À À À À À À À À À À À À À À À À À À À À À 3 (BW)

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 20

ติวเคมี (A-Level) โค้งสุดท้าย

ครั้งที่ 3 (ปี 2024)


ติวเคมี (A-Level) โค้งสุดท้าย By พี่เคน Youtube: PKen Official

แก๊สและสมบัติของแก๊ส
ข้อควรรู้ ความดันของแก๊ส

• หน่วยของความดันแก๊ส

• อุปกรณ์วัดความดันแก๊ส
ปลายเปิิด

Patm
สุุญญากาศ
h

ความดัั น ปรอท Pgas


ใ น ห ล อ ด แ ก้้ ว
Pgas = Patm + h
ความสููงของปรอท h mm ความดัันบรรยากาศ
ปลายเปิิด

ปรอท

Patm h
Patm = h
บารอมิเตอร์ Pgas
ใช้วัดความดันบรรยากาศ
Pgas = Patm - h
แมนอมิเตอร์
ใช้วัดความดันของแก๊สอื่น ๆ
ติวเคมี (A-Level) โค้งสุดท้าย By พี่เคน Youtube: PKen Official

ข้อควรรู้ โจทย์แทนค่าในสูตรกฎของแก๊สอุดมคติสภาวะเดียว

• ค่าคงที่ R นั้นจะขึ้นอยู่กับหน่วยของ P, V, n, T ดังนี้

P บรรยากาศ (atm)
V L หรือ dm3 3
⇒ R = 0.0821 atm·dm
mol·K
n mol
T K
ติวเคมี (A-Level) โค้งสุดท้าย By พี่เคน Youtube: PKen Official

ข้อควรรู้ โจทย์เปรียบเทียบแก๊สอุดมคติ 2 สภาวะ

P1, V1, n1, P2, V2, n2,


T1, g1, D1 T2, g2, D2

PV = nRT

PV = Mg RT

D = PM
RT
ติวเคมี (A-Level) โค้งสุดท้าย By พี่เคน Youtube: PKen Official

ข้อควรรู้ โจทย์์เกี่่ย� วกัับความดัันรวมของแก๊๊สซึ่่�งไม่่ทำปฏิิกิิริิยากััน

• แก๊๊สอยู่่�ในภาชนะเดีียวกััน

แก๊ส A, B, C

• แก๊๊สอยู่่�คนละภาชนะ แล้้วต่่อท่่อหรืือเปิิดก๊๊อกถึึงกััน

แก๊ส A แก๊ส B

nA โมล nB โมล
VA ลิตร VB ลิตร

• กฎความดัันย่่อยของดอลตััน
ติวเคมี (A-Level) โค้งสุดท้าย By พี่เคน Youtube: PKen Official

ข้อควรรู้ กฎการแพร่่ของเกรแฮม

ภายใต้้อุณ
ุ หภููมิแิ ละความดัันเดีียวกััน
ติวเคมี (A-Level) โค้งสุดท้าย By พี่เคน Youtube: PKen Official

โจทย์ตามแนวข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย

1. เมื่อปล่อยให้แก๊สอุดมคติในมานอมิเตอร์ขยายตัวที่อุณหภูมิ -10 องศาเซลเซียส จนมีปริมาตรสุดท้ายเป็น 1 ลิตร


และทำ�ให้ความสูงของปรอทในมานอมิเตอร์ต่างกัน 60 มิลลิเมตร ดังรูป
760 mmHg

GAS
60 mm

จำ�นวนโมลของแก๊สเป็นเท่าใด
1. 3.35 × 10-3
2. 3.66 × 10-3
3. 4.82 × 10-2
4. 5.00 × 10-2

2. ปริมาตรของแก๊สฮีเลียม 40 g ที่อุณหภูมิ 27 oC มีค่าไม่เท่ากับปริมาตรของแก๊สในข้อใดที่ความดันเท่ากัน


