, as they had to change their phone number and hire a

T
bodyguard for their daughter at this time.

S OU
8.3 กา​รอ้า​งอิง (Reference) และ​การ​อนุมาน (Inference)
8.3.1 การ​อ้างอิง (Reference) ผู้​พูด​หรือ​ผู้​เขียน​ใช้​คำ​และ​ข้อความ​เพื่อ​การ​อ้าง​ถึง​บุคคล​หรือ​สิ่ง​ต่างๆ

T
อยู่​เสมอ คำ​หรือ​ข้อความ​ที่​ใช้​เพื่อ​การ​อ้างอิง (referential expression) อาจ​เป็นค​ ำ​ชนิดต​ ่างๆ ดังนี้
1) คำ​สรรพนาม (pronoun) เพื่อ​เชื่อม​โยง​ถึงบ​ ุคคล สัตว์ สิ่งของ สถาน​ที่ต​ ่างๆ เช่น ผม ฉัน คุณ

S OU
ท่าน เธอ เขา พวก​เรา มัน อันน​ ั้น อันน​ ี้ ใน​ภาษา​ไทย และ I/me/mine, you/yours, we/us/ours, they/them/
theirs, he/him/his, she/her/hers, it/its, this, that, these, those ใน​ภาษา​อังกฤษ
2) คำ​นาม​เฉพาะ (proper noun) ได้แก่ ชื่อ​คน สัตว์ สถาน​ที่​ต่างๆ เช่น สุนทร​ภู่ New York,
Harrods
3) นาม​วลี (noun phrase) แบ่ง​เป็น​ 2 ​ประเภท​ย่อย ได้แก่ นาม​วลี​แบบ​เฉพาะ​เจาะจง (definite

T
noun phrase) เช่น the boy (เด็กค​ น​นี้) this shop (ร้าน​นี้) และ​นาม​วลี​แบบ​ไม่เ​ฉพาะ​เจาะจง (indefinite

S OU
noun phrase) เช่น a boy (เด็ก​คน​หนึ่ง) a shop (ร้าน​ค้าแ​ ห่งห​ นึ่ง)
4) ข้อความ​กำกวม (vague expression) เช่น the pink thing (ของ​สีชมพูน​ ั้น) the bulky stuff
(ของ​ใหญ่ๆ นั่น)
8.3.2 การ​อนุมาน (Inference) ฟินช์ (Finch, 2000) กล่าว​วา่ ผูฟ​้ งั ห​ รือผ​ อู​้ า่ น​ตอ้ ง​มก​ี ระบวนการ​ตคี วาม​
หรืออ​ นุมาน (inference) เนื่องจาก​ใน​การ​ใช้ข​ ้อความ​อ้างอิงท​ ำให้ผ​ ูพ้​ ูดห​ รือผ​ ูเ้​ขียน​จะ​ประหยัดจ​ ำนวน​คำ​และ​ไม่​

T
บอก​สิ่ง​ที่​ต้องการ​จะ​สื่อ​อย่าง​ชัดเจน​ทั้งหมด เพราะ​คาด​เดา​ว่า​ผู้​ฟัง​หรือ​ผู้​อ่าน​มี​พื้น​ฐาน​ความ​รู้​ใน​เรื่อง​ดัง​กล่าว​

S OU
และ​สามารถ​เข้าใจ​ความ​หมาย​ที่​ซ่อน​อยู่​ได้ การ​อนุมาน​ขึ้น​อยู่ก​ ับป​ ัจจัยต​ ่างๆ ดังนี้
1) บริบท​ต่างๆ ใน​ข้อความ เช่น​ใน​บท​สนทนา​ต่อ​ไป​นี้
A: Have you seen my passport? (คุณ​เห็นห​ นังสือเดินทาง​ของ​ผม​ไหม)
B: Have you looked in your briefcase? (คุณ​ได้ห​ า​ดูใ​ น​กระเป๋า​เอกสาร​หรือย​ ัง)
บท​สนทนา​ข้าง​ต้น​แสดง​ให้​เห็น​ว่า B คาด​ว่า​หนังสือเดินทาง​ของ A น่า​จะ​อยู่​ใน​กระเป๋า​เอกสาร

T
และ​คำ​ตอบ​ของ B ทำให้ A คาด​ว่า​เขา​อาจ​จะ​พบ​หนังสือเดินทาง​ใน​กระเป๋าเ​อกสาร

S
2) ข้อความ​ที่​ใช้​เพื่อ​การ​อ้างอิง ไม่​ว่า​จะ​เป็น​คำ​สรรพนาม คำ​นาม หรือ​นาม​วลี​ต่างๆ เช่น The
office nine-to-five cycle isn’t going to capture Panita, though she has slipped in and out of
the rat race since her graduation.
ผู้​เขียน​ประโยค​ข้าง​ต้น​นี้​คาด​ว่า​ผู้​อ่าน​สามารถ​อนุมาน​ได้​ว่า she เป็น​คำ​สรรพนาม​อ้างอิง​ถึง​
บุคคล​ที่ก​ ล่าว​มา​แล้ว​คือ Panita และ the rat race เป็นน​ าม​วลี​อ้างอิงถ​ ึง The office nine-to-five cycle
ที่​กล่าว​มา​ข้าง​ต้น​แล้ว​เช่นก​ ัน
8-12 ​ภาษาศาสตร์เบื้องต้น​

O U
3) ความ​รู้​รอบ​ตัว​ร่วม​กัน เช่น ใน​บท​สนทนา​ต่อไ​ ป​นี้

T
A: How do you know you’re a real netizen?
(คุณจ​ ะ​รู้​ได้​อย่างไร​ว่าค​ ุณ​เป็นพ​ ลเมือง​ใน​อินเทอร์เน็ต)

S OU
B: When all of your friends have an @ in their names! 
(เมื่อ​เพื่อนๆ ทุก​คน​ของ​คุณ​มีเ​ครื่องหมาย @ ใน​ชื่อข​ อง​พวก​เขา)
บท​สนทนา​ข้าง​ต้น​แสดง​ให้​เห็น​ว่า A คาด​ว่า B มี​ความ​รู้​เพียง​พอที่​จะ​เข้าใจ​ความ​หมาย​ของ​
คำ​ว่า netizen (ซึ่ง​หมาย​ถึง​พลเมือง​ใน​สังคม​ออนไลน์) ใน​ขณะ​ที่ค​ ำ​ตอบ​ของ B คาด​ว่า A เข้าใจ​ความ​หมาย​
ของ​สัญลักษณ์ @ ที่​ใช้​ใน​ชื่อ​ผู้​ใช้​ไปรษณีย์​อิเล็กทรอนิกส์

T
S OU
กิจกรรม​ที่ 2
ตอบ​คำถาม​ของ​สถานการณ์​ต่างๆ ต่อ​ไป​นี้​โดย​ใช้​การ​อนุมาน (inference)
1. I almost wished that I hadn’t watched the television. I had to open the closet, grabbed my
raincoat, and felt so silly carrying it to the bus stop on a very sunny morning.

T
Question: What did the television tell the speaker?

S OU
Answer: ______________________________
2. No, Sweetheart, you don’t need to spend a lot of money buying me a birthday present.
Just having you in my life is the only gift I need. I’ll just drive my old rusty car to the mall and buy
myself a little present. And if the dirty nasty old car doesn’t break down, I’ll be back soon.
Question: What does the speaker actually want for a present?

T
Answer: _______________________________

S OU
3. A:  So, you’re f inally leaving?
B:   Seems like it.
A: Is that yes or no?
B: Unless you got some other idea.
A: I've run out of ideas. Why? Do you have any other ideas?

T
B: If I did, I wouldn’t be going, would I?

