Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 105

1

Additional Requirements

FSSC 22000 version 6

1 APRIL 2023

Katika Boranin
เหตุผลของการเปลี่ยนจาก version 5.1 เป็น version 6
- เพื่อให้สอดคล้องกับข้อกาหนด GFSI version2020.1
- รวมข้อกาหนดใน Board of Stakeholders Decision List
- เป็นการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
- เพื่อให้เป็นระบบที่มีความมั่นคงสมบูรณ์

>>> จะต้องเปลี่ยนเป็น version 6 ภายใน 2 ปี


- บังคับใช้ตรวจรายใหม่ 1 April 2024
- บังคับใช้ตรวจรายเก่า 31 March 2025 (Last date)
Category A Farming and animals
Category B Handling of Plants
Category C Food manufacturing
Category D Animal feed production
Category E Catering
Trading, Retail, wholesale and e-
Category F
commerce
Category G Transport and storage
Category I Production of Food packaging and
Packaging materials
Category K Production of Biochemicals
FSSC22000 Quality
ตัวอย่าง: Category C Food manufacturing
C0 Animal-primary conversion เช่น โรงเชือด
CI Perishable animal products เช่น เนื้อสัตว์แช่แข็ง, อาหารทะเลแช่แข็ง
CII Perishable plants-based products เช่น ผลิตภัณฑ์ผัก ผลไม้ ที่มีการ
ตัดแต่งเปลี่ยนรูปร่างจากเดิม แต่ถ้าไม่เปลี่ยรูปร่าง เช่น ล้าง แว๊กซ์ แพ็ค
จะจัดอยู่ใน Category BIII
CIII Perishable animal and plant products (mixed) เช่น Ready to eat
CIV Ambient stable products ผลิตภัณฑ์ที่เก็บอุณหภูมิห้อง เช่น อาหาร
กระป๋อง, ขนมแครกเกอร์, น้าดื่ม, เครื่องดื่มต่างๆ เป็นต้น และรวมถึง
อาหารสัตว์เลี้ยงที่เก็บอุณหภูมิห้อง (pet food) กรณี pet food ทาจากสัตว์
หรือพืชอย่างเดียวหรือผสมกัน แบบแช่แข็ง จะจัดอยู่ใน CI หรือ CII หรือ
CIII
ตัวอย่าง: Category F
Trading, Retail, wholesale and e-commerce
Trading (include Brokers) and e-commerce without
physically handling.
GMP + HACCP + ISO9001 = ISO22000

ISO22000 = ISO 22000:2018 + ISO/TS 22002-1

FSSC22000 = ISO22000 + Additional

FSSC22000 = ISO 22000:2018 + ISO/TS 22002-1 + Additional

FSSC = Food Safety System Certification 22000


Additional >> Board of stakeholders
ISO/TS 22002-X >> Prerequisite programs
ั ันธ์ของระบบ GMP & HACCP & ISO
ความสมพ
8 22000 & FSSC 22000

Food Safety Management System


Certification Recognized by GFSI

FSSC 22000 Food Safety


Management System
ISO 22000
Food Safety System
Hazard Analysis and Critical Control Point
HACCP

Code of Practice
GMP

* The Global Food Safety Initiative (GFSI)


9

อ.กติกา โบราณินทร์
1.ข้อกำหนดสำหรับงำนบริกำรและกำรสั่งซื้อวัตถุดิบ
องค์กรที่อยู่ในห่วงโซ่อาหาร (All) ต้องมั่นใจว่างานบริการต่างๆ
(ซึ่งหมายรวมถึง สาธารณูปโภค การเก็บรักษา การขนส่ง การบารุงรักษา
การทาความสะอาด บริการภายนอก) ที่ซึ่งมีการจัดหาและมีโอกาสกระทบ
ต่อความปลอดภัยของอาหารนั้น องค์กรต้องมีการจัดทาข้อกาหนด
สาหรับงานบริการ ดังนี้ (สอดคล้องข้อกำหนด ISO22000 ข้อ 7.1.6)
มีการกาหนดข้อกาหนดมาตรฐานที่ต้องการสาหรับงานบริการ ซึ่งได้รับ
การตรวจสอบเป็นประจา
มีการจัดทาเป็นเอกสาร โดยรายละเอียดในเอกสารระบุขอบเขต เพื่อให้
ตรงกับความต้องการและใน การวิเคราะห์อันตราย (HACCP)
2.5.1
1.ข้อกำหนดสำหรับงำนบริกำรและกำรสั่งซื้อวัตถุดิบ

มีการดูแลและปฏิบัติให้สอดคล้องตามข้อกาหนดเฉพาะ PRPs
มีการการตรวจสอบและรับรองสถานะของการอนุมัติของผู้ให้บริการที่
ต่อเนื่อง
มีระบบที่จะประกันว่าได้รับผลวิเคราะห์จากห้องปฏิบัติการ ที่ยืนยันเรื่อง
ความปลอดภัยอาหารในสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ (Verification or Validation)
และการวิเคราะห์ของห้องปฏิบัติการต้องได้รับการรับรองมาตรฐานสากล
เช่น การดาเนินการภายใต้ระบบมาตรฐานห้องปฏิบัติการ ISO 17025 หรือ
เทียบเท่า ทั้งแลปภายใน และ แลปภายนอก รวมถึงกาหนดมาตรฐาน
ความรู้ความสามารถของห้องปฏิบัติการ ทั้งภายในและภายนอก (a)
1.ข้อกำหนดสำหรับงำนบริกำรและกำรสั่งซื้อวัตถุดิบ

Categories. C, D, I, FII, G and K


องค์กรต้องมีขั้นตอน (Document procedure) การจัดซื้อในสถานการณ์
ฉุกเฉิน เพื่อให้แน่ใจว่าผลิตภัณฑ์ยังคงเป็นไปตามข้อกาหนดที่ระบุ และ
ผู้ขาย ผู้ส่งมอบ ต้องได้รับการประเมิน (b)
(ข้อกำหนด 7.1.6 ISO22000:2018)
ตัวอย่ำงมำตรกำรเพื่อรองรับกำรจัดซื้อฉุกเฉิน เช่น คัดเลือกผู้ขำยที่มีมำตรฐำนรับรอง , ขอผลวิเครำะห์
ผลิตภัณฑ์ , ตรวจประเมินผู้ขำยทันที (ถ้ำเป็นไปได้) , ขอข้อมูลลูกค้ำในอุตสำหกรรมที่คล้ำยกันเพื่อ
เปรียบเทียบควำมเสี่ยง , สุ่มตรวจรับเข้ำแบบเข้มงวดสูงสุด เป็นต้น
1.ข้อกำหนดสำหรับงำนบริกำรและกำรสั่งซื้อวัตถุดิบ
Categories. C0, CI, CIII and CIV

วัตถุดิบ เนื้อสัตว์ ปลา อาหารทะเล ต้องมีนโยบายในการจัดซื้อจัดหา ในการ


ควบคุมการปนเปื้อน สารต้องห้าม (ยาฆ่าแมลง โลหะหนัก ยาปฏิชีวนะ) (c)
(ข้อกำหนด 9.2 ISO/TS22002-1:2009)
โดยฝ่ายจัดซื้อแจ้งมาตรฐานของวัตถุดิบให้ผู้ขายได้รับทราบ ซึ่งสารปนเปื้อนดังกล่าวข้างต้นอ้างอิงจากมาตรฐานทางกฎหมาย
– ประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับที่ 414 เรื่องมาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
– ประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับที่ 303 เรื่องอาหารที่มียาสัตว์ตกค้าง
– ประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับที่ 387 เรื่องอาหารที่มีสารพิษตกค้าง
– มาตรฐานผลิตภัณฑ์สัตว์ (ทางเคมี) ทั้งในประเทศ และส่งออก, กรมประมง (กองตรวจสอบคุณภาพสินค้าประมง)
1.ข้อกำหนดสำหรับงำนบริกำรและกำรสั่งซื้อวัตถุดิบ
Categories. C, D, I, FII, G and K