1. แก๊๊สอาร์์กอน 300 g ที่่�อุุณหภููมิิ 400 K
2. แก๊๊สนีีออน 120 g ที่่�อุุณหภููมิิ 500 K
3. แก๊๊สไนโตรเจนมอนอกไซด์์ 150 g ที่่�อุุณหภููมิิ 600 K
4. แก๊๊สไนโตรเจน 120 g ที่่�อุุณหภููมิิ 700 K
5. แก๊๊สออกซิิเจน 160 g ที่่�อุุณหภููมิิ 800 K
ติวเคมี (A-Level) โค้งสุดท้าย By พี่เคน Youtube: PKen Official

3. แก๊๊สชนิิดหนึ่่�งในกระบอกสููบมีีปริิมาตร 900 cm3 และมีีความดััน 600 mmHg ที่่� 27 oC


ถ้้าต้้องการเพิ่่�มปริิมาตรแก๊๊สขึ้้�น 20% ที่่�ความดััน 0.79 atm จะต้้องใช้้อุุณหภููมิิเท่่าใด
1. -23 oC
2. 22.5 oC
3. 32.4 oC
4. 87 oC
5. 360 oC

4. แก๊ส H2 0.1 กรัม บรรจุในถังขนาด 400 มิลลิลิตร อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส แก๊ส CO2 หนัก 0.11 กรัม
บรรจุในถังอีกใบหนึ่งขนาด 200 มิลลิลิตร อุณหภูมิเท่ากัน เมื่อต่อท่อให้แก๊สทั้งสองชนิดผสมกัน
โดยไม่เกิดปฏิกิริยาต่อกัน หลังจากการผสม อุณหภูมิไม่เปลี่ยนแปลง ความดันรวมของแก๊สผสมเป็นกี่บรรยากาศ
1. 0.934
2. 1.541
3. 2.152
4. 3.634

5. ข้อใดเป็นแก๊สที่มีอัตราการแพร่ผ่านแผ่นรูพรุนเป็นครึ่งหนึ่งของแก๊สนีออน
1. ฮีเลียม
2. อาร์กอน
3. คาร์บอนไดออกไซด์
4. ซัลเฟอร์ไตรออกไซด์
5. เตตระฟลูออโรเอทิลีน
ติวเคมี (A-Level) โค้งสุดท้าย By พี่เคน Youtube: PKen Official

อัตราการเกิดปฏิกิริยา
ข้อควรรู้ การคำ�นวณอัตรา

อััตราการเปลี่่�ยนแปลงของสาร = ปริิมาณสารตั้้�งต้้นที่่�ลดลง = ปริิมาณผลิิตภััณฑ์์ที่่�เพิ่ม่� ขึ้้�น


เวลา เวลา

โดยทั่่�วไปแล้้วอััตราการเกิิดปฏิิกิิริิยาในช่่วงแรกจะเร็็ว และเมื่่�อเวลาผ่่านไปอััตราการเกิิดปฏิิกิิริิยาจะลดลง ตามลำดัับ

[A]

Rt = 5 ถึง 10 = - [A]10 - [A]5


10 - 5

[A]5
[A]10
t
0 5 10 15 20

อััตราการเปลี่่�ยนแปลงของสารต่่าง ๆ ในสมการเคมีี มีีความสััมพัันธ์์กัันดัังนี้้�

4A + 2B 3C
ติวเคมี (A-Level) โค้งสุดท้าย By พี่เคน Youtube: PKen Official

ข้อควรรู้ พลังงานกับการดําเนินไปของปฏิกิริยา

ปฏิิกิิิ�ริิยาคายความร้้อน ปฏิิกิิิ�ริิยาดููดความร้้อน

Ea
ไปข้างหน้า
พลัังงาน

พลัังงาน
Ea
ไปข้างหน้า

การดำเนิินไปของปฏิิกิิริิยา การดำเนิินไปของปฏิิกิิริิยา
ติวเคมี (A-Level) โค้งสุดท้าย By พี่เคน Youtube: PKen Official

ข้อควรรู้ ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

สาเหตุท่ที ำ�ให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น
ปัจจัย กระบวนการ มีจ�ำ นวนโมเลกุลที่มี ลดพลังงานกระตุ้น
พลังงานสูงมากขึ้น (Ea)
สารแต่ละชนิดมีความสามารถ
1. ธรรมชาติของสารตั้งต้น
ในการเกิดปฏิกิริยาเคมีต่างกัน

