สื่อ ว22102.

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 68

14/01/62

ปฏิกิริยาเคมี
ที่มา http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/30127/042697

ที่มา http://www.kstronginsure.com/knowledge/read/75/?sort=date

ที่มา https://en.wikipedia.org/wiki/Chemical_reaction

การเกิดปฏิกิริยาเคมี

หมายถึง การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบทางเคมีไปเป็น
สารใหม่หรือที่เรียกว่าผลิตภัณฑ์ (product) ซึ่งมีคุณสมบัติ
ที่มา http://envirocivil.com/climate/how-to-reduce-air-pollution/ แตกต่างจากสารเดิมหรือสารตั้งต้น (reactant)

ที่มา http://gethealthyutah.com/health-blog/2016/5/9/6-categories-that-
indicate-you-might-have-candida-overgrowth

สารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์

1
14/01/62

การเกิดปฏิกิริยาเคมี การเกิดปฏิกิริยาเคมี

ระบบกับสิ่งแวดล้อม (System and Environment) การเปลี่ยนแปลงพลังงานที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมี


การเปลี่ยนแปลงพลังงานเป็นการถ่ายเทพลังงานระหว่างระบบ กับสิ่งแวดล้อม

ระบบ คือ สิ่งที่อยู่ภายในขอบเขตที่ต้องการศึกษา และต้องระบุ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ


องค์ประกอบของระบบให้ชัดเจน ระบบเปิด (open system) คือ ระบบที่มีการถ่ายเทมวลกับสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม คือ สิ่งที่อยู่นอกขอบเขตที่ต้องการศึกษา ระบบปิด (closed system) คือ ระบบที่ไม่มีการถ่ายเทมวลกับสิ่งแวดล้อม

การเกิดปฏิกิริยาเคมี การเกิดปฏิกิริยาเคมี
ปฏิกิริยาดูดกลืนความร้อน (endothermic reaction) ปฏิกิริยาคายความร้อน (exthermic reaction)

ระบบมีอุณหภูมิต่ํากว่าสิ่งแวดล้อม ระบบมีอุณหภูมิสูงกว่าสิ่งแวดล้อม

สารตั้งต้น + ความร้อน ผลิตภัณฑ์ สารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์ + ความร้อน

ที่มา http://www.vcharkarn.com/varticle/44186 ที่มา http://www.vcharkarn.com/varticle/44186

2
14/01/62

การเกิดปฏิกิริยาเคมี ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
กฎทรงมวล (law of conservation of mass)
1. สมบัติของสารตั้งต้น
ในปีค.ศ. 1774 ลาวัวซิเอร์ นักเคมีชาวฝรั่งเศส ได้ทําการทดลองเผาเมอร์คิวรี (II) 2. ความเข้มขันของสารตั้งต้น
ออกไซด์ (HgO) ซึ่งเป็นของแข็งในภาชนะปิด พบว่าได้ปรอทและแก๊สออกซิเจน จาก
การศึกษา 3. พื้นที่ผิวของสารตั้งต้น
“ มวลของ HgO เท่ากับผลบวกของ Hg กับ O2” จึงได้สรุปเป็นกฎทรงมวล 4. อุณหภูมิ
5. ตัวเร่งปฏิกิริยา
มวลของสารก่อนเกิดปฏิกิริยา = มวลของสารหลังเกิดปฏิกิริยา
6. ตัวหน่วงปฏิกิริยา

ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี

1. สมบัติของสารตั้งต้น 2. ความเข้มขันของสารตั้งต้น

ความเข้มข้นมาก ปฏิกิริยาจะเกิดเร็ว

ที่มา https://www.linkedin.com/pulse/metal-steel-wrought-iron-justin-hodges
หากสารตั ้งต้ นมีความเข้ มข้ นมาก ปฏิกิริยาจะเกิดเร็ว เนื่องจากความเข้ มข้ นของสารที่
สารแต่ละชนิดมีสมบัติต่างกัน จึงมีความว่องไวต่อการเกิดปฏิกิริยาต่างกันด้วย เช่น แมกนีเซียมสามารถ มากจะมีอนุภาคของสารอยูร่ วมกันอย่างหนาแน่น อนุภาคของสารจึงมีโอกาสชนกันแล้ ว
ทําปฏิกิริยากับ สารละลายกรดและเกิดเป็นแก๊สไฮโดรเจนได้อย่างรวดเร็ว แต่แมกนีเซียมจะทําปฏิกิริยากับ เกิดปฏิกิริยาได้ รวดเร็ว เช่น ปฏิกิริยาระหว่างโลหะกับกรด ถ้ าใช้ กรดที่มีความเข้ มข้ นสูงเป็ นสารตั ้ง
ออกซิเจนได้ช้า หรือโลหะโซเดียมทําปฏิกิริยากับน้ําเย็นได้เร็วมาก ขณะที่โลหะแมกนีเซียมจะทําปฏิกิริยากับน้ํา ต้ นจะทําให้ โลหะถูกกัดกร่อนเร็ว
เย็นได้ช้า แต่จะเกิดเร็วขึ้นเมื่อทําปฏิกิริยากับน้ําร้อน เป็นต้น

3
14/01/62

ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี

3. พื้นที่ผิวของสารตั้งต้น 4. อุณหภูมิ

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจะเพิ่มขึ้น
เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น เนื่องจากอุณหภูมิสูงทําให้
อะตอมหรือโมเลกุลของสารเคลื่อนที่ได้เร็วขึ้น
ตัวอย่างเช่น การบ่มผลไม้ในภาชนะที่มีฝาปิดจะ
ที่มา https://www.timetocleanse.com/addicted-sugar-beat-addiction-5-easy-steps/ ที่มา http://www.sanook.com/health/1193/
สุกเร็วกว่าผลไม้ที่ตั้งไว้ข้างนอก หรืออาหารที่
ไม่ได้เก็บไว้ในตู้เย็นจะเน่าเสียได้ง่ายกว่าอาหาร
พื้นที่ผิวของสารตั้งต้นจะมีผลต่อปฏิกิริยาเคมีแบบสารตั้งต้นมีสถานะเป็นของแข็งกับสารอีกชนิดหนึ่งที่มี
ที่เก็บในตู้เย็น เนื่องจากในตู้เย็น มีอุณหภูมิต่ํา
สถานะเป็น ของเหลว เนื่องจากการเพิ่มพื้น ที่ผิวที่เพิ่มขึ้น จะทํา ให้ข องแข็งมีพื้น ที่สัมผัสกับของเหลวมากขึ้น การ ที่มา https://www.smithsonianmag.com/

ซึ่งช่วยชะลอการเกิดปฏิกิริยาเคมีในอาหารได้
เกิดปฏิกิริยาก็เร็วขึ้น เช่น การเคี้ยวอาหารให้ละเอียดก่อนกลืนลงท้อง เพราะช่วยให้อาหารมีขนาดเล็กลง ซึ่งเป็นการ
ทําให้เน่าเสียช้าลง
เพิ่มพื้นที่ผิวของอาหาร ทําให้กรดและเอนไซม์ในน้ําย่อยของกระเพาะอาหารทําปฏิกิริยากับอาหารได้เร็วขึ้น
ที่มา https://www.lazada.co.th/nissin-3-6-6030437.html

ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี

5. ตัวเร่งปฏิกิริยา 6. ตัวหน่วงปฏิกิริยา

ตัวเร่งปฏิกิริยา คือสารที่เติมลงไปในปฏิกิริยาแล้ว ทําให้เกิดปฏิกิริยา


เกิดได้เร็วขึ้น โดยที่ตัวเร่งปฏิกิริยาอาจจะมีส่วนร่วมในการเกิดปฏิกิริยาหรือไม่
ก็ได้ แต่เมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยาตัวเร่งปฏิกิริยาเหล่านี้ยังคงมีปริมาณเท่าเดิมและมี ตัวหน่วงปฏิกิริยา คือสารที่เติมลงไปในปฏิกิริยาแล้วทําให้ปฏิกิริยา
สมบัติเหมือนเดิม เกิดช้าลงหรือมีผลยับยั้งปฏิกิริยา และเมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยา ตัวหน่วงปฏิกิริยา
ยังคงมีสมบัติทางเคมีเหมือนเดิมและมีปริมาณเท่าเดิม เช่น การเติมวิตามินอี
ในน้ํามันพืชเพื่อป้องกันการเหม็นหืน หรือการยับยั้งการเน่าเสียของอาหาร
ด้วยการใส่สารกันบูด

4
14/01/62

สมการเคมี

สมการเคมี คือ กลุ่มสัญลักษณ์ที่เขียนแทนปฏิกิริยาเคมี

สมการเคมี
เพื่อให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงทางเคมีที่เกิดขึ้นในระบบ

สารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์

สมการเคมี สมการเคมี

ลูกศร คือ เครื่องหมายแสดงการเปลี่ยนแปลงของสารตั้งต้นไปเป็นสารผลิตภัณฑ์


สารตั้งต้น (Reactant) คือ สารที่นํามาทดลอง ถ้ามีมากกว่า 1
สาร ให้ใช้เครื่องหมาย (+) คั่นระหว่างสาร สารตั้งต้นจะอยู่ทางด้าน ลูกศรที่ใช้มี 2 ลักษณะ คือ
ซ้ายมือของลูกศร
แสดงการเกิดปฏิกิริยาจากซ้ายไปขวามือ ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงไปข้างหน้าทางเดียว
แสดงการเกิดปฏิกิริยาที่ผันกลับได้ซึ่งมีทั้งปฏิกิริยาไปข้างหน้า () และปฏิกิริยา
A+B ผลิตภัณฑ์ ย้อนกลับ()
ปฏิกิริยาไปข้างหน้า หมายถึง ปฏิกิริยาที่สารตั้งต้นเปลี่ยนแปลงไปเป็นสารผลิตภัณฑ์
ลูกศร คือ เครื่องหมายแสดงการเปลี่ยนแปลงของสารตั้งต้นไปเป็นสารผลิตภัณฑ์ ปฏิกิริยาย้อนกลับ หมายถึง ปฏิกิริยาที่สารผลิตภัณฑ์เปลี่ยนแปลงกลับไปเป็นสารตั้งต้น

5
14/01/62

สมการเคมี สมการเคมี

ผลิตภัณฑ์ (Product) เขียนต่อจากลูกศรหรืออยู่ทางขวามือของลูกศร


ถ้ามีมากกว่า 1 สารใช้เครื่องหมาย (+) คั่นระหว่างสาร aA + bB cC + dD

a, b, c และ d คือตัวเลขที่เป็นจํานวนนับ (1, 2, 3 …)


A+B C + D แทนจํานวนโมเลกุลของสารที่เข้าทําปฏิกิริยา

สมการเคมี สมการเคมี

เผาโลหะแคลเซียม (Ca) โลหะแคลเซียมจะทําปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจน (O2)