- องค์กรต้องจัดให้มีเอกสาร นาไปปฏิบัติ และทบทวน


>> มาตรฐานผลิตภัณฑ์ที่จัดซื้อจัดหา (สเปควัตถุดิบ)
และนาไปปฏิบัติใช้ในการตรวจรับสินค้า
>> มาตรฐานผลิตภัณฑ์สุดท้าย
ให้สอดคล้องกับความปลอดภัยทางด้านอาหาร ด้านคุณภาพ
ด้านกฎหมาย และข้อกาหนดลูกค้า (d)
การทบทวนสเปคตามระยะเวลาที่องค์กรกาหนด เช่น ปีละ 1 ครั้ง และทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงผู้ขาย เป็นต้น
ข้อกาหนด 9.2 ISO/TS22002-1:2009 Selection and management supplier
ข้อกาหนด 4.6 ISO/TS22002-4 and ข้อกาหนด 4 ISO/TS22002-5
1.ข้อกำหนดสำหรับงำนบริกำรและกำรสั่งซื้อวัตถุดิบ
Categories. I
กาหนดเกณฑ์ในการใช้บรรจุภัณฑ์รีไซเคิล (Recycle Packaging) สาหรับ
ผลิตภัณฑ์
เพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมาย และข้อกาหนดลูกค้า (e)
2.ฉลากอาหารและการให้ข้อมูลผลิตภัณฑ์
a. องค์กรต้องมีการกาหนดและตรวจสอบเพื่อให้แน่ใจว่า
ผลิตภัณฑ์สาเร็จรูปมีป้ายชื่อตามกฎระเบียบด้านอาหารทีบ่ ังคับใช้ใน
ประเทศที่ต้องการขาย และแสดงข้อมูลผลิตภัณฑ์เพื่อให้ผู้บริโภคทราบและ
เข้าใจในผลิตภัณฑ์
และรวมถึงด้านแสดงสารก่อภูมิแพ้และข้อกาหนดเฉพาะลูกค้า
b. กรณีไม่มีฉลาก ต้องทาการสื่อสารข้อมูลต่างๆที่สาคัญต่อความปลอดภัย
ทางด้านอาหาร ให้ลูกค้าหรือผู้บริโภคได้รับทราบ
2.ฉลากอาหารและการให้ข้อมูลผลิตภัณฑ์
c. กรณีมีการเคลมบนฉลากหรือบรรจุภัณฑ์ เช่น สารก่อภูมิแพ้, ข้อมูล
โภชนาการ, วิธีการผลิต เป็นต้น องค์กรต้อง
- มีหลักฐานยืนยันสนับสนุนการเคลมบนฉลาก
- มีระบบการทวนสอบ
- มีการสอบย้อนกลับ และ การทาสมดุลมวล (mass balance)
2.ฉลากอาหารและการให้ข้อมูลผลิตภัณฑ์
d. Categories. I
การจัดการ artwork และ มาตรฐานการควบคุมการพิมพ์ ต้องถูกกาหนดและนาไป
ปฏิบัติ เพื่อให้แน่ใจว่าวัสดุที่พิมพ์สอดคล้องกับข้อกาหนดลูกค้าและข้อกาหนด
กฎหมาย อย่างน้อยมาตรฐานการดาเนินงาน (Procedure) ต้องมีข้อมูลดังนี้
- มาตรฐานการตรวจรับรอง (approve) artwork หรือตัวอย่างต้นแบบ
- กระบวนการในการเปลี่ยนแปลง artwork และมาตรฐานงานพิมพ์ และรวมถึง
การจัดการ artwork และ งานพิมพ์ ที่ล้าสมัยหรือไม่ใช้แล้ว
- ตรวจรับรองแต่ละงานพิมพ์ ให้สอดคล้องกับมาตรฐานหรือตัวอย่างต้นแบบ
- กระบวนการชี้บ่งและคัดแยกออก ของงานพิมพ์ที่ไม่ได้มาตรฐานหรือ
ผิดพลาดระหว่างการพิมพ์
- มีกระบวนการแยกออกจากกันอย่างมีประสิทธิภาพของงานพิมพ์ที่แตกต่าง
กัน
- มีกระบวนการทางบัญชีสาหรับผลิตภัณฑ์สิ่งพิมพ์ที่ไม่ได้ใช้
3.การป้องกันการก่อการร้ายผ่านทางอาหาร
องค์กรต้องจัดทำ Document procedure
3.1 กำรประเมินควำมเสี่ยง
(ต่อกระบวนการและผลิตภัณฑ์ ภายใต้ขอบเขตการขอรับรอง)
- ชี้บ่งภัยคุกคำม
- ประเมินภัยคุกคำม
- จัดทำมำตรกำรบรรเทำผลกระทบของภัยคุกคำมที่มีนัยสำคัญ
3.การป้องกันการก่อการร้ายผ่านทางอาหาร
3.2 จัดทาแผน
- มีเอกสำรกำรจัดทำแผนภัยคุกคำมเฉพำะตำมมำตกำรบรรเทำผลกระทบ และ
รวมถึงกระบวนกำรทวนสอบ บนพื้นฐำนของกำรประเมินควำมเสี่ยง
- แผนงำนต้องได้รับกำรสนับสนุนโดยระบบควำมปลอดภัยด้ำนอำหำรขององค์กร
- แผนงำนต้องสอดคล้องกับกฎหมำยที่บังคับใช้ ครอบคลุมกระบวนกำรและ
ผลิตภัณฑ์ภำยใต้ขอบเขตขององค์กร และมีควำมทันสมัยเป็นปัจจุบันอยู่เสมอ
- For Category FII , นอกเหนือจำกที่กล่ำวข้ำงต้น องค์กรต้องแน่ใจว่ำผู้ขำย ผู้ส่ง
มอบ (Suppliers) จะต้องมีแผนงำนด้ำน Food defense plan
FOOD SAFETY SYSTEM CERTIFICATION 22000 Version 5 May 2019 GUIDANCE DOCUMENT: FOOD
DEFENSE
3.การป้องกันการก่อการร้ายผ่านทางอาหาร
องค์กรต้องดำเนินกำรจัดทำระบบควำมปลอดภัยในอำหำรระบุเรื่อง
Food Defense ที่เป็นมำตรกำรป้องกันอำหำรให้มีควำมปลอดภัยจำกกำร
ปนเปื้อนโดยเจตนำ (Intentional Adulteration) เพื่อเป็นกำรป้องกันและตอบ
โต้ภัยคุกคำมทำงด้ำนอำหำรในระบบห่วงโซ่อำหำร รวมทั้งช่วยฟื้นฟูควำม
เชื่อมั่นของผู้บริโภค ที่มีต่อควำมปลอดภัยตลอดห่วงโซ่อำหำร ซึ่ง
ประกอบด้วย ด้ำนโครงสร้ำง, กำรรับคนเข้ำทำงำน, กำรควบคุมกำรเข้ำ-ออก
โรงงงำน และพื้นที่ผลิต, กำรรับเข้ำวัตถุดิบ, กำรจัดเก็บสำรเคมี, กำรจัดเก็บ
สินค้ำสำเร็จรูป, กำรทำซ้ำ, กำรซ่อมแซมเครื่องจักร, กำรควบคุมระบบน้ำใช้
เป็นต้น
3.การป้องกันการก่อการร้ายผ่านทางอาหาร
องค์กรต้อง
1. จัดตั้ง Food Defense team
2. ดาเนินการประเมินภัยคุกคาม (เช่น TACCP) ระบุและประเมินภัยคุกคามที่อาจ
เกิดขึ้นและช่องโหว่ที่ภัยคุกคามอาจเกิดขึ้น
3. ระบุและเลือกมาตรการควบคุมตามสัดส่วนภัยคุกคาม
4. จัดทาเอกสารการประเมินภัยคุกคาม มาตรการควบคุม การทวนสอบ และ
เหตุการณ์ภัยคุกคาม ขั้นตอนการจัดการในแผนป้องกันอาหาร ต้องได้รับการ
สนับสนุนจากระบบการจัดการความปลอดภัยด้านอาหาร
5. พัฒนาให้มีการอบรมที่มีประสิทธิภาพ และกลยุทธ์ในการสื่อสาร และ
ดาเนินการแผนป้องกันการคุมคามด้านอาหาร
3.การป้องกันการก่อการร้ายผ่านทางอาหาร
เมื่อกำรประเมินภัยคุกคำมอยู่ในระดับสูงสุดของโรงงำน ให้ตระหนักในกำรจัดกำรพื้นที่
ภำยในโรงงำน รวมถึงพนักงำนทุกคน และให้ครอบคลุมถึงตลอดห่วงโซ่อุปทำน (Supply
chain)
เครื่องมือที่ใช้ในกำรประเมินมีหลำยแบบ เช่น TACCP, CARVER+Shock, FDA Food
Defense Plan Builder FDBP
ไม่ว่ำจะใช้เครื่องมือใด แต่องค์กรจะต้องมีคำถำม ดังต่อไปนี้
- ใครที่อำจต้องกำรโจมตีเรำ
- พวกเขำทำได้อย่ำงไร
- ผลกระทบด้ำนสำธำรณสุขที่อำจเกิดขึ้นคืออะไร
- เรำจะป้องกันไม่ให้สิ่งนี้เกิดขึ้นได้อย่ำงไร
3.การป้องกันการก่อการร้ายผ่านทางอาหาร
o สิ่งสำคัญคือต้องระบุภัยคุกคำมให้ได้มำกที่สุดเพื่อให้สำมำรถประเมินได้
o เมื่อทำกำรประเมินภัยคุกคำม อนุญำตให้จัดกลุ่มวัสดุในขั้นต้นได้ (เช่น วัตถุดิบที่
คล้ำยคลึงกัน วัสดุหรือผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปที่คล้ำยกัน) เมื่อมีกำรระบุควำมเสี่ยงที่มี
นัยสำคัญภำยในกลุ่ม อำจจำเป็นต้องมีกำรวิเครำะห์เชิงลึกมำกขึ้น
o กำรประเมินภัยคุกคำม สำมำรถใช้เมทริกซ์ควำมเสี่ยงที่คล้ำยกับ HACCP ได้ (เช่น
ควำมน่ำจะเป็นของเหตุกำรณ์ x ผลกระทบ/ผลที่ตำมมำ) ปัจจัยอื่นๆ เช่น
ควำมสำมำรถในกำรเข้ำถึง โอกำสในกำรตรวจจับและกำรรับรู้ อำจใช้เป็นตัวบ่งชี้
เพิ่มเติมได้
o กำรป้องกันสำหรับนัยสำคัญควำมเสี่ยง จะต้องได้รับกำรพัฒนำและจัดทำเป็น
เอกสำร เพื่อช่วยในกำรระบุมำตรกำรป้องกัน
3.การป้องกันการก่อการร้ายผ่านทางอาหาร
o ให้มีมำตรกำรควบคุมกำรตรวจสอบกิจกรรม กำรแก้ไขและกำรดำเนินกำรแก้ไข
ควำมรับผิดชอบ กำรเก็บบันทึก และกำรปรับปรุงอย่ำงต่อเนื่อง
o ให้รวมกำรป้องกันด้ำนอำหำร เข้ำไปอยู่ในระบบกำรจัดกำรควำมปลอดภัยอำหำร
ด้วย เช่น นโยบำย กำรตรวจสอบภำยใน กำรทบทวนของฝ่ำยบริหำร ฯลฯ
o ประสิทธิผลของกำรป้องกัน ขึ้นอยู่กับคนเป็นส่วนใหญ่ อำจจะเป็นภำยนอก (เช่น
ซัพพลำยเออร์) หรือภำยใน (ผู้ร่วมงำนของคุณเอง) ดังนั้นควรจัดให้มีกำรฝึกอบรม
และ/หรือโปรแกรมกำรสื่อสำรไปยังภำยนอก
o ทีมงำนประกอบด้วยควำมเชี่ยวชำญหลำกหลำย (เช่น HR, Security, Quality, I.T.,
Production, Facility Manager) โดยองค์ประกอบของทีม Food Defense นั้นจะ
แตกต่ำงจำก HACCP
3.การป้องกันการก่อการร้ายผ่านทางอาหาร
Auditor จะดูเรื่องอะไรบ้ำง ??
• มีทีมงำนที่มีควำมสำมำรถ/ควำมรู้ที่ถูกต้องหรือไม่?
• มีกำรประเมินควำมเสี่ยงและจัดทำเป็นเอกสำรหรือไม่?
• ภัยคุกคำมที่เกี่ยวข้องครอบคลุมหรือไม่
• ควำมกว้ำงของกำรประเมินควำมเสี่ยง
(ทั้งห่วงโซ่อุปทำนและไม่ใช่แค่ไซต์ของตัวเอง)?
• มีวิธีกำรกำหนดควำมสำคัญของภัยคุกคำมหรือไม่?
• เมื่อมีกำรระบุภัยคุกคำมที่สำคัญ มีแผนป้องกันอำหำรเป็นลำยลักษณ์อักษร
หรือไม่?
3.การป้องกันการก่อการร้ายผ่านทางอาหาร
• กำรฝึกอบรมและกำรสื่อสำรมีกำรจัดกำรอย่ำงไร?
• ประสิทธิภำพของกระบวนกำรป้องกันกำรฉ้อโกงอำหำรได้รับกำรประเมินตำม
ISO22000:2018 ข้อที่ 9 (กำรประเมินประสิทธิภำพ)
• กำรวิเครำะห์ได้รับกำรตรวจสอบอย่ำงสม่ำเสมอและมีควำมถี่เพียงพอหรือไม่?
• ทีมรับมือเหตุฉุกเฉินเตรียมพร้อม (ISO 22000:2018 ข้อที่ 8.4) หรือไม่?
• เป็นกำรดำเนินกำรทั้งหมดข้ำงต้นอย่ำงมีประสิทธิภำพผ่ำน FSMS ขององค์กร
(เช่น บันทึก, ควำมตระหนักของผู้คน, ควำมปลอดภัยของไซต์ผลิต, กำรตรวจสอบ
ภำยใน, กำรทบทวนจำกฝ่ำยบริหำร)?
30

FOOD DEFENSE

ข้อกำหนด ISO/TS 22002-1 ข้อ 18


ข้อกำหนด ISO/TS 22002-4 ข้อ 4.15

Katika Boranin
มาตรการในการป้องกันจึงเป็นหนทางในการลดความเสี่ยงจากภัยคุกคาม เพื่อให้
31
อาหารปลอดภัยจากการโจมตีโดยเจตนา เช่น

• การคัดกรองพนักงาน (ก่อนการว่าจ้าง, ระหว่างการว่าจ้าง, หลังการว่าจ้าง


และปลดออก)
• การชี้บ่งบุคคล ด้วยบัตรพนักงาน เป็นต้น
• การจากัดสิทธิการเข้าถึง โดยอาจประยุกต์ใช้ระบบคีย์การ์ด fingerprint เป็น
ต้น
• การควบคุมสิ่งของส่วนบุคคล อาจประยุกต์การตรวจค้นตัวพนักงานก่อนเข้า
โรงงาน
อบรมขั้นตอนรักษาความปลอดภัย
อ.กติกา โบราณินทร์


