Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 22

1

พระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510


1. ลงพระปรมาภิไธย (ให้ไว้ ณ ) 15 ตุลาคม 2510 เป็ นปี ที่ 22 ในรัชการปั จจุบนั
2. ประกาศในราชกิจจา 20 ตุลาคม 2510
3. การบังคับใช้
มีผลบังคับใช้ เมื่อพ้น 60 วัน นับแต่วนั ในประกาศในราชกิจจาฯคือ
(ครบ 60 วัน เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2510 พ้น 60 วัน จึงเป็ นวันที่ 20 ธันวาคม 2510 )
บังคับ ใช้วนั ที่ 20 ธันวาคม 2510 (ม.2)
4. ผูร้ ับสนองโองการ นายชวน หลีกภัย
5. ความหมาย (ม.4)
1.“ยา” หมายความว่า
1. วัตถุที่รับรองไว้ในตารายา
2. วัตถุที่มุ่งใช้ในการวินิจฉัย บาบัด บรรเทา รักษา หรื อป้ องกันโรค หรื อความเจ็บป่ วยของมนุษย์
หรื อสัตว์
3. วัตถุที่เป็ นเภสัชเคมีภณั ฑ์ หรื อเภสัชเคมีภณั ฑ์ก่ ึงสาเร็ จรู ป
4. วัตถุที่มุ่งสาหรับให้เกิดผลแก่สุขภาพ โครงสร้าง หรื อการกระทาหน้าที่ใดๆของร่ างกายมนุ ษย์
หรื อสัตว์
ทั้งนี้ยกเว้นหากวัตถุที่กล่าวมาเป็ นสิ่ ง
1.ที่มุ่งใช้สาหรับการเกษตร อุตสาหกรรมตามที่ รมต.ประกาศ
2.มุ่งใช้เป็ นอาหารของคน เครื่ องกี ฬา เครื่ องมือในการส่ งเสริ มสุ ขภาพหรื อใช้ประกอบโรคศิ ลปะ
เครื่ องสาอาง หรื อ
3.มุ่งใช้ในห้องทดลองสาหรับการวิจยั หรื อชันสูตรโรคซึ่งไม่ได้ทากับคนโดยตรง วัตถุน้ นั จะไม่ใช่ยา
ตาม พรบ.นี้
2. “ยาแผนโบราณ” หมายความว่า
1. ยาที่มุ่งหมายในการประกอบโรคศิลปะแผนโบราณ หรื อการบาบัดโรคสัตว์
2.ซึ่งอยูใ่ นตารายาแผนโบราณที่รมต.ประกาศ
(1.ตาราเวชศึกษาของพระยาพิศณุฯ 2.ตาราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ 3. คัมภีร์แผนโบราณของ
ขุนโสภิตบรรณลักษณ์)หรื อ
ยาที่ รมต.ประกาศเป็ นยาแผนโบราณ (ยาสามัญประจาบ้าน 24 ขนาน)
3.หรื อยาที่ได้รับอนุญาต ให้ข้ ึนทะเบียนตารับยาเป็ นยาแผนโบราณ
3. “ยาอันตราย” หมายความว่า
ยาแผน...โบราณที่ รมต.ประกาศเป็ นยาอันตราย
4. “ยาควบคุมพิเศษ” หมายความว่า
ยาแผน...โบราณที่ รมต.ประกาศเป็ นยาควบคุมพิเศษ
5. “ยาใช้ ภายนอก” หมายความว่า
ยาแผน...โบราณที่ รมต.ประกาศเป็ นยาที่มุ่งใช้ภายนอกแต่ไม่รวมถึงยาใช้เฉพาะที่

1
2
6. “ยาสามัญประจาบ้ าน” *** หมายความว่า
ยาแผน...โบราณ ที่ รมต.ประกาศเป็ นยาสามัญประจาบ้ าน
7. “ยาบรรจุเสร็จ” *** หมายความว่า
ยาแผน...โบราณที่ผลิตขึ้นเสร็ จ ในรู ปต่างๆ ทางเภสัชกรรม ซึ่ง
บรรจุในภาชนะหรื อหี บห่อที่ปิดหรื อผนึกไว้และมีฉลากครบถ้วน ตาม พรบ.นี้
8. “ยาสมุนไพร” *** หมายความว่า
ยาที่ได้จากพฤกษาชาติ สัตว์ หรื อแร่ ซึ่งมิได้ผสม ปรุ ง หรื อแปรสภาพ
9. “ผลิต” *** หมายความว่า
ทา ผสม ปรุง หรื อแปรสภาพ และหมายความรวมถึงเปลีย่ นรู ปยา แบ่ งยา
โดยมีเจตนาให้ เป็ นยาบรรจุเสร็จ จะมีฉลากหรื อไม่ ก็ตาม
10. “สารออกฤทธิ์” *** หมายความว่า
วัตถุ อันเป็ นส่วนประกอบที่สาคัญของยา ที่สามารถมีฤทธิ์ บาบัด บรรเทา รักษา
หรื อป้ องกันโรค หรื อความเจ็บป่ วยของมนุษย์หรื อสัตว์
11. “ความแรงของสารออกฤทธิ์” *** หมายความว่า
1.ความเข้มข้นของยา ที่มีปริ มาณของสารออกฤทธิ์ ระบุเป็ นน้ าหนักต่อน้ าหนักหรื อ
น้ าหนักต่อปริ มาตร หรื อปริ มาณของสารออกฤทธิ์ต่อหนึ่งหน่วยการใช้
2.การแสดงฤทธิ์ทางการรักษาโรค ของยาตามที่ได้มีการทดสอบในห้องปฏิบตั ิการด้วยวิธีที่
เหมาะสม หรื อได้ผา่ นการควบคุมการใช้รักษาโรคอย่างได้ผลเพียงพอ
12.“ขาย” *** หมายความว่า
ขายปลีก ขายส่ง จาหน่าย จ่าย แจก แลกเปลี่ยน เพื่อประโยชน์ในทางการค้า รวมทั้งมีไว้เพื่อขายด้วย
13.“ขายส่ ง” *** หมายความว่า
ขายตรงต่อผูร้ ั บอนุ ญ าตขายส่ งยา กระทรวง ทบวง กรม...องค์การเภสัชกรรม ผูไ้ ด้รับ อนุ ญ าตให้
ดาเนินการสถานพยาบาล ผูป้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรม .....
14. “ด่ านนาเข้ า” *** หมายความว่า
ท่าหรื อที่แห่งใดในราชอาณาจักร ทีร่ มต.ประกาศในราชกิจจา ให้เป็ นด่านตรวจสอบยาที่นา
หรื อสัง่ เข้ามาในราชอาณาจักร
15. “ฉลาก” *** หมายความว่า รอยประดิษฐ์ เครื่ องหมาย หรื อข้อความใดๆซึ่งแสดงไว้ที่ภาชนะหรื อ
หี บห่อบรรจุยา
16.“เอกสารกากับยา” *** หมายความว่า
กระดาษหรื อ วัต ถุ อื่ น ใดที่ ท าให้ การปรากฏความหมายด้วยรู ป รอยประดิ ษ ฐ์ เครื่ อ งหมาย หรื อ
ข้อความใดๆ เกี่ยวกับยาที่สอดแทรก หรื อรวมไว้กบั ภาชนะหรื อหี บห่อบรรจุยา
17.“ตารับยา” *** หมายความว่า
สูตรซึ่งระบุส่วนประกอบ สิ่ งปรุ งที่มียารวมอยูด่ ว้ ย ไม่วา่ สิ่ งปรุ งนั้นมีรูปลักษณะอย่างใด และ
ให้ความหมายรวมถึง ยาที่มีลกั ษณะเป็ นวัตถุสาเร็ จรู ป ทางเภสัชกรรมซึ่งพร้อมที่จะ นาไปใช้แก่มนุษย์หรื อสัตว์
ได้

2
3
18. “ผู้รับอนุญาต” หมายความว่า
ผูไ้ ด้รับใบอนุญาตตาม พรบ.นี้ ในกรณี นิติบุคคล เป็ นผูร้ ับอนุญาค ให้รวมถึงผูจ้ ดั การหรื อผูแ้ ทนนิ ติ
บุคคลซึ่งเป็ นผูด้ าเนินกิจการด้วยคุณสมบัติ ดังนี้
1. เป็ นเจ้าของกิจการ หรื อมีทรัพย์สินพอดาเนินกิจการได้
2. อายุ 20 ปี
3. มีถิ่นที่อยูใ่ นประเทศไทย
4. ไม่เคยรับโทษจาคุก
5. ไม่เป็ นคนวิกลจริ ต หรื อคนไร้ความสามารถ หรื อเสมือนไร้ความสามารถ
6. ไม่เป็ นโรคตามที่รัฐมนตรี กาหนด
7. มีสถานที่ผลิต ขาย นาหรื อสัง่ เข้ามาในราชอาณาจักร สถานที่เก็บยาสะอาด
8. ไม่ใช้ชื่อซ้ าหรื อคล้ายกับชื่อที่ถูกเพิกถอนหรื อพักใบอนุญาต
19.“ผู้อนุญาต”หมายความว่า
1.เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยาหรื อผูไ้ ด้รับมอบหมาย สาหรับการอนุญาตผลิตยา หรื อ
การนา หรื อสัง่ ยาเข้ามาในราชอาณาจักร
2.เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยาหรื อผูไ้ ด้รับมอบหมาย สาหรับการอนุญาตขายยาในเขตกทม.
3.ผูว้ า่ ราชการจังหวัด สาหรับการอนุญาตขายยาจังหวัดที่อยูใ่ นเขตอานาจนอกจากกทม.
“คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการยา ตาม พ.ร.บ.นี้
“พนักงานเจ้ าหน้ าที”่ หมายความว่า ผู้ซึ่ง รมต.แต่ งตั้งให้ปฏิบตั ิการตาม พ.ร.บ. นี้