S
Question: What will happen after the conversation?
Answer: _______________________________
Pragmatics 8-13

O U
8.4 สภาวะ​เกิด​ก่อน (Presupposition) และ​ความ​หมาย​ตกทอด (Entailment)
8.4.1 สภาวะ​เกิด​ก่อน (Presupposition) ฟินช์ (Finch, 2000) แบ่งแ​ ยก​คำ​นิยาม​ของ​สภาวะ​เกิดก​ ่อน

T
(presupposition) ใน​สาขา​วิชา​อรรถ​ศาสตร์​และ​วัจน​ปฏิบัติ​ศาสตร์​ออก​จาก​กัน ดังนี้

S OU
1) ใน​สาขา​อรรถ​ศาสตร์ (semantics) สภาวะ​เกิด​ก่อน คือ การ​ที่​ผู้​ฟัง​หรือ​ผู้​อ่าน​สันนิษฐาน​
ความ​หมาย​โดย​นัย​บน​พื้น​ฐาน​ความ​เป็น​จริงจ​ าก​ข้อความ​ที่ผ​ ู้พ​ ูด​หรือผ​ ู้เ​ขียน​ได้ส​ ื่ออ​ อก​มา เช่น
สภาวะ​เกิด​ก่อน​ของ​ประโยค My sister got married yesterday. คือ I have a sister.
(ผู้​พูดม​ ี​พี่ส​ าว​หรือน้อง​สาว) หรือ
สภาวะ​เกิด​ก่อน​ของ​ประโยค Sorry I’m late. คือ I’m late. (ผู้พ​ ูดม​ า​สาย)

T
ทั้งนี้​ใน​บาง​โครงสร้าง​ทาง​ภาษา​อังกฤษ คำ​กริยา​สามารถ​ช่วย​ระบุ​สภาวะ​เกิดก​ ่อน​ได้ เช่น

S OU
สภาวะ​เกิด​ก่อน​ของ​ประโยค I forgot sending the mail. คือ I sent the mail.
(ผู้​พูดไ​ ด้​ส่งจ​ ดหมาย​ไป​แล้ว)
สภาวะ​เกิด​ก่อน​ของ​ประโยค I forgot to send the mail คือ I did not send the mail.
(ผู้​พูดย​ ังไ​ ม่ไ​ ด้​ส่งจ​ ดหมาย)
2) ใน​สา​ขาวั​จน​ปฏิบัติ​ศาสตร์ (pragmatics) สภาวะ​เกิด​ก่อน คือ การ​ที่​ผู้​ร่วม​สนทนา​ทั้ง​สอง​

T
ฝ่าย​เข้าใจ​ความ​หมาย​โดย​นัย​ของ​กัน​และ​กัน​จาก​ความ​รู้เ​ดิม​ที่ม​ ีร​ ่วม​กัน เช่น

S OU
เมื่อ​ผู้​พูด​ถาม​ผู้​ฟัง​ว่า Would you like some cake? It will keep you going.
สภาวะ​เกิด​ก่อน คือ ผู้​พูด​พอ​จะ​รู้​ว่า​ผู้​ฟัง​รู้สึก​หิว​แต่​ยัง​ไม่มี​โอกาส​หยุด​พัก​รับ​ประทาน​
อาหารได้
สภาวะ​เกิดก​ ่อน​ใน​ลักษณะ​นี้​พบ​ได้​บ่อย​ใน​ภาษา​สื่อมวลชน​และ​โฆษณา เช่น ใน​หัวข้อข​ ่าว
“ผล​วิจัย​ชี้ Bing ไม่​ปิ๊​งอ​ย่าง​ที่​คิด”

T
สภาวะ​เกิด​ก่อน คือ ผู้​เขียน​คาด​ว่า​ผู้อ​ ่าน​รู้จัก Bing ว่า​เป็น search engine ที่เ​พิ่ง​พัฒนา​

S OU
ขึ้น​มา​โดย​บริษัท​ไมโคร​ซอฟท์ (Microsoft) และ “ปิ๊ง” คือ ความ​สำเร็จ​ที่​บริษัทฯ คาด​หวัง​ไว้
โฆษณา​รถยนต์​ยี่ห้อหนึ่ง​มี​สโลแกน​ว่า Moving forward (เคลื่อนที่ไ​ ป​ข้าง​หน้า)
สภาวะ​เกิดก​ ่อน คือ ผูเ้​ขียน​คาด​ว่าผ​ อู้​ ่าน​ทราบ​ดวี​ ่าส​ ิ่งท​ เี่​คลื่อนทีไ่​ ป​ข้าง​หน้าใ​ น​ทนี่​ คี้​ ือร​ ถยนต์​
รวม​ทั้ง​เทคโนโลยี​ของ​บริษัท​รถยนต์นั้น
8.4.2 ความ​หมาย​ตกทอด (Entailment) คือ แนวคิด​เชิง​เหตุผล​ของ​ประโยค​หรือ​ข้อความ​ที่​สื่อ​

T
ออก​มา​บน​พื้น​ฐาน​ของ​สภาพ​ความ​เป็น​จริง (truth condition) ยูล (Yule, 1996: 33) แสดง​ความ​สัมพันธ์ข​ อง​

S
ความ​หมาย​ตกทอด​ใน​ประโยค Rover chased three squirrels. ดังนี้
a) Something chased three squirrels.
b) Rover did something to three squirrels.
c) Rover chased three of something.
d) Something happened.
ทั้งนี้​ลำดับ​ก่อน​หลังข​ อง​ประโยค a) - d) ที่ผ​ ู้​พูดส​ ันนิษฐาน​ไว้​อาจ​เปลี่ยนแปลง​ตาม​ความ​หมาย​ที่ผ​ ู้​พูด​
ต้องการ​จะ​เน้น​ เช่น
8-14 ​ภาษาศาสตร์เบื้องต้น​

O U
• ROVER chased three squirrels. (เน้น​ผู้ก​ ระทำ กล่าว​คือ It was Rover that chased the

T
squirrels.)
• Rover chased THREE squirrels. (เน้น​จำนวน​สิ่ง​ที่​ถูก​กระทำ กล่าว​คือ Three squirrels were

S OU
chased.)
โดย​ใน​ภาษา​พูด​สิ่ง​ที่​เน้น​จะ​บ่ง​บอก​โดย​การ​ลง​เสียง​หนัก​ใน​คำ​ที่​ผู้​พูด​ต้องการ​จะ​เน้น ซึ่ง​ทำให้​ผู้​ฟัง​
สามารถ​รับ​รู้​ได้​ว่า​ผู้​พูด​ต้องการ​จะ​บอก​อะไร​เป็นส​ ำคัญ

T
กิจกรรม​ที่ 3

S OU
บอก​สภาวะ​เกิด​ก่อน (presupposition) ของ​ประโยค​ต่างๆ ดัง​ต่อ​ไป​นี้​อย่าง​สั้นๆ
ตัวอย่าง The police ordered the minors to stop drinking.
สภาวะ​เกิด​ก่อน (presupposition): The minors were drinking.
1. Please take me out to the park again.
2. That her dog ran away made Nathalie very sad.

T
3. It is strange that North Vietnam defeated the United States in the Vietnam War.

S OU
4. Disa wants more ice-cream.
5. Why can’t penguins fly?

8.5 สหการ (Cooperation) และ​ความ​หมาย​ชี้​บ่ง​เป็น​นัย (Implicature)

T
8.5.1 สหการ (Cooperation) ไกร​ซ์ (Grice, 1975: 45-47) กล่าว​ว่าการ​สนทนา​จะ​ประสบ​ความ​สำเร็จ​

S OU
ได้​ขึ้น​อยู่​กับ​ความ​ร่วม​มือ​ของ​ผู้​ร่วม​สนทนา โดย​ปกติ​ผู้​ร่วม​สนทนา​คาด​หวัง​ว่า​อีก​ฝ่าย​หนึ่ง​จะ​ปฏิบัติ​ตาม​หลัก​
ความ​ร่วม​มือใ​ น​การ​สนทนา (cooperative principle) ซึ่งม​ ีก​ ฎ​หลักข​ อง​การ​สนทนา 4 ​ประการ (four maxims
of conversation) ดังนี้
1) หลัก​ปริมาณ (Quantity) ระบุ​ว่า​ผู้​พูด​ควร​ให้​ข้อมูล​เพียง​พอ​กับ​ความ​ต้องการ​ของผู้​ฟัง
ไม่​น้อยห​รือ​มาก​เกิน​ความ​จำเป็น

T
2) หลัก​คุณภาพ (Quality) ระบุ​ว่า​ผู้​พูด​ควร​ให้​ข้อมูล​ตาม​ความ​เป็น​จริง ไม่​อิง​กับ​ความ​เชื่อ​ของ​

S
ตนเอง​มาก​เกินไ​ ป และ​ไม่​พูด​ใน​สิ่ง​ที่​ไม่มี​หลักฐ​ าน
3) หลักค​ วาม​สมั พันธ์ (Relation) ระบุว​ ่าผ​ ูพ้​ ูดค​ วร​พูดใ​ น​สิ่งท​ ีเ่​กี่ยวข้อง​กับส​ ถานการณ์ห​ รือบ​ ริบ​ ท​
ของ​การ​สนทนา ไม่​หักเห​ไป​พูด​สิ่งอ​ ื่น
4) หลักค​ วาม​เหมาะ​สม (Manner) ระบุว​ า่ ผ​ พู​้ ดู ค​ วร​หลีกเ​ลีย่ ง​คำ​พดู ก​ ำกวม ควร​พดู ก​ ระชับ ชัดเจน​
และ​มี​ลำดับ​การ​พูด​ที่​สม​เหตุ​สม​ผล
ทั้งนี้​ไม่​จำเป็น​ต้อง​มี​การ​เรียน​การ​สอน​หลัก​ของ​การ​สนทนา​ทั้ง​สี่​ข้อ​อย่าง​เป็น​ทางการ​เนื่องจาก​เป็น
กฎ​เกณฑ์​ที่ส​ มาชิก​ทุก​คนใน​สังคม​เรียน​รู้​ผ่าน​กระบวนการ​ขัดเกลา​ทาง​สังคม (socialization)
Pragmatics 8-15