• คอยสารวจพฤติกรรมต้องสงสัย
32
• พื้นที่พิเศษต้องคุมพิเศษ พื้นที่เก็บวัตถุดิบขนาดใหญ่ ไซโล ห้องควบคุม ต้อง
มีการควบคุมที่เหมาะสม
• บุคคลอื่นๆและผู้เยี่ยมชมต้องมีกาหนดนัดหมาย ได้รับการดูแลตลอดเวลา
• ต้องมีระบบป้ายชื่อระบุตัวตนพนักงาน ตลอดเวลา
• จัดจ้างผู้รักษาความปลอดภัย
• การใช้วีดีโอวงจรปิด CCTV
• จัดหาแสงสว่างให้เพียงพอ รวมทั้งไฟสารอง
• จากัดให้ใช้สารเคมีทีมีพิษทีในสถานประกอบการ แค่สารเคมีทีจาเป็นต่อการ
ผลิตและบารุงรักษา
อ.กติกา โบราณินทร์
33 • เก็บสารเคมีทีมีพิษให้ไกลจากสถานทีเก็บอาหาร
• ติดฉลากของสารเคมีแต่ละชนิดให้ถูกต้อง
• สอบสวนกรณีทีสารเคมีทีขาดหายไป หรือมีการใช้สารเคมีทีไม่สม่าเสมอ
แน่นอน
• การควบคุมตรวจรับวัตถุดิบและการควบคุมผู้ส่งมอบ
• การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ ต้องมี password
• มีการตรวจสอบระบบรักษาความปลอดภัยตามรอบเวลา เพื่อตรวจหาร่องรอย
ของการบุกรุก ทาลาย
• รถขนส่งที่อยู่ภายใต้การควบคุมต้องไม่มีการนาไปใช้ในทางที่ผิด
อ.กติกา โบราณินทร์
34 • ยานพาหนะ คอนเทนเนอร์ เทรลเลอร์ รถขนส่งที่ไม่ได้ระหว่างใช้ต้องทาการล็อค
• ผู้ขายทุกรายต้องผ่านการคัดเลือกอย่างเหมาะสม
• ผู้ขายต้องมีความน่าเชื่อถือได้ โดยมีเอกสารแสดงตัวตนที่ชัดเจน ตรวจสอบได้
• มีการตรวจสอบผลวิเคราะห์คุณภาพของวัตถุดิบประจาปี
• QC การทดสอบ สุ่มตรวจ สาหรับอันตรายที่อาจเกิดขึ้น หรือไม่คาด ในกรณีที่ไม่มี
การตรวจ inline 100%
• การตรวจสอบ สี กลิ่น สภาพผิว รสชาติ
• จากัดการเข้าถึงระบบควบคุมอากาศ น้า ไฟฟ้า การแช่เย็น
• การรักษาความปลอดภัยของบ่อน้า หัวจ่าย และทีจัดเก็บ มีระบบล็อค
อ.กติกา โบราณินทร์
พื้นที/่ กิจกรรม ภัยคุกคำม ประเมินควำมเสี่ยง O x S มำตรกำร
การเข้าออกบุคคลภายนอก มีโอกาสก่อภัยคุกคามจาก Low x low = Mi 1.มีรปภ.อยู่ตลอดเวลำ และ
เข้าบริเวณป้อม รปภ. บุคคลภายนอกเข้ามาก่อเหตุร้าย ปิดประตูทุกครั้งหลังกำรเข้ำ-
แต่ทาได้ยากเนื่องจากมีรปภ. ออก
ตลอดเวลา 2.มีกำรแลกบัตร
บุคคลภำยนอกทุกคน พร้อม
ติดบัตร Visitor
SERVERITY
Mi Ma Cr High
RISK

Mi Ma Ma Medium
Mi Mi Mi Low

Low Medium High


อ.กติกา โบราณินทร์

35
ความเสี่ยง (Risk) หมายถึง โอกาสที่จะเกิดอันตรายกับผลิตภัณฑ์ แบ่งเป็น 3
ลาดับ คือ
High โอกาสเข้าถึงได้ง่ายโดยไม่มีใครรู้/เห็น หรือ ไม่มีเจ้าหน้าที่บริษัทอยู่ที่จุดๆ
นั้น หรือ มีเจ้าหน้าที่บริษัทแต่ไม่ได้ประจาอยู่ตลอดเวลา
Medium มีโอกาสเข้าถึงได้โดยมีจานวนเจ้าหน้าที่จากัดไม่สมดุลกับปริมาณ
บุคคลภายนอก หรือเจ้าหน้าที่เห็นพื้นที่จุดนั้นแต่อยู่ไกลเกินกว่าจะจัดการระงับ
เหตุการณ์จากบุคคลภายนอกได้ทัน
Low โอกาสเข้าถึงได้ยากมีเจ้าหน้าที่บริษัทอยู่บริเวณนั้นตลอดเวลา
ความรุนแรง (Severity) หมายถึง ความรุนแรงหรือผลที่เกิดขึ้นจากอันตราย
แบ่งเป็น 3 ลาดับ คือ
High มีอันตรายต่อบริษัทในระดับที่ทาให้บริษัทไม่สามารถดาเนินกิจการต่อได้
Medium มีอันตรายต่อบริษัทในระดับที่ทาให้บริษัทหยุดการผลิต ตั้งแต่ 1 วัน
เป็นต้นไป
37
ปัญหาของผู้ประกอบการส่วนใหญ่ :
• ไม่รู้ว่ามาตรการป้องกันที่มีเพียงพอและเหมาะสม แล้วหรือไม่
• บริษัทขนาดใหญ่ แต่ไม่มีผู้รับผิดชอบเฉพาะ
• ไม่มีการอบรมพนักงานเรื่องความเสี่ยงและประเด็นที่จาเป็น
• การตอบสนองต่อวิกฤตการณ์ที่เกิดขึ้น

อ.กติกา โบราณินทร์
4.การป้องกันอาหารปลอม
- องค์กรต้องดาเนินการจัดทาเอกสารแสดงถึงวิธีการปฏิบัติงานในการประเมินความเสี่ยง
ที่อาจเกิดขึ้นกับการฉ้อโกงหรือปลอมปนอาหาร พร้อมทั้งจัดทามาตรการควบคุมเพื่อลด
หรือขจัดความเสี่ยงที่ระบุไว้ และมีแผนรองรับโดยระบบการจัดการความปลอดภัยด้าน
อาหารและด้านกฎหมายที่บังคับใช้
- มีกระบวนการทวนสอบแผนการดาเนินงาน
- แผนต้องถูกนาไปปฏิบัติใช้และได้รับการสนับสนุนจากองค์กร
- แผนต้องสอดคล้องกับกฎหมาย ครอบคลุมกิจกรรมและผลิตภัณฑ์ภายใต้การรับรอง
ขององค์กร
- สาหรับ Cat. FII (Food Brokering, trading and e-commerce) องค์กรต้องมั่นใจว่า ผู้ขาย
มีแผนการดาเนินงานด้านการฉ้อโกงหรือปลอมปนอาหารที่สถานประกอบการของ
ผู้ขาย
การประเมินความเสี่ยง >> จัดทาแผน >> ทบทวนแผน
4.กำรป้องกันอำหำรปลอม
องค์กรต้องจัดทำ Document procedure
4.1 การประเมินความเสี่ยง
- ชี้บ่งควำมอ่อนไหวต่อกำรปลอมปน
- ประเมินควำมอ่อนไหว
- จัดทำมำตรกำรบรรเทำผลกระทบของควำมอ่อนไหวต่อกำรเป็นของแท้ที่มีนัยสำคัญ
3.2 จัดทาแผน
- จัดทำแผนจัดกำรต่อควำมอ่อนไหวอำหำรเฉพำะ ตำมมำตกำรบรรเทำผลกระทบ ครอบคลุมทั้ง
กระบวนกำรและผลิตภัณฑ์ภำยในสถำนประกอบกำรด้ำนอำหำร
- แผนงำนต้องได้รับกำรสนับสนุนโดยระบบควำมปลอดภัยด้ำนอำหำรขององค์กร
- แผนงำนต้องสอดคล้องกับกฎหมำยที่บังคับใช้ และมีควำมทันสมัยอยู่เสมอ
GUIDANCE DOCUMENT: FOOD FRAUD MITIGATION Version 5 May 2019
4.กำรป้องกันอำหำรปลอม
ควำมเสี่ยงด้ำนกำรปลอมปนมักเกิดจำกควำมประมำทเลินเล่อหรือขำดควำมรู้ และโดยพวก
หลอกลวง สำหรับควำมเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับกำรฉ้อโกงอำหำร แบ่งเป็น
1.ความเสี่ยงด้านความปลอดภัยของอาหารโดยตรง:
ผู้บริโภคตกอยู่ในควำมเสี่ยงทันที เช่น กำรเติมเมลำมีนไปจนถึงนมผงที่ทำให้เกิดพิษเฉียบพลัน
กำรซ่อนสำรที่ส่งผลให้สำรก่อภูมิแพ้ที่ไม่ได้ประกำศ
2.ความเสี่ยงด้านความปลอดภัยของอาหารทางอ้อม:
ผู้บริโภคมีควำมเสี่ยงจำกกำรได้รับสำรในระยะยำว เช่น ระดับของโลหะหนักมีค่ำสูงในผลิตภัณฑ์
เสริมอำหำรซึ่งก่อให้เกิดอันตรำย หรือ กำรขำดประโยชน์ด้ำนสำรอำหำร
3.ความเสี่ยงทางเทคนิคในการฉ้อโกงอาหาร:
ไม่มีควำมเสี่ยงด้ำนควำมปลอดภัยของอำหำรโดยตรงหรือโดยอ้อม เช่น บิดเบือนข้อมูลประเทศต้น
ทำง ซึ่งบริษัทไม่สำมำรถรับประกันควำมปลอดภัยของผลิตภัณฑ์อำหำรของตนเองได้
41

อ.กติกา โบราณินทร์
ทั้งหมดหรือ
บำงส่วน และจำหน่ำยเป็นอำหำรแท้ หรือใช้ชื่ออำหำรแท้ เช่น กำรเติมเมลำมีนในนม
2. การแทนที่ : กำรแทนที่ด้วยสำรอื่นที่มีคุณภำพด้อยกว่ำ หรือและรำคำถูกกว่ำในสินค้ำ โดยไม่
เปลี่ยนแปลง
ต่อลักษณะภำพรวมของสินค้ำ เช่น กำรผสมน้ำตำลในน้ำผึ้ง และจำหน่ำยเป็นน้ำผึ้งแท้
3. การปลอม : วัตถุหรืออำหำรที่ผลิตขึ้นเทียม และจำหน่ำยเป็นอำหำรแท้ แต่ด้อยคุณภำพกำรผลิต
เช่น กำร
ทำไข่ปลอม
4. การปกปิด : อำหำรที่ได้ผสมหรือปรุงแต่งด้วยวิธีใดๆ โดยประสงค์จะปกปิดซ่อนเร้นควำมชำรุด
บกพร่อง
หรือควำมด้อยคุณภำพของอำหำร หรืออำหำรที่ผลิตไม่ถูกต้องตำมคุณภำพหรือมำตรฐำน ซึ่งอำจทำ
ให้เกิด
โทษหรืออันตรำย
5. การกล่าวอ้างผิดบนฉลาก : อำหำรที่มีฉลำกเพื่อลวง หรือพยำยำมลวงผู้ซื้อให้เข้ำใจผิดในเรื่อง
คุณภำพ
ปริมำณ ประโยชน์ หรือลักษณะพิเศษอย่ำงอื่น หรือในเรื่องสถำนที่และประเทศที่ผลิต
4.กำรป้องกันอำหำรปลอม
องค์กรต้อง
1. จัดตั้ง Food Fraud team
2. ดาเนินการประเมินความอ่อนไหวต่อการปลอมปน (Food Fraud Vulnerability
Assessment /FFVA) และระบุความอ่อนไหวที่อาจเกิดขึ้น
3. กำหนดควำมอ่อนไหวที่เป็นนัยสำคัญ
4. ระบุและเลือกมำตรกำรควบคุมตำมสัดส่วนสำหรับจุดอ่อนที่สำคัญ
5. จัดทาเอกสารการประเมินจุดอ่อน มาตรการควบคุม การทวนสอบ และเหตุการณ์ของการ
ปลอมปน ขั้นตอนการจัดการในแผนป้องกันการปลอมปนอาหารต้องได้รับการสนับสนุนจากระบบ
การจัดการความปลอดภัยด้านอาหาร
6. พัฒนาให้มีการอบรมที่มีประสิทธิภาพ และกลยุทธ์ในการสื่อสาร และดาเนินการแผนป้องกัน
การปลอมปนในอาหาร
กุญแจสำคัญในกำรประเมินช่องโหว่คือ: "คิดอย่ำงอำชญำกร“
“think like a criminal”
- กำหนดกลยุทธ์กำรป้องกันควำมเสี่ยงที่สำคัญจะต้องจัดทำและจัดทำเป็นเอกสำร
- มีกระบวนกำรฝึกอบรมที่มีประสิทธิภำพ
- มีมำตรกำรควบคุมกำรปฏิบัติงำน
- มีกิจกรรมกำรทวนสอบ เช่น ตรวจสอบซัพพลำยเออร์ , ตรวจสอบฉลำก , ผลทดสอบ เป็นต้น
- มีกำรแก้ไขและกำรดำเนินกำรแก้ไข
- มีกำหนดควำมรับผิดชอบ
- มีกำรเก็บบันทึก
- กิจกรรมกำรตรวจสอบพัฒนำอย่ำงต่อเนื่อง
ปัจจัยที่ต้องคานึงถึงในการประเมินความเสี่ยง
45 Occurence
- ประวัติผู้ขาย เคยมีการปลอมปนหรือไม่ รวมถึงความสัมพันธ์กับผู้ขาย
ว่าทาซื้อขายกันมายาวนานหรือไม่
- วัตถุดิบ เคยมีหลักฐานการปลอมปนหรือไม่
- ตัวแปรด้านเศรษฐกิจ
- ความยากง่ายในการเข้าถึงวัตถุดิบ short/long supply chain
- ธรรมชาติแหล่งที่มาของวัตถุดิบ ในประเทศหรือต่างประเทศ หรือสถานที่
ที่มีกระบวนการเปลี่ยนแปลงของผลิตภัณฑ์หลายอย่าง
- ใบรับรองมาตรฐานการจัดการ Food fraud ของ Supplier (forward and
backward)
Detection
- ความยากง่ายในการตรวจสอบ >>>
อ.กติกา โบราณินทร์
OxD
Likelihood of Occurrence

ความยากง่ายในการ
เข ้าถึงวัตถุดบิ ธรรมชาติและแหล่งทีม่ าของวัตถุดบิ
หลักฐานการปลอมปน ตัวแปรทางด ้านเศรษฐกิจ
ระด ับคะแนน (How possible is the (Nature of raw material / Physical
(Fraud Historial evidence) (Economic Factor)
access to RM in the form?
supply chain?