เมื่อเขียนสมการเคมี จะต้องระบุของสถานะของสารด้วย ในอากาศ ได้แคลเซียมออกไซด์ (Cao)

s = ของแข็ง (solid) Ca(s) + O2(g) CaO(s)


l = ของเหลว (liquid)
g = แก๊ส (gas) s = ของแข็ง (solid)
aq = สารละลายที่มีน้ําเป็นตัวทําละลาย (aqueous) l = ของเหลว (liquid)
g = แก๊ส (gas)
aq = สารละลายที่มีน้ําเป็นตัวทําละลาย (aqueous)

6
14/01/62

สมการเคมี สมการเคมี

“หินปูน (CaCO3) ทําปฏิกิริยากับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl) “ผสมสารละลายเลด (II) ไนเตรต (Pb(NO3)2) กับสารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์ (KI) ได้
ได้สารละลายแคลเซียมคลอไรด์ (CaCl2) น้ําและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์” ตะกอนสีเหลืองของเลด (II) ไอโอไดด์ (PbI2) และสารละลายโพแทสเซียมไนเตรต (KNO3)”

CaCO3 (s) + HCl (aq) CaCl2 (aq) + H2O (l) + CO2 (g) Pb(NO3)2(aq) + KI(aq) → PbI2(s) + KNO3(aq)

s = ของแข็ง (solid) s = ของแข็ง (solid)


l = ของเหลว (liquid) l = ของเหลว (liquid)
g = แก๊ส (gas) g = แก๊ส (gas)
aq = สารละลายที่มีน้ําเป็นตัวทําละลาย (aqueous) aq = สารละลายที่มีน้ําเป็นตัวทําละลาย (aqueous)

การดุลสมการเคมี (Balancing equation) การดุลสมการเคมี (Balancing equation)

การดุลสมการ เป็นการทําจํานวนอะตอมของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ให้เท่ากัน
2Ca(s) + O2(g) 2 CaO(s)
Ca(s) + O2(g) CaO(s)
Ca = 1X 2 Ca = 1X 2
1.เขียนจํานวนอะตอมของสารแต่ละสาร ทั้งด้านซ้ายและด้านขวาของสมการ
จํานวนอะตอมในสมการ ดูได้จากตัวห้อยที่อยู่ด้านล่างของแต่ละอะตอม O = 2 O = X1 2
2. ดุลสารที่ในสูตรเคมี ที่มีจํานวนอะตอมมากที่สุดก่อน โมเลกุลเล็กหรือธาตุดุลสุดท้าย
Ca = 1 Ca = 1
O = 2 O = 1 3. หาตัวเลขที่เหมาะสมไปใส่หน้าสูตร เพื่อทําให้จํานวนอะตอมของธาตุด้านซ้ายเท่ากับด้านขวา

7
14/01/62

การดุลสมการเคมี (Balancing equation) ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจําวัน


1. ปฏิกิริยาเคมีระหว่างโลหะกับออกซิเจน
ใส่สังกะสี (Zn) ลงในหลอดทดลองที่มีสารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl)
จะได้สารละลายซิงคลอไรด์ (ZnCl2) และแก๊สไฮโดรเจน (H2) 2. ปฏิกิริยาเคมีระหว่างโลหะกับน้ํา

Zn(s) + 2HCl(aq) ZnCl2(aq) + H2(g) 3. ปฏิกิริยาเคมีระหว่างโลหะกับออกซิเจนและน้ํา

4. ปฏิกิริยาเคมีระหว่างโลหะกรด
Zn = 1 Zn = 1
H = X1 2 H = 2 5. ปฏิกิริยาเคมีระหว่างสารประกอบคาร์บอเนตกับกรด

Cl = X1 2 Cl = 2 6. ปฏิกิริยาเคมีระหว่างกรดกับเบส

7. ปฏิกิริยาการเผาไหม้

ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจําวัน ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจําวัน
1. ปฏิกิริยาเคมีระหว่างโลหะกับออกซิเจน 1. ปฏิกิริยาเคมีระหว่างโลหะกับออกซิเจน

เมื่อโลหะสัมผัสกับอากาศหรือเมื่อถูกความร้อน โลหะจะทําปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจนในอากาศ
ได้ผลิตภัณฑ์เป็นสารประกอบออกไซด์ ตัวอย่าง เมื่อเผาคาร์บอนในอากาศ คาร์บอนจะทําปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจน ได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
ตัวอย่าง เมื่อเผาทองแดงในอากาศ ทองแดงจะทําปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจน ได้คอปเปอร์ (ll) ออกไซด์ เขียนสมการเคมี เขียนสมการเคมีได้ดังนี้
ได้ดังนี้
คอปเปอร์ + ออกซิเจน → คอปเปอร์ (ll) ออกไซด์ คาร์บอน + ออกซิเจน → คาร์บอนไดออกไซด์
2Cu + O2 → 2CuO C + O2 → CO2

8
14/01/62

ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจําวัน ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจําวัน
2. ปฏิกิริยาเคมีระหว่างโลหะกับน้ํา 2. ปฏิกิริยาเคมีระหว่างโลหะกับน้ํา

โลหะหลายชนิดทําปฏิกิริยากับน้ําได้ ยกเว้นโลหะบางชนิด เช่น ตะกั่วและเงิน โดยโลหะที่ทํา


ตัวอย่าง โซเดียมจะทําปฏิกิริยากับน้ําอย่างรวดเร็ว บางครั้งถึงกับเกิดเสียงปะทุ ซึ่งสามารถเขียนสมการเคมี
ปฏิกิริยาเคมีกับน้ําได้ จะเกิดปฏิกิริยาเคมีดังนี้
ได้ดังนี้
ตัวอย่าง เมื่อโพแทสเซียมทําปฏิกิริยากับน้ําเย็นจะได้ผลิตภัณฑ์ คือ สารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์และแก๊สไฮโดรเจน
รวมทั้งความร้อนจํานวนมาก ซึ่งสามารถเขียนสมการเคมีได้ดังนี้ โซเดียม + น้ํา → โซเดียมไฮดรอกไซด์ + แก๊สไฮโดรเจน
2Na + 2H2O → 2NaOH + H2
โพแทสเซียม + น้ํา → โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ + แก๊สไฮโดรเจน
2K + 2H2O → 2KOH + H2

ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจําวัน ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจําวัน
3. ปฏิกิริยาเคมีระหว่างโลหะกับออกซิเจนและน้ํา การเกิดสนิม 4. ปฏิกิริยาเคมีระหว่างโลหะกรด

เมื่อโลหะบางชนิดทําปฏิกิริยาเคมีกับออกซิเจนและน้ํา จะได้สารประกอบบออกไซด์ที่เป็นสนิม ทําให้ โลหะส่วนใหญ่จะทําปฏิกิริยากับกรดได้ จะทําให้โลหะเกิดการผุกร่อน และได้แก๊สออกซิเจน


โลหะเกิดการผุกร่อนได้ เกิดขึ้น
ตัวอย่าง เมื่อเหล็กสัมผัสกับน้ําและแก๊สออกซิเจนในอากาศ จะเกิดเป็นสารประกบออกไซด์ของเหล็กได้ ดังสมการ ตัวอย่าง เมื่อโพแทสเซียมทําปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริกเจือจาง จะได้สารละลายโพแทสเซียมคลอไรด์และแก๊ส
ไฮโดรเจน ซึ่งสามารถเขียนสมการเคมีได้ดังนี้
เหล็ก + ออกซิเจน + น้ํา  เหล็กออกไซด์
4Fe + 3O2 + 6H2O  2Fe2O3 3H2O 2K + 2HCl  2KCl + H2
โพแทสเซียม + ไฮโดรคลอริก  โพแทสเซียมคลอไรด์ + แก๊สไฮโดรเจน
โดยสารประกอบบออกไซด์ที่เกิดขึ้นนี้ จะทําให้โลหะเป็นสนิมและเกิดการผุกร่อน เราสามารถป้องกัน
การเกิดสนิมของเหล็กได้โดยการทาสีน้ํามันเคลือบโลหะไว้

9
14/01/62

ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจําวัน ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจําวัน
4. ปฏิกิริยาเคมีระหว่างโลหะกรด 5. ปฏิกิริยาเคมีระหว่างสารประกอบคาร์บอเนตกับกรด

ตัวอย่าง แคลเซียมจะทําปฏิกิริยาอย่างรวดเร็วกับกรดไฮโดรคลอริก จะได้แก๊สไฮดดรเจนจํานวน กรด + สารประกอบคาร์บอเนต  แคลเซียมคลอไรด์+แก๊สคาร์บอนได้ออกไซด์+น้ํา


มาก และสารละลายแคลเซียมคลอไรด์ซึ่งสามารถเขียนสมการเคมีได้ดังนี้
2HCl(aq) + CaCO3(s)  CaCl2(aq) + CO2(g) + H2O(l)
Ca + 2HCl  CaCl2 + H2
แคลเซียม + ไฮโดรคลอริก  แคลเซียมคลอไรด์ + แก๊สไฮโดรเจน

ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจําวัน ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจําวัน
5. ปฏิกิริยาเคมีระหว่างสารประกอบคาร์บอเนตกับกรด 6. ปฏิกิริยาเคมีระหว่างกรดกับเบส

สารประกอบคาร์บอเนตที่พบในชีวิตประจําวันส่วนใหญ่ คือ หินปูนหรือหินอ่อน ซึ่งประกอบด้วย เมื่อกรดทําปฏิกิริยากับเบสจะได้เกลือกับน้ํา เรียกปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นนี้เรียกว่า ปฏิกิริยาสะเทิน


แคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) เช่น อิฐ กระเบื้อง และคอนกรีต เมื่อสารประกอบคาร์บอเนตสัมผัสกับกรด (การทําให้เป็นกลาง) (neutralization)
จะเกิดปฏิกิริยาเคมีขึ้น
ในชีวิตประจําวันสิ่งก่อสร้างที่มีหินปูนหรือหินอ่อนเป็นส่วนประกอบ จะเกิดการผุกร่อนและ ตัวอย่าง เมื่อสารละลายกรดไฮโดรคลอริกทําปฏิกิริยากับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ จะได้เกลือแกง
พังทลายได้ เนื่องจากน้ําฝนจะทําปฏิกิริยากับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศ ได้กรดคาร์บอนิก และน้ําเป็นผลิตภัณฑ์ เขียนสมการได้ดังนี้
(H2CO3) ดังนี้ HCl + NaOH NaCl + H2O
กรดไฮโดรคลอริก โซเดียมไฮดรอกไซด์ เกลือแกง น้ํา
H2O + CO2  H2CO3
น้ําฝน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ กรดคาร์บอนิก