O U
วอร์ดอฟ (Wardaugh, 1998: 292) ยก​ตัวอย่าง​บท​สนทนา 2 บท ที่​ผู้​ร่วม​สนทนา​ไม่​ร่วม​มือ​กัน​
โดย​ผู้​พูด B มี​การ​ละเมิด​หลัก​ความ​สัมพันธ์ (relation) หรือ​พูด​ใน​สิ่ง​ที่​ไม่​เกี่ยวข้อง​และ​ไม่​เป็น​ไป​ตาม

T
​ความ​คาด​หวัง​ของ​ผู้​พูด A และ​คน​ทั่วไป​ใน​สังคม ดังนี้

S OU
บทสนทนา A: I wonder what time the sun rises tomorrow. คำตอบที่ผู้พูด A และคนทั่วไป
ที่ 1 (ฉันอยากจะทราบว่าพรุ่งนี้ดวงอาทิตย์จะขึ้นเวลาใด) ในสังคมคาดหวังจะเป็นการบอก
B: The sun doesn’t rise; the earth rotates. เวลารุ่งสางของวันใหม่ ไม่ใช่หลัก
(ดวงอาทิตย์ไม่ได้ขึ้น แต่โลกหมุนรอบตัวเอง) ความเป็นจริงทางดาราศาสตร์

T
บทสนทนา A: Have a nice day. เมื่อผู้พูด A อวยพร ผู้พูด B

S OU
ที่ 2 (ขอให้วันนี้เป็นวันดีนะ) ก็ย่อมคาดหวังข้อความแสดง
B: What’s a nice day? การขอบคุณหรือการอวยพรกลับ
(วันดีคืออะไร) ไม่ใช่การถามหาความหมายของ
สิ่งที่ตนได้อวยพร

T
นอกจาก​นี้​ยูล (Yule, 1996: 36) ยัง​ยก​ตัวอย่าง​อีก​บท​สนทนา​หนึ่ง​ที่​ผู้​ร่วม​สนทนา​ไม่​ร่วม​มือ​กัน​โดย​

S OU
ผู้​พูด​หญิง มี​การ​ละเมิด​หลัก​ปริมาณ (quantity) โดย​ให้​ข้อมูลไ​ ม่เ​พียง​พอที่ผ​ ู้​พูดช​ าย​ต้องการ
Man: Does your dog bite? (สุนัขข​ อง​คุณ​กัดห​ รือเ​ปล่า)
Woman: No. (เปล่า)
ดัง​นั้น ผู้ชาย​จึง​เอื้อม​มือ​ไป​ลูบ​สุนัข แต่​ถูก​สุนัข​ตัว​นั้น​กัด​มือ
Man: Ouch! Hey! You said your dog doesn’t bite.

T
(โอ๊ย เอ๊ะ ไหน​คุณ​บอก​ว่าส​ ุนัขข​ อง​คุณ​ไม่​กัดย​ ังไ​ ง​ล่ะ)

S OU
Woman: He doesn’t. But that’s not my dog. (สุนัขข​ อง​ฉัน​ไม่ก​ ัด แต่ต​ ัว​นี้ไ​ ม่ใช่ข​ อง​ฉัน)
โดย​ปกติ​หาก​ผู้​พูด​ไม่​แน่ใจ​ว่า​ตนเอง​สามารถ​ให้​ข้อมูล​ที่​ถูก​ต้อง​ตาม​หลัก​คุณภาพ (quality) หรือ​
ไม่​สามารถ​หลีก​เลี่ยง​ความ​กำกวม​ตาม​หลัก​ความ​เหมาะ​สม (manner) อาจ​ใช้​ข้อความ​แสดง​ความ​ไม่​แน่ใจ
(hedges) เช่น As far as I know/ I may be mistaken/ I’m not sure if this is right/ I guess
เพื่อ​ส่ง​สัญญาณ​ให้​ผู้​ร่วม​สนทนา​ทราบ ดัง​ตัวอ​ ย่าง​ของ​ยูล (Yule, 1996: 38) ต่อไ​ ป​นี้

T
As far as I know, they’re married. (เท่าท​ ี่ฉ​ ันท​ราบ พวก​เขา​แต่งงาน​กันแ​ ล้ว)

S
I may be mistaken, but I thought I saw a wedding ring on her finger. (ฉันอ​ าจ​จะ​ผิดพ​ ลาด​
ก็ได้ แต่​ฉัน​เห็น​แหวน​แต่งงาน​ที่​นิ้ว​ของ​เธอ)
I’m not sure if this is right, but I heard it was a secret ceremony in Hawaii. (ฉันไ​ ม่แ​ น่ใจ​
ว่า​ฉัน​พูด​ถู​กรึ​เปล่า แต่​ได้ยิน​มา​ว่า​พวก​เขา​จัดพ​ ิธีล​ ับๆ ที่ฮ​ าวาย)
He couldn’t live without her, I guess. (ฉันเ​ดา​ว่าเ​ขา​คง​อยู่ไ​ ม่ไ​ ด้​ถ้าไ​ ม่มีเ​ธอ​อยู่ด​ ้วย)
8-16 ​ภาษาศาสตร์เบื้องต้น​

O U
8.5.2 ความ​หมาย​ชี้​บ่ง​เป็น​นัย (Implicature) ฟินช์ (Finch, 2000) แบ่ง​ความ​หมาย​ชี้​บ่ง​เป็น​นัย

T
(implicature) ออก​เป็น​ 2 ​ประเภท ได้แก่
1) ความ​หมาย​ชี้​บ่ง​เป็น​นัย​ตาม​แบบแผน (Conventional Implicature) คือ ลำดับ​ของ​ข้อความ​

S OU
เชิง​เหตุผล ตาม​จริง หรือ​เป็น​ธรรมชาติ โดย​ไม่​จำเป็น​ต้อง​อาศัย​บริ​บท​ช่วย​ใน​การ​ตีความ เช่น เมื่อ​กล่าว​ว่า
Some people are rich here. ย่อม​มี​ความ​หมาย​ชี้​บ่งเ​ป็น​นัยว่า Some people are not rich here.
2) ความ​หมาย​ชี้​บ่ง​เป็น​นัย​ไม่​ตาม​แบบแผน (Non-conventional Implicature) จำเป็น​ต้อง​อาศัย​
ข้อมูล​ต่างๆ ในบริบ​ ท​ช่วย​ใน​การ​ตีความ เช่น ใน​การ​ตีความ​ประโยค I like you. (ฉัน​ชอบ​คุณ) ขึ้นอ​ ยู่ก​ ับค​ วาม​
สัมพันธ์ร​ ะหว่าง​ผูพ้​ ูดแ​ ละ​ผูฟ้​ ังแ​ ละ​สถานการณ์ข​ อง​การ​สนทนา​ว่าเ​ป็นค​ วาม​ชอบ​ใน​ลักษณะ​เพื่อน เพื่อน​ร่วม​งาน

T
คน​รัก หรือเ​จ้า​นาย​และ​ลูก​น้อง

S OU
ทั้งนี้​ความ​หมาย​ชี้​บ่ง​เป็น​นัย​ไม่​ตาม​แบบแผน​ยัง​สามารถ​แบ่ง​ออก​เป็น​รูป​แบบ​ย่อย​ได้​อีก​รูป​แบบ​
หนึ่ง​เรียก​ว่า ความ​หมาย​ชี้​บ่ง​เป็น​นัย​ใน​บท​สนทนา (conversational implicature) ซึ่ง​ต้อง​อาศัย​หลัก​ความ​
ร่วม​มือใ​ น​การ​สนทนา (cooperative principle) และ​การ​อนุมาน (inference) ของ​ผูร้​ ่วม​สนทนา​ใน​การ​ตีความ
เช่น
เมื่อ​ผู้​พูด A ถาม​ว่า Did you buy any fruit? (คุณ​ซื้อผ​ ล​ไม้​มา​บ้าง​รึ​เปล่า)

T
ผู้​พูด B ตอบ​ว่า I got some bananas and apples. (ฉันซ​ ื้อก​ ล้วย​และ​แอปเปิล​มา)

S OU
ซึ่งม​ คี​ วาม​หมาย​ชีบ้​ ่งเ​ป็นน​ ัยใ​ น​บท​สนทนา​ว่าก​ ล้วย​และ​แอปเปิลอ​ ยูใ่​ น​ขอบเขต​ของ​ผล​ไม้ท​ ีก่​ ำหนด​
ไว้​ใน​คำถาม​ของ A และ​ผู้​พูด B ไม่​ควร​พูด​ถึงส​ ิ่ง​อื่นท​ ี่ไ​ ม่​เกี่ยวข้อง​กับผ​ ล​ไม้

กิจกรรม​ที่ 4

T
ระบุ​ว่า​ผู้​พูด B ละเมิด​หลัก​ของ​การ​สนทนา​(maxims of conversation) ใดใน​สถานการณ์​ต่อ​ไป​นี้

S OU
1. A: Do you think Marion is pretty?
B: Let’s just say that to me she doesn’t look healthy.
2. A: It’s very quiet. I don’t think there will be any customers today.
B: What? Not one? There must be a natural disaster nearby.
3. A: Does Tom work right now?