เข ้าถึงได ้ยากต่อการ วัตถุดบิ ของเหลว หรือของเหลวเดียวไม่ม ี


1 ไม่เคยมีประวัตมิ าก่อน ปลอมแปลงยาก ไม่มผี ลต่อการปลอมแปลง ปลอมปน องค์ประกอบซับซอน ้

VL หรือ shortly supply chain แหล่งทีม่ าไม่มปี ระวัตปิ ลอมแปลง

วัตถุดบิ ของเหลว หรือของแข็ง มี


เข ้าถึงได ้ยากต่อการ องค์ประกอบค่อนข ้างซับซอน ้
มีผลต่อการปลอมแปลงนอ้ ย แหล่งทีม่ าไม่มปี ระวัตปิ ลอมแปลงอาจมี
2 ไม่เคยมีประวัตแิ ต่สามารถปลอมแปลงได ้ ปลอมปนนอ้ ย
อุปทานตา่ ราคาตา่ แนวโนม้ สามารถปลอมแปลงได ้
หรือ short supply chain
L
มีผลต่อการปลอมแปลงปานกลาง มีเข ้าถึงได ้ปานกลางต่อ
Single semi solid or liquid Ingredients/
M 3 เคยมีประวัตใิ นบางพืน้ ที่ เชน่ มีสนิ ค ้าอืน่ กลุม่ ชนิดเดียวกัน
ราคาแพงกว่า
การปลอมปน
หรือ short supply chain
แหล่งทีม่ เี คยมีประวัตปิ ลอมปน

เข ้าถึงได ้ง่ายต่อการ
มีผลต่อการปลอมแปลงสูง อุปทาน วัตถุดบิ มีองค์ประกอบสว่ นผสมหลายชนิด/
H 4 เคยมีประวัต ิ
สูง ราคาสูง
ปลอมปนมาก
หรือ Long supply chain
แหล่งทีม่ มี ปี ระวัตกิ ารปลอมปน

มีผลต่อการปลอมแปลงสูงมาก ง่ายต่อการปลอมปนสูง Multiple Liquid ingredients/


VH 5 เคยมีประวัตปิ ลอมแปลงบ่อยครัง้ อุปทานสูง ราคาสูง เชน่ มีสนิ ค ้า
กลุม่ อืน่ ทีท
่ ดแทนได ้แต่ราคาถูกกว่า
มาก
Long Supply chain
แหล่งทีม่ ามีประวัตปิ ลอมแปลงบ่อยครัง้
หรือมาจากแหล่งจาเพาะ
Likelihood of Detection
ความยากง่ายในการตรวจสอบพบการปลอมปลอม
ระด ับคะแนน
Is the test / detection sophisticated?

1 ตรวจสอบได ้ด ้วยสายตา

2 ทาการทดสอบภายในโรงงานได ้

3 ต ้องสง่ ห ้องปฎิบัตก
ิ ารภายนอกทดสอบ

4 ห ้องปฏิบัตก
ิ ารภายในมีประเทศมีจากัด

5 ต ้องสง่ ห ้องปฎิบัตก
ิ ารต่างประเทศทดสอบ

Food Fraud Assessment

Risk Ocuurrence

Unlikely Seldom Occasional Likely Frequent

Points 4 8 12 16 20

Visual Check 1 4 8 0 16 20
Internal
Testing
2 8 16 12 32 40
Various
Detection
External Lab 3 12 24 36 48 60
in Country
Limit
External Lab 4 16 32 48 64 80
in Country
Exteranl
Country Lab
5 20 40 60 80 100
ประเมินความเสี่ยงผู้ส่งมอบ RPN = O x S
48 โอกาสการเกิด
1.สถานะผู้ขาย : ผู้ผลิต ผู้จัดจาหน่าย ผู้รับเหมาช่วง ผู้บริการ เป็นต้น
2.ปริมาณที่ส่งมอบ
3.ลักษณะการใช้งาน (เฉพาะบรรจุภัณฑ์) : food contract หรือไม่
4.ประวัติการ rejected ในปีที่ผ่านมา
5.ประวัติการร้องเรียน
6.มาตรฐานโรงงาน (มีระบบอะไรบ้าง)
7.สถานที่ผลิต : ในประเทศ ต่างประเทศ
ความเสี่ยง
ความเสี่ยงวัตถุดิบ : นาจากการประเมิน HACCP + Vulnerability (Food Fraud
Assessment)
อ.กติกา โบราณินทร์
จะต้องมุ่งเป้าไปที่การลดความเสี่ยงของการฉ้อโกงอาหาร
49
โดยลดโอกาสสาหรับนักต้มตุ๋น

การจัดการผู้ขาย
1.ส่งแบบสอบถาม
2.ตรวจประเมินผู้ขาย
3.ผลวิเคราะห์ประจาปี
4.COA
5.ทดสอบวัตถุดิบโดยบริษัท
6.ประเมินตามเกณฑ์คัดเลือกผู้ขาย ผู้บริการ (คุณภาพ ราคา การส่งมอบ)
7.สอบย้อนกลับผลิตภัณฑ์
อ.กติกา โบราณินทร์
โอกาสการเกิด การตรวจพบ
Likelihood of Occurrence (O) Likelihood of
Detection (D)

ประวัติของการ หลักฐานการปลอมปน ตัวแปรทางด้านเศรษฐกิจ ความยากง่ายในการเข้าถึง ธรรมชาติและแหล่งที่มาของ ความยากง่ายใน


ปลอมปน (Historial evidence) (Economic Factor) วัตถุดิบ วัตถุดิบ การตรวจสอบพบ คะแนนประเมิน
ชื่อวัตถุดิบ ผลการประเมิน
รหัสวัตถุดิบ ผู้ส่งมอบ (Supplier- (How possible is the (Nature of raw material / การปลอมปน ความเสี่ยงรวม การจัดการ
(Food Raw นัยสาคัญ
(Code) (Supplier) History of access to RM in the Physical form? Is te test / (Overall Risk ) (Management)
Matertial) รวม (Significant Risk)
Fraud) supply chain? detection OxD
(Yes / No) คะแน sophisticated?

Level Score Level Score Level Score Level Score Level Sco
re

Yes M 3 VL 1 VL 1 L 2 7 H 4
รายละเอียด
(Detail) ห้องปฏิบัติ - คัดเลือกผู้ขาย
ฟิล์มพิมพ์ เค.ฟิล์ม ของแข็ง การมีจากัด 28 Medium - ตรวจประเมินผู้ขาย
yes มีข่าวปลอมปนใน ซื้อจากผู้ผลิต
ไม่มีผล องค์ประกอบไม่ ส่งศูนย์ - ซื้อจากแหล่งกาเนิด
จีน โดยตรง
ซับซ้อน ทดสอบ ที่น่าเชื่อถือ
พลาสติก - ผลวิเคราะห์ประจาปี
- COA
เกณฑ์กำรประเมิน /
ลำดับ
คะแนนควำมเสี่ยง L=1 M=2 H=3

1 ปริมำณที่ส่งมอบ ปีละ < 15 ครั้ง หรือ ปีละ < 10 ตัน ปีละ 15-30 ครั้ง หรือ ปีละ 10-30 ตัน
ปีละ > 30 ครั้ง หรือ ปีละ > 30 ตัน
Food contract และ ไม่มี
2 ลักษณะกำรใช้งำน (เฉพำะบรรจุภัณฑ์) non-contract Food contract และ มีใบรับรอง ใบรับรอง

3 ประวัติกำร rejected < 3 ครั้งต่อปี 3 - 10 ครั้งต่อปี > 10 ครั้งต่อปี

4 ประวัติกำร ร้องเรียน ไม่มีข้อร้องเรียน 1 - 3 ครั้งต่อปี > 3 ครั้งต่อปี


มีระบบ GMP HACCP
5 มำตรฐำนโรงงำนผู้ผลิต มีระบบ GFSI : BRC , FSSC , IFS ISO22000 ไม่มีระบบ

6 สถำนที่ผลิต ในประเทศ ในประเทศและต่ำงประเทศ ต่ำงประเทศเท่ำนั้น

7 ควำมเสี่ยงวัตถุดิบ จำกตำรำงกำรประเมินควำมเสี่ยงวัตถุดิบ Vulnerability (Food Fraud Assessment) และ HACCP

คะแนนรวม น้อยกว่ำ 13 13-48 48-108


4.กำรป้องกันอำหำรปลอม
Auditor จะดูเรื่องอะไรบ้ำง?
• มีทีมงำนที่มีควำมสำมำรถ/ควำมรู้ที่ถูกต้องหรือไม่?
• มีกำรดำเนินกำรประเมินช่องโหว่และจัดทำเป็นเอกสำรหรือไม่?
• ครอบคลุมช่องโหว่ทุกประเภท (กำรทดแทน กำรปรับปรุงที่ไม่ได้รับอนุมัติ
misbranding, ปลอมแปลง, สินค้ำที่ถูกขโมยหรืออื่น ๆ )?
• ควำมลึกของกำรประเมินควำมเสี่ยง (ข้อมูลทำงประวัติศำสตร์ แรงจูงใจทำง
เศรษฐกิจกำรตรวจจับ ฯลฯ )?
• ควำมกว้ำงของกำรประเมินช่องโหว่ (ครอบคลุมเนื้อหำทั้งหมด)?
• มีวิธีกำรกำหนดควำมสำคัญของช่องโหว่หรือไม่?
4.กำรป้องกันอำหำรปลอม

• เมื่อมีกำรระบุจุดอ่อนที่สำคัญ มีแผนป้องกันเป็นลำยลักษณ์อักษรหรือไม่?
• ประสิทธิภำพของกระบวนกำรป้องกันกำรฉ้อโกงอำหำรได้รับกำรประเมินตำม
ISO22000:2018 ข้อ 9 (กำรประเมินประสิทธิภำพ) หรือไม่?
• กำรวิเครำะห์ได้รับกำรตรวจสอบอย่ำงสม่ำเสมอและมีควำมถี่เพียงพอหรือไม่?
• ทีมรับมือเหตุฉุกเฉินเตรียมพร้อม (ISO 22000:2018 ข้อ 8.4) หรือไม่?
• รวมทั้งหมดข้ำงต้นอย่ำงมีประสิทธิภำพและดำเนินกำรผ่ำน FSMS ขององค์กร เช่น
บันทึก, ควำมตระหนักของพนักงำนและบุคคลที่เกี่ยวข้อง, ควำมปลอดภัยของสถำน
ประกอบกำร, กำรตรวจสอบภำยใน, กำรทบทวนโดยฝ่ำยบริหำร เป็นต้น?
5.กำรใช้โลโก้