10
14/01/62

ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจําวัน สัญลักษณ์แสดงประเภทของอันตรายและข้อควรระวัง
7. ปฏิกิริยาการเผาไหม้
เป็นปฏิกิริยาระหว่างเชื้อเพลิงที่มีธาตุคาร์บอนเป็นองค์ประกอบกับแก๊สออกซิเจน ซึ่งปฏิกิริยาการ
เผาไหม้มี 2 ประเภท ดังนี้
7.1 ปฏิกิริยาการเผาไหม้แบบสมบูรณ์ เกิดขึ้นเมื่อการเผาไหม้มีปริมาณแก๊สออกซิเจนที่มาก
เพียงพอ โดยมีสมการดังนี้
เชื้อเพลิง + O2 CO2 + H2O + พลังงาน
7.2 ปฏิกิริยาการเผาไหม้แบบไม่สมบูรณ์ อาจจะเกิดขึ้นเมื่อการเผาไหม้มีปริมาณออกซิเจนที่เข้า
ทําปฏิกิริยาไม่เพียงพอ โดยผลที่ได้จะเกิดเขม่า และยังเกิดแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ โดยมีสมการดังนี้
เชื้อเพลิง + O2 CO + H2O + พลังงาน ที่มา https://www.slideshare.net/seksan082/ss-56233000

สัญลักษณ์แสดงประเภทของอันตรายและข้อควรระวัง สัญลักษณ์แสดงประเภทของอันตรายและข้อควรระวัง

วัตถุระเบิด (EXPLOSIVES) ก๊าซไวไฟ (FLAMMABLE GASES)

สารเคมีที่เกิดปฏิกิริยาแล้วให้ความร้อนและ - ของเหลวที่ลุกติดไฟได้เองในอากาศ
แก๊สอย่างรวดเร็ว หรือ เมื่อได้รับความร้อนในสภาวะ - ของแข็งที่ลุกติดไฟได้เองในอากาศ
จํากัดจะเกิดการระเบิด หรือ เผาไหม้อย่างรุนแรง - สารเคมีที่เกิดความร้อนได้เอง
- สารเคมีที่สัมผัสน้ําแล้วให้แก๊สไวไฟ

ที่มา http://labsafety.nrct.go.th/index.php/2014-05-19-04-38-41/2014-08-05-05-53-40/264-2014-09-24-07-10-45 ที่มา http://labsafety.nrct.go.th/index.php/2014-05-19-04-38-41/2014-08-05-05-53-40/264-2014-09-24-07-10-45

11
14/01/62

สัญลักษณ์แสดงประเภทของอันตรายและข้อควรระวัง สัญลักษณ์แสดงประเภทของอันตรายและข้อควรระวัง

ก๊าซออกซิไดซ์ (OXIDIZING GASES)

ก๊าซภายใต้ความดัน
(GASES UNDER PRESSURE)
สารเคมีซึ่งโดยปกติไม่ลุกไหม้เอง แต่เมื่อสัมผัส
กับสารซึ่งลุกไหม้ได้สามารถให้ออกซิเจน แล้วเร่งการ
ลุกไหม้ได้

ที่มา http://labsafety.nrct.go.th/index.php/2014-05-19-04-38-41/2014-08-05-05-53-40/264-2014-09-24-07-10-45 ที่มา http://labsafety.nrct.go.th/index.php/2014-05-19-04-38-41/2014-08-05-05-53-40/264-2014-09-24-07-10-45

สัญลักษณ์แสดงประเภทของอันตรายและข้อควรระวัง สัญลักษณ์แสดงประเภทของอันตรายและข้อควรระวัง

สารที่กัดกร่อนโลหะ สารพิษ (ACUTE TOXICITY)


(CORROSIVE TO METALS)

สารซึง่ โดยปฏิกิริยาเคมีจะก่อให้ เกิดความ การสูดดม กลืนกิน หรื อดูดซึมผ่านผิวหนังแม้


เสียหายต่อเนื ้อเยื่อของสิ่งมีชีวิตและกัดกร่อนอุปกรณ์ เพียงปริ มาณเล็กน้ อยจะก่อให้ เกิดอันตราย ต่อ
ปฏิบตั ิการ สุขภาพ หรื ออาจถึงตายได้

ที่มา http://labsafety.nrct.go.th/index.php/2014-05-19-04-38-41/2014-08-05-05-53-40/264-2014-09-24-07-10-45 ที่มา http://labsafety.nrct.go.th/index.php/2014-05-19-04-38-41/2014-08-05-05-53-40/264-2014-09-24-07-10-45

12
14/01/62

สัญลักษณ์แสดงประเภทของอันตรายและข้อควรระวัง สัญลักษณ์แสดงประเภทของอันตรายและข้อควรระวัง
การทําให้ไวต่อการกระตุ้นอาการแพ้ต่อระบบทางเดินหายใจ
ความเป็นพิษเฉียบพลัน (RESPIRATORY SENSITIZATION)
(ACUTE TOXICITY)
- ไวต่อการกระตุ้นให้ เกิดอาการแพ้ ของระบบ
ทางเดินหายใจ
- ระคายเคืองผิวหนัง - การกลายพันธุ์/พิษต่อเซลล์สืบพันธุ์
- ระคายเคืองต่อดวงตา - ก่อมะเร็ ง
- ไวต่อการกระตุ้นอาการแพ้ต่อผิวหนัง - เป็ นพิษเจาะจงต่ออวัยวะเฉพาะบางระบบจาก
- เป็นพิษเจาะจงต่ออวัยวะเฉพาะบางระบบ การสัมผัสครัง้ เดียว
จากการสัมผัสครั้งเดียว - อันตรายต่อระบบทางเดินหายใจส่วนล่างหรื อทํา
ที่มา http://labsafety.nrct.go.th/index.php/2014-05-19-04-38-41/2014-08-05-05-53-40/264-2014-09-24-07-10-45
ให้ ปอดอักเสบ
ที่มา http://labsafety.nrct.go.th/index.php/2014-05-19-04-38-41/2014-08-05-05-53-40/264-2014-09-24-07-10-45

สัญลักษณ์แสดงประเภทของอันตรายและข้อควรระวัง

สารที่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม

การปล่อยสูส่ ภาพแวดล้ อม จะทําให้ เกิด


ความเสียหายต่อองค์ประกอบของสิ่งแวดล้ อมทันที

ที่มา http://labsafety.nrct.go.th/index.php/2014-05-19-04-38-41/2014-08-05-05-53-40/264-2014-09-24-07-10-45 ที่มา http://www.swapasap.us/free-fireworks-vector/

13
14/01/62

Quizzes Quizzes

1. ข้อใดเป็นระบบปิดทั้งหมด 2. ข้อใดอธิบายปฏิกิริยาคายความร้ อนได้ ถกู ต้ องที่สดุ


ก. การระเหิดของลูกเหม็น - การทํานาเกลือ ก. แม่นําอาหารแช่แข็งออกมาจากตู้เย็น
ข. การละลายน้ําตาลในน้ํา - การเปิดขวดน้ําอัดลม ข. นิวใช้คูลฟีเวอร์แปะลดไข้
ค. น้ําอัดลมในกระป๋องปิด - การตกตะกอนของสารละลายเกลือเข้มข้น ค. การละลายของน้ําแข็ง

Answer ค. น้ําอัดลมในกระป๋องปิด - การตกตะกอนของสารละลายเกลือเข้มข้น


Answer ข. นิวใช้คูลฟีเวอร์แปะลดไข้

Quizzes Quizzes
3. แมกนีเซียม 7.0 กรัม ทําปฏิกิริยากับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก 18.8 กรัม เกิดแก๊
3. แมกนีเซียม 7.0 กรัม ทําปฏิกิริยากับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก 18.8 กรัม สไฮโดรเจน เมื่อปฏิกิริยาสิ้นสุดลงพบว่าสารละลายที่ได้มีมวล 20.4 กรัม มีแมกนีเซียมเหลืออยู่ 3.2
เกิดแก๊สไฮโดรเจน เมื่อปฏิกิริยาสิ้นสุดลงพบว่าสารละลายที่ได้มีมวล 20.4 กรัม กรัม จงหาว่ามีแก๊สไฮโดรเจนเกิดขึ้นกี่กรัม
มีแมกนีเซียมเหลืออยู่ 3.2 กรัม จงหาว่ามีแก๊สไฮโดรเจนเกิดขึ้นกี่กรัม
วิธีทํา
มวลก่อนเกิดปฏิกิริยา = มวลหลังเกิดปฏิกิริยา
มวล Mg + มวล HCl = มวลสารละลาย + มวล H2 + มวล Mg ที่เหลือ
7 g + 18.8 g = 20.4 g + มวล H2 + 3.2 g
Answer จะมีแก๊สไฮโดรเจนเกิดขึ้น 2.2 กรัม มวล H2 = 25.8 g - 23.6 g
= 2.2 g

14
14/01/62

Quizzes Quizzes

4. ข้อใดแสดงพื้นที่ผิวที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยา 5. จงเขียนปฏิกิริยาเคมีต่อไปนี้
ก. กระดาษชําระติดไฟได้ง่ายกว่ากระดาษ A4 แมกนีเซียม ทําปฏิกิริยากับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก เกิดแก๊สไฮโดรเจน เมื่อ
ข. กระเบื้องถูกกัดกร่อนโดยน้ํายาล้างห้องน้ํา ปฏิกิริยาสิ้นสุดลงพบสารละลาย MgCl2 (ดุลสมการด้วย)
ค. หั่นหมูเป็นชิ้นเล็ก ๆ ก่อนนําไปย่าง
ง. น้ําย่อยช่วยในการย่อยอาหาร

Answer Mg(S) + 2HCl2(aq) → MgCl2(aq) + H2(g)


Answer ค. หั่นหมูเป็นชิ้นเล็ก ๆ ก่อนนําไปย่าง

Quizzes Quizzes

6. เติมผลิตภัณฑ์ที่หายไป 7. จงดุลสมการต่อไปนี้
P4 + H2  PH3
HCl + NaOH  ……….. + H2O

Answer P4 + 6H2  4PH3


Answer NaCl

15
14/01/62

Quizzes Quizzes

8. จงดุลสมการต่อไปนี้ 9. จงดุลสมการต่อไปนี้
CH4 + O2  CO2 + H2O C2H2 + O2  CO2 + H2O

Answer CH4 + 2O2  CO2 + 2H2O Answer 2C2H2 + 5O2  4CO2 + 2H2O

Quizzes

10. What is neutralization? แรงและการเคลื่อนที่


ก. 3Fe + 2O2  Fe3O4
ข. CaCO3 + 2HCl  CaCl2 + CO2 + H2O
ค. Zn + H2O  ZnO + H2 https://byjus.com/physics/force‐push‐and‐pull/
ง. HCl + NaOH  NaCl + H2O
ที่มา https://byjus.com/physics/force-push-and-pull/