T
B: Well, he loves spending time at the quay every weekend.

S
Pragmatics 8-17

O U
8.6 วัจ​นกร​รม (Speech Acts) และ​เหตุการณ์​การ​พูด (Speech Event)
8.6.1 วัจ​นกร​รม (Speech Acts) ตาม​ทฤษฎีว​ ัจ​นกร​รม (speech acts) ของ​ออสติน (Austin, 1962)

T
คำ​พูด​หรือ​ข้อความ​สามารถ​บ่ง​บอก​การก​ระ​ทำได้ กล่าว​คือ​เรา​ใช้​คำ​พูด​เพื่อ​กระทำ​สิ่ง​ใด​สิ่ง​หนึ่ง ไม่ใช่​เพียง​แค่​

S OU
บอก​กล่าว​หรือ​ให้​ข้อมูล ทั้งนี้​การ​วิ​เคราะห์​วัจ​นกร​รม​ประกอบ​ด้วย​ขั้นตอน 3 ​ขั้นต​ อน​ดังนี้
1) วัจ​นกร​รม​ตรง​ตาม​คำ​พูด (Locutionary Acts) คือ การ​พูดข​ ้อ​ความ​ใดๆ ซึ่งอ​ าจ​ประกอบ​ด้วย​
ประโยค​เดียว​หรือ​หลาย​ประโยค​ก็ได้
2) วัจ​นกร​รม​ปฏิบัติ (Illocutionary Acts) คือ การ​บ่งบ​ อก​การก​ระ​ทำ​ผ่าน​ข้อความ (performa-
tive utterance) ตาม​วัตถุประสงค์​ต่างๆ

T
​เซิร์ล (Searle, 1977) แบ่งว​ ัตถุประสงค์ของการพูดอ​ อก​เป็น 5 วัตถุประสงค์ ดังนี้

S OU
วัตถุประสงค์ ตัวอย่างข้อความ
การประกาศ ตัดสิน ประเมิน และชมเชย I pronounce you man and wife.
(declarations) (ขอประกาศให้คุณทั้งสองเป็นสามีภรรยากัน)

T
การเตือน สั่ง และแนะนำ (directives) Fragile. Handle with care.

S OU
(ระวังของแตก โปรดระมัดระวัง)
การสัญญาและขอร้อง I’ll give you a million baht if you tell me the truth.
(commissives) (ฉันจะให้คุณหนึ่งล้านบาทหากคุณบอกความจริงแก่ฉัน)
การแสดงความรู้สึก (expressives) I’m sorry.
(เช่น ขอโทษ อวยพร สาปแช่ง แสดงความยินดี (ฉันขอโทษ)

T
และท้าทาย)

S OU
การแสดงความคิดเห็น (representatives) I don’t think you’re right.
(เช่น สนับสนุนและโต้แย้ง) (ฉันไม่เห็นด้วยกับคุณ)

การ​แบ่งป​ ระเภท​ขา้ ง​ตน้ น​ บั เ​ป็นการ​แบ่งป​ ระ​เภท​ของ​วจั น​ กร​รม​ตรง (direct speech acts) กล่าว​คอื
รูป​แบบ​ของ​ประโยค​รวม​ถึง​คำ​กริยา​ที่​ใช้​สัมพันธ์​กับ​วัตถุ​ประ​สงค์​ของ​วัจ​นกร​รม แต่​ใน​ชีวิต​จริง​เรา​ไม่​ใช้​แต่​

T
วัจ​นกร​รม​ตรง​เสมอ​ไป และ​มัก​ใช้​วัจ​นกร​รม​อ้อม (indirect speech acts) มากกว่า ซึ่ง​รูป​แบบ​ของ​ประโยค

S
​รวม​ถึง​คำ​กริยา​ของ​วัจ​นกร​รม​อ้อม​ไม่​สัมพันธ์​กับ​วัตถุ​ประ​สงค์​ของ​วัจ​นกร​รม ดัง​ตัวอย่าง​ต่อ​ไป​นี้
8-18 ​ภาษาศาสตร์เบื้องต้น​

O U
วัจนกรรมตรงตามคำพูด วัจนกรรมปฏิบัติ
ตัวอย่างข้อความ

T
(Locutionary Acts) (Illocutionary Acts)

S OU
Your dinner is ready. อาหารค่ำพร้อมแล้ว เชิญรับประทานอาหาร
Have you called your mum? คุณโทรศัพท์หาแม่หรือยัง เตือนให้โทรศัพท์หาแม่
I had a bad day today. วันนี้เป็นวันที่แย่ของฉัน เตือนไม่ให้ผู้อื่นรบกวนหรือ
ขอความเห็นใจจากผู้อื่น
I was wondering whether you could ฉันมีความสังสัยว่าคุณจะช่วย ขอร้องให้ช่วยอธิบายการแก้โจทย์

T
help me with this math problem. แก้โจทย์คณิตศาสตร์ข้อนี้ให้ คณิตศาสตร์

S OU
ฉันไหม

3) ผล​ของ​วจั น​ กร​รม (Perlocutionary Acts) คือ ผล​ของ​ขอ้ ความ​ตาม​วตั ถุประสงค์ต​ า่ งๆ ของผูพ้ ดู


เช่น ประโยค It’s hot here. มี​วัจน​ กร​รม​ตรง​ตาม​คำ​พูด (locutionary acts) คือ การ​บอก​ผู้​ฟังใ​ ห้​ทราบ​ถึง​
สภาพ​อากาศ​ร้อน มีว​ ัจน​ กร​รม​ปฏิบัติ (illocutionary acts) คือ การ​ขอร้อง​ให้เ​ปิดพ​ ัดลม​หรือเ​ครื่อง​ปรับอ​ ากาศ

T
และ​มี​ผล​ของ​วัจ​นกร​รม (perlocutionary acts) คือ มีก​ าร​เปิดพ​ ัดลม​หรือเ​ครื่อง​ปรับ​อากาศ

S OU
8.6.2 เหตุการณ์​การ​พูด (Speech Event) ยูล (Yule, 1996: 56) นิยาม​เหตุการณ์​การ​พูด (speech
event) ว่า​เป็นการ​ปฏิสัมพันธ์​ผ่าน​ภาษา​ตาม​แบบแผน​ระหว่าง​ผู้​ร่วม​สนทนา โดย​มี​การ​ใช้​วัจ​นกร​รม​ต่างๆ
เพื่อ​มุ่ง​ไป​สู่​ผล​สำเร็จ​ตาม​วัตถุประสงค์​ที่​ตั้ง​ไว้ เช่น​ ถ้า​มี​วัตถุประสงค์​ใน​การ​ร้อง​ทุกข์ (complaining) อาจ​
มี​การ​ใช้​ข้อความ I don’t like your way. เพื่อ​​บอก​ผู้​ฟัง​ให้​ทราบ​ความ​รู้สึก​ไม่​ชอบ​หรือ​ไม่​สบายใจ​กับ​สิ่ง​ที่​
ผู้ฟ​ ังก​ ระทำ​ซึ่งเ​ป็นว​ ัจน​ กร​รม​ตรง​ตาม​คำ​พูด (locutionary acts) และ​มีว​ ัจน​ กร​รม​ปฏิบัติ (illocutionary acts)

T
คือ การ​ร้อง​ทุกข์ห​ รือใ​ ห้​ผู้​ฟังแ​ ก้ป​ ัญหา​ที่​เกิด​ขึ้น และ​หาก​ผู้​ฟัง​ดำเนิน​การ​แก้​ปัญหา​ก็​นับ​ว่า​มี​ผล​ของ​วัจ​นกร​รม