กรณีที่องค์กร ได้รับกำรรับรองระบบมำตรฐำนงำนด้ำนควำมปลอดภัย
อำหำร
FSSC 22000 สำมำรถใช้โลโก้ FSSC 22000 ได้ ดังนี้
a. สำมำรถใช้ในสิ่งพิมพ์ เว็บไซด์ และเนื้อหำส่งเสริมกำรขำยอื่นๆ ของ
บริษัทฯ
b. องค์กรต้องร้องขอ LOGO FSSC จำก CB ที่ให้กำรรับรอง โดยสีต้อง
เป็นไปตำมข้อกำหนด ดังนี้
5.กำรใช้โลโก้
สามารถใช้โลโก้รูปขาว-ดาได้ เมื่อข้อความและภาพทั้งหมดเป็นสีดาและสีขาว
c. ไม่อนุญาตให้ใช้ กำรรับรองเครื่องหมำยโลโก้ FSSC 22000 ดังนี้
- บนผลิตภัณฑ์
- บนฉลำก
- บรรจุภัณฑ์ (ทั้ง Primary , Secondary และ บรรจุภัณฑ์อื่นๆ)
- COA , COC
- ในลักษณะอื่นใดที่มีนัยว่ำ FSSC 22000 ได้อนุมัติรับรองผลิตภัณฑ์
กระบวนกำร หรือบริกำร
- และกรณีที่ทาการขอยกเว้น scope การรับรอง
2.5.5
6.กำรบริหำรสำรก่อภูมิแพ้
(Categories. C,E,FI,G,I,K) >> ALL FOOD CHAIN CATEGORIES
องค์กรต้องจัดทำเอกสำรแผนกำรจัดกำรด้ำนสำรก่อภูมิแพ้ รวมถึง
a. จัดทำ list สำรก่อภูมิแพ้ ทั้งวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์
b. ประเมินควำมเสี่ยงของกำรปนเปื้อนข้ำมสำรก่อภูมิแพ้
c. ชี้บ่งและนำมำตรกำรควบคุมไปปฏิบัติ เพื่อลดหรือขจัดควำมเสี่ยงของกำร
ปนเปื้อนข้ำม
d. พิสูจน์ยืนยัน (validation) และทวนสอบ (verification) มำตรกำรในกำร
ควบคุมว่ำได้นำไปปฏิบัติและจัดเก็บเอกสำรกำรพิสูจน์ยืนยันและกำรทวนสอบ
ไว้

2.5.6
6.กำรบริหำรสำรก่อภูมิแพ้
(Categories. C,E,FI,G,I,K) >> ALL FOOD CHAIN CATEGORIES
กรณีมีกำรผลิตผลิตภัณฑ์ตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปที่มีสำรก่อภูมิแพ้แตกต่ำงกัน
ในพื้นที่กำรผลิตเดียวกัน จะต้องมีกำรทวนสอบโดยทดสอบควำมถี่ตำมกำร
ประเมินควำมเสี่ยง ได้แก่ กำร swab พื้นผิว, กำรทดสอบอำกำศ และ/หรือ กำร
ทดสอบผลิตภัณฑ์
e. กำรประกำศแจ้งเตือนบนฉลำกสำหรับผลิตภัณฑ์ เพื่อแจ้งเตือนควำม
เสี่ยงต่อผู้บริโภคตำมกฎหมำยกำรติดฉลำกสำรก่อภูมิแพ้ในประเทศที่ผลิตและ
ประเทศปลำยทำง ถึงแม้ว่ำมำตรกำรในกำรจัดกำรด้ำนสำรก่อภูมิแพ้จะถูก
นำมำปฏิบัติใช้หรือรวมทั้งมีกำรทดสอบยืนยันผลแล้ว ก็ไม่มีข้อยกเว้นในเรื่อง
กำรแจ้งเตือนบนฉลำก
6.กำรบริหำรสำรก่อภูมิแพ้
f. พนักงำนทุกคนต้องได้รับกำรอบรมควำมตระหนักด้ำนสำรก่อภูมิแพ้ และอบรม
กรณีพิเศษเพิ่มเติม ในกำรควบคุมสำรก่อภูมิแพ้ในพื้นที่กำรปฏิบัติงำนที่รับผิดชอบและ
เกี่ยวข้อง
g. แผนกำรจัดกำรด้ำนสำรก่อภูมิแพ้ จะต้องได้รับกำรทบทวน (review) อย่ำงน้อย
ปีละ 1 ครั้ง และทุกครั้งที่มีกำรเปลี่ยนแปลงสำคัญที่มีผลกระทบต่อควำมปลอดภัยอำหำร,
กำรเรียกคืนสินค้ำ หรือ กำรถอนคืนสินค้ำโดยองค์กรซึ่งเป็นผลมำจำกด้ำนสำรก่อภูมิแพ้
หรือเมื่อมีแนวโน้มของอุตสำหกรรมที่เกี่ยวข้องมีข้อมูลด้ำนกำรปนเปื้อนหรือมี
ควำมสัมพันธ์ด้ำนสำรก่อภูมิแพ้
กำรทบทวนจะต้องรวมถึงกำรประเมินประสิทธิผลของกำรควบคุมที่มีอยู่ และ
ควำมต้องกำรในกำรควบคุมเพิ่มเติม
กำรทวนสอบข้อมูล (data verification) จะต้องถูกวิเครำะห์แนวโน้มและใช้เป็น
6.กำรบริหำรสำรก่อภูมิแพ้
h. For food chain Cat.D
สำหรับประเทศที่ไม่มีกฎหมำยที่เกี่ยวข้องด้ำนสำรก่อภูมิแพ้อำหำรสัตว์
(รวมถึงประเทศที่นำอำหำรสัตว์ไปขำย) ในหมวดนี้ของข้อกำหนดอำจทำกำรขอไม่นำ
ข้อกำหนดมำปฏิบัติได้ (not applicable) เว้นแต่จะมีกำรเรียกร้องเกี่ยวกับสถำนะของสำร
ก่อภูมิแพ้ในอำหำรสัตว์
ดาเนินการอย่างไร ?

องค์กรต้องดำเนินกำรจัดทำระบบควำมปลอดภัยในอำหำร
- มีนโยบำยระบุเรื่อง Food Allergens ที่เป็นมำตรกำรป้องกันอำหำรให้มี
ควำมปลอดภัยจำกกำรปนเปื้อน จำกอำหำรที่ก่อให้เกิดภูมิแพ้ Food
Allergens
- โดยควบคุมและคัดแยกวัตถุดิบ ควบคุมกระบวนกำรเพื่อป้องกันกำร
ปนเปื้อน จำกอำหำร และผลิตภัณฑ์ ต่ำงๆ ที่ระบุไว้ข้ำงต้น
การประเมินความเสี่ยง >> จัดทามาตรการควบคุม
CODE OF PRACTICE ON FOOD ALLERGEN MANAGEMENT FOR FOOD BUSINESS OPERATORS CXC 80-2020 Adopted
in 2020.
ดาเนินการอย่างไร ?

For harvesting, handling, storage and transportation:


- กำรทำควำมสะอำดภำชนะบรรจุที่ไม่เพียงพอหรือไม่มีประสิทธิภำพ รวมถึง
ถุงที่นำกลับมำใช้ใหม่ได้
- กำรทำควำมสะอำดยำนพำหนะสำหรับกำรขนส่ง
- กำรรวมสำรก่อภูมิแพ้ต่ำงๆ โดยไม่ได้ตั้งใจ (เช่น ธัญพืช ถั่ว หรือเมล็ดพืช)
- กำรแยกส่วนทำงกำยภำพหรือกำรจัดเก็บสินค้ำโภคภัณฑ์ที่ไม่เพียงพอกับ
สำรก่อภูมิแพ้ที่แตกต่ำงกัน และ
- ขำดกำรฝึกอบรมพนักงำน และควำมตระหนักในกำรจัดกำรสำรก่อภูมิแพ้ใน
อำหำร รวมถึงกำรขำดควำมเข้ำใจในธรรมชำติที่ร้ำยแรงของกำรแพ้อำหำร
For packaged food manufacturing facilities:
- ข้อผิดพลำดในกำรติดฉลำก (เช่น ข้อผิดพลำดระหว่ำงกำรพัฒนำฉลำก พิมพ์
ฉลำกผิด ฉลำกล้ำสมัย ฉลำกหำย ผิดฉลำกที่ใช้กับบรรจุภัณฑ์ ฉลำกที่แปลไม่
ถูกต้อง หรือละเว้นกำรประกำศสำรก่อภูมิแพ้ ผลิตภัณฑ์ในผิดแพ็คเกจ)
- กำรมีอยู่โดยไม่ได้ตั้งใจของสำรก่อภูมิแพ้อันเนื่องมำจำกกำรสัมผัสระหว่ำงกัน
ระหว่ำงกระบวนกำรหรือภำยหลังกระบวนกำรของสำรก่อภูมิแพ้
- กำรออกแบบสถำนประกอบกำรที่ไม่เหมำะสมในแง่ของกำรแบ่งพื้นที่ ที่ตั้งของ
อุปกรณ์ กำรจรำจรรูปแบบและระบบระบำยอำกำศ เป็นต้น
- ข้อผิดพลำดในกำรจัดกำรกำรทำงำนซ้ำ
- ลำดับกำรผลิต (กำรจัดตำรำงเวลำ) ที่ส่งผลให้มีสำรก่อภูมิแพ้จำกผลิตภัณฑ์โดย
ไม่ได้ตั้งใจผลิตก่อนหน้ำนี้
For packaged food manufacturing facilities:
- กระบวนกำรทำควำมสะอำด/สุขำภิบำล
- อุปกรณ์ไม่เพียงพอหรือไม่มีประสิทธิภำพในกำรเปลี่ยนผลิตภัณฑ์
- ขำดกำรจัดกำรกำรเปลี่ยนแปลงสำหรับกำรเปลี่ยนแปลงในกำรกำหนดสูตร กำร
จัดหำส่วนผสม และกระบวนกำรจัดทำเอกสำร
- กำรใช้หรือกำรจัดกำรที่ไม่เหมำะสมของส่วนผสมที่มีสำรก่อภูมิแพ้
- สำรก่อภูมิแพ้ที่ไม่ได้ประกำศในส่วนผสมของซัพพลำยเออร์ และ
- ขำดกำรฝึกอบรมพนักงำน/กำรศึกษำเกี่ยวกับกำรจัดกำรสำรก่อภูมิแพ้ในอำหำร
การดาเนินการจัดการด้านสารก่อภูมิแพ้
- พัฒนำนโยบำยและขั้นตอนในกำรระบุสำรก่อภูมิแพ้ในทุกด้ำนของกำรผลิตอำหำร
- กำรควบคุมเพื่อป้องกันหรือลดโอกำสในกำรสัมผัสสำรก่อภูมิแพ้ที่อำจเป็นอันตรำย
ต่อผู้บริโภคด้วยอำหำรภูมิแพ้
- ควบคุมป้องกันหรือลดโอกำสที่จะเกิดสำรก่อภูมิแพ้ที่ไม่ได้ประกำศไว้ในอำหำรอัน
เนื่องมำจำกข้อผิดพลำดที่เกิดขึ้นห่วงโซ่อุปทำน
- ตรวจสอบให้แน่ใจว่ำได้ติดฉลำกสำรก่อภูมิแพ้ที่ถูกต้องกับอำหำรสำเร็จรูป และ
- ตรวจสอบให้แน่ใจว่ำสำมำรถให้ข้อมูลที่ถูกต้องแก่ผู้บริโภค ณ จุดขำยเมื่อไม่มี
อำหำรบรรจุล่วงหน้ำ
Allergens

Allergens หมายถึงสารก่อภูมิแพ้ สารอาหาร (nutrient) ที่ก่อให้เกิดภูมิแพ้


มักเป็นสารอาหารประเภทโปรตีนที่ทนต่อความร้อน ทนต่อการย่อยในระบบทางเดินอาหาร
เช่น การย่อยด้วยกรดในกระเพาะอาหาร และเอนไซม์ในลาไส้เล็ก

