Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 9

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹

¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò ».๖
».
หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน

พระพุทธศาสนา
ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖
กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
¨§¨ÃÑÊ á¨‹Á¨Ñ¹·Ã

พระพุทธศาสนา ป.6
ISBN : 978 - 616 - 203 - 266 - 0

บริษทั อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด


ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
142 ถนนตะนาว เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200
โทร. /แฟกซ์. 02 6222 999 (อัตโนมัติ 20 คูส
่ าย) www.aksorn.com
9 786162 032660
62.- จงจรัส แจมจันทร ๖๒.-
สารบัญ
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ประวัติและความสำ�คัญของพระพุทธศาสนา ๑
บทที่ ๑ ความสำ�คัญของพระพุทธศาสนา ๒
บทที่ ๒ พุทธประวัติ ๘
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ หลักธรรมคํ้าจุนโลก ๒๓
บทที่ ๑ โอวาท ๓ ๒๔
บทที่ ๒ หลักธรรมนำ�ชาวพุทธ ๔๒
บทที่ ๓ เรื่องน่ารู้คู่พุทธศาสน์ ๕๕
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ พุทธสาวกและชาดก ๖๒
บทที่ ๑ พุทธสาวก ๖๓
บทที่ ๒ ชาดก ๖๘
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ ชาวพุทธที่ดี ชีวีมีสุข ๗๓
บทที่ ๑ ชาวพุทธตัวอย่าง ๗๔
บทที่ ๒ มรรยาทชาวพุทธ ๘๓
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ จิตสงบ พบความสุข ๙๐
บทที่ ๑ การบริหารจิตและเจริญปัญญา ๙๑
บทที่ ๒ สมาธิเบื้องต้น ๙๗
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ วันสำ�คัญทางพระพุทธศาสนา และศาสนพิธี ๑๐๗
บทที่ ๑ วันสำ�คัญทางพระพุทธศาสนา ๑๐๘
บทที่ ๒ ศาสนพิธีน่ารู้ ๑๑๘
● คำ�สำ�คัญ ๑๓๘
● บรรณานุกรม ๑๓๘
ñ
หนวยการเรียนรูที่
»ÃÐÇѵÔáÅФÇÒÁÊíÒ¤ÑÞ
¢Í§¾Ãоط¸ÈÒʹÒ

¼Å§Ò¹ÈÔŻТͧä·Â
·Õèä´ŒÃºÑ ÍÔ·¸Ô¾Å¨Ò¡
¾Ãоط¸ÈÒʹÒ
ÁÕÍÐäúŒÒ§

จิตรกรรมฝาผนัง
พระพุทธรูป โบสถ วิหาร

เปาหมายการเรียนรู้ประจ�าหน่วยที่ ๑
เมือ่ เรียนจบหน่วยน�้ ผูเ้ รียนจะมีความรูค้ วามสามารถต่อไปน�้
๑. วิเคราะห์ความส�าคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะเป็น
ศาสนาประจ�าชาติ หรือความส�าคัญของศาสนาที่ตน
นับถือ (มฐ. ส ๑.๑ ป.๖/๑)
๒. สรุปพุทธประวัตติ งั้ แต่ปลงอายุสงั ขารจนถึงสังเวชนีย-
สถาน หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่ก�าหนด
(มฐ. ส ๑.๑ ป.๖/๒)
บทที่
ความสําคัญของพระพุทธศาสนา ñ
กิจกรรมนําสูการเรียน

á¹Ç¤Ô´ÊíÒ¤ÑÞ
¤¹ä·ÂÊ‹ Ç ¹ãËÞ‹ ¹Ñé ¹ ¹Ñ º ¶× Í ¾ÃÐ¾Ø · ¸ÈÒʹÒ
¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò ¾ÃÐ¾Ø · ¸ÈÒÊ¹Ò¨Ö § ÁÕ ¤ ÇÒÁÊí Ò ¤Ñ Þ ã¹°Ò¹Ð·Õè ໚ ¹
ÈÒʹһÃШíҪҵԢͧä·Â ઋ¹ ໚¹àÍ¡Åѡɳ¢Í§
มÕ¤วÒมÊíÒ¤ÑÞ ªÒµÔä·Â ໚¹ÃÒ¡°Ò¹áÅÐÁô¡·Ò§ÇѲ¹¸ÃÃÁä·Â
µ‹ÍªÒµÔä·ÂÍ‹ҧäà ໚¹ÈٹÃÇÁ¢Í§¨Ôµã¨áÅÐ໚¹ËÅѡ㹡ÒþѲ¹Ò
ªÒµÔä·Â