Answer ง. HCl + NaOH  NaCl + H2O ผู้สอน คุณครูปรวีณ วิริยะภาพ


ครูพี่เลี้ยง คุณครูคุณครูปัทมาภรณ์ แก้วคงคา

16
14/01/62

Force Force

หน่วยของแรง คือ นิวตัน (N) หรือ kgm/s2 เวกเตอร์

จากรูป เวกเตอร์ A มีขนาด 5 หน่วย ไปทางทิศตะวันออก


แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์ (vector quantity)
สัญลักษณ์เวกเตอร์
ปริมาณทางวิทยาศาสตร์แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่
1. ปริมาณสเกลาร์ เป็นปริมาณที่มีเฉพาะขนาด ไม่มี
 สัญลักษณ์ของปริมาณเวกเตอร์ใช้ตัวอักษรมี
ทิศทาง เช่น เวลา ระยะทาง และอัตราเร็ว A ลูกศรครึ่งบนชี้จากซ้ายไปขวาแสดงปริมาณเวกเตอร์
2. ปริมาณเวกเตอร์ เป็นปริมาณที่มีทั้งขนาดและ
ทิศทาง เช่น การกระจัด ความเร็ว และแรง
ที่มา http://weclipart.com/forces+push+and+pull+clipart ที่มา http://weclipart.com/forces+push+and+pull+clipart

Force Resultant Force

เวกเตอร์ที่เท่ากัน คือ ผลรวมของแรง



 การเขียนเวกเตอร์แรงใช้สัญลักษณ์ F
A
   
B A B การเขียนเวกเตอร์แรงลัพธ์ใช้สญ
ั ลักษณ์ R

    
เวกเตอร์ที่ตรงข้ามกัน R   F 1  F2  F3    Fx

 
A B
ที่มา http://weclipart.com/forces+push+and+pull+clipart ที่มา http://weclipart.com/forces+push+and+pull+clipart

17
14/01/62

Resultant Force Resultant Force

การวาดรูป 1. วิธีหางต่อหัว

การวาดรูป  
 C D 
 B E
A
การหาแรงลัพธ์
   
การคํานวณ   A  B  A  ( B )
  R B
A B  
A R
  
ที่มา https://simple.wikipedia.org/wiki/Resultant_force A B B

Resultant Force Resultant Force

การวาดรูป 1. วิธีหางต่อหัว การวาดรูป 1. วิธีหางต่อหัว

   
 C D   C D 
 B E  B E
A  A
A
     
  
AC  D C D BE = B  ( E )

R
    
A  D R A B
C   
 D   R
R C E E

18
14/01/62

Resultant Force Resultant Force

การวาดรูป 2. สร้างรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน การวาดรูป 2. สร้างรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน

 
 C D 
 B E
A 
 R
B
 
AC
  
C  R A
R 
  C
A A

Resultant Force Resultant Force

การคํานวณ การคํานวณ
 
F1  F2  ()8  ()5  3 N

   

F1  F2  ()5  ( )6  11N F1  8 N F2  5 N 

F1  5 N

F2  6 N
F1  8 N F2  5 N
 

F1  5 N F2  6 N F2  5 N

19
14/01/62

Resultant Force Resultant Force

การคํานวณ การคํานวณ 1. กําหนดให้ 1 N = 1 cm


2. ดังนั้นแรง F1 = 4 cm และ แรง F2 = 5 cm

F1  
R F1  4 N 
 50 F1  4 N  4cm
F1 30
50 F2 50
 30 30 
F2 F2  5 N


F2  5 N  5cm

Resultant Force Resultant Force

การคํานวณ 3. สร้างรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานโดยแต่ละแรงทํามุมเดิมกับแนวระดับ การคํานวณ 4. ลากเส้นทแยงมุมเป็นแรงลัพธ์ วัดความยาว

 
F1  4 N F1  4 N
 
F1  4 N  4cm F1  4 N  4cm
50 50 
  R = 6.4 cm =6.4 N
F2  5 N 50 F2  5 N 50
30 30
 
F2  5 N  5cm F2  5 N  5cm

20
14/01/62

Light
Light

ที่มา https://www.pexels.com/search/light/
ผู้สอน คุณครูปรวีณ วิริยะภาพ
ครูพี่เลี้ยง คุณครูคุณครูปัทมาภรณ์ แก้วคงคา
ที่มา https://www.pexels.com/search/light/

Light Light
เนื่องจากแสงเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง เราสามารถเขียนเส้นตรงแทนลําแสง เราเรียกเส้นตรงนี้ว่า รังสีแสง การมองเห็นวัตถุ

รังสีของแสงมี 3 ชนิด คือ การมองเห็นวัตถุใด ๆ ต้ องมีแสงจากวัตถุมาเข้ าตาเรา ซึง่ แบ่งได้ เป็ น 2 กรณีคือ
1. รังสีขนาน เป็นแนวรังสีที่มาจากแหล่งกําเนิดที่อยู่ไกลมาก ๆ เช่น แสงจากดวงอาทิตย์
รังสีขนาน มายังโลก ลักษณะลําแสงจะขนานกัน
1. เมื่อวัตถุนนมี
ั ้ แสงสว่างในตัวเอง แสงสว่างจากวัตถุเข้ าตาโดยตรง
2. รังสีลู่ออก (รังสีถ่าง) เป็นแนวรังสีที่ขยายออก เช่น แสงจากแหล่งกําเนิดแสงต่าง ๆ 2. วัตถุนนไม่
ั ้ มีแสงสว่างในตัวเอง ต้ องมีแสงจากแหล่งกําเนิดแสงอื่นกระทบวัตถุนนแล้
ั้ ว
และแนวทางเดินของแสงที่ผ่านเลนส์เว้า สะท้ อนเข้ าตา
รังสีลู่ออก
3. รังสีลู่เข้า (รังสีตีบ) เป็นแนวทางเดินของรังสีขนานที่ผ่านตัวกลางชนิดหนึ่ง เช่น เลนส์
นูนหรือรังสีขนานที่สะท้อนจากกระจกเว้า
รังสีลู่เข้า

21
14/01/62

Light Light

การมองเห็นวัตถุ การมองเห็นวัตถุ

วัตถุโปร่งใส วัตถุโปร่งแสง

ที่มา http://www.idealkote.com/

ที่มา http://www.ikea.com/au/en/catalog/products/40179604/

ที่มา http://www.allsupplysolution.com ที่มา http://www.weloveshopping.com/template/a24/showproduct1.php?pid=28080236&shopid=166616&showm=&groupproduct=2113906 ที่มา https://www.rac.co.uk/drive/advice/winter-driving/safe-driving-in-fog/

Light Light

การมองเห็นวัตถุ สมบัติของแสงที่นักเรียนควรรู้จัก ได้แก่


วัตถุทึบแสง

การสะท้อนของแสง (Reflection)

ที่มา http://www.mysteelthailand.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539480519&Ntype=10

การหักเหของแสง (Refraction)

ที่มา http://forprod.forest.go.th/forprod/wood_industries/wood_industries2/WoodComposite/wsbweb/particle.htm

22
14/01/62

การสะท้อนของแสง (Reflection) การสะท้อนของแสง (Reflection)


แสงเดินทางจากตัวกลางที่มีความหนาแน่นค่าหนึ่งไปสู่ตัวกลางที่มีความหนาแน่นอีกค่าหนึ่ง

แสงจะตกกระทบกับตัวกลางใหม่ แล้วสะท้อนกับสู่ตัวกลางเดิม

กฎการสะท้อนของแสง - รังสีตกกระทบ คือ รังสีที่แสงพุ่งเข้าสู่พื้นผิวของวัตถุ


ที่มา http://www.krusarawut.net/wp/?p=21371 - รังสีสะท้อน คือ รังสีที่แสงพุ่งออกจากพื้นผิววัตถุ
- มุมตกกระทบ คือ มุมที่อยู่ระหว่างรังสีตกกระทบกับเส้นปกติ
1. รังสีตกกระทบ รังสีสะท้อน และเส้นปกติจะ - มุมสะท้อน คือ มุมที่อยู่ระหว่างรังสีสะท้อนกับเส้นปกติ
อยู่ในระนาบเดียวกัน - เส้นปกติ คือ เส้นตรงที่ลากตั้งฉากกับกระจกหรือพื้นผิววัตถุตรง
2. มุมตกกระทบเท่ากับมุมสะท้อน จุดที่ตกกระทบ
ที่มา http://www.krusarawut.net/wp/?p=21371

การสะท้อนของแสง (Reflection) การหักเหของแสง (Refraction)

ลักษณะการสะท้อนของแสงมี 2 ลักษณะ เกิดขึ้นเมื่อแสงเดินทางผ่านตัวกลางอย่างน้อย 2 ชนิด ที่มีความหนาแน่นไม่เท่ากัน

แสงส่วนหนึ่งสะท้อนกลับสู่ตัวกลางเดิม และแสงอีกส่วนหนึ่งผ่านตัวกลางที่สอง แต่จะมีทิศทางเปลี่ยนไป

การสะท้อนปกติ การสะท้อนกระจาย
ที่มา http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/31433/044031 ที่มา http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/31433/044031

23
14/01/62

การหักเหของแสง (Refraction) การหักเหของแสง (Refraction)


ดัชนีหักเห (refractive index)

คือ อัตราส่วนระหว่างอัตราเร็วของแสงในสุญญากาศ
ต่ออัตราเร็วของแสงในตัวกลางใด ๆ

แท่งพลาสติก
เมื่อ n คือ ดัชนีหักเหของวัตถุ
n= c คือ อัตราเร็วของแสงงในสุญญากาศ เท่ากับ 3  108 เมตรต่อวินาที
v คือ อัตราเร็วของแสงในวัตถุหรือตัวกลาง หน่วยเป็นเมตรต่อวินาที

ที่มา http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/31433/044031

การหักเหของแสง (Refraction) Light


ตัวอย่างการหาดัชนีหักเห

อัตราเร็วของแสงในแอลกอฮอล์เท่ากับ 2.21  108 m/s จงหาดัชนีหักเหของแอลกอฮอล์


การสะท้อนของแสง (Reflection) กระจก
วิธีทํา
n =
3  108 m/s
n = การหักเหของแสง (Refraction) เลนส์
2.21  108 m/s
n = 1.36

ดังนั้นดัชนีหักเหของแอลกอฮอล์ คือ 1.36

24
14/01/62

Light Reflection Of Mirror

เกิดจากการสะท้อนของแสงจากวัตถุที่กระจก
ภาพ (image)
เกิดจากการหักเหของแสงผ่านเลนส์