และข้อกาหนด ISO/TS 22002-1 ข้อ 10.3


อำหำรที่ถูกกำหนดว่ำเป็นสำรก่อภูมิแพ้
ประกาศกระทรวงสาธารสุข ฉบับที่ 383 พ.ศ.2560 ระบุอาหาร 9 ชนิด เป็นอาหารก่อภูมิแพ้ ได้แก่
ธัญพืช (cereal grain) ที่มกี ลูเตน (gluten) (เช่น ข้าวสาลี, ไรน์, ข้าวโพดบาร์เลย์, ข้าวโอ้ต, สเปลท์ และ
ผลิตภัณฑ์จากธัญพืชเหล่านี้)
ปลา (fish) และผลิตภัณฑ์
สัตว์น้ามีเปลือกแข็ง (crustacean) เช่น ปู กุ้ง ลอบเสตอร์ เป็นต้น และผลิตภัณฑ์
น้้านม (รวมทั้งน้้าตาล lactose)
ถั่วลิสง (peanut หรือ groundnut) และผลิตภัณฑ์
ถั่วที่มีเปลือกแข็ง ชนิดต่างๆ (Tree Nuts) เช่น อัลมอนต์, วอลนัท, พีแคน เป็นต้น
ไข่ (eggs) และผลิตภัณฑ์
ถั่วเหลือง (soybean) และผลิตภัณฑ์
อาหารที่มีการใช้ sulfur dioxideและ สารในกลุ่มซัลไฟต์ (sulfites) เพื่อเป็นวัตถุเจือปนอาหาร (food
additive) (ที่มีความเข้มข้นมากกว่า > 10 ppm)
อาหารที่ถูกกาหนดว่าเป็นสารก่อภูมิแพ้
สหภาพยุโรบ (EU) ระบุอาหาร 12 ชนิด เป็นอาหารก่อภูมิแพ้ ได้แก่
 ธัญพืช (cereal grain) ที่มกี ลูเตน (gluten) (เช่น ข้าวสาลี, ไรน์, ข้าวโพดบาร์เลย์)
 สัตว์น้า (fish)
 สัตว์น้ามีเปลือก (crustacean)
 น้้านม (รวมทั้งน้้าตาล lactose)
 ถั่วลิสง (peanut หรือ groundnut)
 นัท ชนิดต่างๆ (Tree Nuts)
 ไข่ (eggs)
 ถั่วเหลือง (soybean)
 คื่นช่าย (celery) และพืชใน Umbelliferae family เช่น แครอท เซเลรี่ พาร์สลีย์
 มัสตาร์ด (mustard)
 เมล็ดงา
 อาหารที่มีการใช้ sulfur dioxideและ สารในกลุ่มซัลไฟต์ (sulfites) เพื่อเป็นวัตถุเจือปนอาหาร (food additive) (ที่มี
ความเข้มข้นมากกว่า > 10 ppm)
Allergens
ญี่ปุ่น (www.mhlw.go.jp)

 อาหารที่ต้องติดฉลากอาหารก่อภูมิแพ้ ไม่ อาหารที่อาจก่อให้เกิดภูมิแพ้ได้ รวมถึงอาหารแปรรูป และสาร


ว่าจะพบในปริมาณน้อยเพียงใดก็ตาม ปรุงแต่งด้วย จานวน 19 รายการ คือ
จานวน 5 รายการ คือ ข้าวสาลี โซบะ ไข่
หอย awabi หอยทากขนาดใหญ่ (abalone) ปลาหมึก ไข่
นานม และถั่วลิสง
ปลา (ikura) กุ้ง ปู ปลาแซลมอน เนือวัว เจลลาติน
(gelatin) เนือหมู เนือไก่ ส้ม กีวี วอลนัท (walnut) ถั่ว
เหลืองลูกพีช (peach) มันแกว แอปเปิลเห็ดโคนญี่ปุ่น
(matsutake)
Allergens สหรัฐอเมริกา (USA)

สหรัฐอเมริกา (USA) ระบุอาหาร 8 ชนิด เป็นอาหารก่อภูมิแพ้ ได้แก่


ถั่วลิสง (peanut)
ถั่วเหลือง (soybean)
นานม (milk)
ไข่ (egg)
สัตว์นา (fish)
สัตว์นาเปลือกแข็ง (crustacean)
นัท (tree nuts)
ข้าวสาลี (wheat)
25 ชนิด

อ.กติกา โบราณินทร์ 71
อ.กติกา โบราณินทร์
อ.กติกา โบราณินทร์
Allergens
กำรจัดกำรกับอันตรำยของอำหำรก่อภูมิแพ้ในอุตสำหกรรมอำหำร
กำรจัดกำรหรือควบคุมอำหำรก่อภูมิแพ้ในอุตสำหกรรมอำหำรได้ เพื่อไม่ให้ผู้บริโภคเกิดอันตรำย หรือมี
กำรปนเปื้อนอย่ำงไม่ตั้งใจเกิดขึ้น สำมำรถทำได้หลำยวิธี ดังนี้
การปนเปื้อนข้ามในระหว่างกระบวนการและการทาความสะอาด
 การทบทวนและวิเคราะห์อันตรายใน หรือการจัดการในระหว่างการเปลี่ยนสูตรผลิต ต้องมีระบบการ
ระบบ HACCP ของวัตถุดิบรับเข้า เปลี่ยนหรือการทาความสะอาดที่จะมั่นใจว่าสารก่อภูมิแพ้ไม่ตกค้าง
ก่อนที่จะผลิตและสามารถประเมิน ก่อนที่จะเปลี่ยนสูตรใหม่ และต้องการมีการทวนสอบด้วยวิธีทาง
ความเสี่ยงและการจัดการกับ ห้องปฏิบัติการ เช่น Bioluminescence testing หรือ Enzyme-Linked
วัตถุดิบที่มีสารก่อภูมิแพ้ได้อย่าง
ImmunoSorbent Assay (ELISA)
ถูกต้อง
เพื่อให้มั่นใจมากขึน ส่วนเครื่องมือสาหรับการทาความสะอาด ควร
บ่งชีและแยกกันอย่างชัดเจน
กำรจัดกำรกับอันตรำยของอำหำรก่อภูมิแพ้ในอุตสำหกรรมอำหำร
กำรจัดกำรหรือควบคุมอำหำรก่อภูมิแพ้ในอุตสำหกรรมอำหำรได้ เพื่อไม่ให้ผู้บริโภคเกิด
อันตรำย หรือมีกำรปนเปื้อนอย่ำงไม่ตั้งใจเกิดขึ้น สำมำรถทำได้หลำยวิธี ดังนี้

การจัดการกับสินค้าที่นามาผลิตใหม่ ( Rework ) การอนุมัติผู้ขาย ( Supplier approval )


ต้องมั่นใจว่าจะไม่นาผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการนามา เลือกผู้ขายที่ระบบการจัดการภายในที่ดี ก่อนการ
ผลิตใหม่และมีสารก่อภูมิแพ้มา ใช้ในการผลิตสูตรที่ อนุมัติ
ต้องการปลอดสารก่อภูมิแพ้ อาจจะมีการตรวจสอบโรงงานผู้ขาย เพื่อให้มั่นใจถึง
การจัดการกับสารก่อภูมิแพ้ที่มีประสิทธิภาพ
กำรจัดกำรกับอันตรำยของอำหำรก่อภูมิแพ้ในอุตสำหกรรมอำหำร
กำรจัดกำรหรือควบคุมอำหำรก่อภูมิแพ้ในอุตสำหกรรมอำหำรได้ เพื่อไม่ให้
ผู้บริโภคเกิดอันตรำย หรือมีกำรปนเปื้อนอย่ำงไม่ตั้งใจเกิดขึ้น สำมำรถทำได้หลำย
วิธี ดังนี้

•ความตระหนักในเรื่องอาหารก่อภูมิแพ้ ควรมี
การฝึกอบรมให้พนักงานรู้จัก และตระหนักถึง
อาหารก่อภูมิแพ้ การจัดการและรู้ถึงอันตราย ฉลาก ต้องมีการระบุสารก่อภูมิแพ้ที่ใช้ในสูตรการ
ของอาหารก่อภูมิแพ้ที่จะส่งผลต่อผู้บริโภค ผลิตให้ผู้บริโภคทราบ เพื่อที่จะได้เกิดความ
ระมัดระวังในการเลือกซื้อและบริโภค
อีกทั้งยังเป็นกฎหมายในหลายๆ ประเทศ
กำรแสดงฉลำก

ชี้บ่งชื่อวัตถุดิบก่อภูมิแพ้ลงในฉลำก
หรือ
ชี้บ่งว่ำผลิตภัณฑ์นี้
มีส่วนประกอบของสำรก่อภูมิแพ้
กรณีที่เกิดกำรปนเปื้อน

➢ออก NCR เพื่อ Hold ผลิตภัณฑ์ที่เกิดการปนเปื้อนโดยพิจารณา


ถึงช่วงเวลาเริ่มแรกที่มีโอกาสปนเปื้อน

➢แยกวัตถุดิบนั้นไว้เพื่อใช้ในการผลิตในสูตรที่มีสารก่อภูมิแพ้
ชนิดเดียวกัน เช่นเดียวกันกับหลักการ reprocess

➢หาสาเหตุและแนวทางในการดาเนินการแก้ไขและป้องกัน
7.กำรเฝ้ำระวังสภำพแวดล้อม

(Categories. BIII,C,I,K)
- องค์กรต้องจัดให้มีกระบวนกำรติดตำมและตรวจสอบด้ำนสภำวะแวดล้อม ตำมพื้นฐำน
ควำมเสี่ยงด้ำนเชื้อจุลินทรีย์
- จัดทำ Document procedure ด้ำนกำรประเมินประสิทธิผลของกระบวนกำรควบคุมกำร
ป้องกันกำรปนเปื้อนข้ำมของสภำวะแวดล้อมภำยในโรงงำน และต้องสอดคล้องกับ
ข้อกำหนดกฎหมำยและข้อกำหนดลูกค้ำ
- โดยอย่ำงน้อยต้องมีกำรประเมินกำรควบคุมด้ำนเชื้อจุลินทรีย์และสำรก่อภูมิแพ้ที่เป็น
ปัจจุบัน เช่น กำร swab test , air test , allergen test
- รวมถึงประสิทธิภำพของกำรทำควำมสะอำดและโปรแกรมสุขำภิบำล โดยเป็นไปตำม
กระบวนกำรตรวจสอบที่อธิบำยไว้ใน ISO 22000 และ TS22002
7.กำรเฝ้ำระวังสภำพแวดล้อม

(Categories. BIII,C,I,K)
- จัดเก็บข้อมูลกิจกรรมกำรตรวจติดตำม และกำรวิเครำะห์แนวโน้ม
- โปรแกรมกำรตรวจติดตำมสภำพแวดล้อมจะต้องถูกทบทวน (Review) ประสิทธิผลอย่ำง
ต่อเนื่อง อย่ำงน้อยปีละ 1 ครั้ง หรือทบทวนตำมควำมต้องกำร สิ่งที่ต้องทำกำรทบทวน
ได้แก่
- กำรเปลี่ยนแปลงที่มีนัยสำคัญต่อผลิตภัณฑ์, กระบวนกำร, กฎหมำย
- ไม่มีผลกำรทดสอบด้ำนบวก หลังจำกมีกำรขยำยเวลำกำรทดสอบติดตำม
- แนวโน้มเชื้อจุลินทรีย์ออกนอกสเปคที่กำหนด โดยสภำพแวดล้อมมีส่วนสัมพันธ์ทั้งกับ
ผลิตภัณฑ์เริ่มต้นและผลิตภัณฑ์สุดท้ำย
- มีกำรตรวจซ้ำด้ำนเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรคในกำรตรวจติดตำม
8. วัฒนธรรมควำมคุณภำพและควำมปลอดภัยอำหำร

(Categories. All food chian)


- สัมพันธ์ตำมข้อกำหนด 5.1 ระบบ ISO22000:2018 ในส่วนของควำมมุ่งมั่นขององค์กรใน
ด้ำนวัฒนธรรมคุณภำพและควำมปลอดภัยอำหำร >> ผู้บริหารสูงสุดจะต้อง จัดตั้ง
นาไปปฏิบัติ รักษาคงไว้ ของวัตถุประสงค์วัฒนธรรมคุณภำพและควำมปลอดภัยอำหำร
โดยอย่ำงน้อยจะต้องมี
- กำรสื่อสำร
- กำรอบรม
- ข้อมูลย้อนกลับจำกลูกจ้ำงพนักงำน และกำรพบปะกับลูกจ้ำง
- กำรตรวจวัดที่มีประสิทธิภำพของกิจกรรมทุกส่วนงำนขององค์กร ที่มีผลกระทบต่อคุณภำพและ
ควำมปลอดภัยอำหำร
2.5.8
8. วัฒนธรรมควำมคุณภำพและควำมปลอดภัยอำหำร

(Categories. All food chian)


- วัตถุประสงค์จะต้องสนับสนุนต่อแผนงำนด้ำนวัฒนธรรมคุณภำพและควำมปลอดภัยอำหำร
ซึ่งได้กำหนด
- เป้ำหมำย
- ระยะเวลำ
- กำรทบทวนโดยฝ่ำยบริหำร
- กำรปรับปรุงอย่ำงต่อเนื่องของระบบคุณภำพและควำมปลอดภัยอำหำร
9. การควบคุมคุณภาพ