S OU
(perlocutionary acts)
ใน​หลายๆ กรณี​เหตุการณ์​การ​พูด​อาจ​อยู่​ใน​รูป​แบบ​ของ​การ​ปฏิสัมพันธ์​ที่​ยาว​กว่า อาจ​ประกอบ​ด้วย​
ข้อความ​แวด​ลอ้ ม​หลายๆ ข้อความ​จนกว่าจ​ ะ​ผพู​้ ดู จ​ ะ​ประสบ​ความ​สำเร็จต​ าม​วตั ถุประสงค์ ดังต​ วั อย่าง​บท​สนทนา​
จาก​ยูล (Yule, 1996: 57)
Him: Oh, Mary, I’m glad you’re here. (แมรี่ ผมดีใจที่คุณอยู่ที่นี่)

T
Her: What’s up? (มีปัญหาอะไรหรือเปล่าคะ)

S
Him: I can’t get my computer to work. (ผมเปิดใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ไม่ได้)
Her: Is it broken? (มันเสียหรือคะ)
Him: I don’t think so. (ไม่น่าจะเสียนะ)
Her: What’s it doing? (ตอนนี้มันทำอะไรอยู่ล่ะ)
Him: I don’t know. I’m useless with computers. (ผมไม่ทราบ ผมใช้คอมฯ ไม่เก่ง)
Her: What kind is it? (คอมฯ เครื่องนี้เป็นแบบไหน)
Him: It’s a Mac. Do you use them? (แมคอินทอช คุณใช้เป็นมั้ยครับ)
Her: Yeah. (เป็นค่ะ)
Pragmatics 8-19

O U
Him: Do you have a minute? (คุณพอจะว่างมั้ยครับ)
Her: Sure. (ว่างค่ะ)

T
Him: Oh, great. (โอ ดีมากเลยครับ)

S OU
จาก​บท​สนทนา​ข้าง​ต้น ผู้​พูด​ชาย​มี​วัตถุประสงค์​จะ​ขอร้อง​ให้​ผู้​พูด​หญิง​สอน​ให้​ใช้​เครื่อง​คอมพิวเตอร์​
โดย​ไม่ไ​ ด้ม​ ีก​ าร​ใช้ว​ ัจน​ กร​รม​อย่าง​ชัดเจน​แต่ผ​ ู้พ​ ูดช​ าย​ใช้ป​ ระโยค​คำถาม Do you have a minute? เป็นป​ ระโยค​
ตรวจ​สอบ​ความ​เต็มใจ​ใน​การ​ให้ค​ วาม​ช่วย​เหลือข​ อง​ผู้พ​ ูดห​ ญิง (pre-request) และ​คำ​ตอบ Sure. (ซึ่งเ​ทียบ​กับ​
คำ​ว่า “ว่าง” ใน​ภาษา​ไทย) ของ​ผู้​พูด​หญิงแ​ สดง​ถึงก​ าร​มี​เวลา​และ​มีค​ วาม​เต็มใจ​ที่จ​ ะ​ให้​ความ​ช่วย​เหลือ ดังน​ ั้น​
จึงส​ ามารถ​กล่าว​โดย​สรุปไ​ ด้ว​ ่าเ​หตุการณ์ก​ าร​พูด (speech event) อาจ​มีค​ วาม​สั้นห​ รือย​ าว​ก็ได้แ​ ละ​อาจ​มีก​ าร​ใช้​

T
วัจ​นกร​รมตรงตามคำพูดหรือวัจนกรรมปฏิบัติเ​พื่อใ​ ห้​สามารถ​บรรลุ​วัตถุประสงค์ห​ รือไ​ ม่​ก็ได้

S OU
กิจกรรม​ที่ 5
ระบุค​ วาม​หมาย​ของ​ผพ​ู้ ดู (the speaker’s intention) และ​ชนิดข​ อง​วจั น​ กร​รม (type of speech acts)
1. Drop your weapon or I’ll shoot you!

T
2. I promise I’ll give it back.

S OU
3. Watch out, the ground is slippery.
4. I will try my best to be at home for dinner.
5. Ladies and gentlemen, please give me your attention.

T
8.7 ความ​สุภาพ (Politeness) และ​การ​รักษา​หน้า (Face Saving Act)

S OU
8.7.1 ความ​สุภาพ (Politeness) ใน​การ​ปฏิสัมพันธ์​ระหว่างบุคคลมีค​ วาม​เกี่ยวข้อง​กับ​เรื่อง​ของ​หน้า
​เป็น​หลัก หน้า (face) คือ ภาพ​ลักษณ์​ของ​ปัจเจกบุคคล​ใน​ที่​สาธารณะ ทั้งนี้​หมาย​รวม​ถึง​ความ​รู้สึก อารมณ์
และ​สถานะ​ทาง​สังคม​ของ​บุคคล ดัง​นั้น​ ความ​สุภาพคือ วิธี​การ​ต่างๆ ที่​ผู้​พูด​ใช้​ใน​การ​สนทนา​โดย​ตระหนัก
​ถึงค​ วาม​สำคัญ​ของ​หน้า​และ​ระยะ​ห่าง​ทาง​สังคม (social distance) ของ​ผู้ร​ ่วม​สนทนา​ด้วย​ซึ่งจ​ ะ​ปรากฏ​อยู่ใ​ น
​รูป​แบบ​ภาษา​ที่​เลือก​ใช้​

T
กลยุทธ์​ใน​การ​แสดง​ความ​สุภาพ​ผ่าน​ภาษา​มี​ 2 ​แบบ ได้แก่

S
1) กลยุทธ์​ใน​การ​แสดง​ความ​สุภาพ​ด้าน​บวก (Positive Politeness Strategy) คือ การ​ร้องขอ​
ให้​ผู้​อื่น​กระทำ​ใน​สิ่ง​ที่​ตน​ต้องการ​หรือ​แม้แต่​เรียก​ร้อง​มิตรภาพ​จาก​ผู้​อื่น โดย​ใช้​คำ​พูด​และ​วิธี​การ​ที่​ตรง​ไป
​ตรง​มา ไม่​ต้อง​ให้​ผู้​ฟัง​ตีความ​หมาย​โดย​นัย ทั้งนี้​กลยุทธ์​ประเภท​นี้​อาจ​เสี่ยง​ต่อ​การ​ถูก​ปฏิเสธ​และ​การ​ทำให้​
ผู้​ฟัง​รู้สึก​ไม่ด​ ี
2) กลยุทธ์​ใน​การ​แสดง​ความ​สุภาพ​ด้าน​ลบ (Negative Politeness Strategy) คือ การ​ร้องขอ​ให้​
ผู้​อื่น​กระทำ​ใน​สิ่ง​ที่​ตน​ต้องการ​แบ​บอ้​อมๆ โดย​ผู้​พูด​ต้อง​ใช้​ความ​พยายาม​มากกว่า​ใน​การ​ใช้​คำ​พูด​ที่​ค่อน​ข้าง​
อ้อมค้อม​หรือ​คำถาม​เพื่อ​ถาม​ความ​สมัคร​ใจ​จาก​ผู้ฟ​ ัง​ก่อน และ​ผู้ฟ​ ัง​ต้อง​ตีความ​หมาย​โดย​นัย
8-20 ​ภาษาศาสตร์เบื้องต้น​

O U
ตัวอย่าง​คำ​พูด​ตาม​กลยุทธ์​ใน​การ​แสดง​ความ​สุภาพ​ด้าน​บวก (positive politeness strategy)

T
เปรียบ​เทียบ​กับต​ ัวอย่าง​คำ​พูดต​ าม​กลยุทธ์ใ​ น​การ​แสดง​ความ​สุภาพ​ด้าน​ลบ (negative politeness strategy)
มี​ดังนี้

S OU
ข้อความแสดงความสุภาพด้านบวก ข้อความแสดงความสุภาพด้านลบ
(Positive Politeness) (Negative Politeness)
- How about letting me go in a car with you? - I’m sorry to bother you, but I was wondering

T
(ให้ฉันติดรถไปด้วยแล้วกันนะ) if you could give me a lift?

