Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 11

1

บันทึกข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล

ปัญหาการพยาบาล วัตถุประสงค์ แผนปฏิบัติการพยาบาลและ การประเมิน


และข้อมูลสนับสนุน และเกณฑ์การประเมินผล เหตุผลของการพยาบาล ผลการปฏิบัติ
1.เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย เนื่องจากมี วัตถุประสงค์: 1. ดูแลให้ได้รับประทานยา sertraline (50) 2 taB oral od 3/5/67
ภาวะซึมเศร้าระดับรุนแรง pc ตามแผนการรักษาของแพทย์ เพื่อลดอาการของโรคซึมเศร้า
-เพื่อป้องกันการฆ่าตัวตายและ การประเมินผล :
SD : ผู้ป่วยบอกว่า “ไม่อยากอยู่แล้ว การทำร้ายตัวเอง 2. ดูแลสร้างสัมพันธภาพ เพื่อการบำบัดกับผู้ป่วยด้วยท่าทีเป็น
พยายามฆ่าตัวตายทั้งหมด 3 ครั้งแต่ไม่ มิตร แสดงท่าทีใส่ใจในความรู้สึก ของผู้ป่วย เพื่อให้ผู้ป่วยรู้สึก 1.ผู้ป่วยไม่มีความคิดฆ่าตัวตาย
สำเร็จ” -เพื่อลดระดับของภาวะซึมเศร้า ปลอดภัย และเกิดความไว้วางใจ 3. ประเมินความเสี่ยงของ แต่ยังมีความคิดทำร้ายตนเอง
อยู่
OD : แบบประเมินวันที่ 02/05/67 -เพื ่ อ เสริ ม สร้ า งให้ ผ ู ้ ป ่ ว ยรู ้ ถึ ง พฤติกรรมการฆ่าตัวตาย เช่น การแยกตัว สีหน้า คำพูด เพื่อ
คุณค่าของตนเอง เฝ้าระวังการฆ่าตัวตาย และวางแผนการพยาบาลได้เหมาะสม 2.ประเมิน G-HARD อยู่ใน
- แบบประเมิ น คั ด กรองโรค 4. ดู แ ลจั ด สิ ่ ง แวดล้ อ มให้ ป ลอดภั ย ไม่ ว างของมี ค ม เชื อ ก เข็ ม ระดับ Moderate
เกณฑ์การประเมินผล:
ซึมเศร้า 2 คำถาม (2Q) = 2 ขัด เป็นต้น เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ป่วย นำอุปกรณ์มาทำร้ายตนเอง 3.แบบประเมิน SAVE-
ข้อ (มีแนวโน้มที่จ ะเป็น โรค 1. ผู้ป่วยไม่มีความคิดฆ่าตัวตาย
5. จั ด ให้ ผ ู ้ ป ่ ว ยนอนใกล้ ก ั บ nurse station เพื ่ อ คอยสั ง เกต precaution
ซึมเศร้า) และทำร้ายตนเอง
- แบบประเมิ น โรคซึ มเศร้า 9 อาการ และความปลอดภัยของผู้ป่วย - ไม่มีความคิดฆ่าตัวตาย
คำถาม (9Q) = 25 คะแนน 2. ประเมิ น G-HARD อยู ่ ใ น
ระดับ Moderate 6. ดูแลให้ผู้ป่วยเข้ากลุ่มกิจกรรมบำบัดในด้านนันทนาการ เพื่อ -ผู้ป่วย มีสีหน้าแจ่มใส ยิ้มแย้ม
(มี อ าการของโรคซึ ม เศร้ า
เบี่ยงเบนความสนใจหรืออาชีวะ สร้างอาชีพ เพื่อเสริมสร้าง ขึ้น พูดคุยกับผู้อื่นมากขึ้น
ระดับรุนแรง)
3. แ บ บ ป ร ะ เ ม ิ น SAVE- คุณค่าในตนเอง
- แบบประเมิ น โรคซึ มเศร้า 8
precaution
คำถาม (8Q) = 42 คะแนน 7. ให้ผู้ป่วยบอกข้อดีของตนเอง เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยเกิดความ
– ไม่มีความคิดฆ่าตัวตาย มั่นใจ เห็นคุณค่าในตนเอง
2

