Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 2

เอกสารความรู

เรื่อง สัญลักษณแสดงขอมูลสภาพลมฟาอากาศบริเวณกวาง
สัญลักษณ ชื่อสัญลักษณ ความหมายสัญลักษณและสภาพลมฟาอากาศ
สัญลักษณแสดงความกดอากาศที่เทากันทุกจุดที่เสนนี้ลากผาน แตละเสนมีตัวเลขกํากับแทนคาความกดอากาศ
เสนความกดอากาศเทา
มีหนวยเปน เฮกโตปาสคาล (hPa) โดยบริเวณที่เสนความกดอากาศเทาอยูหางกันมาก ลมบริเวณนั้นจะมีกําลังออน
(isobar)
สวนบริเวณที่เสนความกดอากาศเทาอยูใกลกัน ลมบริเวณนั้นจะมีกําลังแรง
บริเวณที่มีความกดอากาศต่ํากวาบริเวณโดยรอบ หากสัญลักษณนี้ปรากฏอยูเหนือแผนดินหมายความวาบริเวณนั้น
หยอมความกดอากาศต่ํา
จะมีอากาศรอนและความชื้นต่ํา แตหากสัญลักษณนี้ปรากฏอยูเหนือทะเลหมายความวาบริเวณนั้นจะมีอากาศชื้น
(low pressure cell)
และมีโอกาสเกิดเมฆมาก
บริเวณความกดอากาศสูง บริเวณที่มีความกดอากาศสูงกวาบริเวณโดยรอบ หากพบสัญลักษณนี้ปรากฏอยูบริเวณใด จะหมายความวา
(high pressure area) บริเวณนั้นมีอากาศเย็น ความชื้นต่ํา และมักพบทองฟาโปรง
พายุหมุนเขตรอนชนิดตาง ๆ หากสัญลักษณเหลานี้ปรากฏอยูแสดงวาบริเวณนั้นจะมีฝนฟาคะนองและลมแรง
ตามระดับความรุนแรงของพายุ ซึ่งจําแนกประเภทตามความเร็วลมใกลศูนยกลาง ดังนี้
พายุดีเปรสชัน - พายุดีเปรสชัน มีความเร็วลมใกลศูนยกลางนอยกวา 34 นอต (นอยกวา 63 กิโลเมตรตอชั่วโมง)
(tropical depression)
พายุโซนรอน - พายุโซนรอน มีความเร็วลมสูงสุดใกลศูนยกลางตั้งแต 34 นอต ขึ้นไป แตไมถึง 64 นอต
(tropical storm) (63 กิโลเมตรตอชั่วโมง ขึ้นไป แตไมถึง 118 กิโลเมตรตอชั่วโมง)
พายุไตฝุน/พายุไซโคลน - พายุไตฝุน/พายุไซโคลน มีความเร็วลมสูงสุดใกลศูนยกลาง ตั้งแต 64 นอต ขึ้นไป
(tropical typhoon/cyclone) (ตั้งแต 118 กิโลเมตรตอชั่วโมง ขึ้นไป) โดยจะเรียกวาพายุไตฝุนเมื่อพบในบริเวณมหาสมุทรแปซิฟก
ดานตะวันตก และเรียกวาพายุไซโคลนหากพบในบริเวณมหาสมุทรอินเดีย

หมายเหตุ สัญลักษณ ใชบนซีกโลกเหนือ และสัญลักษณ ใชบนซีกโลกใต


สัญลักษณ ชื่อสัญลักษณ ความหมายสัญลักษณและสภาพลมฟาอากาศ
แนวหรือเขตรอยตอที่เกิดจากมวลอากาศเย็นเคลื่อนที่เขาไปแทนที่มวลอากาศอุน ทําใหมวลอากาศอุนยกตัวไดมาก
แนวปะทะอากาศเย็น
ขึ้นและเกิดเมฆกอนรวมถึงเมฆคิวมูโลนิมบัส หากสัญลักษณนี้ปรากฏที่บริเวณใด แสดงวาบริเวณนั้นจะมีลมแรง
(cold front)
และพายุฝนฟาคะนอง หลังจากนั้นอุณหภูมิจะลดต่ําลงและอาจมีหิมะ
แนวหรือเขตรอยตอทีเ่ กิดจากมวลอากาศอุนเคลื่อนที่เขาหามวลอากาศเย็น แลวมวลอากาศอุนยกตัวสูงขึ้น
แนวปะทะอากาศอุน เหนือมวลอากาศเย็นทําใหเกิดเมฆแผน หากสัญลักษณนี้ปรากฏที่บริเวณใด แสดงวาบริเวณนั้นจะมีลมแรง
(warm front) เกิดฝนตกพรํา ๆ และอาจมีหยาดน้ําฟาชนิดอื่น ๆ ตกเปนบริเวณกวางและเปนระยะเวลานาน หลังจากนั้น
อุณหภูมิจะเพิ่มสูงขึ้น
แนวหรือเขตรอยตอที่เกิดจากมวลอากาศเย็นที่มีสมบัติตางกันเคลื่อนที่เขามาปะทะกัน แลวดันมวลอากาศอุน
แนวปะทะอากาศรวม ที่อยูตรงกลางใหยกตัวสูงขึ้นและซอนอยูบนมวลอากาศเย็นทั้งสองทําใหเกิดเมฆเมฆกอนรวมถึงเมฆคิวมูโลนิมบัส
(occluded front) หากสัญลักษณนี้ปรากฏที่บริเวณใด แสดงวาบริเวณนั้นจะมีลมแรงและพายุฝนฟาคะนอง อาจมีหิมะ หลังจากนั้น
อุณหภูมิจะลดต่ําลง
แนวหรือเขตรอยตอระหวางมวลอากาศอุนและมวลอากาศเย็นเคลื่อนที่เขาหากัน แตไมมีการเคลื่อนที่เขาแทนที่กัน
แนวปะทะอากาศคงที่ หรือซอนกันในชวงเวลาหนึ่ง หากมวลอากาศใดมีแรงผลักมากขึ้น จะสงผลใหเกิดแนวปะทะอากาศอุน
(stationary front) หรือแนวปะทะอากาศเย็น หากสัญลักษณนี้ปรากฏที่บริเวณใด แสดงวาบริเวณนั้นอาจมีทองฟาโปรง หรือมีโอกาส
เกิดฝนหรือหิมะตกตอเนื่องเปนเวลานาน
บริเวณหรือแนวความกดอากาศต่ําที่ลมคาจากสองซีกโลกพัดเขาหากัน บางครั้งเรียกวา ITCZ (Intertropical
รองความกดอากาศต่ํา
Convergence Zone) มักมีแนวการวางตัวในแนวตะวันตก-ตะวันออก หากสัญลักษณนี้ปรากฏที่บริเวณใด
(low pressure trough line)
แสดงวาบริเวณนั้นจะมีฝนตกชุก พายุฝนฟาคะนอง และลมกระโชกแรง

You might also like