1. ภาพจริง 2. ภาพเสมือน
- เกิดจากรังสีของแสงตัดกันจริง - เกิดจากรังสีของแสงเสมือนตัดกัน
- เกิดภาพด้านหน้ากระจก หรือหลังเลนส์ - เกิดภาพด้านหลังกระจก หรือหน้าเลนส์
- ต้องมีฉากมารับจึงจะเห็นภาพ - เห็นภาพได้โดยไม่ต้องใช้ฉากรับ ที่มา https://www.westelm.com/products/metal-framed-mirror-circle-w1612/ ที่มา https://www.advancedroadsigns.com.au/Convex-Mirror-p/mc600od.htm ที่มา https://www.enasco.com/product/SB10483M

- ภาพมีลักษณะหัวกลับกับวัตถุ - ภาพมีลักษณะหัวตั้งเหมือนวัตถุ
Mirror Convex Mirror Concave Mirror

Reflection Of Mirror Reflection Of Mirror


Mirror Convex Mirror เมื่อต่อแนวรังสีสะท้อนไปทางด้านหลังของกระจก รังสีจะตัดกันที่จุดจุดหนึ่ง
บนแกนมุขสําคัญ เรียกจุดนั้นว่า โฟกัส (focus) แทนด้วย F

F คือ ความยาวของโฟกัส
R คือ รัศมีความโค้ง (R = 2f)
C คือ จุดศูนย์กลางความโค้ง มีระยะเท่ากับ R
O คือ ขัว้ กระจก

เส้นที่ลากผ่านจุด O ถึงจุด C เรียกว่า แกนมุขสําคัญ


ที่มา http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/31433-044031
ที่มา http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/31433-044031

25
14/01/62

Reflection Of Mirror Reflection Of Mirror


Convex Mirror Concave Mirror เมื่อรังสีหลายรังสีขนานกับแกนมุขสําคัญไปตกกระทบที่กระจกผิวโค้งเว้า
รังสีจะสะท้อนไปตัดกันที่จุดจุดหนึ่งบนแกนมุขสําคัญ เรียกจุดนั้นว่า โฟกัส
การเขียนทางเดินของแสงเพื่อหาตําแหน่งของภาพ วัตถุอยู่ระหว่างกระจกกับระยะอนันต์

F คือ ความยาวของโฟกัส
R คือ รัศมีความโค้ง (R = 2f)
C คือ จุดศูนย์กลางความโค้ง มีระยะเท่ากับ R
O คือ ขัว้ กระจก
O
F C
เส้นที่ลากผ่านจุด O ถึงจุด C เรียกว่า แกนมุขสําคัญ
ที่มา http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/31433-044031

Reflection Of Mirror Reflection Of Mirror


Concave Mirror Concave Mirror
วัตถุอยู่ระหว่างจุดศูนย์กลางความโค้ง วัตถุอยู่ระหว่างโฟกัสกับ
การเขียนทางเดินของแสงเพื่อหาตําแหน่งของภาพ กับระยะอนันต์ การเขียนทางเดินของแสงเพื่อหาตําแหน่งของภาพ
จุดศูนย์กลางความโค้ง

O
C F
O
C F

26
14/01/62

Reflection Of Mirror Refraction Of Lens


Concave Mirror

การเขียนทางเดินของแสงเพื่อหาตําแหน่งของภาพ วัตถุอยู่ระหว่างขั้วกระจกกับโฟกัส

O Convex Lens Concave Lens


C F

ที่มา http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/31433-044031

Refraction Of Lens Refraction Of Lens


Convex Lens Convex Lens

การเขียนทางเดินของแสงเพื่อหาตําแหน่งของภาพ ระยะวัตถุน้อยกว่าโฟกัส

F F

ที่มา http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/31433-044031

27
14/01/62

Refraction Of Lens Refraction Of Lens


Convex Lens Convex Lens
ระยะวัตถุมากกว่าโฟกัส
การเขียนทางเดินของแสงเพื่อหาตําแหน่งของภาพ ระยะวัตถุมากกว่าจุดศูนย์กลางความโค้ง การเขียนทางเดินของแสงเพื่อหาตําแหน่งของภาพ
แต่น้อยกว่าจุดศูนย์กลางความโค้ง

F F C F F C

Refraction Of Lens Refraction Of Lens


Convex Lens Concave Lens

การเขียนทางเดินของแสงเพื่อหาตําแหน่งของภาพ วัตถุอยู่ที่โฟกัสของเลนส์นูน

F F C

ที่มา http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/31433-044031

28
14/01/62

Refraction Of Lens Refraction Of Lens


Concave Lens Concave Lens

การเขียนทางเดินของแสงเพื่อหาตําแหน่งของภาพ ระยะวัตถุน้อยกว่าโฟกัส การเขียนทางเดินของแสงเพื่อหาตําแหน่งของภาพ ระยะวัตถุอยู่ที่โฟกัสของเลนส์เว้า

F F F F

Light Light
การคํานวณหาตําแหน่งภาพและขนาดภาพ การคํานวณหาตําแหน่งภาพและขนาดภาพ

การหาตําแหน่งภาพ การหาขนาดของภาพ
เมื่อ m คือ กําลังขยาย
เมื่อ f คือ ความยาวโฟกัส I คือ ขนาดของภาพ
1 1 1 O คือ นาดของวัตถุ
u คือ ระยะวัตถุ
v คือ ระยะภาพ f คือ ความยาวโฟกัส
u คือ ระยะวัตถุ
v คือ ระยะภาพ

29
14/01/62

Light Light
การสะท้อนกลับหมดของแสง (total reflection) การสะท้อนกลับหมดของแสง (total reflection)

เมื่อแสงเดินทางจากตัวกลางที่มีความหนาแน่น
มากกว่าไปสู่ตัวกลางที่มีความหนาแน่นน้อยกว่า

มุมวิกฤต

ที่มา http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/31433-044031

Light Light
การสะท้อนกลับหมดของแสง (total reflection) การสะท้อนกลับหมดของแสง (total reflection)
ที่มา https://www.youtube.com/watch?v=9py4-fih2d0

มิราจ หรือภาพลวงตา เป็นปรากฏการณ์ที่ทําให้เห็นเหมือนว่ามีน้ํานองบนพื้นถนนด้านหน้าในวันที่อากาศร้อน


ที่มา http://fullhdwall.com/wallpaper-of-rainbow-2.html
จัด เนื่องจากอากาศใกล้พื้นที่ร้อนจัดจะมีความหนาแน่นมากกว่าอากาศที่อยู่สูงขึ้นไป เมื่อแสงเดินทางจากตัวกลางที่มี รุ้ งกินนํา้ เป็ นปรากฏการณ์ที่เกิดจากแสงส่องผ่านละนํ ้าในอากาศ แล้ วเกิดการหักเหของแสง การ
ความหนาแน่นมาก (อากาศเย็น) มายังบริเวณที่มีความหนาแน่นน้อย (อากาศร้อน) จึงเกิดการหักเหได้ และเมื่อมุมตก กระจายของแสง การสะท้ อนกลับหมดภายในละอองนํ ้ารวมทั ้งแสงสีตา่ ง ๆ ที่กระจายออกจากละอองนํ ้า
กระทบมีค่ามาก จึงทําให้เกิดการสะท้อนกลับหมด ทํามุมเหมาะกับตาพอดี

30
14/01/62

ประโยชน์ของการสะท้อนและการหักเหของแสง ประโยชน์ของการสะท้อนและการหักเหของแสง
แว่นตา สายตายาว แว่นตาเลนส์นูน ทัศนอุปกรณ์

ที่มา http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/31433-044031
สายตาสั้น แว่นตาเลนส์เว้า

ที่มา https://pixabay.com ที่มา https://spiceee.net/th/articles/8472

ประโยชน์ของการสะท้อนและการหักเหของแสง ประโยชน์ของการสะท้อนและการหักเหของแสง
ทัศนอุปกรณ์ ทัศนอุปกรณ์

ที่มา https://sites.google.com/site/ananthayachs/science/telescope กล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสง กล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง


ที่มา https://dungjainang.wordpress.com

31
14/01/62

ประโยชน์ของการสะท้อนและการหักเหของแสง
ทัศนอุปกรณ์

ความสว่างและการมองเห็นสีของวัตถุ
ที่มา http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/31433-044031

ที่มา http://www.edgerton.ca/blogs/show_entry/5946

นัยน์ตาและการมองเห็น ผลของความสว่างที่มีต่อมนุษย์และสิ่งมีชีวิต
1. กระจกตา (cornea)
2. เลนส์ตา (lens) เป็นเลนส์นูน ทําหน้าที่หักเหแสงให้ หน่วยของความสว่าง คือ ลักซ์ (lux: lx)
เกิดภาพบนเรตินา
3. ม่านตา (iris) เป็นส่วนที่มีสีของนัยน์ตา ควบคุมแสง
ที่จะผ่านเข้าสู่เลนส์ตา
4. กล้ามเนื้อยึดเลนส์ตา (ciliary muscle) ทําหน้าที่
หดและคลายตัวเพื่อปรับความยาวโฟกัส ทําให้เกิดภาพ ความสว่าง 1 ลักซ์ หมายถึง ความสว่างที่เกิดขึ้นบนพื้นผิว
ที่ชัดเจนบนเรตินา 1 ตารางเมตร เมื่อแหล่งกําเนิดแสงมีความเข้มของการส่องสว่าง
5. เรตินา (retina) เป็นฉากรับภาพที่เกิดจากการหัก เท่ากับ 1 แคนเดลาร์ (cd)
เหของแสงผ่านเลนส์
1. เซลล์รูปแท่ง (rod cell) รับแสงสว่าง ให้
ความรู้สึกเกี่ยวกับความมืดความสว่าง
ที่มา http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/31433-044031
2. เซลล์รูปกรวย (cone cell)

32
14/01/62

ผลของความสว่างที่มีต่อมนุษย์และสิ่งมีชีวิต การเห็นสีของวัตถุ
แสงสี ประกอบด้วย แสงสีแดง แสงสีเขียว และแสงสีน้ําเงิน

ที่มา http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/31433-044031
นักเรียนคิดว่าแสงสว่างมีผลต่อสิ่งมีชีวิตหรือไม่ ???