(มีแนวโน้มที่จะฆ่าตัวตายใน - ผู้ป่วย มีสีหน้าแจ่มใส ยิ้มแย้ม 8. ประเมินโดยใช้แบบประเมิน SAVE precaution,G-HARD


ปัจจุบันระดับรุนแรง ขึน้ พูดคุยกับผู้อื่นมากขึ้น ,2Q 9Q 8Q เพื่อประเมินและเฝ้าระวังการฆ่าตัวตาย
- แบบประเมิน G-HARD

วันที่ 29/4/67 แปลผล critical

วันที่30/4/67 แปลผล severe

วันที่1-2/5/67 แปลผล moderate

- แบบประเมิน SAVE
precaution วันที่ 29/4/67-
2/5/67

- S:Suicide= มีความคิดอยากฆ่า ตัว


ตาย ผู ้ ป ่ ว ยมี ส ี ห น้ า เศร้ า น้ ำ ตาคลอ
ร้องไห้ ซึม ขณะอยู่โรงพยาบาล วันที่
2/5/67 ผู้ป่วยต่อยกำแพง

ปัญหาการพยาบาล วัตถุประสงค์ แผนปฏิบัติการพยาบาลและ การประเมิน


และข้อมูลสนับสนุน และเกณฑ์การประเมินผล เหตุผลของการพยาบาล ผลการปฏิบัติ
2.เสี่ยงต่อพฤติกรรมรุนแรงต่อตนเอง วัตถุประสงค์: ไม่เกิดพฤติกรรม 1.ดูแลให้ได้รับยา Valium 10 mg iv prn agitation q 8 hr 3/05/67
และผู้อื่น รุนแรงต่อตนเองและผู้อื่น ตามแผนการรักษาของแพทย์ เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยมีจิตใจที่สงบ
คลายกังกลและรู้สึกผ่อนคลายขึ้น หลังจากฉีดยา 15 นาที การประเมินผล:
3

SD : ผู้ป่วยบอกว่า “ ไม่มีความคิดฆ่า เกณฑ์การประเมินผล: พยาบาลเข้าไปดูอาการและเฝ้าสังเกตุอาการข้างเคียงของยาที่ 1. ผู้ป่วยยังมีความคิดทำร้าย