3
4
คณะกรรมการยา
6.คณะกรรมการยาประกอบด้วย (ม.6) จานวน 19-23 คน
1. ปลัดกระทรวงสาธารณสุข เป็ นประธาน(โดยตาแหน่ง)
2. รองเลขาธิการ อ.ย. กรรมการและเลขาธิการ
3. ผอ.กองควบคุมยา สนง.คณะกรรมการ อ.ย. กรรมการและผูช้ ่วยเลขานุการ
4. อธิบดี กรมการแพทย์ กรรมการ
5.อธิบดี กรมควบคุมโรคติดต่อ กรรมการ
6. อธิบดี กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรรมการ
7. อธิบดี กรมอนามัย กรรมการ
8.เลขา อ.ย. กรรมการ
9. ผูแ้ ทนกระทรวงกลาโหม กรรมการ
10. ผูแ้ ทนกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรรมการ
11.ผูแ้ ทน สนง.คณะกรรมการกฤษฎีกา กรรมการ
12.ผอ.กองประกอบโรคศิลปะ กรรมการ
13.ผูแ้ ทนทบวง มหาวิทยาลัย ซึ่งแต่งตั้งจากผูด้ ารงตาแหน่งคณะบดีคณะเภสัช 2 คน กรรมกา
14.ผูท้ รงคุณวุฒิซ่ ึ ง รมต.แต่งตั้ง ไม่นอ้ ยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 9 คนในจานวนนี้ (อย่างน้อย 2 คนต้อง
เป็ นผูป้ ระกอบโรคแผนโบราณ) รวม (14+5 - 14+ 9) จานวน 19-23 คน
มีหน้ าที(่ มาตรา 10)
ให้ คาแนะนา หรื อความเห็น รวมทั้งกาหนดหลักเกณฑ์เงื่อนไขต่างๆ เกี่ยวกับ การผลิต การขาย การนาหรื อสั่ง
ยาเข้ามาในราชอาณาจักร การพักใช้หรื อเพิกถอนใบอนุ ญาต และการเพิกถอนทะเบี ยนตารับยา (ทั้งยาแผน
ปั จจุบนั และแผนโบราณ)
7. วาระการดารงตาแหน่ งของคณะกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ 2 ปี กรรมการซึ่ งพ้นตาแหน่ งอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้ (ม.7) 8.
การพ้นจากตาแหน่งของกรรมการผูท้ รงที่ไม่เป็ นไปตามวาระได้แก่(ม.8)
1. ตาย
2. ลาออก
3. รมต.ให้ออก
4. เป็ นบุคคลล้มละลาย
5.เป็ นคนไร้ คนเสมือนไร้
6.ได้รับโทษจาคุก โดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก
เว้นแต่ความผิดลหุโทษ ประมาท
7. ถูกสัง่ พักหรื อเพิกถอนใบประกอบโรคฯ
9. การประชุมคณะกรรมการ (ม.9)
องค์ประชุมต้องมีคณะกรรมการมาประชุมไม่ น้อยกว่ า 1/3 ของจานวนกรรมการทั้งหมด
ถ้าประธานไม่อยู่ ให้กรรมการที่มาเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็ นประธานในที่ประชุม
10. การวินิจฉัยชี้ขาด (ม.9วรรค 2)
ให้ถือเสี ยงข้างมาก 1คน 1 เสี ยง ถ้าเท่ากันให้ประธานออก เสี ยงเพิ่ม เป็ นเสี ยงชี้ขาด

4
5
11.หน้ าทีข่ องคณะกรรมการยา (ม.10)
ให้คาแนะนา หรื อความเห็นใน
1. การอนุญาตผลิตยา/ขายยา นาหรื อสัง่ ยาเข้ามาในราชอาณาจักรและการขึ้นทะเบียนตารับยา
2. การพักใช้/เพิกถอนใบอนุญาต/เพิกถอนทะเบียนตารับยา
3. กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไขการผลิตยา ขายยา นา/สัง่ เข้ายา การนายามาเป็ นตัวอย่างเพื่อตรวจ+
ตรวจสอบสถานที่ผลิตยา สถานที่ขายยา
12.คณะกรรมการยามีอานาจตั้งคณะอนุกรรมการได้(ม.11)
เพื่อพิจารณาศึกษา หรื อ วิจยั ในเรื่ องที่อยูใ่ น อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการ และให้นา
มาตรา 9 (เรื่ ององค์ประชุม) มาใช้บงั คับแก่การประชุมคณะอนุฯ

การขอ/ออกใบอนุญาตเกีย่ วกับยาแผนโบราณ
13. ห้ามผลิต ขาย หรื อนาหรื อสัง่ เข้ามาในราชอาณาจักร ซึ่งยาแผนโบราณ เว้นแต่ ได้รับอนุญาต(ม.46)
การขอการอนุญาตให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กาหนดใน กฎกระทรวง
ฝ่ าฝื นระวางโทษ จาคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 5 พันบาท (ม.111)
เมื่อมีการลงโทษ ให้ ริบยาเครื่ องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิตยารวมทั้งภาชนะ หี บห่อบรรจุ
ยาที่เกี่ยวเนื่องกับความผิดให้แก่กระทรวงสาธารณสุข เพื่อทาลายหรื อจัดการตมสมควร (ม.126)
14. ข้ อยกเว้ น (ม.46 ) ให้ ทาได้ ตาม(ม.47)
1.การผลิตยาโดย กระทรวง ทบวง กรม ในหน้าที่ป้องกัน บาบัด สภากาชาดไทย
องค์การเภสัชกรรม
2.การปรุงยาแผนโบราณตามตารายา โดยผูป้ ระกอบโรคศิลปะแผนโบราณ เพื่อขาย
สาหรับคนไข้ หรื อขายปลีก
3. ผูท้ ี่มีใบอนุญาตขายยาแผนปั จจุบนั สามารถขายยาแผนโบราณได้ดว้ ย(2ทวิ)
4.การขายยาสมุนไพรที่ไม่ใช่ยาอันตราย หรื อการขายยาสามัญประจาบ้าน
5.การนายาเข้ ามาในราชอาณาจักรเพื่อใช้ส่วนตัว ไม่เกินความจาเป็ นโดยนาเข้ามาเพื่อ
ใช้ ได้ ไม่ เกิน 30 วัน (หากมากกว่านี้ก็ต้องมีใบอนุญาต)
15.คุณสมบัตขิ องผู้ขอใบอนุญาต (ม.48)
*1. เป็ นเจ้าของกิจการ + มีทรัพย์สินพอที่จะตั้ง /ดาเนินกิจการได้
2. อายุไม่นอ้ ยกว่า 20 ปี บริ บูรณ์
3. มีถิ่นที่อยูใ่ นประเทศไทย
4. ไม่เคยได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุด หรื อคาสัง่ ที่ชอบด้วย กม.ให้จาคุก ใน
ความผิดที่ กม.บัญญัติให้ คือเป็ นการกระทาโดยทุจริ ตเป็ นองค์ประกอบ หรื อใน กม.
ยาเสพติด กม.ว่าด้วยวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท กม.ว่าด้วยการขายยาหรื อ
พ.ร.บ.นี้
เว้นแต่ พ้นโทษแล้วไม่นอ้ ยกว่า 2 ปี ก่อนวันขอรับใบอนุญาต
5.ไม่เป็ นบุคคลวิกลจริ ต หรื อคนไร้ฯ /คนเสมือนไร้ฯ
6.ไม่เป็ นโรคที่ รมต. กาหนด (7 โรค1.เรื้ อน 2.วัณโรคระยะอันตราย3.เท้าช้าง ระยะปรากฏอาการน่ารังเกียจ

5
6
4.ติดยาเสพติดให้โทษอย่างรุ นแรง5.พิษสุราเรื้ อรัง 6.คุดทะราดหรื อโรคผิวหนังน่ารังเกียจ7.โรคจิต)
7.มีสถานที่ผลิตยา / สถานที่ขายยา / สะอาด + ถูกสุขลักษณะ
8.ใช้ชื่อในการประกอบกิจการ ไม่ซ้ า หรื อคล้าย กับชื่อของผูร้ ับอนุญาตที่อยูร่ ะหว่างถูก
สัง่ พักใช้/เพิกถอนใบอนุญาตยังไม่ ครบ 1 ปี
9.มีผปู ้ ระกอบโรคศิลปะแผนโบราณอยูป่ ระจา ผูอ้ ยูป่ ระจาอยูไ่ ด้เพียงแห่งเดียว
10.กรณีผ้ขู อใบอนุญาตเป็ นนิตบิ ุคคล ผูจ้ ดั การหรื อผูแ้ ทนนิติบุคคล ซึ่งเป็ นผูด้ าเนินการ
ต้อง มีอายุ มีถิ่นที่อยู่ ไม่เคยได้รับโทษจาคุก เป็ นคนวิกล เป็ นคนไร้ คนเสมือนไร้และ
ไม่เป็ นโรค ตามข้อ 2 3 4 5 หรื อ 6