(Categories. All food chains) 2.5.9


องค์กรต้อง
- มีข้อกำหนดเพิ่มเติมที่สอดคล้องกับข้อกำหนด 5.2 และ 6.2 ของ ISO22000:2018 คือ
จัดทำ นำไปปฏิบัติ และคงไว้ ซึ่งนโยบำยและวัตถุประสงค์คุณภำพ
- จัดทำ นำไปปฏิบัติ และคงไว้ ค่ำพำรำมิเตอร์ในกำรตรวจสอบกระบวนกำรผลิตให้
สอดคล้องกับมำตรฐำน(spec.)ของผลิตภัณฑ์ ในทุกๆผลิตภัณฑ์หรือกลุ่มผลิตภัณฑ์ที่ขอ
กำรรับรอง รวมถึงกำรปล่อยผ่ำนผลิตภัณฑ์ในด้ำนกำรตรวจสอบคุณภำพและกำรทดสอบ
(testing)
- มีข้อกำหนดเพิ่มเติมที่สอดคล้องกับข้อกำหนด 9.1 และ 9.3 ของ ISO22000:2018 ภำยใต้
กำรวิเครำะห์และประเมินผลของพำรำมิเตอร์ในกำรควบคุมคุณภำพที่กำหนดไว้ตำม
พำรำมิเตอร์ข้ำงต้น และนำข้อมูลมำใช้เป็นข้อมูลนำเข้ำในกำรทบทวนโดยฝ่ำยบริหำร
9. การควบคุมคุณภาพ
(Categories. All food chians)
- มีข้อกำหนดเพิ่มเติมที่สอดคล้องกับข้อกำหนด 9.2 ของ ISO22000:2018 คือ มีกำรตรวจ
ติดตำมภำยในในหัวข้อที่เป็นองค์ประกอบด้ำนกำรตรวจติดตำม ตรวจสอบคุณภำพ
- มีระเบียบปฏิบัติ (procedure) เรื่อง กำรควบคุมปริมำณ ได้แก่ จำนวน, น้ำหนัก, ปริมำตร
จะต้องจัดทำ นำไปปฏิบัติ เพื่อให้มั่นใจว่ำผลิตภัณฑ์มีควำมสอดคล้องกับข้อกำหนดลูกค้ำ
และข้อกำหนดทำงกฎหมำย
- จะต้องมีกำรสอบเทียบและทวนสอบเครื่องมือวัดที่เกี่ยวข้องที่ใช้ในกำรตรวจสอบด้ำน
คุณภำพและตรวจสอบด้ำนปริมำณ
9. การควบคุมคุณภาพ
(Categories. All food chians)
- มีระเบียบปฏิบัติ (procedure) เรื่อง กำรเริ่มเดินไลน์กำรผลิต กำรเปลี่ยนไลน์กำรผลิต ต้อง
จัดทำและนำไปปฏิบัติ เพื่อให้มั่นใจว่ำผลิตภัณฑ์มีควำมสอดคล้องกับข้อกำหนดลูกค้ำและ
ข้อกำหนดทำงกฎหมำย
- จะต้องรวมถึงกำรควบคุมในเรื่อง ฉลำก และ บรรจุภัณฑ์ ในกำรผลิตก่อนหน้ำ เพื่อให้
มั่นใจว่ำได้นำออกไปจำกไลน์กำรผลิตทั้งหมดแล้ว ก่อนกำรผลิตในรอบผลิตต่อไป
10.กำรขนส่ง กำรจัดเก็บ และคลังสินค้ำ
(Category. All food chains)
- องค์กรต้องจัดทำ นำไปปฏิบัติ และคงไว้ ระเบียบปฏิบัติ ในกำรควบคุมสต๊อกให้
มีกำรหมุนเวียนตำมหลัก FEFO และ FIFO
- สำหรับ Cat. CO (Animal primary conversion) เชือด ชำแหละ แช่แข็งขนำด
ใหญ่ มีข้อกำหนดเพิ่มเติมที่สอดคล้องกับข้อกำหนด 16.2 ของ ISO/TS22002-
1:2009 โดยองค์กรต้องมีข้อกำหนดเฉพำะ ในด้ำนเวลำและอุณหภูมิกำรจัดเก็บ
หลังกำรเชือด ให้สอดคล้องสัมพันธ์กับกำรจัดเก็บทั้งแบบแช่เย็นและแช่แข็ง
เช่น เก็บเนื้อหมูแช่เย็น ไม่เกิน 4 °C ไม่เกิน 5 วัน
หรือ เก็บเนื้อไก่แช่แข็ง -18 °C ไม่เกิน 9 เดือน เป็นต้น
10.กำรขนส่ง กำรจัดเก็บ และคลังสินค้ำ
(Category. All food chains)
- สำหรับ Cat. FI (Retail, Wholesale) มีข้อกำหนดเพิ่มเติมที่สอดคล้องกับ
ข้อกำหนด BSI/PAS 221:2013 ข้อ 9.3 องค์กรต้องแน่ใจว่ำสินค้ำที่ถูกขนส่งอยู่
ภำยใต้เงื่อนไข/ข้อกำหนดที่ซึ่งมีกำรปนเปื้อนเสื่อมเสียน้อยที่สุด
10.กำรขนส่ง กำรจัดเก็บ และคลังสินค้ำ
(Category. All food chains)
องค์กรต้องจัดทำกำรควบคุมกำรขนส่ง ให้มีสภำพของกำรปนเปื้อนข้ำมน้อยที่สุด โดยกำร
- ทำควำมสะอำดพำหนะขนส่ง
- กำรซ่อมแซมดูแลรักษำควำมพร้อมของพำหนะขนส่ง
- ตลอดจนอุปกรณ์ควบคุม ได้แก่ เครื่องควบคุมอุณหภูมิ เครื่องบันทึกอุณหภูมิ เครื่อง
ควบคุมตำแหน่งพิกัดพำหนะขนส่ง
เพื่อป้องกันกำรปนเปื้อนข้ำมของอันตรำยต่ออำหำร และสำมำรถส่งสินค้ำที่มีคุณภำพ มี
ควำมปลอดภัยด้ำนอำหำร และตรงตำมกำหนดที่ลูกค้ำต้องกำร
เดิม Cat.G ต้องประยุกต์ใช้ PRPs ตำมข้อกำหนด ISO/TS22002-5:2019 แทนเอกสำร PRPs เดิม (ฉบับ
เดิมคือ NEN/NTA8059:2016) บังคับใช้ 1 มกรำคม 2021
10.กำรขนส่ง กำรจัดเก็บ และคลังสินค้ำ
GUIDANCE DOCUMENT: TRANSPORT TANK CLEANING
รถขนส่งแบบแท้งก์ จะต้องประยุกต์ใช้กับข้อกำหนด 8.2.4 ของ ISO22000:2018 ดังนี้
- จะต้องมีเอกสำรแผนควำมเสี่ยงกำรทำควำมสะอำดแท้งก์ โดยพิจำรณำแหล่งของกำร
ปนเปื้อนข้ำม วิธีในกำรควบคุมและวัดผล รวมถึงกำรยืนยันกำรทำควำมสะอำด
(validation)
- ต้องมีมำตรกำรในกำรประเมินควำมสะอำดของแท้งก์ที่จุดรับก่อนกำรโหลดครั้งต่อไป
- สำหรับองค์กรที่รับวัตถุดิบแบบแท้งก์ จะต้องมีในข้อตกลงกับซัพพลำยเออร์ เพื่อให้มั่นใจ
ว่ำสินค้ำมีควำมปลอดภัย ไม่เกิดกำรปนเปื้อนข้ำม โดยในข้อตกลงอย่ำงน้อยต้องมี
- Validation กำรทำควำมสะอำดแท้งก์
- ข้อจำกัดที่เกี่ยวข้องกับกำรใช้งำนก่อนหน้ำนี้ และมำตรกำรควบคุมที่เกี่ยวข้อง
กับผลิตภัณฑ์ที่กำลังขนส่ง
11. กำรควบคุมอันตรำย กำรตรวจวัด และกำรป้องกันกำรปนเปื้อนข้ำม

(Category. All food chains Excluding FII)


- Cat. BIII, C and I ข้อกำหนดเพิ่มเติมจะประยุกต์ใช้กับข้อกำหนด 8.5.1.3 ของ
ISO22000:2018 โดยองค์กรต้องมีข้อกำหนดเฉพำะ(หรือคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์)
กรณีที่ Packaging มีผลต่อผลิตภัณฑ์ เช่น ช่วยยืดอำยุอำหำร เวลำเขียนเอกสำร
คุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ ต้องระบุรำยละเอียดที่ชัดเจนถึงคุณสมบัติดังกล่ำวด้วย เช่น
ประเภทของวัสดุที่สำมำรถป้องกันออกซิเจนแพร่ผ่ำนได้ (Oxygen Barrier)
- Cat. CO ข้อกำหนดเพิ่มเติมจะประยุกต์ใช้กับข้อกำหนด 10.1 ของ ISO/TS22002-
1:2009 (เรื่องกำรปนเปื้อนข้ำม) ต้องมีข้อกำหนดเฉพำะสำหรับกำรตรวจสอบสัตว์ก่อน
กำรฆ่ำ (คือตรวจสอบรับเข้ำสัตว์มีชีวิต) และ/หรือ กำรตรวจสอบคุณภำพซำกหลังกำร
ชำแหละที่กระบวนกำรล้วงเครื่องในสัตว์ เพื่อให้มั่นใจว่ำสัตว์มีควำมเหมำะสมกับกำร
บริโภคของมนุษย์
11. กำรควบคุมอันตรำย กำรตรวจวัด และกำรป้องกันกำรปนเปื้อนข้ำม

- Cat D ข้อกำหนดเพิ่มเติมจะประยุกต์ใช้กับข้อกำหนด 4.7 ของ ISO/TS22002-


6:2016 องค์กรต้องมีระเบียบปฏิบัติ (procedure) ในจัดกำรกำรใช้สำรประกอบ
และวัตถุเจือปนในอำหำร ว่ำส่วนประกอบนั้นเป็นผลร้ำยต่อสุขภำพของสัตว์
หรือไม่อย่ำงไร
- All food chains Excluding FII) ข้อกำหนดจะสัมพันธ์กับกำรจัดกำรด้ำนสิ่ง
แปลกปลอม ตำมข้อกำหนด 8.2.4 (h) ISO22000:2018 ดังนี้
- องค์กรต้องประเมินควำมเสี่ยง เพื่อที่จะกำหนดควำมต้องกำรชนิดหรือประเภทของ
อุปกรณ์ตรวจจับสิ่งแปลกปลอม โดยถ้ำองค์กรกำหนดว่ำอุปกรณ์นั้นไม่มีควำม
จำเป็น จะต้องมีเอกสำรยืนยันในกำรตัดสินใจนั้น โดยอุปกรณ์จะรวมถึง แม่เหล็ก,
เครื่องตรวจจับโลหะ, เครื่องเอ็กซเรย์, เครื่องกรอง และตะแกรงร่อน
11. กำรควบคุมอันตรำย กำรตรวจวัด และกำรป้องกันกำรปนเปื้อนข้ำม