ตัวตายแล้ว แต่ยังอยากทำร้ายตนเอง มีผลต่อระบบประสาท กดระบบประสาทส่วนกลางยับยั้งการส่ง ตนเองอยู่
อยู่” ผู้ป่วยบอกว่า “ รู้สึกรำคาญ 1. ผู้ป่วยไม่มีความคิดทำร้าย กระแสประสาทเสริมฤทธิ์ Gamma aminobutyric acid ทำ
เพื่อนข้างเตียงที่โวยวายเสียงดัง ตนเอง ให้เกิดอาการซึมมึนงง ง่วงหลับ ลดความวิตกกังวล ระงับ 2. ผู้ป่วยสามารถทำกิจกรรมกับ
อยากจะลุกไปต่อย เลยไปต่อยกำแพง อาการชัก และสงบประสาท เพื่อนได้ดีในตอนเช้า หยอกล้อ
2. ผู้ป่วยสามารถอยู่ร่วมกับ กับเพื่อน
แทน เพื่อระบายอารมณ์” ผู้อื่นได้ 2. จัดสิ่งแวดล้อมให้ผู้ป่วยอยู่อย่างเหมาะสมและสุขสบาย
OD : แบบเฝ้าระวัง SAFE ภายในห้ อ งไม่ ม ส
ี ง
่ ิ ที เ
่ ป็ น อาวุ ธ หรื อ ของมี ค มหรื อ สิ ง
่ ที เ
่ ป็ น 3. ไม่มีอาการหงุดหวิด สีหน้า
3. ไม่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสม
Precaution (29-30 เม.ย 67) พบว่ามี เช่นหงุดหงิด เชื้อเพลิงที่ทำให้เกิดอันตราย จัดสิ่งแวดล้อมให้ผู้ป่วยอยู่อย่าง แจ่มใสขึ้น
เหมาะสมและสุขสบาย สถานที่สะอาด ปราศจากสิ่งรบกวน 4. ไม่มีบาดแผลจากการทำร้าย
- Suicide พฤติกรรมทำร้าย 4. ผู้ป่วยไม่มีพฤติกรรมรุนแรง แสงสว่างเพียงพอ อากาศถ่ายเทได้สะดวกและพยาบาลอยู่ดูแล ตนเอง
ตนเองหรือพยายามฆ่าตัวตาย ต่อตนเองเช่นทำร้ายตนเองชก ใกล้ชิดใน 15 นาทีแรกเพื่อสังเกตข้างเคียงของยาและอาการ
- Fighting พฤติกรรมต่อสู้ หรือ ต่อยกำแพง เปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้นได้ 5. ไม่มีการทำร้ายผู้อื่นให้
Violence พฤติกรรมรุนแรง บาดเจ็บ
5. ผู้ป่วยไม่มีพฤติกรรมทำร้าย 3.ประเมินพฤติกรรมที่เป็นอันตรายของผู้ป่วย การประเมิน
แบบประเมิน G-HARD ผู้อื่น เช่น ผู้อื่นได้รับบาดเจ็บ SAve และสังเกตพฤติกรรมที่ก่อให้เกิดอันตราย เพื่อเฝ้าระวัง 6. แบบประเมิน G-hare อยู่ใน
พฤติกรรมรุนแรง ระดับ moderate phua อยู่ใน
- วันที่ 29 เม.ย 67 แปลผล 6. แบบประเมิน G-hare อยู่ใน ระดับ moderate
critical ระดับ mild phua อยู่ในระดับ 4.ประเมินพฤติกรรมรุนแรงต่อตนเองและผู้อื่น G-Hard และ
- วันที่ 30 เม.ย 67 แปลผล mild phua เพื่อเฝ้าระวังพฤติกรรมรุนแรง
severe
- วันที่ 1-2 พ.ค 67 แปลผล 5.สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด โดยการเข้าไปพูดคุยกับ
moderate ผู้ป่วย ด้วยน้ำเสียงที่หนักแน่น เมตตาให้เกียรติ ไม่แสดง
อารมณ์หรือคำพูดตอบกลับ รุนแรง มีท่าทีที่เป็นมิตร
4

แบบประเมิน PHUA 6.เปิดโอกาสให้ระบายและพูดคุยในเรื่องที่ไม่สบายใจ เพื่อให้


ผู้ป่วยผ่อนคลาย สบายใจ ป้องกันการสะสมความเครียดหรือ
- วันที่ 29 เม.ย-2 พ.ค 67 แปล ปัญหา จนระบายออกมากลายเป็นความรุนแรง
ผล moderate
7.ให้แรงเสริมทางบวก ให้กำลังใจชมเชย เมื่อผู้ป่วยสามารถ
2 พ.ค 67 พบว่า มือข้างขวาของผู้ป่วย ควบคุมพฤติกรรมและแสดงออกได้อย่างเหมาะสม
มีรอยแดงๆสอบถามบอกว่า ต่อย
กำแพงมา