16.ประเภทใบอนุญาตยาแผนโบราณ (ม. 49)


มี 3 ประเภท คือ 1. ให้ผลิต 2. ให้ขาย 3. ให้นาหรื อสัง่ เข้ามาในราชอาณาจักร
ต้องได้รับใบอนุญาตก่อนจึงจะสามารถดาเนินการได้ (มาตรา 46) เช่น ต้องการจะกระทาการผลิตก็ตอ้ งขอ
ใบอนุญาตผลิต จะขายก็ตอ้ งขออนุญาตขาย แต่ ผ้ทู ไี่ ด้ ใบอนุญาตผลิต หรื อนาหรื อสั่งเข้ ามาฯ สามารถขายยาที่
ตนผลิตหรื อสั่งเข้ ามาได้ โดยไม่ตอ้ งขอใบอนุญาตขายอีก
ฝ่ าฝื น หากดาเนินการโดยไม่มีใบอนุญาต ผูก้ ระทามีโทษจาคุกไม่เกิน 3 ปี และปรับไม่เกิน
5 พันบาท (ม.111)
17.ใบอนุญาตยาแผนโบราณ(ม. 49) ให้คุม้ กันลูกจ้ างหรื อตัวแทนผู้รับอนุญาต(ม. 50)
คือให้ ถือว่ าเป็ นการกระทาของผูร้ ับอนุญาต เว้ นแต่พสิ ู จน์ ได้ ว่าเป็ นเหตุสุดวิสยั
18.อายุใบอนุญาตยาแผนโบราณ(ม. 51 วรรค 1)
ให้ใช้ได้ถึงวันที่ 31 ธันวาคม ของปี ที่ออกใบฯ
19.การยื่นคาขอต่ ออายุใบอนุญาตยา(ม. 51 วรรค 1)
ให้ยนื่ ก่อนหมดอายุ ยืน่ แล้วให้ขายได้ จนกว่ าจะสั่งไม่ ต่ออายุ
การขอต่อฯให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง(ม. 51 วรรค 2)
20.ต่ ออายุไม่ ทนั แต่ สิ้นอายุไม่ เกิน 1 เดือน ต่ อได้ พร้อมเหตุผลขอ (ม. 51 วรรค 3)
แต่การขอผ่อนผันไม่เป็ นเหตุให้พน้ ผิดสาหรับการขายที่ได้ทาไปก่อนขอต่อซึ่งถือว่าขายโดยใบอนุญาตขาดอายุ
21.ต่ ออายุไม่ ทนั และสิ้นอายุเกิน 1 เดือน ต่ อไม่ ได้(ม. 51วรรค 4)
22.ถ้ าผู้อนุญาต ไม่ ออกใบอนุญาต / ไม่ อนุญาตให้ ต่อ (ม. 52 วรรค 4)
ผู้ขอ /ผู้ขอต่ อ มีสิทธิอุทธรณ์ เป็ นหนังสื อ ต่อ รมต. ภายใน 30 วัน
นับแต่ วนั ได้ รับหนังสื อแจ้ งการไม่ ออกใบหรื อไม่ อนุญาตให้ ต่อ คาวินิจฉัยของ รมต.ให้ เป็ นทีส่ ุ ด
23. ถ้ าไม่ อนุญาตให้ ต่อ ใบผลิตยาฯ(ม. 52 วรรค 3)
ก่ อนทีจ่ ะมีคาวินิจฉัยอุทธรณ์ รมต.มีอานาจสั่งอนุญาตให้ ผลิตไปพลางก่ อนได้
เมื่อมีคาขอของผู้อุทธรณ์

6
7
หน้ าที่ของผู้รับใบอนุญาตเกีย่ วกับยาแผนโบราณ
24.ห้ ามผลิต /ขายยาแผนโบราณ นอกสถานที่ที่กาหนดไว้ในใบฯ เว้ นแต่ ขายส่ ง (ม. 53)
ฝ่ าฝื น โทษ ปรับ 1-3 พัน บาท ( ม.112)
25. ผูร้ ับอนุญาต ผลิตยาฯต้องมีผปู ้ ระกอบโรคประจาอยูต่ ลอดเวลาที่เปิ ดทาการ (ม. 54วรรค 1)
เป็ นผูม้ ีหน้าที่ปฏิบตั ิตาม ม.68 ถ้าผลิตเกิน 50 ตารับขึ้นไป ให้มีจานวนผูป้ ระกอบ
ตามที่กาหนดในกฎกระทรวง(ม. 54วรรค 2)
ฝ่ าฝื น โทษ จาคุกไม่เกิน 1 เดือน ปรับไม่เกิน 2 พัน บาทหรื อทั้งจา ทั้งปรับ และ
ให้ ปรับเป็ นรายวันอีก วันละ 100 บาท จนกว่าจนปฏิบตั ิให้ถูก ( ม.113)
26. ผูผ้ ลิตยาโดย ตอก อัดเม็ด เคลือบ และใช้เภสัชเคมีภณ ั ฑ์ในการทา รวมทั้งการใส่วตั ถุกนั เสี ย
ลงในยาต้องปฏิบตั ิตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดในกฎกระทรวง (ม. 54 ทวิ)
ฝ่ าฝื น โทษ ปรับไม่เกิน 5 พัน บาท ( ม.113)
27. ผูร้ ับอนุญาตขายยาฯต้องมีผปู ้ ระกอบโรคประจาอยูต่ ลอดเวลาที่เปิ ดทาการ (ม. 55)
เป็ นผูม้ ีหน้าที่ปฏิบตั ิตาม ม.69
ฝ่ าฝื น โทษ จาคุกไม่เกิน 1 เดือน ปรับไม่เกิน 2 พัน บาทหรื อทั้งจา ทั้งปรับ และ
ให้ ปรับเป็ นรายวันอีก วันละ 100 บาทจนกว่าจนปฏิบตั ิให้ถูก ( ม.113)
28.ผูร้ ับอนุญาตนาหรื อสั่งยาฯต้องมีผปู ้ ระกอบโรคประจาอยูต่ ลอดเวลาที่เปิ ดทาการ (ม. 56)
เป็ นผูม้ ีหน้าที่ปฏิบตั ิตาม ม.70
ฝ่ าฝื น โทษ จาคุกไม่เกิน 1 เดือน ปรับไม่เกิน 2 พัน บาทหรื อทั้งจา ทั้งปรับ และ
ให้ ปรับเป็ นรายวันอีก วันละ 100 บาทจนกว่าจนปฏิบตั ิให้ถูก ( ม.113)
29. หน้ าทีผ่ ้รู ับอนุญาตผลิตยาฯ (ม. 57)
1.จัดให้ มปี ้าย นอกอาคาร เห็นง่าย เพื่อ แสดงว่า เป็ นสถานทีผ่ ลิตยา แสดง
ชื่ อ- สกุลผู้มหี น้ าทีป่ ฏิบตั ิ โดยวัตถุที่ทาป้ าย ลักษณะป้ าย สี ป้าย ขนาดอักษรและ
ข้อความที่แสดงให้เป็ นไปตามกฏกระทรวง
2. จัดให้ มฉี ลากตามที่ข้ ึนทะเบียนตารับยา ไว้ที่ภาชนะและหี บห่อบรรจุที่ผลิตขึ้น
และในฉลากต้องแสดง
ก. ชื่อยา
ข. เลขที่หรื อรหัสใบสาคัญการขึ้นทะเบียนตารับยา
ค. ปริ มาณของยาที่บรรจุ
ง. เลขที่หรื ออักษรแสดงครั้งที่ผลิต
จ. ชื่อผูผ้ ลิตและจังหวัดแสดงที่ต้ งั สถานที่ผลิตยา
ฉ. วัน เดือน ปี ที่ผลิตยา
ช. คาว่า “ยาแผนโบราณ”ให้เห็นชัด
ซ. คาว่า “ยาใช้ภายนอก” หรื อ “ยาใช้เฉพาะที่”แล้วแต่กรณี ด้วยอักษรสี แดงเห็นได้ชดั ใน
กรณี เป็ นยาใช้ภายนอกหรื อยาใช้เฉพาะที่
ฌ. คาว่า “ยาสามัญประจาบ้าน” ในกรณี เป็ นยาสามัญประจาบ้าน
ญ. คาว่า “ยาสาหรับสัตว์” ในกรณี เป็ นยาสาหรับสัตว์