การเห็นสีของวัตถุ การเห็นสีของวัตถุ

เซลล์รูปกรวยทําหน้าที่รับแสงสี ประกอบด้วย 3 กลุ่ม คือ

ที่มา http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/31433-044031
เซลล์รูปกรวยทําหน้าที่รับแสงสีแดง

เซลล์รูปกรวยทําหน้าที่รับแสงสีน้ําเงิน

เซลล์รูปกรวยทําหน้าที่รับแสงสีเขียว

33
14/01/62

ผู้สอน คุณครูปรวีณ วิริยะภาพ The Spheres of the Earth


ครูพี่เลี้ยง คุณครูคุณครูปัทมาภรณ์ แก้วคงคา

Life Biosphere

Water Hydrosphere

Air Atmosphere

Land Lithosphere
ที่มา https://giphy.com/stickers/planets-Wif2BJsS56nEk

The Earth’s Structure Plate Tectonics

ที่มา https://www.livescience.com/38218-facts-about-pangaea.html

ที่มา https://www.leeds.ac.uk/ruskinrocks/Earth%20Structure.html

34
14/01/62

Plate Tectonics Shaping The Earth's Surface

Weathering การผุพังอยู่กับที่

เป็นกระบวนการที่หินบนผิวโลกเกิดการสึกกร่อน ผุพังแตกสลายลง โดยสภาพอากาศ น้ําฝน


น้ําแข็ง ลม รวมทั้งพืชและสัตว์

ที่มา http://www.eschooltoday.com/landforms/weathering-and-landforms.html
ที่มา https://getech.com/plate-tectonics-50/

Shaping The Earth's Surface Shaping The Earth's Surface

Weathering การผุพังอยู่กับที่ Weathering การผุพังอยู่กับที่


Mechanical Weathering - การผุพังอยู่กับที่ทางกายภาพ Chemical Weathering - การผุพังอยู่กับที่ทางเคมี

เป็นกระบวนการที่หินแตกเป็นชิ้นเล็กลง เป็นกระบวนการผุพังที่ทําให้สมบัติทาง
เรื่อย ๆ โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงส่วนประกอบทาง เคมีของหินเปลี่ยนไป เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพ
แร่ของหิน ตัวการสําคัญที่ทําให้เกิดการผุพังอยู่กับที่ อากาศและความกดดัน เช่น ฝนกรด มีสมบัติ
ทางกายภาพ ได้แก่ ความร้อน ความเย็น ลมฟ้า ละลายและกัดกร่อนหินปูน หรือแก๊สออกซิเจน
อากาศ การกระทําของน้ําและน้ําแข็ง ที่มา http://www.eschooltoday.com/landforms/weathering-and-landforms.html
สามารถกัดกร่อนหินที่มีเหล็กเป็นส่วนประกอบ ที่มา http://www.eschooltoday.com/landforms/weathering-and-landforms.html

เมื่อถูกความชื้นหรือน้ําจะทําให้เกิดเป็นสนิม

35
14/01/62

Shaping The Earth's Surface Shaping The Earth's Surface

Weathering การผุพังอยู่กับที่ Erosion การกร่อน


Biological Weathering - การผุพังอยู่กับที่ทางชีวภาพ
เกิดจากลมหรือกระแสน้ําพัดพาเศษ
หินไปเสียดสีกับหินก้อนอื่น ๆ ทําให้เกิดการ
เป็นกระบวนการผุพังอยู่กับที่ที่เกิดจากการ
กร่อนทั้งเศษหินที่ถูกพัดพาและวัตถุที่ถูกเสียดสี
กระทําของสิ่งมีชีวิต เช่น การเจริญเติบโตของรากพืช
ที่ทําให้รอยแตกของหินกว้างขึ้น

ที่มา http://www.scienceclarified.com/El-Ex/Erosion.html
ที่มา https://imgur.com/gallery/sLaUTgN

Shaping The Earth's Surface Shaping The Earth's Surface

Erosion การกร่อน Erosion การกร่อน


Erosion by Waves - การกร่อนโดยคลื่น Erosion by Water - การกร่อนโดยกระแสน้ํา

คลื่นในทะเลจะพัดพาหิน กรวด และทราย กระแสน้ําจะพัดพาหิน กรวด และทรายมา


ไปกัดเซาะหน้าผา ทําให้หน้าผาเกิดการกร่อนและ กัดเซาะท้องน้ําและชายฝั่ง
ที่มา http://peter-mulroy.squarespace.com/running-water-causes-erosion//
พัดพาเอาชิ้นส่วนต่าง ๆ ที่หลุดออกมาให้เคลื่อนที่ไป
ทับถมกันในบริเวณต่าง ๆ ตามชายฝั่ง
ที่มา https://mrlilholt.wordpress.com/5th-grade-text/chapter-2/2-5-erosion-by-waves/

ที่มา https://daily.rabbit.co.th/

36
14/01/62

Shaping The Earth's Surface Shaping The Earth's Surface

Erosion การกร่อน Erosion การกร่อน


Erosion by Glacier - การกร่อนโดยธารน้ําแข็ง Erosion by Winds - การกร่อนโดยกระแสลม

ในบริเวณที่มีหิมะตกมาสะสมกัน และ ในบริเวณพื้นที่แห้งแล้ง เช่น ทะเลทราย


แข็งตัวเป็นก้อนน้ําแข็งในปริมาณมา เรียกว่า ธาร กระแสลมจะพัดพาเศษกรวด หิน ดิน ทราย ไป
น้ําแข็ง เมื่อธารน้ําแข็งเคลื่อนที่ลงจากภูเขา จะทํา กระทบสิ่งกีดขวางต่าง ๆ ทําให้เกิด โขดหินรูปเห็ด
ให้เกิดการบด กระแทก และเสียดสีกับหินบริเวณที่ ที่มา https://www.americangeosciences.org/education/k5geosource/content/rocks/what-is-glacial-erosion สันทรายและเนินทราย
ธารน้ําแข็งเคลื่อนที่ผ่าน ที่มา http://www.scienceclarified.com/El-Ex/Erosion.html

Shaping The Earth's Surface Shaping The Earth's Surface

Erosion การกร่อน Transportation and Deposition การพัดพาและการทับถม


Erosion by Gravity - การกร่อนโดยแรงโน้มถ่วงของโลก
เป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องจากการกร่อนโดยกระแสน้ํา เรียกว่า วัตถุพัดพา เมื่อไปเสียดสีกับ
หินอื่นหรือท้องน้ําจะทําให้เกิดการกร่อน และเมื่อการไหลของน้ําอ่อนกําลังหรือยุดลง จะทําให้ตะกอนที่
แรงโน้มถ่วงของโลกเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทํา พัดพามาสะสมตัวทับถมกันเป็นชั้น ๆ
ให้เกิดการกร่อน เช่น ภูเขาถล่ม

37
14/01/62

Shaping The Earth's Surface Shaping The Earth's Surface

Transportation and Deposition การพัดพาและการทับถม Transportation and Deposition การพัดพาและการทับถม


ทางน้ําโค้งตวัดหรือบึงโค้ง ที่ราบน้ําท่วมถึง

การโค้งของลําน้ําจะมากขึ้นเนื่องจากการ เกิดจากปริมาณน้ําที่ไหลไปตามลําน้ํามีมากเกินกว่าร่องน้ําจะรับ น้ําจึงเอ่อล้มไปยังที่ราบ 2 ฟาก


กร่อนของกระแสน้ํา และเกิดการทับถมของตะกอน ฝั่ง ทําให้เกิดการทับถมของตะกอนใกล้ลําน้ํา และเกิดคันดินธรรมชาติ
ในบริเวณฝั่งตรงข้าม จึงเกิดเป็นชายฝั่งยื่นเข้าไปใน
ลําน้ํามากขึ้น
ที่มา http://oknation.nationtv.tv/blog/print.php?id=517408

ที่มา http://nekozawa-kuromi.blogspot.com/2014/02/surface-water-groundwater-surface-water.html

Shaping The Earth's Surface Shaping The Earth's Surface

Transportation and Deposition การพัดพาและการทับถม Transportation and Deposition การพัดพาและการทับถม


เนินตะกอนรูปพัด ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ํา

เกิดจากกระแสนํ ้าไหลจากภูเขาตกลงสูท่ ี่ เกิดจากกระแสนํ ้าที่มีความแรงและเร็ ว


ราบตํ่ากว่า มีร่องนํ ้า ขนาดใหญ่กว่าร่องนํ ้าเดิมมาก ไหลออกจากปากแม่นํ ้าสูแ่ หล่งนํ ้าที่ใหญ่กว่า นํ ้า
ทําให้ เกิดการทับถมของตะกอนรูปพัด จากแหล่งที่ใหญ่กว่าจะต้ านความแรงของ
กระแสนํ ้าไว้ ทําให้ ความเร็ วลดลงจึงเกิดการ
ตกตะกอน ตะกอนนี ้จะก่อตัวเป็ นรูปสามเหลี่ยม
ที่มา https://6thsocialstudiesmcginty.blogspot.com/2015/10/ancient-egypt-nile-river-valley.html ที่มา https://pantip.com/topic/35365206

38
14/01/62

Shaping The Earth's Surface

การตกผลึก น้อง ๆ ครับ อย่าลืมทํา


แบบฝึกหัดในหนังสือ Workbook

mainblog.php?id=bluebutter&month=17-11-2009&group=22&gblog=68
Discovering Science ข้อ 4.1
หน้า 90 - 93 ด้วยนะครับ

ที่มา https://www.bloggang.com/
ที่มา http://knowledgequestion.blogspot.com/2015/09/blog-post_82.html

การแยกสาร
ดิน (Soil)

ผู้สอน คุณครูปรวีณ วิริยะภาพ


ครูพี่เลี้ยง คุณครูคุณครูปัทมาภรณ์ แก้วคงคา
ที่มา http://www.latimes.com/opinion/op-ed/la-oe-aguirre-federal-land-exchange-20170312-story.html

39
14/01/62

กระบวนการเกิดดิน Soil component

อินทรียวัตถุ เช่น ซากพืชซากสัตว์ ฮิวมัส

ดิน
หินและแร่ วัตถุต้นกําเนิดดิน

ที่มา http://www.physicalgeography.net/fundamentals/10t.html

ที่มา http://www.growthtechnology.com/growtorial/soil-and-coco/ ที่มา http://www.growthtechnology.com/growtorial/soil-and-coco/

Soil Horizon Soil texture


ชั้น O (Humus) มีอินทรียวัตถุ
หรือ ฮิวมัสมาก ดินมีสภาพเป็นกรด
ไม่ค่อยพบในพื้นที่การเกษตร ชั้น A (Topsoil) สีดําเข้ม มีแร่ธาตุ
และซากพืชซากสัตว์ที่สลายสมบูรณ์
แล้วอยู่ด้วยกัน ชั้น B (Subsoil) สีน้ําตาลปนแดง เป็นดิน
เหนียว มีการสะสมผลึกแร่ธาตุจํานวนมาก
ชั้น C (Weathered rock) ไม่มี
อินทรียวัตถุ เกิดจากหินชั้น R เริ่มผุผัง ที่มา http://www.physicalgeography.net/fundamentals/10t.html