ปัญหาการพยาบาล วัตถุประสงค์ แผนปฏิบัติการพยาบาลและ การประเมิน


และข้อมูลสนับสนุน และเกณฑ์การประเมินผล เหตุผลของการพยาบาล ผลการปฏิบัติ
3.เสี่ยงต่อการได้รับสารน้ำและอาหาร วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้ป่วย 1.ดูแลให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารครบ 3 มื้อ เพื่อให้ผู้ป่วย 3/5/67
ไม่เพียงต่อความต้องการของร่างกาย ได้รับสารน้ำและอาหารเพียงพอ ได้รบั สารน้ำและอาหารที่เพียงพอ
เนื่องจากรับประทานอาหารได้น้อยลง ต่อความต้องการของร่างกาย การประเมินผล :
2.ให้ผู้ป่วยดูความสะอาดช่องปากและฟันเพื่อช่องปากที่สะอาด
SD : ผู้ป่วยบอกว่า “ไม่ได้รับประทาน เกณฑ์การประเมินผล: และ กระตุ้นให้อยากรับประทานอาหาร 1.ผู้ป่วยสามารถรับประทาน
อาหารเพราะกินข้าวไม่ลง” อาหารได้หมดถาด
1.ผู้ป่วยสามารถรับประทาน 3.ประเมินความรู้สึกไม่อยากรับประทานอาหารของผู้ป่วยว่า
OD : ผู้ป่วยมีอาการอ่อนเพลีย จาก อาหารได้เองโดยไม่ต้องกระตุ้น เกิดจากสาเหตุใด เพื่อหาสาเหตุและกระตุ้นให้ผู้ป่วยอยาก 2.ผู้ป่วยไม่มีอาการอ่อนแรง
การรับเวรผู้ป่วยรับประทานอาหารได้ รับประทานอาหารมากขึ้น
น้อย 2.อาการอ่อนเพลียลดลง แขน
ขามีแรงเพิ่มขึ้น 4.อธิบายถึงผลเสียของการไม่รับประทานอาหารและการได้รับ
สารน้ำและอาหารไม่เพียงพอต่อความต้องการร่างกาย เพื่อให้
5

ผู้ป่วยตระหนักถึงความสำคัญของอาหารต่อสุขภาพและ
ความสำคัญของการรับประทานอาหาร

5.ให้การเสริมสร้างโดยชมเชยผู้ป่วยเมื่อผู้ป่วยรับประทาน
อาหารมากขึ้น เพื่อเสริมสร้างกำลังใจและให้ผู้ป่วยรับประทาน
อาหารเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง

ปัญหาการพยาบาล วัตถุประสงค์ แผนปฏิบัติการพยาบาลและ การประเมิน


และข้อมูลสนับสนุน และเกณฑ์การประเมินผล เหตุผลของการพยาบาล ผลการปฏิบัติ
4.สัมพันธภาพบกพร่อง เนื่องจากมี วัตถุประสงค์: เพื่อเสริมสร้าง 1. สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดอย่างต่อเนื่องโดยการ 3/5/67
พฤติกรรมแยกตัว ความมั่นใจให้แก่ผู้ป่วยในการ ทักทาย เปิดโอกาสให้พูดคุยและระบายความรู้สึก
เข้าสังคม การประเมินผล :
SD : ผู้ป่วยบอกว่า “พ่อแม่แยกทาง 2. เสริมสร้างทักษะในการเข้าสังคมโดยแนะนำให้ผู้ป่วยค้นหา
กันตั้งแต่เกิด ไม่เคยเห็นหน้าพ่อ” เกณฑ์การประเมินผล : ด้านดีของตนเอง มองด้านบวกในตนเองมากกว่าด้านลบ กล่าว 1. ผู้ป่วยมีการพูดคุยสร้าง
ชื่นชมตนเองบ่อยๆ ฝึกทักทายผู้อื่นก่อนง่ายๆด้วยการส่งยิ้ม สัมพันธภาพกับผู้อื่น
-ในครอบครัวไม่ได้สนิทกับใครเป็น 1. ผู้ป่วยมีการปรับตัวเข้าสังคม เพื่อสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่น
พิเศษ ได้ 2. ผู้ปว่ ยมีการเข้าหาผู้อื่นและมี
3.ให้ข้อมูลถึงผลดีและประโยชน์ของการมีสัมพันธภาพกับผู้อื่น สัมพันธภาพร่วมกันกับเพื่อนใน
-ผู้ป่วยบอกว่า “มักมีปัญหากับเพื่อน 2.ผู้ป่วยไม่มีพฤติกรรมแยกตัว เพื่อให้ผู้ป่วยกล้าเปิดใจพูดคุยกับผู้อื่นได้ หอผู้ป่วย
ร่วมงาน”
4. แนะนำให้ผู้ป่วยเข้าร่วมกลุ่มกิจกรรมบำบัดเช่นกลุ่ม
-ผู้ป่วยบอกว่า “มักเปลี่ยนกลุ่มเพื่อน นันทนาการเล่นเกมแบบแบ่งกลุ่มเพื่อส่งเสริมทักษะการ
บ่อยๆ” แลกเปลี่ยนความคิดการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นเพื่อเกิดการสร้าง
สัมพันธภาพกับผู้อื่นกลุ่มให้ความรู้เกี่ยวกับทักษะการสื่อสาร
6

