Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 5

19

ภาคผนวก

การผลิตขมิน้ ชันชนิดแคปซูล
จากการปลูกขมิ้นชันจนถึงฤดูกาลเก็บเกี่ยวใชเวลาประมาณ 8-9 เดือน เมื่อเก็บเกี่ยวแลวตอง
นํามาตัดแตงราก ทําความสะอาดดินออก ถาเตรียมขมิ้นแหงเพื่อนําไปใชทํายารักษาโรค ตองเปน
ขมิ้นชันที่แกเต็มที่ และตองคํานึงถึงความสะอาดเปนสิง่ สําคัญ นํามาฝานเปนชิ้นบาง ๆ แลวตาก
แดด หรืออบในตูอบที่อุณหภูมิ 50OC ใน 8 ชั่วโมงแรก ตอไปใชอุณหภูมิ 40-50OC อบจนแหงสนิท
ขมิ้นสด 5 กิโลกรัมจะไดขมิน้ แหงประมาณ 1 กิโลกรัม รวมทั้งตองมีปริมาณสารสําคัญ (curcumin)
ไมนอยกวารอยละ 8.64 หลังจากนัน้ นํามาบดดวยเครื่องบดใหละเอียดแลวนําไปกรองดวยเครือ่ ง
กรองเพื่อใหไดผงที่ละเอียดขึ้นหลังจากนัน้ นํามาบรรจุใสแคปซูล

การผลิตฟาทะลายโจรชนิดแคปซูล
นําสวนเหนือดินของฟาทะลายโจรที่มอี ายุประมาณ 4 เดือนมาลางน้ําใหสะอาด ตัดใหมีความ
ยาว 3-5 ซม. ผึ่งใหสะเด็ดน้ํา แลวนํามาเกลี่ยบนกระดงหรือถาดที่สะอาด ทําใหแหงโดยอบที่
อุณหภูมิ 50OC ใน 8 ชั่วโมงแรก ตอไปใชอุณหภูมิ 40-50 OC อบจนแหงสนิท หรือตากแดดจนแหง
สนิท ควรคลุมภาชนะดวยผาขาวบางหลังจากนั้นนํามาบดดวยเครื่องบดใหละเอียด แลวนําไปกรอง
ดวยเครื่องกรองเพื่อใหไดผงที่ละเอียดขึน้ หลังจากนัน้ นํามาบรรจุใสแคปซูล
การเตรียมตัวอยางพืชสมุนไพร
1. มีพืชอื่นปน
2 ไมมีโรคพืช ถาตัวอยางที่เก็บมามี จุลินทรียอันเปนสาเหตุของโรคพืช จุลินทรียอาจใหสารซึ่ง
ถูกสกัดออกมาพรอมกับสารที่เราตองการ นอกจากนี้จุลินทรียที่ทาํ ใหเกิดโรคอาจทําใหเกิดการ
เปลี่ยนแปลงของกระบวนการชีวสังเคราะหในพืช ทําใหไดสารที่แตกตางออกไปจากธรรมชาติ
3. ความแตกตางของสารสกัดในพืช (Variation of plant constituents) ในการเก็บพืชแตละครั้ง
เพื่อนํามาสกัด สารที่เปนองคประกอบในพืชอาจแตกตางกันทั้งปริมาณและชนิด ซึง่ เกิดจากสาเหตุ
หลายประการ เชน ความแตกตางเนื่องจากสายพันธุ แหลงที่ปลูก เปนตน
ผลของการเก็บรักษาและการเตรียมพืช (Effect of preserving and processing Process) ใน
การทําใหพืชแหงบางครั้งจะทําใหฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของสมุนไพรเสียไป เชน thyme สดมีฤทธิ์ลด
การบีบตัวของลําไสแตถาตัวอยางแหงฤทธิท์ างเภสัชวิทยานี้จะหมดไป ในระหวางกระบวนการทํา
ใหแหง เอนไซมในพืชจะยังมีฤทธิ์อยูจนกวาเซลลจะตายไป แมแตเมือ่ อบแหงแลวเอนไซมบางชนิด
ก็ยังคงฤทธิ์อยู ดังนั้น glycoside บางชนิดจะสูญเสียฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาไปเนื่องจากเอนไซม
20