7
8
3. ใช้ฉลากและเอกสารกากับยา ตามที่ข้ ึนทะเบียนและข้อความต้องอ่านได้ชดั เจน
เอกสารกากับยาที่เป็ นภาษาต่างประเทศต้องแปลด้วย
4. ทาบัญชียาที่ผลิตและขาย ตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
5. การอื่นตามกฏกระทรวงกาหนด
30.กรณี ผลิตยาภาชนะบรรจุมีขนาดเล็ก จนไม่อาจแสดงฉลากที่มีขอ้ ความตาม 2(ตามที่กฎหมายกาหนด)ได้ท้ งั หมด ให้
ผูผ้ ลิตได้รับยกเว้นไม่ตอ้ งแสดงรายการดังนี้ ทั้งหมดหรื อข้อหนึ่งข้อใด เมื่อได้ รับอนุญาตแล้ ว(ม. 57วรรค 2)
ค.ปริ มาณของยาที่บรรจุ
ง.เลขที่หรื ออักษรแสดงครั้งที่ผลิต
จ.ชื่อผูผ้ ลิตและจังหวัดแสดงที่ต้ งั สถานที่ผลิตยา
ช.คาว่า “ยาแผนโบราณ”ให้เห็นชัด
ซ.คาว่า “ยาใช้ภายนอก” หรื อ “ยาใช้เฉพาะที่”แล้วแต่กรณี ด้วยอักษรสีแดงเห็นได้ชดั
ในกรณี เป็ นยาใช้ภายนอกหรื อยาใช้เฉพาะที่
ฌ.คาว่า “ยาสามัญประจาบ้าน” ในกรณี เป็ นยาสามัญประจาบ้าน
ญ.คาว่า “ยาสาหรับสัตว์” ในกรณี เป็ นยาสาหรับสัตว์
ฝ่ าฝื น โทษ ปรับ 1-5 พัน บาท ( ม.114)
31.กรณี เป็ นยาที่ผลิตเพื่อการส่ งออก ข้อความในฉลากและเอกสารกากับยาต้อง ระบุ ประเทศไทย
ส่วนข้อความอื่นจะขออนุญาตยกเว้ นก็ได้ แต่คาว่า ยาแผนโบราณ(ช) ยาใช้ภายนอก(ซ) ยา
สามัญประจาบ้าน(ฌ) ไม่ ต้องใส่ และไม่ ต้องขออนุญาตยกเว้ น (ม. 57วรรค 3)
32. หน้ าทีผ่ ้รู ับอนุญาตขายยาฯ (ม. 58)
1.จัดให้มีป้ายหน้าร้านขายยาตามที่ระบุในใบอนุญาต เห็นได้ง่ายนอกอาคารได้แก่ป้าย
แสดงว่าเป็ นสถานที่ขายยาและป้ ายแสดงชื่อตัว ชื่อสกุลของผูม้ ีหน้าที่ปฏิบตั ิและ
เวลาปฏิบตั ิการ วัตถุที่ใช้ทาป้ าย ลักษณะ สี ขนาดและข้อความเป็ นไปตามที่กาหนดใน กฏกระทรวง
2. จัดให้ ฉลากที่ภาชนะ หี บห่อบรรจุยาที่กาหนด ตาม 57(2)ครบ
ฝ่ าฝื น โทษ ปรับ 1-5 พัน บาท ( ม.114)
33. หน้ าทีผ่ ้รู ับอนุญาตนาหรื อสั่งยาฯ (ม. 59)
1.จัดให้มีป้ายหน้าร้านนาหรื อสัง่ ยาเข้าตามที่ระบุในใบอนุญาต เห็นได้ง่ายนอกอาคาร
ได้แก่ป้าย แสดงว่าเป็ นสถานที่นาหรื อสัง่ ยาเข้าและป้ ายแสดงชื่อตัว ชื่อสกุลของผูม้ ี
หน้าที่ปฏิบตั ิและเวลาปฏิบตั ิการ วัตถุที่ใช้ทาป้ าย ลักษณะ สี ขนาดและข้อความเป็ น
กฏกระทรวง
2.ในเวลาที่นาเข้าต้องจัดให้มีฉลากตามที่กาหนดไว้ใน ม. 57 (2)ที่ภาชนะ หี บห่อบรรจุยา
เว้นแต่ความใน (จ)ชื่อผูผ้ ลิตและจังหวัดแสดงที่ต้งั สถานที่ผลิตยา ให้ระบุชื่อเมืองและ
ประเทศทีต่ ้งั สถานทีผ่ ลิตยา แทนชื่อจังหวัด
3.ให้ระบุชื่อผู้นา หรื อสัง่ ยา เข้ามา และจังหวัดทีต่ ้งั สถานทีน่ าหรื อสัง่ ยาเข้า
4. ทาบัญชียาที่นาหรื อสัง่ เข้ามา และ ทีข่ ายและเก็บยาตัวอย่ าง ตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
ฝ่ าฝื น โทษ ปรับ 1-5 พัน บาท ( ม.114)

8
9
34. กรณี ยาทีน่ าเข้ าภาชนะบรรจุมขี นาดเล็ก จนไม่อาจแสดงฉลากที่มีขอ้ ความตาม 2(ตามที่กฎหมายกาหนด)ได้ท้ งั หมด
ให้นาหรื อสั่งยาฯ ได้รับยกเว้นไม่ตอ้ งแสดงรายการดังนี้ ทั้งหมดหรื อข้อหนึ่งข้อใด เมื่อได้ รับอนุญาตแล้ ว(ม. 59วรรค 2)
ค.ปริ มาณของยาที่บรรจุ
ง.เลขที่หรื ออักษรแสดงครั้งที่ผลิต
จ.ชื่อผูผ้ ลิตและจังหวัดแสดงที่ต้ งั สถานที่ผลิตยา
ช.คาว่า “ยาแผนโบราณ”ให้เห็นชัด
ซ.คาว่า “ยาใช้ภายนอก” หรื อ “ยาใช้เฉพาะที่”แล้วแต่กรณี ด้วยอักษรสีแดงเห็นได้ชดั
ในกรณี เป็ นยาใช้ภายนอกหรื อยาใช้เฉพาะที่
ฌ.คาว่า “ยาสามัญประจาบ้าน” ในกรณี เป็ นยาสามัญประจาบ้าน
ญ.คาว่า “ยาสาหรับสัตว์” ในกรณี เป็ นยาสาหรับสัตว์
ฝ่ าฝื น โทษ ปรับ 1-5 พัน บาท ( ม.114)
35.ยาที่นาหรื อสัง่ เข้ามาต้องผ่านการตรวจสอบของพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ ด่านตรวจสอบ..ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่
กาหนดในกฏกระทรวง(ม. 59ทวิ)
ฝ่ าฝื น โทษ ปรับ 2 พัน – 1หมื่นบาท ( ม.105 ทวิ)
36. กรณี ใบอนุญาตหายหรื อถูกทาลาย( ม.60)
ให้ผ้รู ับอนุญาต แจ้ง ต่อผูอ้ นุญาต และ ยืน่ คาขอรับใบแทน ภายใน 15 วันนับแต่ ทราบการ..
การขอรับหรื อออกใบแทนฯเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง
ฝ่ าฝื น โทษ ปรับ ไม่ เกิน1 พัน บาท ( ม.106)
37. ผูร้ ับอนุญาต ต้ องแสดงใบอนุญาตของตนและของผู้ประกอบฯ ( ม.61)
ติดไว้ในที่เปิ ดเผย เห็นง่ายที่สถานทีผ่ ลิต ขาย หรื อนาหรื อสั่งยาเข้ า
ฝ่ าฝื น โทษ ปรับ ไม่ เกิน 1 พัน บาท ( ม.106)
38. ห้ ามย้ ายสถานที่ ผลิต ขาย หรื อนาหรื อสัง่ ยาเข้า หรื อสถานที่เก็บยา ( ม.62)
เว้ นแต่ ได้รับอนุญาต การขอและการอนุญาต เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กาหนดใน
กฎกระทรวง
ฝ่ าฝื น โทษ ปรับตั้งแต่ 1-3 พัน บาท ( ม.112)
39. เมื่อผูร้ ับอนุญาต ประสงค์ เปลีย่ นตัวผูม้ ีหน้าที่ปฏิบตั ิตาม ม. 68(ผลิต)ม. 69(ขาย)ม. 70(นาหรื อสั่งเข้ า) ( ม.63)
ให้แจ้งเป็ นหนังสื อให้ผอู ้ นุญาตทราบและเปลีย่ นตัวได้ เมื่อได้ รับอนุญาตจากผูอ้ นุญาต
ฝ่ าฝื น โทษ ปรับ ไม่ เกิน 1 พัน บาท ( ม.106)
40. กรณี ผรู ้ ับอนุญาต ไม่มผี ้มู หี น้ าที่ ในวรรค 1( ม.63)
ให้แจ้งเป็ นหนังสื อให้ผอู ้ นุญาตทราบภายใน 7 วัน นับแต่วนั ที่ไม่มีผมู ้ ีหน้าที่ปฏิบตั ิการนั้น
ฝ่ าฝื น โทษ ปรับ ไม่ เกิน 1 พัน บาท ( ม.106)
41. กรณี ผ้มู หี น้ าทีป่ ฏิบตั ิ ในสถานที่ผลิต ขาย นาหรื อสัง่ เข้ายา( ม.63 ทวิ)
ไม่ อาจปฏิบตั หิ น้ าทีไ่ ด้ ชั่วคราว ไม่ เกิน 60 วัน ให้ผรู ้ ับอนุญาตจัดให้มีผมู ้ ีคุณสมบัติ เช่นเดียวกับผูม้ ีหน้าที่เข้า
ปฏิบตั ิแทน โดยให้ผรู ้ ับอนุญาต แจ้งเป็ นหนังสื อต่อผูอ้ นุญาตก่อนและให้ถือว่า ผูป้ ฏิบตั ิหน้าที่แทน เป็ นผูม้ ีหน้าที่ปฏิบตั ิ
การแจ้ งเป็ นหนังสื อให้เป็ นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกาหนด
ฝ่ าฝื น โทษ ปรับ ไม่ เกิน 500 บาท ( ม.114 ทวิ)