OD : ผู้ป่วยแยกตัว อยู่คนเดียว จาก 5.ชมเชยหรือให้กำลังใจผู้ป่วยเมื่อผู้ป่วยเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม


การสังเกตพบว่า ขณะที่ผู้ป่วยพูดถึง บำบัดหรือมีสัมพันธภาพกับผู้อื่น เพื่อเสริมเเรงทางบวกให้
ครอบครัวและเพื่อนร่วมงาน ผู้ป่วยมีสี ผู้ป่วยเกิดความมั่นใจ
หน้าที่เศร้าลง อย่างเห็นได้ชัด
6.จัดสิ่งแวดล้อมให้ผู้ป่วยอยู่ในที่ๆมีแสงสว่างเพียงพอ จัดของ
ให้เป็นระเบียบ เพื่อลดสิ่งกระตุ้นจากความคิดภายในตนเอง

ปัญหาการพยาบาล วัตถุประสงค์ แผนปฏิบัติการพยาบาลและ การประเมิน


และข้อมูลสนับสนุน และเกณฑ์การประเมินผล เหตุผลของการพยาบาล ผลการปฏิบัติ
5.การเผชิญปัญหาไม่เหมาะสม วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้ป่วย 1.สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดอย่างต่อเนื่อง โดยการ 3/5/67
เนื่องจากเกิดภาวะเครียด สามารถเผชิญปัญหาได้อย่างมี ทักทายเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยพูดคุยและระบายความรู้สึกเพื่อ
ประสิทธิภาพ ร่วมกันค้นหาปัญหาและหาแนวทางแก้ไข การประเมินผล :
SD : ผู้ป่วยบอกว่า“ ถ้ามีปัญหาก็จะ
เก็บไว้คนเดียวไม่ปรึกษาใคร” เกณฑ์การประเมินผล : 2.ประเมินระดับความเครียดจากแบบประเมิน spst-20 และ 1. ผู้ป่วยบอกวิธีการเผชิญ
สังเกตจากสีหน้า ท่าทาง ของผู้ป่วย เพื่อสามารถให้การ ความเครียดได้เหมาะสม เช่น
-ผู้ป่วยบอกว่า “นอนไม่หลับ” 1.ผู้ป่วยสามารถบอกวิธีปรับตัว พยาบาลได้อย่างเหมาะสม ผู้ป่วยบอกข้อดีของตนเองได้
แก้ไขปัญหาเมื่อเผชิญ “เป็นคนเรียนเก่ง และสามารถ
- ผู้ป่วยบอกว่า “ช่วยบอกผมได้มั้ยทำ ความเครียดได้เหมาะสม2.ไม่มี 3.ให้ข้อมูลย้อนกลับอย่างเหมาะสม เพื่อเป็นกาารสะท้อน ทำได้ทุกอย่าง”
ยังไม่ให้ไม่เครียด ให้ผมนอนหลับได้” สภาวะทางด้านร่างกาย เช่น ข้อมูลของผู้ป่วยและเพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยรู้สึกถึงความใส่ใจ
นอนไม่หลับ ปวดศีรษะ ร้องไห้ สนใจในสิ่งที่ผู้ป่วยเล่า 2. ผู้ป่วยสามารถนอนหลับได้
OD : -จากการซักประวัติ แบบ มากขึ้น ไม่ปวดศีรษะ ไม่ได้
แผนการนอนของผู้ป่วยไม่มี 3.ผลการประเมิน spst-20 อยู่ 4.พูดคุยกับผู้ป่วยถึงการแก้ปัญหาที่ผู้ป่วยใช้ในปัจจุบันและที่ ร้องไห้แล้ว
ประสิทธิภาพเพราะเกิดจาก ในเกณฑ์ปกติ ผ่านๆมา และแนะนำทางเลือกหลายๆแบบในการแก้ปัญหาที่
ความเครียด เหมาะสม เช่น การมองโลกในแง่ดี การทำกิจกรรมที่ชอบ การ
7