ความส�าคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะเปนศาสนาประจ�าชาติ
คนไทยส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนา ท�าให้พระพุทธศาสนาเป็น
ศาสนาประจ�าชาติไทย ดังนั้น คนไทยจึงมีวิถีชีวิตที่ผูกพันกับพระพุทธ
ศาสนาอย่างแนบแน่น หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาจึงสอดแทรกอยู่ใน
แนวคิดและการปฏิบัติตนของคนไทย พระพุทธศาสนาจึงมีความส�าคัญใน
ฐานะเป็นศาสนาประจ�าชาติ ดังน�้
๑. พระพุทธศาสนาเปนเอกลักษณ์ของชาติไทย
การที่คนไทยนับถือพระพุทธศาสนามาเป็นระยะเวลายาวนาน
ท�าให้พระพุทธศาสนาช่วยหล่อหลอมสังคมไทย จนกลายเป็นเอกลักษณ์
ของชาติไทย ดังน�้
๑) พระมหากษัตริยข์ องไทยทุกพระองค์ทรงเป็นพุทธมามกะ และ
องค์อัครศาสนูปถัมภก ซึ�งมีบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ
๒) พระราชพิธี รัฐพิธี และกิจกรรมทางสังคม จะมีพิธีกรรมทาง
พระพุทธศาสนาสอดแทรกอยู่เสมอ เช่น การนิมนต์พระสงฆ์มาเจริญ
พระพุทธมนต์ในงานส�าคัญต่างๆ เพื่อความเป็นสิริมงคล
๓) จริยวัตรทีง่ ดงามของพระสงฆ์เป็นแบบอย่างในการปฏิบตั ติ น
จนเกิดเป็นมรรยาทชาวพุทธ เช่น การไหว้ การกราบ
๔) ลักษณะนิสยั ต่างๆ ของคนไทยล้วนได้รบั การหล่อหลอมมาจาก
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เช่น ความเมตตากรุณา ความเอือ้ เฟอ เผือ่ แผ่
ซึ�งเป็นเอกลักษณ์ที่คนต่างชาติรู้จักและประทับใจ

¡ÒÃäËÇŒ ¶×Í໚¹àÍ¡Åѡɳ
»ÃШíÒªÒµÔä·ÂÍ‹ҧ˹Ö觹ФÃѺ


๒. พระพุทธศาสนาเปนรากฐานและมรดกทางวัฒนธรรมไทย
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาได้สอดแทรกอยู่ในวิถชี วี ติ จนกลาย
เป็นรากฐานและมรดกทางวัฒนธรรมไทยในด้านต่างๆ ดังน�้
๑) ศิลปะต่างๆ ของไทย ล้วนได้รบั อิทธิพลการสร้างสรรค์มาจาก
พระพุทธศาสนา ทัง้ ศิลปะทางด้านสถาปตยกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม
เช่น วัด ภาพวาดฝาผนัง พระพุทธรูป เป็นต้น ซึ�งเกิดจากแรงบันดาลใจ
ที่แสดงถึงศรัทธา และเป็นส่วนหนึ�งในการช่วยถ่ายทอดหลักธรรมค�าสอน
ทางพระพุทธศาสนา
๒) ประเพณ�ตา่ งๆ ของไทย
เกีย่ วข้องกับพระพุทธศาสนามาโดย
ตลอด เช่น ประเพณ�เน�อ� งในวันส�าคัญ
ทางพระพุทธศาสนา ประเพณ�การบวช
ประเพณ�สงกรานต์ เป็นต้น
๓) ภาษาและวรรณคดี
ภาษาไทยหลายๆ ค�า เป็นค�าทีม่ าจาก
ภาษาบาลี-สันสกฤต ซึง� เป็นภาษาที่
ใช้ในพระพุทธศาสนา นอกจากน�้
ยั ง มี ว รรณคดี ไ ทยที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ
พระพุทธศาสนาอีกหลายเรื่อง เช่น
สุ ภาษิ ต พระร่ ว ง ไตรภู มิ พ ระร่ ว ง
มหาเวสสันดรชาดก เป็นต้น ล้วน ▲ ประเพณีการบวช เป็นประเพณีที่แสดงถึงความ
ได้รบั อิทธิพลมาจากพระพุทธศาสนา กตัญูต่อบิดามารดา ซึ่งถือเป็นประเพณีที่ส�าคัญ
ทั้งสิ้น ของพระพุทธศาสนา