เป็นก้อนเล็ก

ชั้น R (Bedrocks) หินต้นกําเนิดดิน


ส่วนใหญ่เป็นหินดินดาน
ที่มา https://www.dreamstime.com/stock-illustration-soil-layer-tree-layers-horizon-form-isolated-vector-image50282683
ที่มา http://www.growthtechnology.com/growtorial/soil-and-coco/

40
14/01/62

Soil texture Soil Color

1.ดินสีดําหรือคล้ํา คือ ดินที่มีฮิวมัสอยู่มาก


ดินทราย ประกอบด้วยอนุภาคทราย 80%, อนุภาคทรายแป้ง 10%, อนุภาคดินเหนียว 10% มีแร่เป็นองค์ประกอบ เหมาะแก่การเพาะปลูก
ดินร่วน ประกอบด้วยอนุภาคทราย 40%, อนุภาคทรายแป้ง 40%, อนุภาคดินเหนียว 20%
ดินเหนียว ประกอบด้วยอนุภาคทราย 20%, อนุภาคทรายแป้ง 20%, อนุภาคดินเหนียว 60% 2.ดินสีแดง เป็นดินที่มีอายุมากผ่านการสลายตัวมานาน
ไม่มีแร่ธาตุที่เหมาะแก่การเจริญเติบโตของพืช นิยมใช้ถมทําถนน
ดินลูกรัง

ที่มา http://www.growthtechnology.com/growtorial/soil-and-coco/ ที่มา http://www.growthtechnology.com/growtorial/soil-and-coco/

Soil Color

3. ดินที่มีสีเขียวปนน้ําเงิน เป็นดินที่มีธาตุเหล็ก (Fe)


เป็นสารประกอบ

ที่มา http://www.growthtechnology.com/growtorial/soil-and-coco/ ที่มา http://www.growthtechnology.com/growtorial/soil-and-coco/

41
14/01/62

ความเป็นกรด-เบสของดิน การทดสอบความเป็นกรด-เบสของดิน

มีผลต่อการดูดซึมแร่ธาตุและการเจริญเติบโต
1. กระดาษลิตมัส มี 2 สี คือ สีน้ําเงินและสีแดง เมื่อนํามา
ของพืช พืชจะเจริญเติบโตได้ในช่วง pH ที่เหมาะสม
ทดสอบ pH ของดินจะเปลี่ยนสีดังนี้
เท่านั้น
1. กระดาษลิตมัสสีน้ําเงิน  สีแดง = เป็นกรด
2. กระดาษลิตมัสสีแดง  สีน้ําเงิน = เป็นเบส ที่มา https://99papers.com/?ref_id=1077

1. ดินที่มีสภาพเป็นกรด แก้ไขได้โดยการเติม
3. กระดาษลิตมัสไม่เปลี่ยนสี = เป็นกลาง
แคลเซียมไฮดรอกไซด์ (ปูนขาว) หรือดินมาร์ลลงในดิน
2. ดินที่มีสภาพเป็นเบส แก้ไขโดยการเติมแคลเซียม
ซัลเฟต (CaSO4) หรือผงกํามะถันลงในดินในปริมาณที่
พอเหมาะ
ที่มา http://www.growthtechnology.com/growtorial/soil-and-coco/

การทดสอบความเป็นกรด-เบสของดิน สาเหตุที่ทําให้ดินเสื่อมสภาพ
2. ยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์ มีลักษณะเป็นตลับ ภายในมี
กระดาษยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์และด้านบนตลับมีแผ่นเทียบ
สีค่า pH ดังนี้ 1. เกิดจากธรรมชาติ เช่น ดินในพื้นที่ลาดเอียงจะถูกกัดเซาะได้เร็ว ดินในพื้นที่
1. ค่า pH ตั้งแต่ 1-6  เป็นกรด แห้งแล้งจะถูกกระแสลมพัดพาไปได้ง่าย การชะล้างหน้าดินด้วยฝนหรือลมเนื่องจากขาด
2. ค่า pH เท่ากับ 7  กลาง พืชคลุมดิน การกัดเซาะของกระแสน้ํา
3. ค่า pH ตั้งแต่ 7-14  เป็นเบส
ที่มา https://profilab24.com/MACHEREY-NAGEL-Universal-indicator-papers-Refill
2. เกิดจากการกระทําของมนุษย์ เช่น การตัดไม้ทําลายป่า ทําไร่เลื่อนลอย การ
สร้างถนน การทําเหมืองแร่ การใส่ปุ๋ยเคมี หรือเพาะปลูกจนดินจืด ขาตุธาตุอาหาร การ
ไถพรวน

ที่มา http://www.growthtechnology.com/growtorial/soil-and-coco/

42
14/01/62

การปรับปรุงคุณภาพของดิน การปรับปรุงคุณภาพของดิน

- การปลูกพืชคลุมดิน - การปลูกพืชตามแนวระดับ ทําได้โดยการไถพรวน หว่านปลูก และเก็บเกี่ยวพืช


- การปลูกพืชหมุนเวียน ในพื้นที่เดียวกัน โดยเฉพาะพวกถั่วจะช่วยให้ดินมีความ ขนานไปตามแนวระดับเดียวกัน จะช่วยลดการไหลของน้ําและการพังทลายของหน้าดิน
อุดมสมบูรณ์เพิ่มขึ้น - การปลูกพืชขั้นบันได จะช่วยลดความรุนแรงของเม็ดฝนกระทบผิวดินและ
- การเพิ่มอินทรียสารในดิน โดยการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ จะช่วยให้ดินมีความพรุนมาก ควบคุมการไหลบ่าของน้ํา
ขึ้น และอุ้มน้ําได้ดี - การปลูกป่า จะช่วยป้องกันการพังทลายของหน้าดิน และน้ําไม่ท่วม

หิน (rock)

หิน (rocks)  หิน คือมวลของแข็งบนเปลือกโลกที่ประกอบไปด้วยแร่ชนิด


เดียวกัน หรือหลายชนิดรวมตัวกัน
 มีต้นกําเนิดจาก “แมกมา” หรือ “หินหนืด” แทรกตัวออกมา
บริเวณเปลือกโลก จะเรียกว่า “ลาวา”

ที่มา https://pixabay.com

43
14/01/62

ประเภทของหิน วัฏจักรหิน (Rock cycle)

หินมี 3 ประเภท ได้แก่


วัฏจักรของหิน (Rock cycle) หมายถึง
การเปลี่ยนแปลงของหินทั้ง 3 ชนิด จากหินชนิดหนึ่งไปเป็น
1. หินอัคนี (Igneous rocks) อีกชนิดหนึ่งหรืออาจเปลี่ยนกลับไปเป็นหินชนิดเดิมอีกก็ได้
2. หินตะกอน (Sedimentary rocks)
3. หินแปร (Metamorphic rocks)

วัฏจักรหิน (Rock cycle)


หินอัคนี (Igneous rocks)
เป็นหินที่เกิดจากการแข็งตัวของแมกมาจากใต้เปลือกโลกที่แทรกตัวขึ้นมา
เราแบ่งหินอัคนีตามแหล่งที่มาเป็น 2 ประเภท คือ

1. หินอัคนีแทรกซอน (Intrusive igneous rock)


2. หินอัคนีพุ (Extrusive igneous rock)

ที่มา https://geonoi.wordpress.com/

44
14/01/62

หินอัคนี (Igneous rocks) หินอัคนี (Igneous rocks)

หินอัคนีแทรกซอน (Intrusive igneous rock)

เป็นหินที่เกิดจากหินหนืดที่เย็นตัวลงภายในเปลือกโลกอย่างช้า ๆ ทําให้ผลึก
แร่มีขนาดใหญ่และมีเนื้อหยาบ เช่น หินแกรนิต หินไดออไรต์ และหินแกบโบร

ที่มา https://www.youtube.com/watch?v=6qaG3MqI-4o

หินอัคนีแทรกซอน (Intrusive igneous rock) หินอัคนีแทรกซอน (Intrusive igneous rock)


หินแกรนิต (Granite) หินไดออไรต์ (Diorite)

เป็นผลึกขนาดใหญ่ แวววาว มีความแข็งและทนต่อการสึกกร่อน เนื้อหยาบ ผลึกแร่ใหญ่ค่อนข้างสม่ําเสมอ มีสีคล้ําอาจถึงดํา


ใช้ในการก่อสร้าง ประดับอาคาร ปูพื้น แกะสลัก เพราะปริมาณแร่สีเข้มมีมากขึ้น
ทําครกหรือโม่หิน

ที่มา https://geology.com ที่มา https://geology.com

45
14/01/62

หินอัคนีแทรกซอน (Intrusive igneous rock) หินอัคนี (Igneous rocks)

หินแกบโบร (gabbro)

มีเนื้อหยาบ ผลึกแร่ใหญ่ มีสีเข้ม หินอัคนีพุ (Extrusive igneous rock)


โดยทั่วไปมีขนาดเล็กว่าหินแกรนิต
บางทีเรียกว่า หินภูเขาไฟ เป็นหินหนืดที่เกิดจากลาวาบนพื้นผิวโลกเย็น
ตัวอย่างรวดเร็ว ทําให้ผลึกมีขนาดเล็ก และเนื้อละเอียด เช่น หินบะซอลต์ หินไรออไรต์
และหินแอนดีไซต์

ที่มา https://geology.com

หินอัคนีพุ (Extrusive igneous rock) หินอัคนีพุ (Extrusive igneous rock)

หินบะซอลต์ (Basalt) หินสคอเรีย (scoria)

มีผลึกละเอียด แข็งทนต่อการผุกร่อน มีสีคล้ํา แข็งสากเหมือนกระดาษทราย แข็งแต่เปราะ เบา


ไม่แวววาว มีรูพรุน ลอยน้ําได้ ไม่ทนต่อการสึกกร่อน

ที่มา https://geology.com ที่มา https://geology.com

46
14/01/62

หินอัคนีพุ (Extrusive igneous rock) หินอัคนีพุ (Extrusive igneous rock)

หินออบซิเดียน (Obsedian หินพัมมิซ (Pumice)


เนื้อเรียบคล้ายแก้ว เมื่อแตกออกรอยแตกจะคม คล้ายหินสคอเรียแต่มีรูพรุนเล็ก ๆ มากกว่า เบา
เหมือนแก้ว มีสีเทาน้ําตาล ลอยน้ําได้ ชาวบ้านเรียกว่า หินลอยน้ํา

ที่มา https://geology.com ที่มา https://geology.com

หินอัคนีพุ (Extrusive igneous rock) หินอัคนีพุ (Extrusive igneous rock)

หินไรโอไลต์ (Ryolite) หินแอนดีไซต์ (Andesite)