S OU
(ขออภัยที่รบกวนค่ะ แต่เป็นไปได้มั้ยถ้าฉันจะขอ
อาศัยรถไปด้วย)
- OK if I wait here? - May I wait here?
(ขอรอที่นี่แล้วกันนะ) (ขออนุญาตรอที่นี่ได้ไหมคะ)

T
8.7.2 การ​รักษา​หน้า (Face Saving Act) ใน​ชีวิต​ประจำ​วัน คนใน​สังคม​จะ​มี​การ​คาด​หวัง​ใน​เรื่อง​

S OU
ภาพ​ลักษณ์ข​ อง​ตน​ใน​ขณะ​ที่ป​ ฏิสัมพันธ์​กับผ​ ู้อ​ ื่น กล่าว​คือ มีค​ วาม​ต้องการ​ให้ผ​ ู้อ​ ื่นท​ ี่ป​ ฏิสัมพันธ์ด​ ้วย​​รักษา​หน้า​
ของ​ตน (face wants) ซึ่ง​ความ​ต้องการ​ให้​ผู้อ​ ื่นร​ ักษา​หน้าใ​ น​การ​สนทนา​มี​ 2 ​ชนิด ได้แก่
1) หน้า​ด้าน​บวก (Positive Face) คือ ความ​ต้องการ​การ​ยอมรับ​จาก​ผู้อ​ ื่น​เพื่อใ​ ห้​สามารถ​เข้าร​ ่วม​
เป็นส​ มาชิกใ​ น​สังคม​ได้ รวม​ถึงค​ วาม​ต้องการ​ให้ผ​ ูอ้​ ื่นช​ อบ​และ​มสี​ ่วน​รับร​ ูว้​ ่าต​ น​ต้องการ​อะไร โดย​การ​ใช้ข​ ้อความ​
ที่​ก่อ​ให้​เกิด​การ​รักษา​หน้า (face saving act)

T
2) หน้า​ด้าน​ลบ (Negative Face) คือ ความ​ต้องการ​ที่​จะ​เป็น​อิสระ เพื่อ​ให้​สามารถ​กระทำ​ตาม​

S OU
ที่ต​ น​ต้องการ​ได้ และ​ไม่อ​ ยู่ภ​ าย​ใต้อ​ ิทธิพล​หรือก​ าร​บังคับข​ อง​ผู้อ​ ื่น โดย​การ​ใช้ข​ ้อความ​ที่ก​ ่อใ​ ห้เ​กิดก​ าร​ไม่ร​ ักษา​
หน้า (face threatening act)
อย่างไร​ก็​ดี คำ​พูด​หรือ​ข้อความ​ที่ก​ ่อใ​ ห้​เกิดก​ าร​ไม่ร​ ักษา​หน้า (face threatening act) สา​มา​รถ
​แก้​ไข​หรือ​บรรเทา​ลง​ด้วย​การ​ใช้​ข้อความ​ที่​ก่อ​ให้​เกิด​การ​รักษา​หน้า (face saving act) ดัง​ตัวอย่าง​จาก​ยูล
(Yule, 1996: 61)

S T
Him: I’m going to tell him to stop that awful noise (loud music) right now! face threatening act
(ผมจะไปบอกให้เขาหยุดเสียงดนตรีบ้าๆ นั่นเดี๋ยวนี้)
Her: Perhaps you could just ask him if he is going to stop soon because face saving act
it’s getting a bit late and people need to get to sleep.
(ฉันว่าคุณน่าจะถามเขาดีๆ ว่าจวนจะเลิกหรือยัง เพราะว่าตอนนี้ก็ดึกมากแล้ว
และชาวบ้านต้องเข้านอน)
Pragmatics 8-21

O U
สถานการณ์​ใน​บท​สนทนา​ข้าง​ต้น​คือ​สอง​สามี​ภรรยา​รู้สึก​รำคาญ​เสียง​ดนตรี​ที่​ดัง​มา​จาก​ข้าง​บ้าน​
ใน​เวลา​ดึก ผู้​พูด​ชาย​ตั้งใจ​จะ​บอก​ให้​เพื่อน​บ้าน​หรี่เ​สียง​ดนตรี​ด้วย​คำ​พูดแ​ ละ​วิธีท​ ี่เ​ป็นร​ ูป​แบบ​ของ​การ​ข่มขู่แ​ ละ​

T
แสดง​การ​ไม่​ให้​เกียรติ​หรือ​ไม่​รักษา​หน้า (face threatening act) ซึ่งแ​ สดง​ให้เ​ห็น​ถึงห​ น้าด​ ้าน​ลบ (negative

S OU
face) คือ ความ​เป็น​อิสระ​และ​ไม่​อยู่​ภาย​ใต้​อิทธิพล​ของ​ผู้ใ​ ด ใน​ขณะ​ที่ใ​ ห้​ผู้​พูดห​ ญิง​เสนอ​แนะ​ให้ใ​ ช้ค​ ำ​พูดแ​ ละ​
วิธี​การ​ที่​สุภาพ (face saving act) เพื่อ​รักษา​หน้าเ​พื่อน​บ้าน เนื่องจาก​ยังค​ ง​ต้องการ​การ​ยอมรับแ​ ละ​มิตรภาพ​
จาก​ผู้​อื่น

T
กิจกรรม​ที่ 6

S OU
วิเคราะห์​คำ​พูด​ต่อ​ไป​นี้​ตาม​หลัก​ของ​การ​รักษา​หน้า และ​ใส่​ตัว​อักษร​หน้า​ประโยค​ใต้​หัวข้อ​ที่​
ถูก​ต้อง
1. a. I don’t care if you clean it up or not, please do let your dog shit in front of my house.
b. Today we came home from shopping to f ind your dog’s poop in front of our house.
Could you please pick it up afterward?

T
2. a. It’s not wise to do that. Perhaps we could just have a word with him this evening. I

S OU
think he should understand.
b. The asshole neighbour blocked our drive way again–we can’t get our car out now and
he’s not home. I think I ought to shell his car with eggs and then do some poo and
place it on the bonnet or something!

T
S OU
Face threatening act Face saving act
1.
2.

S T
8-22 ​ภาษาศาสตร์เบื้องต้น​

O U
กิจกรรม​ที่ 7

T
ตอบ​คำถาม​ต่อ​ไป​นี้

S OU
1. วัจน​ปฏิบัติ​ศาสตร์​คือ​อะไร
2. นัก​วัจน​ปฏิบัติ​ศาสตร์​ศึกษา​วิเคราะห์​อะไร​บ้าง
3. ดรรชนี​ย​พจน์ (deixis) มี​ความ​สำคัญ​อย่างไร และ​แบ่ง​ออก​เป็น​ประเภท​ใด​บ้าง
4. การ​อ้างอิง (reference) แตก​ต่าง​จาก​การ​อนุมาน (inference) หรือ​ไม่ อย่างไร
5. สภาวะ​เกิด​ก่อน (presupposition) และ​ความ​หมาย​ตกทอด (entailment) มี​ความ​เกี่ยวข้อง​กัน​

T
หรือ​ไม่ อย่างไร

S OU
6. การ​ร่วม​มือ​ระหว่าง​ผู้​ร่วม​สนทนา (cooperation) เกิด​ขึ้น​ได้​อย่างไร
7. วัจ​นกร​รม (speech acts) สามารถ​แบ่ง​ตาม​เกณฑ์​ใด​บ้าง และ​แต่ละ​เกณฑ์​แบ่ง​ได้​กี่​ประเภท
อะไร​บ้าง
8. ความ​สุภาพ (politeness) และ​หน้า (face) มี​ความ​สัมพันธ์​กัน​อย่างไร

T
S OU
T
S OU
S T
Pragmatics 8-23

O U
แบบ​ประเมิน​ผล​ตนเอง​หลัง​เรียน

T
S OU
จง​เลือก​คำ​ตอบ​ที่​ถูก​ต้อง​ที่สุด
1. ข้อ​ใด​ต่อ​ไป​นี้​เป็น​หน้าที่​ของ​นัก​ภาษาศาสตร์​สา​ขาวั​จน​ปฏิบัติศ​ าสตร์ (pragmatics)
1. การ​วิเคราะห์​ข้อความ​ที่​ผู้​พูด​เลือก​ใช้
2. การ​ศึกษา​การ​สลับภ​ าษา​ของ​ผู้​พูด
3. การ​วิเคราะห์​การ​สร้าง​คำ​ของ​ผู้​พูด

T
4. การ​ศึกษา​พื้น​ฐาน​ทาง​สังคม​ของ​ผู้​พูด

S OU
5. การ​ศึกษา​ปัจจัยท​ าง​วัฒนธรรม​ของ​ผู้พ​ ูด
2. ข้อ​ใด​ต่อ​ไป​นี้​เป็น​ประเด็นส​ ำคัญข​ อง​สา​ขาวั​จน​ปฏิบัติศ​ าสตร์
1. ตัวแปร​ทาง​สังคม
2. พื้น​ฐาน​วัฒนธรรม
3. สภาวะ​เกิด​ก่อน

T
4. การ​สลับ​ภาษา
5. การ​เปลี่ยนแปลง​ภาษา

S OU
3. ข้อ​ใด​ต่อ​ไป​นี้​มี​ดรรชนี​ย​พจน์ (deixis) ครบ​ทั้งส​ าม​ประเภท
1. Handle with care.
2. I’m here now.
3. Sorry, I’m late.