2. พื้นที่ผิว พื้นที่ผิวมาก อัตราเร็วมาก

3. ความเข้มข้น ความเข้มข้นมาก อัตราเร็วมาก

4. อุณหภูมิ อุณหภูมิสูง อัตราเร็วมาก

ใส่ตัวเร่ง อัตราเร็วมากขึ้น
5. ตัวเร่งและตัวหน่วงปฏิกิริยา
ใส่ตัวหน่วง อัตราเร็วลดลง
ติวเคมี (A-Level) โค้งสุดท้าย By พี่เคน Youtube: PKen Official

โจทย์ตามแนวข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย

1. เมื่อนำ�แมกนีเซียม 9.6 g ทำ�ปฏิกิริยากับสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 3 mol/dm3 ปริมาตร 100 cm3


เมื่อเวลาผ่านไป 1 นาที พบว่ากรดทำ�ปฏิกิริยาหมดพอดี แต่มีแมกนีเซียมเหลืออยู่จำ�นวนหนึ่ง
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยในหน่วย mol/s มีค่าเท่าใด
1. 0.15
2. 0.05
3. 6.7 × 10-3
4. 5.0 × 10-3
5. 2.5 × 10-3

2. เมื่อติดตามการสลายตัวของ N2O5 ในปฏิกิริยา 2N2O5(g) 4NO2(g) + O2(g) ได้ผลดังนี้

เวลา (s) ความเข้มข้นของ N2O5 (mol/dm3)


0 6.0
1,000 2.8
2,000 1.2
3,000 X

ถ้าอัตราการสลายตัวเฉลี่ยของ N2O5 เป็น 1.7 × 10-3 mol/dm3.s แล้ว X มีค่าเท่าใด


1. 0.3
2. 0.4
3. 0.8
4. 0.9
5. 1.1
ติวเคมี (A-Level) โค้งสุดท้าย By พี่เคน Youtube: PKen Official

3. พิจารณากราฟปฏิกิริยาการสลายตัวของ 2NOCl(aq) 2NO(g) + Cl2(g)

0.2
[NOCl]
(mol·dm-3) 0.1

เวลา (s)
10 20 30 40 50

ข้อใดถูกต้อง
1. อัตราการเกิดปฏิกิริยาลดลงตามเวลา
2. เมื่อเวลาผ่านไป 40 วินาที จะไม่มี NOCl เหลืออยู่เลย
3. อัตราการลดลงของ [NOCl] เท่ากับอัตราการเพิ่มขึ้นของ [Cl2]
4. อัตราการลดลงของ [NOCl] เป็น 2 เท่าของอัตราการเพิ่มขึ้นของ [NO]
5. เมื่อเวลาผ่านไป 30 วินาที อัตราการลดลงของ [NOCl] = 0.004 mol·dm-3·s-1

4. สารตั้้�งต้้น A สลายตััวได้้ผลิิตภััณฑ์์ B และ C ผ่่านปฏิิกิิริิยาเคมีี ดัังแสดงในตาราง

ปฏิิกิิริิยาที่่� สมการเคมีี พลัังงานก่่อกััมมัันต์์ (kJ/mol) พลัังงานของปฏิิกิิริิยา (kJ/mol)


1 A B 50.56 -100.00
2 A C 110 -25.00

หากอััตราการเกิิดปฏิิกิิริิยาเคมีีไม่่ขึ้้�นกัับความเข้้มข้้นของสารตั้้�งต้้น ข้้อใดถููกต้้อง
1. ปฏิิกิิริิยาที่่� 1 เกิิดได้้เร็็วกว่่าปฏิิกิิริิยาที่่� 2 เนื่่�องจากคายความร้้อนมากกว่่า
2. เมื่่�ออุุณหภููมิิสููงขึ้้�น ทั้้�งสองปฏิิกิิริิยาเกิิดเร็็วขึ้้�นเพราะพลัังงานก่่อกััมมัันต์์ลดลง
3. เมื่่�ออุุณหภููมิิสููงขึ้้�น ทั้้�งสองปฏิิกิิริิยาเกิิดช้้าลงเพราะเป็็นปฏิิกิิริิยาคายความร้้อน
4. พลัังงานของสารตั้้�งต้้นและสารผลิิตภััณฑ์์ของปฏิิกิิริิยาที่่� 1 มีีค่่าต่่างกััน 150.56 kJ/mol
5. ในช่่วงแรกของปฏิิกิิริิยา ความเข้้มข้้นของผลิิตภััณฑ์์ B มากกว่่าความเข้้มข้้นของผลิิตภััณฑ์์ C
ติวเคมี (A-Level) โค้งสุดท้าย By พี่เคน Youtube: PKen Official