9
10
42. กรณี ผ้มู หี น้ าที่ ไม่ อยากปฏิบตั หิ น้าที่ต่อไป( ม.64)
ต้องแจ้ งเป็ นหนังสื อให้ผอู ้ นุญาตทราบ ไม่ เกิน 7 วัน นับแต่วนั ที่ พ้นหน้าที่
ฝ่ าฝื น โทษ ปรับ ไม่ เกิน 500 บาท ( ม.108)
43. กรณี ผรู ้ ับอนุญาต เลิกกิจการ( ม.65)
ต้องแจ้ งการเลิก เป็ นหนังสื อ ให้ผอู ้ นุญาตทราบ ไม่ เกิน 15 วัน นับแต่ วนั เลิกกิจการ
และให้ ถือว่ า ใบอนุญาตหมดอายุต้งั แต่ วนั เลิกกิจการตามทีแ่ จ้ ง
ฝ่ าฝื น โทษ ปรับ ไม่ เกิน 1 พันบาท ( ม.106)
44. ผูร้ ับอนุญาต ที่แจ้งการเลิกกิจการจะขายยาของตน ทีเ่ หลืออยู่ ( ม.66)
แก่ ผ้รู ับอนุญาตอื่นหรื อแก่ผซู ้ ่ ึงผูอ้ นุญาตเห็นสมควร ภายใน 90 วันนับแต่ วนั เลิกกิจการ
เว้ นแต่ ผูอ้ นุญาตจะผ่อนผันขยายระยะเวลาดังกล่าวให้
45. ผูร้ ับอนุญาต ตาย( ม.67)
และมีบุคคลซึ่งมีคณ ุ สมบัตฯิ แสดงความจานง ต่ อผู้อนุญาต ภายใน 30 วันนับแต่ ตาย
เพื่อขอดาเนินกิจการต่ อ ให้ผแู ้ สดงความจานงดาเนินกิจการต่อไปจนกว่าใบอนุญาตสิ้นสุด
กรณี น้ ีให้ถือว่าผูแ้ สดงความจานง เป็ นผู้รับอนุญาต ตั้งแต่ วนั ทีต่ าย

10
11
หน้ าที่ของผู้ประกอบโรคศิลปะแผนโบราณ
45.หน้าที่ ของผูป้ ระกอบฯที่ประจาอยูส่ ถานที่ผลิตยาตลอดเวลาที่เปิ ดทาการ( ม.68)
ควบคุมการผลิตยาให้ถูกต้องตามตารับยาที่ได้ข้ ึนทะเบียน /การปฎิบตั ิเกี่ยวกับฉลาก/
เอกสารกากับยา/การแบ่ง บรรจุและปิ ดฉลากที่ภาชนะ/หี บห่อ/การขาย/การทาบัญชี
ฝ่ าฝื น โทษ ปรับตั้งแต่ 5 ร้ อย - 2 พัน บาท ( ม.115)
46.หน้าที่ ของผูป้ ระกอบฯที่ประจาอยูส่ ถานที่ขายตลอดเวลาที่เปิ ดทาการ( ม.69)
ควบคุม การปฎิบตั ิเกี่ยวกับฉลาก/ การขาย
ฝ่ าฝื น โทษ ปรับตั้งแต่ 5 ร้ อย - 2 พัน บาท ( ม.115)
47.หน้าที่ ของผูป้ ระกอบฯที่ประจาอยูส่ ถานที่นา หรื อสั่งยาเข้ าตลอดเวลาที่เปิ ดทาการ( ม.70)
ควบคุม ยาที่นา หรื อสัง่ เข้า ให้ถูกต้องตามตารับยา/ การปฏิบตั ิเกี่ยวกับฉลาก/การปฏิบตั ิ
เกี่ยวกับเอกสารกากับยา/ การขาย/การทาบัญชี/การจัดเก็บยาที่นา/สัง่ เข้า
ฝ่ าฝื น โทษ ปรับตั้งแต่ 5 ร้ อย - 2 พัน บาท ( ม.115)
48. ห้ ามผู้ประกอบปฏิบตั หิ น้ าทีโ่ ดยไม่ มชี ื่ อ ในสถานที่ผลิต ขาย นาหรื อสัง่ เข้า( ม.71)
ฝ่ าฝื น โทษ ปรับตั้งแต่ 5 ร้ อย - 2 พัน5ร้ อย บาท ( ม.116)

11
12
ยาปลอม ยาผิดมาตรฐาน ยาเสื่ อมคุณภาพ
49. ห้ าม ผลิต ขาย สั่ง หรื อนาเข้ า ยาดังนี(้ ม.72)
1.ยาปลอม
ผลิตยาปลอม ม.72(1)
ฝ่ าฝื น โทษ( ม.117) จาคุกตั้งแต่ 3 ปี -ตลอดชีวติ และ ปรับตั้งแต่ 1 - 5 หมื่น บาท
โทษต่อเนื่อง( ม.126) เมื่อมีการลงโทษ ให้ริบยาเครื่ องมือ และอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิตยา
รวมทั้งภาชนะ หรื อหีบห่อบรรจุยา ที่เกี่ยวเนื่องกับความผิดในคดี ให้แก่กระทรวงสาธารณสุข เพื่อ
ทาลายเสี ย หรื อจัดการตามที่เห็นสมควร
ขาย นา สั่ งเข้ า ยาปลอม ม.72(1)
ฝ่ าฝื น โทษ( ม.119) จาคุกตั้งแต่ 1 – 20 ปี และ ปรับตั้งแต่ 2 พัน - 1 หมื่น บาท
ถ้ าผู้กระทาการ ไม่ รู้ ว่าเป็ น ยาปลอม โทษ( ม.119วรรค2) ปรับตั้งแต่ 1 - 5 พัน บาท
2.ยาผิดมาตรฐาน
ผลิตยาผิดมาตรฐาน ม.72(2)
ฝ่ าฝื น โทษ( ม.118) จาคุกตั้งแต่ 2 – 5 ปี และ ปรับตั้งแต่ 4 พัน - 2 หมื่น บาท
ขาย นา สั่ งเข้ า( ม.120) ยาผิดมาตรฐาน ม.72(2)
ฝ่ าฝื น โทษจาคุกไม่เกิน 3 ปี และ ปรับไม่ เกิน 5 พัน บาท
ถ้ าผู้กระทาการ ไม่ รู้ ว่าเป็ น ยาผิดมาตรฐาน โทษ( ม.120วรรค3) ปรับไม่ เกิน5 พันบาท
3.ยาเสื่ อมคุณภาพ
ขาย นา สั่ งเข้ า ยาเสื่ อมคุณภาพ ม.72(3)
ฝ่ าฝื น โทษ(ม.121) จาคุกไม่เกิน 1 ปี หรื อ ปรับไม่ เกิน 3พัน บาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
ถ้าผูก้ ระทาการ ไม่ รู้ ว่าเป็ นยาเสื่ อมคุณภาพ ต้องระวางโทษ ปรับไม่ เกิน 3 พัน บาท
4.ยาทีม่ ิได้ ขน
ึ้ ทะเบียนตารับยาม.72(4)
ยกเว้ น ใช้ในการป้ องกัน บาบัดโรค ของสภาการชาดไทย องค์การเภสัช
กรรม กระทรวง ทบวง กรม
ผลิตยาที่มิได้ข้ ึนทะเบียนตารับยา ม.72(4)
ฝ่ าฝื น โทษ( ม.122)จาคุกไม่ เกิน 3 ปี หรื อ ปรับไม่ เกิน 5 พันบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
ขาย นาหรื อสั่ งเข้ ายาที่มิได้ข้ ึนทะเบียนตารับยา ม.72(4)
ฝ่ าฝื น โทษ( ม.122)จาคุกไม่ เกิน 3 ปี หรื อ ปรับไม่ เกิน 5 พันบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ

12
13

5.ยาทีท
่ ะเบียนตารับยาถูกยกเลิกม.72(5)
ผลิตยาที่ทะเบียนตารับยาถูกยกเลิก ม.72(5)
ฝ่ าฝื น โทษ( ม.118 วรรค 2)จาคุกไม่ เกิน 2ปี หรื อ ปรับไม่ เกิน 2 หมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
ขาย นาหรื อสั่ งเข้ ายาที่ทะเบียนตารับยาถูกยกเลิก ม.72(5)
ฝ่ าฝื น โทษ( ม.120 วรรค 2)จาคุกไม่ เกิน 1 ปี หรื อ ปรับไม่ เกิน 1หมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
ถ้ าผู้ขาย นาหรื อสัง่ เข้า ไม่รู้ ว่าเป็ นยาทีท่ ะเบียนตารับยาถูกยกเลิก
ต้ องระวางโทษ ปรับไม่ เกิน 5 พัน บาท( ม.120 วรรค 3)
6.ยาที่ รมต สั่งเพิกถอนทะเบียนตารับยาม.72(6)
ผลิตยาที่รมต สั่งเพิกถอนทะเบียนตารับยา ม.72(6)
ฝ่ าฝื น โทษ( ม.118) จาคุกตั้งแต่ 2 – 5 ปี และ ปรับตั้งแต่ 4 พัน - 2 หมื่น บาท
ขาย นาหรื อสั่ งเข้ ายาที่ รมต สั่งเพิกถอนทะเบียนตารับยา ม.72(6)
ฝ่ าฝื น โทษ( ม.120)จาคุกไม่ เกิน3 ปี และปรับไม่เกิน5 พันบาท ( ม.120)
ถ้ าผู้ขาย นาหรื อสัง่ เข้า ไม่รู้ ว่าเป็ นยาทีท่ ะเบียนตารับยาถูกยกเลิก
ต้ องระวางโทษ ปรับไม่ เกิน 5 พัน บาท( ม.120 วรรค 3)
50.ยาปลอม (ม.73) คือ
1. ยา หรื อวัตถุที่ ทาเทียมทั้งหมด/ หรื อบางส่วน ว่ าเป็ นยาแท้
2. ยาที่แสดง ชื่อ ว่าเป็ นยาอื่น หรื อ แสดง ว.ด.ป. ที่สิ้นอายุ ไม่ จริง
3. ยาที่แสดง ชื่อ / เครื่ องหมาย ของผูผ้ ลิต หรื อที่ต้งั ไม่ จริง
4. ยาที่แสดงว่า เป็ นยาขึ้นทะเบียนตามตาหรับไว้ ซึ่งไม่ จริง
5. ยาผลิตไม่ตรงกับมาตรฐาน ซึ่งปริมาณ/ความแรงของสารออกฤทธิ์ ขาดหรื อเกินจากเกณฑ์ ร้อยละ 20
จากเกณฑ์ต่าสุดหรื อสูงสุด ซึ่งกาหนดไว้ในตารับยาที่ข้ นึ ทะเบียนไว้
การผลิตยาปลอม ม.72(1)
โทษตาม ม.117 วรรค1 จาคุกตั้งแต่ 3 ปี -ตลอดชีวติ และ ปรับตั้งแต่ 1 - 5 หมื่น บาท
การผลิตยาปลอมม.72(2) (3) (4)ทีม่ ีลกั ษณะ ตาม
(2) แสดง ชื่อ ว่าเป็ นยาอื่น หรื อ แสดง ว.ด.ป. ที่สิ้นอายุ ไม่ จริง
(3) แสดง ชื่อ / เครื่ องหมาย ของผูผ้ ลิต หรื อที่ต้ งั ไม่ จริง
(4) แสดงว่า เป็ นยาขึ้นทะเบียนตามตารับไว้ ซึ่งไม่ จริง
อันเป็ นการฝ่ าฝื นม.72(1)ถ้าผูผ้ ลิตสามารถพิสูจน์ได้วา่ ยานั้นไม่ถึงกับเป็ นอันตรายต่อผูใ้ ช้
โทษตาม ม.117 วรรค2 จาคุกไม่เกิน 5 ปี และปรับไม่เกิน 20,000 บาท
โทษต่ อเนื่อง( ม.126) เมื่อมีการลงโทษ ให้ริบยาเครื่ องมือ และอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิตยารวมทั้ง
ภาชนะ หรื อหี บห่อบรรจุยา ที่เกี่ยวเนื่องกับความผิดในคดี ให้แก่กระทรวงสาธารณสุข เพื่อทาลายเสี ย
หรื อจัดการตามที่เห็นสมควร

13
14
51. ยาผิดมาตรฐาน (ม.74) คือ
1.ยาที่ผลิตขึ้นไม่ถูกต้องตามมาตรฐาน โดยปริ มาณ/ความแรงของสารออกฤทธิ์ ขาดหรื อ
เกินจากเกณฑ์ต่าสุดหรื อสูงสุ ดที่กาหนดไว้ในตารับยาแต่ไม่ถึงขนาดเป็ นยาปลอม
2.ยาที่ผลิตขึ้นโดยความบริ สุทธิ์หรื อลักษณะอื่นซึ่งมีความสาคัญต่อคุณภาพของยาผิดไป
จากเกณฑ์ที่กาหนดไว้ในตารับยา
52. ยาเสื่ อมคุณภาพ (ม.75) คือ
1.ยาสิ้นอายุตามที่แสดงไว้ในฉลาก
2.ยาที่แปรสภาพจนมีลกั ษณะเช่นเดียวกันกับยาปลอม ตาม ม.73(5) (ผลิตไม่
ถูกต้องตามมาตรฐานถึงขนาดที่ปริ มาณ/ความแรงของฤทธิ์ยาขาดหรื อเกินกว่า
ร้อยละ 20จากเกณฑ์) หรื อยาผิดมาตรฐาน ม.74
53. ห้ ามขายยาชุด (ม.75 ทวิ)
ห้ามขายยาชุด (ยาบรรจุเสร็ จ หลายขนาน จัดชุด คราวเดียวกัน) ให้ผซู ้ ้ือใช้รวมกันเพื่อ
บาบัด บรรเทา รักษาหรื อป้ องกันโรค หรื ออาการของโรค
ยกเว้น เภสัชกรชั้น 1 ผูป้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรม ทันตกรรม การบาบัดโรคสัตว์
ฝ่ าฝื น โทษ( ม.122 ทวิ)จาคุกไม่ เกิน 5 ปี หรื อ ปรับไม่ เกิน 5หมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ

14
15
การประกาศเกีย่ วกับยา
54. ให้ รมต.มีอานาจ ประกาศในราชกิจจา(ม.76 ) (โดยคาแนะนาของ คณะกรรมการ (ม.78)
1. ตารายา
2.วัตถุที่เป็ นยา
3.ยาที่เป็ นยาอันตราย
4.ยาที่เป็ นยาควบคุมพิเศษ
5.ยาที่เป็ นยาสามัญประจาบ้าน
6.ยาที่เป็ นยาแผนโบราณ
7.ยาที่ตอ้ งแจ้งกาหนดสิ้นอายุไว้ในฉลากยา
8.อายุการใช้ของยาบางชนิด
9.ยาที่ตอ้ งแจ้งคาเตือนการใช้ยาไว้ในฉลากและที่เอกสารกากับยาและข้อความของคาเตือน
กรณี ที่รมต.ประกาศอายุการใช้ยา ตามข้อ 8แล้วถ้าผูร้ ับอนุญาตผลิต สามารถพิสูจน์ /
ทดสอบโดยมีหลักฐานชัดจากการวิจยั ว่ายา มีอายุการใช้เกินกว่าที่ รมต.ประกาศตามข้อ 8
ให้ รมต. โดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการมีอานาจขยายอายุการใช้ยานั้นเฉพาะราย
โดยประกาศในราชกิจจา
55.ให้ รมต.มีอานาจ ประกาศในราชกิจจา(โดยคาแนะนาของ คณะกรรมการ (ม.78) (ม.77 )
ระบุโรค/อาการโรคทีห่ ้ ามโฆษณายาว่าสามารถใช้ บาบัด บรรเทา รักษาหรื อป้ องกันโรคหรื อ
อาการของโรคนั้น
56.กาหนดจานวนสถานทีข่ ายยา(ม.77 ทวิ)
รมต.โดยคาแนะนาของ คณะกรรมการ มีอานาจกาหนดจานวนสถานที่ขายยา ที่จะอนุญาตให้ต้ งั ในท้องที่ใด
ท้องที่หนึ่งโดยประกาศในราชกิจจา เพื่อประโยชน์ แห่ งการคุ้มครองสวัสดิภาพของประชาชน
57.กาหนดด่ านนาเข้ า(ม.77 ตรี )
รมต.(โดยคาแนะนาของ คณะกรรมการ (ม.78)มีอานาจประกาศในราชกิจจา กาหนดด่านนาเข้าเพือ่ ประโยชน์
ในการควบคุมยาที่นา หรื อสัง่ เข้ามาในราชอาณาจักร