T
4. Put it there.
5. See you tomorrow.

S OU
4. ข้อ​ใด​ไม่​นับ​เป็นกฎ​หลัก​ของ​การ​สนทนา (maxims of conversation) ตามหลักสหการ (cooperation)
1. หลัก​ปริมาณ
2. หลัก​คุณภาพ
3. หลัก​ความ​สัมพันธ์

T
4. หลัก​ความ​เหมาะ​สม
5. หลัก​ความ​สุภาพ

S
5. สภาวะ​เกิด​ก่อน (presupposition) ของ ‘I can’t eat anymore.’ คืออ​ ะไร
1. I have eaten something.
2. I should eat less.
3. I have had nothing yet.
4. I used to eat more.
5. I once ate less.
8-24 ​ภาษาศาสตร์เบื้องต้น​

O U
6. เรา​สามารถ​อนุมาน (inference) จาก​คำถาม​ของ B ใน​บท​สนทนา​ต่อ​ไป​นี้ไ​ ด้​ว่า​อย่างไร

T
A: Have you booked the ticket?
B: When is the deadline?

S OU
1. B does not want to book the ticket now.
2. B will book the ticket after the deadline.
3. B will not book the ticket.
4. B should have booked the ticket.
5. B has not booked the ticket yet.

T
7. ข้อ​ใด​มี​การ​ใช้​ข้อความ​แสดง​ความ​ไม่​แน่ใจ (hedges)

S OU
1. I’m not an expert but you might want to try restarting your computer.
2. There must be something wrong with the hardware of your computer.
3. You should use Windows Vista instead of Windows 7.
4. The operation system on your computer is the cause of the problem.
5. You should restart your computer, and the problem will just disappear.

T
8. วัตถุ​ประ​สงค์ข​ อง​วัจน​ กร​รม ‘The trash people are coming. Have you taken the trash out?’ คือ​

S OU
อะไร
1. การ​เตือน สั่ง และ​แนะนำ
2. การ​สัญญา​และ​ขอร้อง
3. การ​แสดง​ความ​คิดเ​ห็น
4. การ​แสดง​ความ​รู้สึก

T
5. การ​ประกาศ​หรือ​ตัดสิน

S OU
9. ผล​ของ​วัจน​ กร​รม ‘The trash people are coming. Have you taken the trash out?’ ทีผ่​ ูพ้​ ูดค​ าด​หวัง
​น่า​จะ​เป็น​ข้อ​ใด
1. การ​ตอบ​ว่า​ยัง​ไม่​ได้น​ ำ​ขยะ​ออก​ไป​นอก​บ้าน
2. การ​รีบ​นำ​ขยะ​ออก​ไป​ทิ้งใ​ น​ถัง​ขยะ​นอก​บ้าน
3. การ​ชี้แจง​ว่า​ทำไม​ยัง​ไม่​ได้​นำ​ขยะ​ออก​ไป​นอก​บ้าน

T
4. การ​ถาม​กลับ​ถึง​ความ​จำเป็นใ​ น​การนำ​ขยะ​ออก​ไป

S
5. การรีบ​เดิน​จาก​ไป​โดย​ไม่​ได้​นำ​ขยะ​ออก​ไป​นอก​บ้าน
10. ‘Turn the bloody music off!’ ใช้​กลยุทธ์ใ​ น​การ​แสดง​ความ​สุภาพ​และ​การ​รักษา​หน้าแ​ บบ​ใด
1. กลยุทธ์​ใน​การ​แสดง​ความ​สุภาพ​ด้าน​บวก​และ​หน้าด​ ้าน​บวก
2. กลยุทธ์​ใน​การ​แสดง​ความ​สุภาพ​ด้าน​บวก​และ​หน้าด​ ้าน​ลบ
3. กลยุทธ์​ใน​การ​แสดง​ความ​สุภาพ​ด้าน​ลบ​และ​หน้าด​ ้าน​บวก
4. กลยุทธ์​ใน​การ​แสดง​ความ​สุภาพ​ด้าน​ลบ​และ​หน้าด​ ้าน​ลบ
5. ไม่มี​คำ​ตอบ​ที่​ถูก​ต้อง
Pragmatics 8-25

O U
แนว​ตอบ​โมดูล​ที่ 8

T
S OU
แบบ​ประเมิน​ผล​ตนเอง​ก่อน​เรียน
1. 3 2. 4 3. 2 4. 4 5. 1
6. 3 7. 1 8. 5 9. 2 10. 3

T
กิจกรรม​ที่ 1

S OU
Talbot lives in Streetly, in the West Midlands, and currently attends a state primary school
there. She lives with her mother, Sharon, her father Gavin, a self-employed property mainte-
nance engineer, her brother Josh, and her sister, Mollie. Talbot sang “Over the Rainbow”, her
signature song, at her grandmother’s funeral, because she and her grandmother had enjoyed
watching The Wizard of Oz together. Talbot drew confidence in Britain’s Got Talent from the

T
belief that her grandmother was watching, and vowed to win the show in her memory. Despite

S OU
Talbot speaking positively of the effects of her fame, her parents spoke of a darker side, as they
had to change their phone number and hire a bodyguard for their daughter at this time.
there = ดรรชนี​ย​พจน์​สถาน​ที่ (spatial deixis) หมาย​ถึง in Streetly
she = ดรรชนี​ย​พจน์​บุคคล (person deixis) หมาย​ถึง Talbot
they = ดรรชนีย​ ​พจน์​บุคคล (person deixis) หมาย​ถึง Talbot’s parents

T
at this time = ดรรชนี​พจน์​เวลา (time deixis) หมาย​ถึง at the time when the paragraph

S OU
was written

กิจกรรม​ที่ 2
1. It told the speaker that it was going to rain on that day.
2. She wants a new car.

T
3. B is leaving.

S
กิจกรรม​ที่ 3
1. I have been taken out to the park before.
2. Nathalie’s dog ran away.
3. North Vietnam defeated the US in the Vietnam War.
4. Disa has eaten some ice-cream.
5. Penguins cannot fly.
8-26 ​ภาษาศาสตร์เบื้องต้น​

O U
กิจกรรม​ที่ 4

T
1. หลัก​ความ​สัมพันธ์ (relation) ผู้พ​ ูดพ​ ูดใ​ น​สิ่งท​ ี่ไ​ ม่​เกี่ยวข้อง​กับบ​ ริบ​ ท​ของ​การ​สนทนา โดย​หักเห​ไป​
พูด​สิ่ง​อื่น

S OU
2. หลัก​คุณภาพ (quality) ผู้พ​ ูด​อิง​กับค​ วาม​เชื่อ​ของ​ตนเอง​มาก​เกินไ​ ป และ​พูดใ​ น​สิ่ง​ที่ไ​ ม่มีห​ ลักฐ​ าน
3. หลัก​ความ​เหมาะ​สม (manner) ผู้พ​ ูดพ​ ูดก​ ำกวม ทำให้ต​ อบ​คำถาม​ไม่ช​ ัดเจน

กิจกรรม​ที่ 5
ให้​นักศึกษา​ระบุ​ความ​หมาย​ของ​ผู้​พูด (the speaker’s intention) และ​ชนิด​ของ​วัจน​ กร​รม (type of

T
speech acts)

S OU
1. The speaker’s intention: To order and threaten the listener
Type of speech act: Directives
2. The speaker’s intention: To make a promise
Type of speech act: Commissives
3. The speaker’s intention: To warn the listener of possible danger

T
Type of speech act: Directives

S OU
4. The speaker’s intention: To make a promise
Type of speech act: Commissives
5. The speaker’s intention: To ask the audience for cooperation
Type of speech act: Commissives

T
กิจกรรม​ที่ 6

S OU
Face threatening act Face saving act
1. a b
2. b a

T
กิจกรรม​ที่ 7

S
1. วัจน​ปฏิบัติ​ศาสตร์ (pragmatics) คือ​ สาขา​ย่อย​ของ​ภาษาศาสตร์ท​ ี่​มุ่งก​ าร​ศึกษา​ถ้อยคำ​ของ​ผู้​พูด​
และ​ความ​เข้าใจ​ของ​ผู้​พูด​ที่​มีต​ ่อ​ถ้อยคำ​ของ​ผู้อ​ ื่น
2. บท​สนทนา (conversation analysis) โดย​เฉพาะ​อย่าง​ยิ่ง​ความ​หมาย​หรือ​เจตนา​ของ​ถ้อยคำ​
ใน​ระดับ​เจตนา​ใน​การ​สื่อสาร (communicative intent) หรือ​ความ​หมาย​ของ​ผู้​พูด (speaker meaning)
ซึ่ง​ประกอบ​ด้วย​ความ​รู้​ความ​เข้าใจ​ของ​ผู้​พูด​ใน​เรื่อง​ของ​ระดับ​ชั้น​ทาง​สังคม​ของ​ผู้​พูด ระดับ​ความ​ใกล้​ชิด​และ​
สนิท​สนม​หรือ​ห่าง​ไกล​ของ​คนใน​สังคม (social distance) รวม​ถึงค​ วาม​รู้​ทาง​วัฒนธรรม​ของ​ผู้​พูดท​ ี่​เกี่ยวข้อง​
กับ​ความ​สุภาพ ความ​หมาย​โดยตรง​และ​ความ​หมาย​แฝง​ต่างๆ
Pragmatics 8-27