5. พิิจารณาปฏิิกิิริิยา Mg(s) + 2H+(aq) Mg2+(aq) + H2(g) ในระบบปิิด


ในการศึึกษาลัักษณะของลวด Mg ที่่�มีีผลต่่ออััตราการเกิิดปฏิิกิริิ ยิ า โดยทำการทดลอง 5 ครั้้�ง แต่่ละครั้้�งใช้้ลวด Mg
10 g เท่่ากัันทำปฏิิกิิริิยากัับสารละลาย HCl เข้้มข้้น 0.2 mol/dm3 ปริิมาตรเท่่ากััน และที่่�อุุณหภููมิิเดีียวกััน
ลัักษณะของลวด Mg ในข้้อใดที่่�ทำให้้อััตราการเกิิดปฏิิกิิริิยามีีค่่าน้้อยที่่�สุุด
1. Mg ที่่�ม้้วนเป็็นก้้อนกลม
2. Mg ที่่�ยืืดเป็็นเส้้นตรงที่่�บางและยาวที่่�สุุด
3. Mg ที่่�ตััดเป็็นชิ้้�นเล็็กๆ ประมาณ 10-20 ชิ้้�น
4. Mg ที่่�บิิดเป็็นเกลีียว เพื่่�อให้้ความยาวของลวดสั้้�นลง
5. Mg ที่่�พัับเป็็นรอยหยััก เพื่่�อให้้ความยาวของลวดสั้้�นลง
ติวเคมี (A-Level) โค้งสุดท้าย By พี่เคน Youtube: PKen Official

สมดุลเคมี
ข้อควรรู้ การรบกวนสมดุล

“เมื่อระบบทีส่ มดุลถูกรบกวนโดยการเปลี่ยนแปลงปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลของระบบ
ระบบจะเกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่จะลดผลของการรบกวนนั้น เพื่อให้ระบบเข้าสู่สมดุลอีกครั้ง”

ปัจจัย การเปลี่ยนแปลงสมดุล

ความเข้มข้น

ความดันรวมของระบบ
โดยการปรับปริมาตร

อุณหภูมิ

ตัวเร่ง-ตัวหน่วง
ติวเคมี (A-Level) โค้งสุดท้าย By พี่เคน Youtube: PKen Official

ข้อควรรู้ ค่าคงที่สมดุลจากความเข้มข้น

aA(aq) + bB(g) ? cC(aq) + dD(g)

ความเข้้มข้้นที่่�ใช้้ ในการคำนวณหาค่่าคงที่่�สมดุุล (Kc) ใช้้หน่่วยโมลต่่อลิิตร (mol/dm3)


ติวเคมี (A-Level) โค้งสุดท้าย By พี่เคน Youtube: PKen Official

ข้อควรรู้ การคำ�นวณค่าคงที่สมดุลแบบซับซ้อน

X(g) + 3Y(g) ? 2Z(g)

เริ่มต้น 10 10 0

เปลี่ยนไป

สมดุล 7

เริ่มต้น

เปลี่ยนไป -a -3a +2a

สมดุล

... หรืือไม่่ก็็ ... X(g) + 3Y(g) ? 2Z(g)

เริ่มต้น

เปลี่ยนไป +a +3a -2a

สมดุล
ติวเคมี (A-Level) โค้งสุดท้าย By พี่เคน Youtube: PKen Official

โจทย์ตามแนวข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย

1. พิิจารณาปฏิิกิิริิยาที่่�ภาวะสมดุุล ดัังสมการ
[Co(H2O)6]2+(aq) + 4Cl-(aq) + พลัังงาน ? [CoCl4]2-(aq) + 6H2O(l)
ถ้้าต้้องการผลิิต [CoCl4]2- ให้้ได้้ปริิมาณมากที่่�สุุด ควรเปลี่่�ยนแปลงปััจจััยดัังข้้อใด
1. ลดอุุณหภููมิิ
2. ลดความดััน
3. เพิ่่�มอุุณหภููมิิ
4. เพิ่่�มความดััน
5. ลดปริิมาตรภาชนะบรรจุุ