15
16
การขึน้ ทะเบียนตารับยา
58.ขั้นตอนการขออนุญาต ผลิต นา หรื อสั่งยาเข้ า(ม.79)
ต้ องนาตารับยา ไปขอขึน้ ทะเบียน ต่ อ พนง.จนท. เมื่อได้ รับใบสาคัญการขึน้ ทะเบียนแล้ ว จึงจะ
ผลิต นา หรื อสั่งยาเข้ าได้
ฝ่ าฝื นไม่นาตารับยาไปขอขึ้นทะเบียน
โทษ จาคุกไม่เกิน 3 ปี หรื อปรับไม่เกิน5 พันบาทหรื อทั้งจาทั้งปรับ(ม.123)
59.ข้ อยกเว้ น ไม่ ต้องขอขึน้ ทะเบียนตารับยา(ม.79 ทวิ)
1.ยาที่เป็ นเภสัชเคมีภณั ฑ์ หรื อเภสัชเคมีภณ
ั ฑ์สาเร็ จรู ป ที่ไม่ใช่ยาบรรจุเสร็ จ
2.ยาสมุนไพร
3.ยาตัวอย่าง ที่ได้รับอนุญาต ผลิต นา หรื อสัง่ เข้าเพื่อขอขึ้นทะเบียน
4.ยาที่รมต.อนุญาตให้นาหรื อสัง่ เข้า(คณะกรรมการเห็นชอบ)ตามที่ประกาศในราชกิจจา
60.รายละเอียดทีต่ ้ องแจ้ งเมื่อขอขึน้ ทะเบียนตารับยา(ม.80)
1.ชื่ อยา
2.ชื่ อและปริมาณวัตถุส่วนประกอบยา
3.ขนาดบรรจุ
4.วิธีวเิ คราะห์ มาตรฐานยาแผนปัจจุบัน กรณีใช้ วธิ ีนอกจากตาราที่ รมต.ประกาศ
5.ฉลาก
6.เอกสารกากับยา
7.รายการอื่นตามทีก่ าหนดในกฎกระทรวง
61.การแก้ รายการทะเบียนตารับยา ต้องได้รับอนุญาต จาก พนง.จนท.(ม.81)
ฝ่ าฝื นไม่ขออนุญาตแก้รายการตารับยา
โทษ ปรับไม่เกิน1 พันบาท(ม.106)
62.การขอขึน้ /แก้ ไขรายการทะเบียน/การออกใบสาคัญฯให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์วธิ ีการและเงื่อนไข
ทีก่ าหนดในกฏกระทรวง(ม.82)
63.ข้ อห้ ามไม่ ให้ พนง.จนท.รับขึน้ ทะเบียนตารับยา เมื่อคณะกรรมการเห็นว่า (ม.83)และข้อห้ามนี้ให้ใช้บงั คับ
แก่การแก้ไขรายการในทะเบียนตารับยา(ม.84)
1.ยาที่ระบุ ใน ม.72(1)(ยาปลอม)หรื อ(6)(ยาที่รมต.สัง่ เพิกถอนทะเบียนตารับยา)
2.การขอขึ้นทะเบียนไม่เป็ นไปตาม(ม.80) ไม่แจ้งรายละเอียด(ม.82)ไม่เป็ นไปตามหลักเกณฑ์
วิธีการและเงื่อนไขที่กาหนดในกฏกระทรวง
3.ยานั้น สรรพคุณไม่น่าเชื่อถืออาจไม่ปลอดภัย
4.ยานั้น ใช้ชื่อโอ้อวด ไม่สุภาพ อาจทาให้เข้าใจผิด
5.ยา ใช้ชื่อไม่เหมาะกับวัฒนธรรมไทย ส่อทางทาลายภาษาไทย
คาสัง่ ไม่รับขึ้นทะเบียนตารับยาของพนงจนท.ให้ เป็ นทีส่ ุ ด

16
17
64.หน้ าทีข่ องผู้รับอนุญาตผลิต นา สั่งยาเข้ า (ม.85)
ให้รายงานประจาปี ในการ ผลิต นา สัง่ ยาเข้า ภายใน 31 มีค ของปี ถัดไป ยาที่ข้ นึ ทะเบียนตารับยาไว้แต่ไม่มี
การผลิต นา สัง่ เข้า 2 ปี ติดต่อกันให้ทะเบียนตารับยานั้นเป็ นอันยกเลิกไป
ฝ่ าฝื นไม่ส่งรายงาน
โทษ ปรับตั้งแต่ 1-5 พันบาทและให้ปรับเป็ นรายวันอีกวันละ 100 บาท จนกว่ าจะปฏิบัตใิ ห้ ถูกต้ อง(ม.123 ทวิ)
ฝ่ าฝื น ส่งรายงานเท็จ
โทษ จาคุกไม่เกิน 3 เดือนหรื อปรับไม่เกิน5 พันบาทหรื อทั้งจาทั้งปรับ(ม.123 ตรี )
65. รมต.โดยคาแนะนาของคณะกรรมการ มีอานาจสัง่ เพิกถอนทะเบียนตารับยาโดยประกาศในราชกิจจา
และคาสัง่ รมต.ให้เป็ นที่สุด(ม.86)
เมื่อพบว่า ยานั้นไม่มีสรรพคุณตามที่ได้ข้ นึ ทะเบียน /อาจไม่ปลอดภัยแก่ผใู ้ ช้/เป็ นยาปลอมตาม (ม.72(1))
/ ยานั้นเปลี่ยนเป็ นวัตถุมุ่งหมายสาหรับใช้เป็ นอาหารหรื อเครื่ องสาอาง
โดยได้รับใบอนุญาตผลิตเพื่อจาหน่ายซึ่ง อาหารที่ควบคุมเฉพาะ หรื อได้รับใบสาคัญการ
ขึ้นทะเบียนเครื่ องสาอาง
64.รมต.โดยคาแนะนาของคณะกรรมการ มีอานาจสัง่ แก้ไขทะเบียนตารับยาตามที่เห็นสมควรหรื อจาเป็ น
เพื่อคุม้ ครองความปลอดภัยผูใ้ ช้ยา (ม.86 ทวิ)
65.ใบสาคัญการขึน้ ทะเบียนตารับยาสู ญหายหรื อถูกทาลาย(ม.87)
ให้ผรู ้ ับอนุญาตแจ้งต่อ พนง.จนทและยืน่ คาขอรับใบแทนภายใน 15 วันนับแต่ทราบว่าหาย
การขอรับและออกใบแทนเป็ นไปตามหลักเกณฑ์วธิ ีการที่กาหนดในกฎกระทรวง
ฝ่ าฝื นไม่ปฏิบตั ิตาม
โทษ ปรับไม่เกิน1พันบาท(ม.106)

17
18
การโฆษณา
66. การโฆษณาขายยาต้อง(ม.88)
1.ไม่โอ้อวดสรรพคุณยา/วัตถุส่วนประกอบยา ว่า สามารถ บาบัด บรรเทา รักษา ป้ องกันได้หายขาดหรื อใช้คา
ทานองเดียวกัน
2. ไม่แสดงสรรพคุณยา เท็จหรื อเกินจริ ง
3. ไม่ทาให้เข้าใจผิดว่า มีตวั ยาหรื อส่วนประกอบของยาทั้งๆที่ไม่มี หรื อมีแต่นอ้ ยกว่าที่ทาให้เข้าใจ
4. ไม่ทาให้เข้าใจว่า เป็ นยา ทาให้แท้งหรื อขับระดูอย่างแรง
5. ไม่ทาให้เข้าใจว่า เป็ นยา บารุ งกามหรื อยาคุม
6. ไม่แสดงสรรพคุณยาอันตราย หรื อยาควบคุมพิเศษ
7. ไม่มีการรับรอง หรื อยกย่องสรรพคุณยา โดยบุคคลอื่น
8. ไม่แสดงสรรพคุณยาว่า สามารถ บาบัด รักษาหรื อป้ องกันโรค หรื ออาการของโรค ที่ รมต ประกาศ
ตาม ม.77(ให้ รมต.มีอานาจประกาศในราชกิจจาระบุโรค หรื ออาการของโรคที่หา้ มโฆษณาว่า
สามารถใช้บาบัดรักษา บรรเทาหรื อป้ องกันอาการของโรคได้)
ฝ่ าฝื น โฆษณาขายยา ตาม ม.88
โทษ ปรับไม่ เกิน 1 แสนบาท (ม.124)
ข้ อยกเว้ น
1.ถ้าเป็ นข้อความในฉลากหรื อเอกสารกากับยา มีคาว่า ยาบารุ งกาม ยาคุม ยาอันตราย ยาควบคุมพิเศษ ได้
2. ถ้าเป็ นหมอ หรื อสัตวแพทย์ สามารถโฆษณาโดยแจ้งต่อคนไข้โดยตรงได้หมดยกเว้น ข้อ 2และ 3ข้างบน
67. การโฆษณาขายยาทาง วิทยุ เครื่ องเสี ยง โทรทัศน์ ภาพยนตร์ สิ่ งพิมพ์ ต้อง(ม.88 ทวิ)
1.ได้รับอนุมตั ิขอ้ ความ เสี ยง หรื อภาพที่ใช้ในการโฆษณา จากผูอ้ นุญาต
2.ปฏิบตั ิตามเงื่อนไขที่ผอู ้ นุญาตกาหนด
ฝ่ าฝื น โฆษณาขายยา โดยไม่ได้รับอนุมตั ิขอ้ ความ เสี ยง หรื อภาพที่ใช้ในการโฆษณา จากผูอ้ นุญาต
หรื อไม่ปฏิบตั ิตามเงื่อนไขที่ผอู ้ นุญาตกาหนดม.88ทวิ)
โทษ ปรับไม่ เกิน 1 แสนบาท (ม.124)
68. ห้ามโฆษณาขายยาไม่สุภาพ /ร้องราทาเพลง/แสดงความทุกข์ทรมานของผูป้ ่ วย(ม.89)
ฝ่ าฝื น โฆษณาขายยา ไม่สุภาพ /ร้องราทาเพลง/แสดงความทุกข์ทรมานของผูป้ ่ วย(ม.89)
โทษ ปรับไม่ เกิน 1 แสนบาท (ม.124)
69. ห้ามโฆษณาขายยาโดยวิธีแถมพก หรื อออกสลากรางวัล(ม.90)
ฝ่ าฝื น โฆษณาขายยา โดยวิธีแถมพก หรื อออกสลากรางวัล(ม.90)
โทษ ปรับไม่ เกิน 1 แสนบาท (ม.124)
70. การสั่งให้ ระงับการโฆษณาขายยา (ม.90)
เลขา อย. มีอานาจสัง่ เป็ นหนังสื อ ให้ระงับการโฆษณาขายยา ที่เห็นโฆษณาฝ่ าฝื น พรบ. นี้