O U
3. ดรรชนี​ย​พจน์ (deixis) สามารถ​สื่อ​ความ​หมาย​ได้​มากกว่า​ปริมาณ​ถ้อยคำ​หรือ​ข้อความ​ที่​ผู้​พูด​ใช้
คำ​หรือ​ข้อความ​ที่​เป็น​ดรรชนี​ย​พจน์ (deictic expression หรือ indexical) แบ่ง​ออก​เป็น​ 3 ​ประเภท​หลัก

T
ได้แก่ ดรรชนี​ย​พจน์บ​ ุคคล (person deixis) ดรรชนี​ย​พจน์ส​ ถาน​ที่ (spatial deixis) และดรรชนี​ยพ​ จน์เ​วลา

S OU
(time deixis)
4. แตก​ต่าง​กัน การ​อ้างอิง (reference) คือ​ การ​ใช้​คำ​พูด​ที่​ช่วย​ให้​ผู้​ฟัง​หรือ​ผู้​อ่าน​ระบุ​บุคคล​หรือ​สิ่ง​
ที่​ถู​กกล่าว​ถึง​ได้ การ​อนุมาน (inference) คือ ​การ​ที่ผ​ ู้ฟ​ ังใ​ ช้​ความ​รู้เ​พิ่ม​เติมใ​ น​การ​ตีความ​สิ่งท​ ี่ผ​ ู้​พูดห​ รือผ​ ู้เ​ขียน​
กล่าว​ไว้​เป็น​นัย
5. สภาวะ​เกิดก​ ่อน (presupposition) คือ การ​สันนิษฐาน​บาง​สิ่งบ​ าง​อย่าง​หรือส​ ิ่งท​ ีส่​ ันนิษฐาน​ก่อน​การ​

T
พูดห​ รือก​ าร​เขียน ใน​ขณะ​ที่ความ​หมาย​ตกทอด (entailment) คือ แนวคิดเ​ชิงเ​หตุผล​ของ​ประโยค​หรือข​ ้อความ​

S OU
ที่​สื่อ​ออก​มา​บน​พื้น​ฐาน​ของ​สภาพ​ความ​เป็น​จริง (truth condition)
6. การ​ร่วม​มือ​ของ​ผู้ร​ ่วม​สนทนา​เกิด​ขึ้น​เมื่อผ​ ู้​ร่วม​สนทนา​ปฏิบัติต​ าม​หลัก​ความ​ร่วม​มือใ​ น​การ​สนทนา
(cooperative principle) ซึ่ง​มีก​ ฎ​หลักข​ อง​การ​สนทนา 4 ประการ (four maxims of conversation)
1) หลัก​ปริมาณ (quantity) ระบุ​ว่า​ผู้​พูด​ควร​ให้​ข้อมูล​เพียง​พอ​กับ​ความ​ต้องการ​ผู้​ฟัง ไม่​น้อย
ห​รือ​มาก​เกิน​ความ​จำเป็น

T
2) หลัก​คุณภาพ (quality) ระบุ​ว่า​ผู้พ​ ูดค​ วร​ให้​ข้อมูลต​ าม​ความ​เป็น​จริง ไม่อ​ ิง​กับค​ วาม​เชื่อข​ อง​

S OU
ตนเอง​มาก​เกิน​ไป และ​ไม่​พูด​ใน​สิ่งท​ ี่​ไม่มี​หลัก​ฐาน
3) หลัก​ความ​สัมพันธ์ (relation) ระบุ​ว่า​ผู้​พูด​ควร​พูด​ใน​สิ่ง​ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​สถานการณ์​หรือ​
บริ​บท​ของ​การ​สนทนา ไม่​หักเห​ไป​พูด​สิ่ง​อื่น
4) หลัก​ความ​เหมาะ​สม (manner) ระบุ​ว่า​ผู้​พูด​ควร​หลีก​เลี่ยง​คำ​พูด​กำกวม ควร​พูด​กระชับ
ชัดเจน​และ​มี​ลำดับ​การ​พูด​ที่​สม​เหตุ​สม​ผล

T
7. แบ่งต​ าม​เกณฑ์​วัตถุประสงค์​และ​การ​ใช้​วัจ​นกร​รม​ใน​ชีวิต​จริง ดังนี้

S OU
1) แบ่งต​ าม​วัตถุประสงค์​ได้ 5 ประเภท​ได้แก่
• การ​ประกาศ ตัดสิน ประเมิน และ​ชมเชย (declarations)
• การ​เตือน สั่ง และ​แนะนำ (directives)
• การ​สัญญา​และ​ขอร้อง (commissives)
• การ​แสดง​ความ​รู้สึก (expressives) (เช่น ขอโทษ อวยพร สาป​แช่ง แสดง​ความ​ยินดี

T
และ​ท้าทาย)

S
• การ​แสดง​ความ​คิดเ​ห็น (representatives) (เช่น สนับสนุนแ​ ละ​โต้แ​ ย้ง)
2) แบ่งต​ าม​การ​ใช้​วัจ​นกร​รม​ใน​ชีวิต​จริง​ได้ 2 ประเภท ได้แก่
• วัจ​นกร​รม​ตรง (direct speech acts) กล่าว​คือ รูป​แบบ​ของ​ประโยค​รวม​ถึง​คำ​กริยา​
ที่​ใช้​สัมพันธ์​กับ​วัตถุ​ประ​สงค์ข​ อง​วัจ​นกร​รม
• วัจ​นกร​รม​อ้อม (indirect speech acts) มี​รูป​แบบ​ของ​ประโยค​รวม​ถึง​คำ​กริยา​ของ
​วัจ​นกร​รม​อ้อม​ไม่​สัมพันธ์ก​ ับ​วัตถุ​ประ​สงค์ข​ อง​วัจ​นกร​รม
8. ความ​สุภาพ (politeness) ใน​การ​ปฏิสัมพันธ์ คือ วิธีก​ าร​ต่างๆ ที่ผ​ ู้พ​ ูดแ​ สดง​ให้ผ​ ู้ฟ​ ังเ​ห็น​ผ่าน​คำ​พูด​
และ​การก​ระ​ทำ​ว่า​ตนเอง​เคารพ​และ​รักษา​หน้า​ผู้ฟ​ ัง (face saving act)
8-28 ​ภาษาศาสตร์เบื้องต้น​

O U
แบบ​ประเมิน​ผล​ตนเอง​หลัง​เรียน

T
1. 1 2. 3 3. 2 4. 5 5. 1

S OU
6. 5 7. 1 8. 1 9. 2 10. 2

T
S OU
T
S OU
T
S OU
S T
Pragmatics 8-29

O U
บรรณานุกรม

T
S OU
Austin, J. L. (1962). How to Do Things with Words. New York: Oxford University Press.
Finch, G. (2002). Key Concepts in Language and Linguistics. (2nd ed). New York, NY: Palgrave
Macmillan.
Grice, H. P. (1975). “Logic and Conversation”, in Cole, P. & Morgan, J. (Eds.) Syntax and Semantics
3: Speech Acts. New York: Academic Press.

T
Kasper, G. (1997). Can Pragmatic Competence Be Taught? (Network #6: http://www.lll.hawaii.edu/

S OU
sltcc/F97NewsLetter/Pubs.htm), a paper delivered at the 1997 TESOL Convention.
Leech, G. (1983). Principles of Pragmatics. London: Longman.
Sperber, D. & Wilson, D. (1986). Relevance: Communication and Cognition. Oxford: Blackwell.
Searle, J. (1969). Speech Acts. Cambridge: Cambridge University Press.
Wardhaugh, R. (1998). Sociolinguistics. (3rd ed). Oxford: Blackwell.

T
Yule, G. (1996). Pragmatics. Oxford: Oxford University Press.

S OU
T
S OU
S T
8-30 ​ภาษาศาสตร์เบื้องต้น​

T O U
S OU
T
S OU
T
S OU
T
S OU
S T

You might also like