-ผู้ป่วยมีสีหน้าอ่อนเพลีย ตาทั้งสอง 4.ผู้ป่วยนอนหลับพักผ่อน พูดคุยกับเพื่อน มองหาข้อดีของตนเอง เป็นต้น เพื่อให้ผู้ป่วย 3. แบบประเมิน SPST-20 ได้
ข้างบวมช้ำ เพียงพอไม่มีสีหน้าอิดโรย พิจารณาเลือกวิธีแก้ปัญหาหรือการแสดงพฤติกรรมที่เหมาะสม 56 คะแนน (มีความเครียดสูง)
อ่อนเพลีย
-บุคลิกเป็นคนคิดมากขี้น้อยใจ ชอบ 5.แนะนำทักษะคลายเครียด เช่น การหาที่ปรึกษา การทำ 4. ผู้ป่วยไม่มีสีหน้าอิดโรย
เก็บปัญหาไว้คนเดียว กิจกรรมนันทนาการ การเล่นเกมส์ การทำกลุ่มกิจกรรมบำบัด
เพื่อเป็นการเบี่ยงเบนความสนใจและเป็นการเสริมสร้างคุณค่า
-การประเมินSPST-20= 68 คะแนน ในตนเอง
(มีระดับความเครียดรุนแรง)
6.ติดตามประเมินความเครียดและการปรับตัวอย่างต่อเนื่อง

7.ให้กำลังใจ ให้แรงเสริมทางบวกในทุกๆพฤติกรรมที่
เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี เช่น ชมเชยเมื่อผู้ป่วยรับผิดชอบเรื่อ
กิจวัตรประจำวันของตนเองโดยไม่ต้องกระตุ้น

8.จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ ลดสิ่งรบกวนโดยจัดให้ผู้ป่วยอยู่ใน
ห้องแยกใกล้กับ nurse station เพื่อให้ ผู้ป่วยพักผ่อนให้
เพียงพอและเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย

ปัญหาการพยาบาล วัตถุประสงค์ แผนปฏิบัติการพยาบาลและ การประเมิน


และข้อมูลสนับสนุน และเกณฑ์การประเมินผล เหตุผลของการพยาบาล ผลการปฏิบัติ
8

6. เฝ้าระวังอาการข้างเคียงของยาทาง วัตถุประสงค์: เพื่อป้องกัน 1.ยากลุ่มAntidepressant กลุ่ม SELECTIVE SEROTONIN 3/05/67