- จะต้องมีระเบียบปฏิบัติงำน เรื่อง กำรจัดกำรและกำรใช้งำนอุปกรณ์ที่กำหนด


- องค์กรต้องมีระเบียบปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุกำรณ์แก้วแตก และเมื่อมีควำมเสี่ยง
ต่อกำรปนเปื้อนอันตรำยของสิ่งแปลกปลอมเมื่อเกิดกำรแตกหัก ได้แก่ โลหะ,
เซรำมิค, พลำสติกแข็ง
12.กำรทวนสอบ PRP
(Categories. BIII, C, D, G, I & K)
ประยุกต์ตำมข้อกำหนด 8.8.1 ; ISO22000:2018 ; Verification PRPs
องค์กรต้องจัดให้มี นำไปปฏิบัติ และคงไว้ GMP Survey ทั้งภำยในและภำยนอก
อำคำรผลิต สภำพแวดล้อมในกำรผลิต และเครื่องมืออุปกรณ์ ตำมควำมถี่ที่เหมำะสม
กับควำมเสี่ยง (หรือกำหนดให้ทำ เดือนละ 1 ครั้ง รวมถึงมีกำรประชุม Monthly
meeting) เพื่อเป็นกำรทวนสอบและให้มั่นใจว่ำมีควำมปลอดภัยต่ออำหำร
กำรตรวจสอบ PRPs (GMP Survey) ได้แก่ ตรวจสอบสภำพแวดล้อมกำรผลิต , อำคำรสถำนที่
ผลิตทั้งภำยในและภำยนอก , กำรจัดกำรของเสียและสิ่งปฏิกูล , เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์
กำรผลิต , กำรแต่งกำยพนักงำน , อุปกรณ์กำรทำควำมสะอำด เป็นต้น
13.กำรออกแบบและพัฒนำผลิตภัณฑ์
(Categories. BIII, C, D, E, F, I & K)
จัดให้มี นำไปปฏิบัติ และคงไว้ ระเบียบปฏิบัติงำน (Procedure) เรื่อง กำรออกแบบและพัฒนำ
ในด้ำนกำรพัฒนำผลิตภัณฑ์ใหม่ กำรเปลี่ยนแปลงผลิตภัณฑ์ หรือ กระบวนกำรผลิต เพื่อให้
สอดคล้องกับควำมปลอดภัยและข้อกฎหมำย โดยต้องรวมถึง
a) ประเมินผลกระทบของกำรเปลี่ยนแปลงด้ำนควำมปลอดภัยอำหำร รวมถึงอันตรำยด้ำนใหม่ๆ
เช่น สำรก่อภูมิแพ้ และอัพเดตกำรวิเครำะห์อันตรำย
b) พิจำรำณำผลกระทบต่อแผนผังกระบวนกำร ของทั้งผลิตภัณฑ์ใหม่และผลิตภัณฑ์เดิมและ
กระบวนกำรผลิต
13.กำรออกแบบและพัฒนำผลิตภัณฑ์

c) ทรัพยำกรและควำมต้องกำรด้ำนกำรอบรม
d) เครื่องมืออุปรณ์และข้อกำหนดกำรบำรุงรักษำ
e) กำรทดลองอำยุผลิตภัณฑ์ บนพื้นฐำนของสูตรกำรผลิตและกระบวนกำรผลิตจริง เพื่อยืนยัน
ว่ำสำมำรถผลิตผลิตภัณฑ์ที่มีควำมปลอดภัยต่อผู้บริโภค มีกระบวนกำรทวนสอบกำรศึกษำอำยุ
ผลิตภัณฑ์ต่อไปอย่ำงต่อเนื่อง ตำมควำมถี่ที่เหมำะสมกับควำมเสี่ยง และจัดเก็บไว้ที่สถำนที่ผลิต
14. สุขภำพ
(Category. D)
องค์กรต้องมีระเบียบปฏิบัติ (Procedure) เพื่อให้แน่ใจว่ำสุขภำพของคน ไม่มีผล
ด้ำนลบต่อกระบวนกำรผลิตอำหำรสัตว์ ภำยใต้ข้อจำกัดทำงกฎหมำยของประเทศที่ทำ
กำรผลิต
พนักงำนที่สัมผัสกับอำหำรสัตว์ต้องทำกำรตรวจสุขภำพก่อนกำรว่ำจ้ำงงำน
เว้นเสียแต่ว่ำเอกสำรด้ำนอันตรำยหรือกำรประเมินด้ำนสุขภำพได้ระบุไว้เป็นอย่ำงอื่น
กำรทดสอบด้ำนสุขภำพเพิ่มเติม ได้รับอนุญำตให้ดำเนินกำรได้ตำมที่กำหนดโดย
องค์กรเป็นระยะ
(ข้อกำหนด 4.10.1 ; ISO/TS22002-6)
15. กำรจัดกำรอุปกรณ์
(Category. All food chains excluding FII )
ข้อกำหนดเพิ่มเติมตำม ข้อ 8.24 ISO22000:2018 องค์กรต้อง
- มีเอกสำรสเปคกำรจัดซื้อ มีกำรออกแบบถูกสุขลักษณะ สอดคล้องกฎหมำย
และข้อกำหนดลูกค้ำและกำรนำอุปกรณ์ไปใช้งำน รวมถึงกำรจัดกำรอุปกรณ์
โดยผู้ขำยจะต้องให้หลักฐำนตรงตำมข้อกำหนดกำรซื้อก่อนกำรติดตั้ง
อุปกรณ์
>> เพื่อใช้เป็นเกณฑ์พิจารณาในขั้นตอนการจัดซื้อ
- จัดทำและนำไปปฏิบัติ กระบวนกำรจัดกำรกำรเปลี่ยนแปลงบนพื้นฐำน
ควำมเสี่ยง สำหรับอุปกรณ์ใหม่และ/หรือกำรเปลี่ยนแปลงอุปกรณ์ที่มีอยู่
จะต้องจัดทำเป็นเอกสำรไว้อย่ำงเพียงพอ รวมทั้งหลักฐำนกำรว่ำจ้ำง
15. กำรจัดกำรอุปกรณ์
(Category. All food chains excluding FII )
- ผลกระทบที่เป็นไปได้ต่อระบบที่มีอยู่ จะต้องถูกประเมินและมำตรกำรควบคุม
ที่เพียงพอ จะต้องถูกกำหนดและนำไปปฏิบัติ
16. การสูญเสียของอาหารและขยะ
(Category. All food chains excluding I )
ข้อกำหนดเพิ่มเติมในข้อที่ 8 ของ ISO22000:2018
- ต้องมีเอกสำรด้ำนนโยบำยและรำยละเอียดวัตถุประสงค์ด้ำนกลยุทธ์ของ
องค์กร เพื่อที่จะลดกำรสูญเสียและลดขยะอำหำรภำยในองค์กรและซัพพลำย
เชนที่เกี่ยวข้อง
- มีกำรควบคุมในสถำนประกอบกำรเพื่อจัดกำรผลิตภัณฑ์ที่บริจำคให้กับ
องค์กรไม่แสวงผลกำไร, ลูกจ้ำง และองค์กรอื่นๆ และต้องแน่ใจว่ำสินค้ำนี้มี
ควำมปลอดภัยต่อกำรบริโภค
16. การสูญเสียของอาหารและขยะ
(Category. All food chains excluding I )
- จัดกำรสินค้ำส่วนเกิน หรือผลพลอยได้จำกกำรผลิต สำหรับเป็นอำหำรสัตว์
เพื่อป้องกันกำรปนเปื้อนผลิตภัณฑ์เหล่ำนี้
- กระบวนกำรดำเนินกำรเรื่องนี้ต้องสอดคล้องกับกฎหมำย ได้รับกำรปรับปรุง
ให้ทันสมัยอยู่เสมอ และไม่มีผลกระทบด้ำนลบต่อควำมปลอดภัยด้ำนอำหำร
17. ข้อกาหนดการสื่อสาร
(Category. All food chains)
ข้อกำหนดเพิ่มเติมในข้อที่ 8.4.2 ของ ISO22000:2018
องค์กรต้องรำยงำนให้ CB รับทรำบภำยใน 3 วันทำกำรของ กำรเริ่มต้นของเหตุกำรณ์
หรือสถำนกำรณ์ และใช้มำตรกำรที่เหมำะสมซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนกำร
เตรียมพร้อมและตอบสนองเหตุฉุกเฉิน ตำมเหตุกำรณ์ดังต่อไปนี้
a) เหตุกำรณ์ร้ำยแรงที่ส่งผลกระทบต่อระบบควำมปลอดภัยด้ำนอำหำร, กระทบต่อ
กฎหมำย และ/หรือ ควำมสมบูรณ์ของกำรรับรอง รวมถึงสถำนกำรณ์ที่เป็นภัยคุกคำม
ต่อควำมปลอดภัยอำหำร, หรือควำมสมบูรณ์ของกำรรับรองอันเป็นผลมำจำกเหตุ
สุดวิสัย ภัยธรรมชำติ หรือภัยที่มนุษย์สร้ำงขึ้น (เช่น สงครำม, สไตรค์, ก่อกำรร้ำย,
อำชญำกรรม, น้ำท่วม, แผ่นดินไหว, กำรจู่โจมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น)
17. ข้อกาหนดการสื่อสาร
(Category. All food chains)
b) สถำนกำรณ์ร้ำยแรงที่ซึ่งควำมสมบูรณ์ของกำรรับรองมีควำมเสี่ยง และ/หรือ อำจ
ทำให้องค์กร/ระบบให้กำรรับรองเสื่อมเสียชื่อเสียงได้ โดยรวมถึง
- เหตุกำรณ์ควำมปลอดภัยด้ำนอำหำรต่อสำธำรณะ (เช่น กำรเรียกคืน, กำรถอน
คืน, ภัยพิบัติ, กำรระบำดด้ำนควำมปลอดภัยของอำหำร เป็นต้น)
- กำรดำเนินกำรที่ถูกกำหนดโดยหน่วยงำนทำงด้ำนกฎหมำย ที่เป็นผลของควำม
ปลอดภัยทำงด้ำนอำหำร ให้มีกำรตรวจสอบเพิ่มเติมหรือบังคับให้หยุดกระบวนกำร
ผลิต
- กำรดำเนินกำรทำงกฎหมำย กำรฟ้องร้อง กำรทุจริตต่อหน้ำที่ และควำม
ประมำทเลินเล่อ
- กิจกรรมฉ้อฉลและกำรทุจริตคอรัปชั่น
18. ข้อกำหนดสำหรับองค์กรที่มีหลำยโรงงำน (Multi-Site)
(Categories. E , F , G)
ข้อกำหนดเพิ่มเติมจำกข้อ 9.2 ของ ISO22000:2018
- ข้อกำหนดด้ำนกำร Internal audit ส่วนกลำงเป็นผู้จัดทำและมอบหมำยทั้งกำรจัดตั้ง
ผู้ตรวจประเมิน และกระบวนกำรทบทวนกำรตรวจประเมินภำยใน
- Internal audit อย่ำงน้อยปีละ 1 ครั้ง หรือควำมถี่ตำมกำรประเมินควำมเสี่ยง และผลของ
กำรแก้ไขใบ CAR ต้องดำเนินกำรเรียบร้อยและมีประสิทธิภำพก่อนกำรตรวจประเมิน
- คุณสมบัติของ auditor (ซึ่งจะถูกประเมินโดย CB ทุกปี) อย่ำงน้อยต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
1) ประสบกำรณ์ทำงำนเต็มเวลำ ด้ำนอุตสำหกรรมอำหำรอย่ำงน้อย 2 ปี และ ต้องทำงำน
กับองค์กรมำแล้วไม่น้อยกว่ำ 1 ปี
18. ข้อกำหนดสำหรับองค์กรที่มีหลำยโรงงำน (Multi-Site)
(Categories. E , F , G)
2) สำเร็จกำรศึกษำในระดับอุดมศึกษำ (ปริญญำตรี) หรือ(กรณีไม่จบอุมศึกษำ) มี
ประสบกำรณ์ทำงำนในด้ำนกระบวนกำรผลิตอำหำร อุตสำหกรรมอำหำร กำรขนส่ง
คลังสินค้ำ กำรจัดจำหน่ำย กำรตรวจสอบ หรือพื้นที่ที่บังคับใช้(ด้ำนอำหำร) อย่ำงน้อย 5 ปี
3) Lead auditor ต้องได้รับกำรอบรมคอร์ส Lead auditor of FSMS , QMS or
FSSC22000 อย่ำงน้อย 40 ชั่วโมง
4) Auditor team จะต้องได้รับกำรอบรมหลักสูตร Internal audit 16 ชั่วโมง จำก Lead
auditor หรือ จำกหน่วยงำนภำยนอก
5) ได้รับกำรอบรมข้อกำหนด ISO22000:2018 , PRPs ที่เกี่ยวข้อง (เช่น ISO/TS22002-x
หรือ PAS-xyz) และข้อกำหนดเพิ่มเติมของ FSSC22000 อย่ำงน้อย 8 ชั่วโมง
18. ข้อกำหนดสำหรับองค์กรที่มีหลำยโรงงำน (Multi-Site)
(Categories. E , F , G)
6) รำยงำนกำรตรวจติดตำมภำยใน จะต้องถูกทบทวนทำงเทคนิคจำกส่วนกลำง รวมถึงผล
ของควำมไม่สอดคล้อง NC ที่พบระหว่ำงกำรตรวจประเมิน ผู้ทบทวนทำงเทคนิคต้องมี
ควำมเป็นกลำง มีควำมสำมำรถในกำรตีควำมตำมบรรทัดฐำนของข้อกำหนด FSSC
(รวมทั้ง ISO22000, ISO/TS22002-x, PAS-xyz) และมีควำมรู้เกี่ยวกับกระบวนกำรและ
ระบบขององค์กร
7) ผู้ตรวจประเมินภำยในและผู้ตรวจสอบทำงเทคนิค จะต้องได้รับกำรติดตำมสมรรถนะ
ด้ำนกำรตรวจและเปรียบเทียบกับมำตรฐำนกำรตรวจ กำรติดตำมผลจะต้องทำในช่วงเวลำ
ที่กำหนดโดยส่วนกลำง

You might also like