ในบางกรณีเราก็ตองการใหเกิดการเปลี่ยนแปลงโดยเอนไซมในพืช เพื่อใหไดสารที่ตอง การ


เชน การเตรียม vanillin จากธรรมชาติ ตองทิ้งใหเกิดการเปลี่ยนแปลง หรือในการผลิต caffeine จาก
ธรรมชาติ ตองอาศัยปฏิกิริยา oxidation เพือ่ เปลี่ยน tannin เปน phlobaphene และ caffeine ปฏิกิริยา
นี้จะเกิดขึ้นหลังจากทิ้งใบชาใหเกิด fermentation หรือขณะทําใหแหง
ในระหวางการเก็บสมุนไพรควรพยายามควบคุมใหมีน้ําอยูนอยกวา 5 % เพี่อลดการทํางาน
ของเอนไซม อยางไรก็ตามยาสมุนไพรสวนใหญเมื่ออบแหงแลวทิ้งไวก็อาจดูดความชื้นกลับเขาไป
ไดอีก จึงอาจเกิดปฏิกิริยา hydrolysis ที่ glycosidic linkage ทําใหปริมาณ glycoside ลดลง เชนใน
กรณีของ glycoside ในมะขามแขก หรือ อาจเกิดปฏิกิริยา Oxidation โดยออกซิเจนในอากาศ
โดยมากจะเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ unsaturation

การทําสมุนไพรใหแหง
การทําสมุนไพรใหแหงอาจใช 2 วิธี คือ
1. Air drying เปนการทําใหแหงในอากาศ อาจจะทําใหแหงในที่รม (shade drying) หรือ
ตากแดด (sun drying)
2. Artificial heat เปนการทําใหแหงโดยใชความรอนจากพลังงานอื่นเชน ไฟฟา ไดแก การ
ทําใหแหงโดยใชตูอบ ซึ่งจะมีการควบคุมอากาศที่ผานเขาออกและอุณหภูมิ วิธีนจี้ ะดีกวาวิธีแรกที่
สามารถควบคุมอุณหภูมิไดคงที่

การแตกยอยเนื้อเยื่อ (Disintegration of Tissue)


เปนขบวนการแตกยอยเนื้อเยื่อของพืชใหมีขนาดเล็กลง เพือ่ ทําใหการสกัดองคประกอบ
จากพืชไดผลดี
1. Mechanical method เปนวิธซี ึ่งอาศัยหลักการบดดวยโกรง แตเนื่องจากในทางอุตสาห
กรรมตองบดสารเปนจํานวนมาก จึงจําเปนตองอาศัยเครื่องมือที่ เหมาะสม
2. Enzymatic disintegration เปนวิธียอ ยเนื้อเยื่อโดยใชเอนไซมชนิดตาง ๆ เชน
เอนไซมสําหรับยอย pectin และ cellulose เปนตน
3. Chemical disintegration เปนวิธีการยอยเนื้อเยื่อโดยใชสารเคมี เชน ใช dimethyl
formamide ทําให chlorella แตก เปนตน สารเคมีที่ใชนอกจาก dimethyl formamide ไดแก cholic,
deoxycholic acid, sodium dodecylsulfate, cetyltriammonium bromide, urea, pyridine และ phenol
เปนตน
21

หมวดรูปภาพ

รูปที่ 1 ขมิ้นชัน

รูปที่ 2 ฟาทะลายโจร
22

รูปที่ 3 เครื่องบรรจุใสแคปซูล

รูปที่ 4 broth dilution method ของฟาทะลายโจร


23

รูปที่ 5 broth dilution method ของ ขมิน้ ชัน

pos neg

7.8

250

15.6

125
31.2

62.5

รูปที่ 6 ตัวอยางการทดสอบความสามารถในการฆาแบคทีเรีย
(minimum bactericidal concentration, mg/ml) ของขมิน้ ชันชนิดแคปซูลตอเชื้อ K. pneumoniae

You might also like