แบบฝึกหัด KVL,KCL

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 5

ตัวอย่างที่ 1 จงหาค่ากระแส I 5

ผลรวมของกระแสไหลเข้า = ผลรวมของกระแสไหลออก
I1=1.0 A
I2=2.0 A I1  I 2  I 3  I 4  I 5
I5= ? 1 2  3 1  I5

7  I5

I3=3.0 A
I4=1.0 A กระแส I5 มีค่าเท่ากับ 7 แอมแปร์
ตัวอย่างที่ 2 จากวงจรต่อไปนี้
R2

R1
I1=1.0 A
I2 จงคานวณหาค่ากระแส I 2
โดยใช้กฎกระแสของเคอร์ชอฟฟ์
R3
It=1.50 A
E

ผลรวมของกระแสไหลเข้า = ผลรวมของกระแสที่ไหลออก
It  I1  I 2
I 2  It  I1
I 2  1.5  1
กระแส I 2 มีค่าเท่ากับ 0.5 แอมแปร์
ตัวอย่างที่ 3
V1=5 V V2=10 V

จากวงจร จงใช้กฎแรงเคลื่อนคอร์ชอฟฟ์
V3
หาค่า V 3
E = 30 V

V4=8 V

ผลรวมของแรงเคลื่อนในวงจรปิ ด = ผลรวมของแรงเคลื่อนตกคร่ อมภาระในวงจรไฟฟ้าปิ ดใด ๆ


E  V1  V 2  V 3  V 4
V 3  E  V1  V 2  V 4
V 3  30  5  10  8
V 3  7V
ตัวอย่างที่ 4 จากวงจรต่อไปนี้จงหาค่า กระแสที่ไหลในวงจร

พิจารณาทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้า
R1=20  กาหนดขั้วของแรงเคลื่อนไฟฟ้าโดย
ใส่ เครื่ องหมาย + ในทิศทางที่กระแสไหลเข้า
R2=40 
E = 15 V ใส่ เครื่ องหมาย – ในทิศทางที่กระแสไหลออก
R3=50  โดยเริ่ มจากแหล่งจ่ายไฟฟ้า
ตัวอย่างที่ 5 จากวงจรต่อไปนี้จงคานวณหาค่ากระแสที่ไหลผ่านภาระแต่ละตัว
R1=10  R2=20 

R3=30  E2=4.5 V
E1=9 V

กาหนดขั้วของแรงเคลื่อนไฟฟ้าและทิศทางของกระแส
R1=10  R2=20 

+ - - +
I1 I2
+
+ I3 +
1 R3=30  2 E2=4.5 V
- E1=9 V -
-

You might also like