▲ ในวันส�าคัญทางพระพุทธศาสนา เช่น วันวิสาขบูชา วันมาฆบูชา ชาวพุทธนิยมไปเวียนเทียนที่วัด
๓. พระพุทธศาสนาเปนศูนย์รวมจิตใจ
วัดและพระสงฆ์มีบทบาทในการด�าเนินชีวิตของคนไทยโดยวัด
เป็นศูนย์กลางการอบรมสั�งสอนจริยธรรม และบ่อเกิดของศิลปวิทยาการ
ต่างๆ เป็นสถานทีใ่ ช้ประกอบศาสนกิจในเทศกาลส�าคัญ ตลอดจนการพบปะ
สังสรรค์และการจัดงานรืน่ เริงตามประเพณ� ส่วนพระสงฆ์เป็นผูเ้ ผยแผ่และ
สืบทอดพระพุทธศาสนา จึงมีบทบาทส�าคัญในการเป็นผู้น�าทางจิตใจของ
ประชาชน รวมทั้งการช่วยพัฒนายกระดับความเป็นอยู่ของประชาชน
ให้ด�าเนินชีวิตได้อย่างถูกต้อง ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า พระพุทธศาสนา
เป็นศูนย์รวมจิตใจของคนไทย

▲ พระบาทสมเด็จพระมหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงเป็นพุทธมามกะ และทรงน�าหลักธรรม
ต่าง ๆ มาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาประเทศ
๔. พระพุทธศาสนาเปนหลักในการพัฒนาชาติไทย
พระพุทธศาสนาเป็นหลักในการพัฒนาชาติไทย ดังน�้
๑) กฎหมายและระเบียบต่างๆ ของสังคมไทยมีรากฐานมาจาก
หลักธรรมค�าสอนทางพระพุทธศาสนา เช่น การลักขโมยถือว่าเป็นบาป
ในทางกฎหมายก็ถือว่ามีความผิดด้วย เป็นต้น
๒) พระมหากษัตริย์ไทยทรงน�าหลักธรรมค�าสอนในทางพระพุทธ-
ศาสนามาใช้เพื่อปกครองและบริหารประเทศให้เกิดความสงบสุข เช่น
หลักทศพิธราชธรรม กุศลมูล เป็นต้น
๓) พุทธศาสนิกชนชาวไทยได้น�าหลักธรรมในพระพุทธศาสนา
มาปฏิบัติเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและพัฒนาสังคมให้สงบสุข
ดังนั้น พระพุทธศาสนาจึงเป็นหลักในการพัฒนาชาติไทยให้มี
ความเจริญรุ่งเรืองและสงบสุขตลอดไป


กิจกรรมรวบยอด
ตอนที่ ๑ อภิปรายชวนคิด
ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ร่วมกันอภิปรายว่า พระพุทธศาสนามีความส�ำคัญ
ต่อชาติไทยอย่างไร แล้วน�ำเสนอหน้าชั้นเรียน
ตอนที่ ๒ ผลงานสร้างสรรค์
ให้นักเรียนแบ่งเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๕-๖ คน และปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้
๑. ให้แต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับวัฒนธรรมไทยที่มีรากฐานมาจาก
พระพุทธศาสนาจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ เช่น อินเทอร์เน็ต ผู้รู้ วัดใน
ชุมชน
๒. ให้แต่ละกลุ่มสรุปข้อมูลวัฒนธรรมที่หามาได้ โดยจัดท�ำเป็นใบความรู้
พร้อมทั้งติดภาพประกอบ กลุ่มละ ๑ ใบ จากนั้นส่งตัวแทนน�ำเสนอ
หน้าชั้นเรียน
๓. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ที่ได้จากการท�ำกิจกรรมนี้ จากนั้น
น�ำใบความรู้ทั้งหมดไปจัดตกแต่งเป็นป้ายนิเทศ
ตอนที่ ๓ ค�ำถามวัดความรู้
เขียนตอบค�ำถามต่อไปนี้ลงในสมุด
๑. เพราะเหตุใด พระพุทธศาสนาจึงเป็นศาสนาประจ�ำชาติไทย
๒. เอกลักษณ์ของคนไทยที่เกิดจากพระพุทธศาสนามีอะไรบ้าง
๓. ประเพณีใดบ้าง ที่ได้รับอิทธิพลมาจากพระพุทธศาสนา
๔. เพราะเหตุใดจึงกล่าวว่า “พระพุทธศาสนาเป็นศูนย์รวมจิตใจ
ของชาวไทย”
๕. หลักธรรมค�ำสอนทางพระพุทธศาสนา มีความเกี่ยวข้องอย่างไร
กับการพัฒนาชาติไทย
7

You might also like