2. ปฏิิกิิริิยา 4HCl(g) + O2(g) ? 2H2O(g) + 2Cl2(g) เป็็นปฏิิกิิริิยาคายความร้้อนที่่� 200 ๐C


ก. การเพิ่่�ม O2(g) หรืือกำจััด Cl2(g) จะทำให้้ปฏิิกิิริิยาเปลี่่�ยนแปลงไปในทิิศทางเดีียวกััน
ข. การเพิ่่�มปริิมาตรของระบบหรืือการเพิ่่�มความดััน จะทำให้้มีีการเปลี่่�ยนสมดุุลไปในทางตรงข้้ามกััน
ค. การเติิมตััวเร่่งจะทำให้้ปฏิิกิิริิยาไปทางขวามากขึ้้�น
ง. การลดอุุณหภููมิิให้้เหลืือ 100 ๐C จะไม่่มีีผลต่่อสมดุุล
ข้้อสรุุปใดถููกต้้อง
1. ก. และ ข.
2. ก., ข. และ ค.
3. ข. และ ค.
4. ข., ค. และ ง.
ติวเคมี (A-Level) โค้งสุดท้าย By พี่เคน Youtube: PKen Official

3. ค่่าคงที่่�สมดุุลของปฏิิกิิริิยา 2HI(g) ? H2(g) + I2(g) ที่่� 30 ๐C เท่่ากัับ 1.6 × 10-3 และที่่�อุุณหภููมิิเดีียวกัันนี้้�


พบว่่า ในภาชนะขนาด 5 dm3 แก๊๊สผสมที่่�ภาวะสมดุุลประกอบด้้วย H2 0.4 mol, I2 1.6 mol และมีี HI จำนวนหนึ่่�ง
จงหาจำนวนโมลของ HI

4. พิิจารณาสมการเคมีีต่่อไปนี้้� N2(g) + 3H2(g) ? 2NH3(g)


ถ้้านำแก๊๊ส N2 และแก๊๊ส H2 อย่่างละ 0.50 mol ผสมกัันในภาชนะปิิดที่่�มีีปริิมาตร 2 dm3 แล้้ว
พบว่่าที่่�สมดุุล ณ อุุณหภููมิิหนึ่่�ง มีีแก๊๊ส NH3 0.2 mol ค่่าคงที่่�สมดุุลของปฏิิกิิริิยานี้้�มีีค่่าเท่่าใด
1. 0.64
2. 2.50
3. 5.00
4. 50.0
5. 62.50
ติวเคมี (A-Level) โค้งสุดท้าย By พี่เคน Youtube: PKen Official

5. พิจารณาปฏิกริ ยิ าการสลายตัวของแก๊สไนโตรเจนมอนอกไซด์ (NO) ดังสมการ


2NO(g) ? N2(g) + O2(g) K = 4.0 × 10-4
ถ้าบรรจุแก๊ส NO 0.20 mol ในภาชนะปิดขนาด 2.0 dm3 ทีภ่ าวะสมดุล ความเข้มข้นของแก๊ส N2
จะเป็นเท่าใดในหน่วย mol/dm3
1. 3.8 × 10-3
2. 1.9 × 10-3
3. 9.8 × 10-4
4. 4.0 × 10-5
5. 2.0 × 10-5

6. เริม่ ต้นบรรจุแก๊ส NH3 2.0 mol ในภาชนะปิดปริมาตรคงที่ 1.0 dm3 อุณหภูมิ 800 K เมื่อปฏิกิริยาเข้าสู่สมดุล
ที่อุณหภูมิและปริมาตรคงที่ดังสมการ
2NH3(g) ? N2(g) + 3H2(g)
พบว่่าที่่�สมดุุลมีี N2 20.0% โดยโมล ค่่าคงที่่�สมดุุลมีีค่่าเท่่าใด
1. 1
2. 3
3. 4
4. 8
5. 12

You might also like