18
19
พนง.จนท.
71.อานาจ พนง.จนท.ในการปฏิบตั ิหน้าที่(ม.91)
1.เข้ าไปในสถานทีผ่ ลิต ขาย นา หรื อสัง่ เข้ามา หรื อสถานที่เก็บยา ในระหว่างเวลาทาการ เพื่อตรวจสอบ
ควบคุม
2. นายาไปเป็ นตัวอย่ างเพื่อตรวจสอบ/วิเคราะห์(ปริ มาณพอสมควร)
3. เข้ าไปในสถานทีใ่ ดๆ เพื่อตรวจสอบ ยา และอาจยึด อายัดยา และ เครื่ องมือเครื่ องใช้ที่เกี่ยวข้อง กับ
การทาผิดกรณี สงสัยว่ามีการทาผิด อาจรวมทั้งภาชนะหีบห่อบรรจุและเอกสารเกี่ยวกับยา
4.ประกาศผลการตรวจสอบหรื อวิเคราะห์ คุณภาพยา ที่นาไปตรวจสอบให้ประชาชนทราบ โดยได้รับ
ความเห็นชอบจากคณะกรรมการ เพื่อคุม้ ครองผูใ้ ช้ยา
5.เรียกเก็บ หรื อสั่งให้ ผ้รู ับอนุญาต ผลิต ขาย นา หรื อสั่งเข้ า จัดเก็บยาคืน ภายในเวลาที่ พนง.จนท.
กาหนด และมีอานาจทาลายยา (ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดในกฎกระทรวง) กรณี เห็นว่า
ยาใดไม่ปลอดภัยหรื อเป็ นอันตรายต่อผูใ้ ช้
ในการปฏิบตั ิการของ พนง.จนท.ให้ผรู ้ ับอนุญาตหรื อผูม้ ีหน้าที่เกี่ยวข้อง อานวยความสะดวกให้ตามควร
ฝ่ าฝื น ขัดขวางไม่ให้ความสะดวกแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ ซึ่งปฏิบตั ิการามหน้าที่ หรื อไม่ปฏิบตั ิตามคาสัง่ ของ
พนักงานเจ้าหน้าที่ ม.91)
โทษ จาคุกไม่ เกิน 1 เดือน หรื อปรับไม่ เกิน 1 พันบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับปรับไม่ เกิน 1 แสนบาท (ม.125)
72.ต้องแสดงบัตร เมื่อมีผรู ้ ้องขอ บัตรให้เป็ นไปตามแบบที่กาหนดในกฎกระทรวง(ม.92)
73. ยา ภาชนะ หี บห่อบรรจุ และเอกสารที่ยดึ ไว้ ตาม ม.91 ถ้ าไม่ มคี นมารับ หรื ออัยการสั่งเด็ดขาดไม่ ฟ้อง
หรื อ ศาลไม่ พพิ ากษาให้ ริบ และ เจ้ าของ/ผู้ครอบครองไม่ได้มารับเงินคืน ภายใน 90 วัน นับแต่วนั ยึด /
ทราบคาสัง่ ไม่ฟ้อง/วันพิพากษาถึงที่สุด ให้ตก เป็ นของ กระทรวง สาธารณสุข(ม.93 วรรค 1)
74. ถ้าสิ่ งที่ยดึ ไว้เป็ นของเสี ยง่าย/นานจะเสี ยหาย/เสี ยค่าเก็บรักษา พนง.จนท.จะขายทอดตลาด ยานั้น รวมทั้ง
ภาชนะหรื อบรรจุหีบห่อและเอกสารก่อนถึงกาหนดก็ได้ ได้ เงินเท่ าใด ให้ ยดึ เงินไว้ แทน(ม.93 วรรค 2)
75. ให้พนง.จนท. เป็ นเจ้ าพนักงาน ตามประมวล กฏหมายอาญา(ม.94)

19
20

การพักใช้ เพิกถอนใบอนุญาต
76. ไม่ปฎิบตั ิตาม พรบ.ฯผูอ้ นุญาต(โดยคาแนะนาของคณะกรรมการฯ) มีอานาจสัง่ พักใช้
ครั้งละ ไม่ เกิน 120 วัน (ม.95)
ฝ่ าฝื น ขัดขวางผลิตยา ขาย นา สัง่ เข้าระหว่างถูกพักใช้ ม.91
โทษ จาคุกไม่ เกิน 5 ปี หรื อปรับไม่ เกิน 1 หมื่นบาท (ม.125 ทวิ )
77. กรณี มีการฟ้อง จะสัง่ พักใช้ใบอนุญาตไว้ รอคาพิพากษาถึงที่สุดก็ได้(ม.95)
78. เมื่อถูกสัง่ พักใช้ ต้องหยุดการ ผลิต ขาย นา หรื อสัง่ ยาเข้า (ม.95วรรค 2)
79. ระหว่างถูกสัง่ พักใช้ จะขอใบอนุญาตใดๆตาม พรบ.นี้ไม่ได้ (ม.95วรรค 2)
80. ผูร้ ับอนุญาตขาดคุสมบัตผิ อู ้ นุญาต(โดยคาแนะนาของคณะกรรมการฯ)มีอานาจสัง่
เพิกถอนใบอนุญาตได้ (ม.95)
81. ผูร้ ับอนุญาตซึ่งถูกเพิกถอนใบอนุญาต ต้องหยุดการผลิต ขาย นาหรื อสัง่ เข้า (ม.96)
82. ผูร้ ับอนุญาตซึ่งถูกเพิกถอนใบอนุญาต จะขอรับใบอนุญาตตาม พ.ร.บ.นี้อีกไม่ได้ จนกว่าจะพ้น 2 ปี
และผู้อนุญาตจะออกใบอนุญาตให้ หรื อไม่ สุ ดแต่ จะเห็นสมควร(ม.96)
83. การส่ งคาสั่งพักใช้ เพิกถอน ให้ทาเป็ นหนังสื อแจ้งให้ผรู ้ ับอนุญาตทราบ (ม.97)
84. กรณี ส่งคาสั่งพักใช้ เพิกถอน มีปัญหา ไม่พบตัว หรื อ ไม่ยอมรับคาสัง่ (ม.97)
ให้ ปิดคาสั่ง ไว้ ทเี่ ปิ ดเผย เห็นง่ าย ที่สถานที่ผลิต ขาย นาหรื อสัง่ เข้า และให้ถือว่าผูร้ ับอนุญาต
ทราบคาสัง่ นับแต่วนั ปิ ดคาสัง่ และจะโฆษณาในหนังสื อพิมพ์หรื อโดยวิธีอื่นด้วยก็ได้
85. ผูอ้ นุญาต(โดยคาแนะนาของคณะกรรมการฯ) มีอานาจสัง่ ถอนคาสั่งพักใช้ ก่ อนกาหนดเวลา
เมื่อเห็นว่าผูถ้ ูกสัง่ พักใช้ ปฏิบตั ิตามพรบ.หรื อกฎกระทรวงที่ออกตามพรบ.นี้ แล้ว(ม.98)
86. ผูร้ ับอนุญาตซึ่งถูกสัง่ พักใช้/เพิกถอนใบอนุญาตมีสิทธิอุธรณ์ต่อ รมต. ภายใน 30 วัน นับแต่วนั ที่
ทราบคาสัง่ (ม.99)
87.รมต.มีอานาจสัง่ ให้ยกอุทธรณ์หรื อ ให้แก้ไขคาสัง่ ของผู้อนุญาตทางทีเ่ ป็ นคุณแก่ ผ้อู ุทธรณ์ ได้ (ม.99)
88.คาวินิจฉัยของ รมต.ให้เป็ นที่สุด (ม.99)
89. การอุทธรณ์ ไม่ เป็ นการทุเลา การบังคับตามคาสัง่ พักใช้/เพิกถอน (ม.99)
99. ผูถ้ ูกเพิกถอน จะขายยาของตนทีเ่ หลือ แก่ ผ้รู ับอนุญาตอื่น หรื อแก่ ผ้ซู ึ่งผู้อนุญาตเห็นสมควร ภายใน 60 วัน
นับแต่ทราบคาสัง่ เพิกถอน หรื อทราบคาวินิจฉัยของรมต.เว้นแต่ ผูอ้ นุญาตจะผ่อนผันขยายเวลาให้(ม.100)

บทกาหนดโทษ แทรก ตามมาตราต่ างๆแล้ว


100.ความผิดทีม่ โี ทษปรับสถานเดียว ให้ เลขา อย.หรื อผูท้ ี่ได้มอบหมาย มีอานาจเปรียบเทียบปรับได้ (ม.126ทวิ)
101.กรณี มีการยึด ยา ภาชนะหรื อหี บห่อบรรจุยา และเอกสารที่เกี่ยวข้อง เลขา อย.หรื อผู้รับมอบหมายจะ
เปรียบเทียบปรับได้ต่อเมื่อ ผูท้ าผิดยอมให้สิ่งที่ยดึ ไว้ ตกเป็ นของกระทรวงสาธารณสุ ข

20
21

อัตราค่าธรรมเนียม พ.ร.บ.ยา 2510


1.ใบอนุญาต ผลิต ยาแผนโบราณ 5,000
2.ใบอนุญาต ขายยา แผนโบราณ 1,500
3.ใบอนุญาต นาหรื อสั่งยาแผนโบราณเข้า 5,000
4.ใบพิสูจน์หรื อวิเคราะห์ยา ตามตารับที่ขอขึ้นทะเบียน 500
5.ใบสาคัญการขึ้นทะเบียนตารับยาแผนโบราณ 1,500
6.ใบแทนใบอนุญาต 100
7.ใบแทนใบสาคัญการขึ้นทะเบียนตารับยาแผนโบราณ 100

21
22

22

You might also like