จิตเวช ภาวะแทรกซ้อนจากยา REUPTAKE INHIBITOR (SSRI)
การประเมินผล :
SD : ผู้ป่วยบอกว่ามีอาการง่วงนอน เกณฑ์การประเมินผล: - ดูแลให้รับประทานยาSertraline (50) 2 tab PO OD PC
เช้าตามแผนการรักษาและสังเกตอาการข้างเคียงของยาได้แก่ 1.ผู้ป่วยไม่เกิดอุบัติเหตุ 2.ผู้ป่วย
OD : Medication 1.ผู้ป่วยไม่เกิดอุบัติเหตุใดๆใน ไม่มีอาการจากผลข้างเคียงของ
ระหว่างการรักษา • ปวดศีรษะ ยา
1. Sertraline (50) 2 tab po
OD pc เช้า 2.ผู้ป่วยไม่มีอาการข้างเคียงจาก • V/S UNSTABLE
2. Tranxene (5) 1 tab po ยา เช่น ง่วงซึมมากขึ้น เดินเซ
bid pc เวียนศีรษะ มึนงง คลื่นไส้ • ง่วงซึม
3. Trazodone (50) 1 tab po อาเจียน ท้องผูก ปากแห้ง • ท้องเสีย บางรายอาจมีชัก, COMA เกิดCARDIOVASCULAR
hs คอแห้ง ลิ้นแข็ง เป็นต้น COLLAPSE เกิดการเสียชีวิตได้ (ได้ยา 2 ขนานร่วมกันนาน
4. Lorazepam (0.5) 1 tab po เกินไป โดยเฉพาะ ร่วมกลุ่ม MAOIS,litium)
hs prn insomnia/agitation
5. Valium 10 mg I’ve prn -ดูแลให้รับประทานยาtrazodone (5) 1 tab PO BID PCตาม
agitation g 8 hr แผนการรักษาและสังเกตอาการข้างเคียงของยาได้แก่

• VENLAFAXINE ผลข้างเคียงเหมือนกับยากลุ่มSSRISใช้ HIGH


DOSE อาจทำให้ BP สูง

• MIRTAZAPINE และ TRAZODONE ทำให้ง่วงซึมนิยมให้ใน


ผู้ป่วยที่นอนไม่หลับBUPROPION ขนาดสูง เสี่ยงต่อการเกิด
อาการชักได้
9

2.ยากลุ่ม Benzodiazepines ดูแลให้รับประทานยา


Tranxene (5) 1 tab po bid pc,Lorazepam (0.5) 1 tab
po hs prn insomnia/agitation ,Valium 10 mg prn
agitation q 8 hr เช้า ตามแผนการรักษาและสังเกตอาการ
ข้างเคียงของยาได้แก่

ผลข้างเคียงไม่รุนแรง

• ง่วงซึม

• เดินเซ

• อ่อนแรง

• อาจมีหลงลืม โดยเฉพาะANTEROGRADE AMNESIA


ผลข้างเคียงที่รุนแรง

• ผู้มีปัญหาในระบบทางเดินหายใจอาจพบ RESPIRATORY
DEPRESSION

• บางรายอาจเกิด PARADOXICAL REACTION คือ กลับมามี


อาการวิตกกังวลมากขึ้น กระวนกระวาย อาละวาดก้าวร้าว
ควบคุมตัวเองไม่ได้ แทนที่จะมีอาการสงบลงภายหลังการได้ยา
กลุ่มนี้
10

• WITHDRAWAL SYNDROME หรือ DISCONTINUATION


SYNDROME ระยะเวลา พบในรายที่ได้โดสสูงๆนานๆ ขึ้นอยู่
กับอาการของ BENZODIAZEPINE WITHDRAWAL
SYNDROMEได้แก่วิตกกังวล เหงื่อแตก, กระวนกระวาย
หงุดหงิด อ่อนเพลีย วิงเวียนศีรษะ สั่น นอนไม่หลับ บางราย
อาจเกิดDELIRIUM หรือชักได้

3. ประเมิน V/S เพื่อประเมินความผิดปกติของสัญญาณชีพ

4. แนะนำผู้ป่วยให้เปลี่ยนอิริยาบถ ช้าๆ จากท่านอนเป็นท่านั่ง


หรือยืน ถ้ามีอาการวิงเวียน เพราะอาจหน้ามืด ล้มเกิด
อุบัติเหตุได้

5. ดูแลแนะนำให้ระมัดระวังอุบัติเหตุ เช่น การขึ้นลงบันได การ


ออกกำลังการควรออกในท่าที่เหมาะสม

6. ผู้ที่มีอาการท้องผูก แนะนำให้รับประทานอาหารที่มีกากใย
สูง ดื่มน้ำให้เพียงพออย่างน้อยวันละ 8 แก้ว ถ้ามีอาการมากให้
รายงานแพทย์ทราบ

7. ใช้ยาภายใต้การดูแลของบุคลากรทางการแพทย์เท่านั้น ไม่
ปรับยาลดหรือเพิ่มขนาดเอง

ปัญหาการพยาบาล วัตถุประสงค์ แผนปฏิบัติการพยาบาลและ การประเมิน


และข้อมูลสนับสนุน และเกณฑ์การประเมินผล เหตุผลของการพยาบาล ผลการปฏิบัติ
11

7.มีวิตกกังวล เนื่องจากอยากกลับบ้าน วัตถุประสงค์: เพื่อลดความวิตก 1.สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดอย่างต่อเนื่อง โดยการ 3/05/67


กังวลของผู้ป่วย ทักทายเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยพูดคุยและระบายความรู้สึกและ
SD : ผู้ป่วยบอกว่า “อยากกลับบ้าน ร่วมกันค้นหาปัญหาและหาแนวทางแก้ไข การประเมินผล :
เมื่อไหร่จะได้กลับ” เกณฑ์การประเมินผล:
2. ประเมินและสังเกตอาการของผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง เช่น 1.ผู้ป่วยพูดเรื่องกลับบ้านลดลง
-ผู้ป่วยบอกว่า “รู้สึกเป็นห่วงแม่ กลัว 1.ผู้ป่วยพูดถึงเรื่องกลับบ้าน อาการซึมเศร้า ร้องไห้ แยกตัว ไปพูดคุยกับผู้อื่น เพื่อติดตาม
แม่ไม่มีเงินใช้ และแม่ก็เป็นความดัน ลดลง 2.ผู้ป่วยสามารถบอกได้ว่า
ประเมินความรู้สึกอยากกลับบ้าน สาเหตุที่ยังต้องอยู่โรงพยาบาล
โลหิตสูง”
2.ผู้ป่วยเข้าใจถึงสาเหตุที่ยัง 3. เปิดโอกาสหรือกระตุ้นให้ผู้ป่วยพูดระบายความรู้สึก ระบาย
-ผู้ป่วยบอกว่า “เป็นห่วงแฟนกลัวไม่มี ไม่ได้กลับบ้าน 3.ผู้ป่วยสามารถบอกได้ว่าทำ
ความวิตกกังวล ด้วยท่าที่เป็นมิตร และเข้าใจผู้ป่วย อย่างไรถึงจะได้ออกจาก
เงินใช้ เพราะว่างงาน” “กังวลว่าแฟน
จะไปมีคนอื่น” 3.ผู้ป่วยสามารถบอกวิธีที่ทำให้ 4. กระตุ้นให้ผู้ป่วยเข้าร่วมกลุ่มกิจกรรมเพื่อเบี่ยงเบนความคิด โรงพยาบาล
ออกโรงพยาบาลได้เร็วขึ้นได้ หมกมุ่นในเรื่องของตนเองมากเกินไปเช่น กลุ่มนันทนาการ
OD : ผู้ป่วยมีสีหน้าวิตกกังวล ถูกต้อง 4.ผู้ป่วยสามารถทำกิจวัตร
บำบัด กลุ่มศิลปะบำบัด ประจำวัน และทำกิจกรรม
4.ผู้ป่วยสามารถทำกิจวัตร 5.แนะให้วิธีที่ทำให้ได้ออกจากโรงพยาบาลเร็วขึ้น เช่น การ ร่วมกับผู้อื่นได้
ประจำวันและทำกิจกรรม รับประทานยาให้ตรงเวลา การดูแลตนเองขณะอยู่โรงพยาบาล 5.ผูป้ ่ วยมีสหี น้าวิตกกังวล
ร่วมกับผู้อื่นได้
6.พูดให้กำลังใจผู้ป่วย เพื่อให้ผู้ป่วยมีกำลังใจในการดูแลตนเอง ลดลง ไม่มคี ว้ิ ขมวดขณะ
5.ผู้ป่วยไม่มีสีหน้าวิตกกังวล คิ้ว มากขึ้น พูดคุย
ขมวด

You might also like