น้ําหนักเบา มีเนื ้อละเอียดมากกว่าหินแกรนิต มีเนื้อละเอียดแน่นทึบ


มีผลึกขนาดเล็กกระจายอยู่ในเนื้อหิน

ที่มา https://geology.com ที่มา https://geology.com

47
14/01/62

หินตะกอน (Sedimentary rocks)

หินตะกอน (Sedimentary rocks)


นักธรณีวิทยาจําแนกหินตะกอนตามลักษณะการเกิดออกเป็น 3 ประเภท
ดังนี้
เกิดจากเศษหินที่ผุพัง ทั้งอนุภาคใหญ่และเล็กถูกที่พัดพาไปสะสม
อัดตัวกัน เป็นชั้นๆ เกิดความกดดันและปฏิกิริยาเคมีจน 1. หินตะกอนอนุภาค (Clastic sedimentary rocks)
กลับกลายเป็นหินอีกครั้ง 2. หินตะกอนเคมี (Chemical sedimentary rocks)
3. หินตะกอนอินทรีย์ (Organic sedimentary rocks)

หินตะกอนอนุภาค (Clastic sedimentary rocks) หินตะกอนอนุภาค (Clastic sedimentary rocks)


เป็นหินตะกอนที่ประกอบด้วย เศษหินที่แตกหัก และถูกนําพามาจากที่อื่น เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า
หินตะกอนเนื้อประสม เช่น หินทราย หินดินดาน หินกรวด
หินทราย (Sandstone)

หินกรวดมน (Congromorate) เป็นหินตะกอนเนื้อละเอียดปานกลาง เกิดจาก


การทับถมตัวของทราย มีองค์ประกอบหลักเป็น
เป็ น หิ น เนื้ อ หยาบเกิ ด จากตะกอนซึ่ ง เป็ น หิ น แร่ควอรตซ์
กรวด ทราย ที่ ถู ก กระแสน้ํ า พั ด พามาอยู่ ร วมกั น
สารละลายในน้ํ า ใต้ ดิ น ทํ า ตั ว เป็ น ซิ เ มนต์ ป ระสานให้
อนุภาคใหญ่เล็กเหล่านี้ เกาะตัวกันเป็นก้อนหิน

ที่มา https://geology.com ที่มา https://geology.com

48
14/01/62

หินตะกอนอนุภาค (Clastic sedimentary rocks) หินตะกอนเคมี (Chemical sedimentary rocks)


เป็นหินตะกอนที่เกิดจากการตกผลึกจากสารละลายทางเคมี ณ อุณหภูมิ และความดันต่ํา เช่น
หินดินดาน (Shale) หินปูน เกลือหิน
เป็ น หิ น ตะกอนเนื้ อ ละเอี ย ดมาก เนื่ อ งจาก หินปูน (Limestone)
ประกอบด้วยอนุภาคทรายแป้งและอนุภาคดินเหนียว
ทับถมกันเป็นชั้นบางๆ ขนานกัน เมื่อทุบหินจะแตกตัว เป็นหินตะกอนคาร์บอเนต เกิดจากการทับถม
ตามรอยชั้น ของตะกอนคาร์บอเนตในท้องทะเล ทั้งจากสารอนินท
รีย์และซากสิ่งมีชีวิต เช่น ปะการังและกระดองของสัตว์
ทะเล ซึ่งถับถมกันภายใต้ความกดดันและตกผลึกใหม่
เป็นแร่แคลไซต์
ที่มา https://geology.com ที่มา https://geology.com

หินตะกอนเคมี (Chemical sedimentary rocks) หินตะกอนอินทรีย์ (Organic sedimentary rocks)


เป็นหินตะกอนที่เกิดจากการสะสมสารอินทรียวัตถุเป็นส่วนใหญ่ เช่น ถ่านหิน หินน้ํามัน
หินเชิร์ต (Chert)
ถ่านหิน (Coal)
เป็นหินตะกอนเนื้อแน่น แข็ง เกิดจากการตก
ผลึกใหม่ เนื่องจากน้ําพาสารละลายซิลิกาเข้าไปแล้ว
ระเหยออก ทําให้เกิดผลึกซิลิกาแทนที่เนื้อหินเดิม หิน เกิดจากการทับถมของซากพืชที่ยังไม่เน่าเปื่อย
เชิร์ตมักเกิด ขึ้นใต้ท้องทะเล เนื่องจากแพลงตอนที่ มี ไปหมดเนื่องจากสภาวะออกซิเจนต่ํา สภาวะเช่นนี้เกิด
เปลือกเป็นซิลิกาตาย เปลือกของมันจะจมลงทับถมกัน ตามห้วยหนองคลองบึง
หินเชิร์ตจึงปะปะอยู่ในหินปูน

ที่มา https://geology.com ที่มา https://geology.com

49
14/01/62

หินแปร (Metamorphic rocks)

หินแปร (Metamorphic rocks) แบบเป็นริ้วขนาน

หินชนวน (Slate)
คือ หินที่แปรสภาพเนื่องจากความร้อน แรงดัน หรือปฏิกิริยาเคมี หินแปรชนิด
หนึ่ง ๆ จะมีองค์ประกอบเดียวกันกับหินต้นกําเนิด แต่อาจจะมีการตกผลึกของแร่ใหม่ แปรสภาพจากหินดินดาน มีเนื้อแน่น
เช่น หินชนวนแปรมาจากหินดินดาน หินอ่อนแปรมาจากหินปูน เป็นต้น หินแปรส่วน ละเอียด ผิวหน้าเรียบ แยกออกจากกันเป็น
ใหญ่เกิดขึ้นในระดับลึกใต้เปลือกโลกหลายกิโลเมตร แผ่นได้ มีหลายสี

ที่มา https://geology.com

หินแปร (Metamorphic rocks) หินแปร (Metamorphic rocks)


แบบเป็นริ้วขนาน แบบเป็นริ้วขนาน

หินชีตส์ (Schist) หินชีตส์ (Schist)

แปรสภาพมาจากหินแกรนิตหรือ แปรสภาพมาจากหินแกรนิตหรือ
หินดินดาน เนื้อหยาบ ผิวรอยแตกขรุขระไม่ หินดินดาน เนื้อหยาบ ผิวรอยแตกขรุขระไม่
เรียบ เรียบ

ที่มา https://geology.com ที่มา https://geology.com

50
14/01/62

หินแปร (Metamorphic rocks) หินแปร (Metamorphic rocks)


แบบเป็นริ้วขนาน แบบเป็นริ้วขนาน

หินไนซ์ (Gneiss) หินฟิลไลต์ (phyllite)

แปรสภาพมาจากหินแกรนิต เนื้อหิน แปรสภาพจากหินชนวน เนื้อหยาบ มี


เป็นผลึก แข็งแรงทนทาน ริ้วมีสีขาวขุ่น สีขาว ริ้วขนานลักษณะโค้งเป็นลูกคลื่นเล็ก ๆ
ใสและสีดําเรียงกันอยู่สวยงาม

ที่มา https://geology.com ที่มา https://geology.com

หินแปร (Metamorphic rocks) หินแปร (Metamorphic rocks)

แบบไม่มีริ้วขนาน แบบไม่มีริ้วขนาน

หินอ่อน (Marble) หินควอตไซต์ (Quartzite)

แปรสภาพมาจากหินปูน มีทั้งเนื้อ แปรสภาพมาจากหินทราย


ละเอียดและเนื้อหยาบ หินอ่อนบริสุทธิ์จะมีสี เนื ้อแน่นแข็งแกร่งมาก เมื่อแตกมีรอยเว้ า
ขาว เมื่อขัดจะเป็นมันวาว สึกกร่อนได้ง่าย แบบก้ นหอย
ละลายในน้ํากรดได้
ที่มา https://geology.com ที่มา https://geology.com

51
14/01/62

แร่ (minerals)

แร่ (minerals) แร่ เป็นสารอนินทรีย์ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ประกอบด้วยอะตอมของ


ธาตุ 1 ชนิด หรือตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป เรียงประกอบกันเป็นรูปผลึก เช่น เพชร เป็น
แร่ซึ่งประกอบด้วยอะตอมของธาตุคาร์บอน แร่ควอตซ์ประกอบด้วยอะตอมของ
ธาตุซิลิกอนและธาตุออกซิเจน เนื่องจากแร่จึงมีองค์ประกอบทางเคมีคงที่ จึงมี
คุณสมบัติทางฟิสิกส์เฉพาะตัว เช่น มีลักษณะ รูปร่าง สี ความวาว ความแข็ง รอย
แยก และผิวแตก เป็นต้น

ที่มา https://www.theknot.com/content/finding-the-perfect-diamond
ที่มา https://www.mrspittorinosclassroom.com/mighty-minerals.html

ลักษณะและสมบัติทางกายภาพของแร่ ลักษณะและสมบัติทางกายภาพของแร่

สี (Color) สีผงละเอียด (Streak) สี (Color)


เป็นสมบัติเห็นได้ชัดเจนที่สุดแต่เชื่อถือไม่ได้
ความวาว (Luster) ผลึก (Crystal) เพราะแร่บางชนิดอาจมีหลายสี และบางชนิดอาจมีสีคล้ายกัน

แนวแตกประชิด (Fracture) แนวแตกเรียบ (Clevage)

ความแข็ง (Hardness)
ความถ่วงจําเพาะ (Specific Gravity)
ยิปซัม คอรันดัม

52
14/01/62

ลักษณะและสมบัติทางกายภาพของแร่ ลักษณะและสมบัติทางกายภาพของแร่
สีผงละเอียด (Streak) ผลึก (Crystal)

เป็นคุณสมบัติเฉพาะตัวของแร่แต่ละชนิด เมื่อนําแร่มาขีดบนแผ่นกระเบื้อง (ที่ไม่เคลือบ) เป็นสมบัติเฉพาะตัวของแร่ที่เด่นชัด โดยธรรมชาติผลึกจะเป็นเหลี่ยมเป็นมุม


จะเห็นสีของรอยขีดติดอยู่แผ่นกระเบื้อง ซึ่งอาจมีสีไม่เหมือนกับชิ้นแร่ก็ได้ และผลึกของแร่แต่ละชนิดจะมีลักษณะเฉพาะตัว

ที่มา http://geologycafe.com/gems/chapter2.html
ที่มา https://www.amnh.org

ลักษณะและสมบัติทางกายภาพของแร่ ลักษณะและสมบัติทางกายภาพของแร่
ความวาว (Luster) ความแข็ง (Hardness)
เป็นคุณสมบัติในการสะท้อนแสงของผิวแร่ ความวาวมีหลายแบบ
เช่น วาวแบบโลหะ แบบมุก แบบเพชร แบบน้ํามัน แบบแก้ว เป็นต้น มาตราความแข็งของแร่ตามระบบสเกลของโมล (Mol’s scale) ประกอบด้วยแร่มาตรฐาน
ตัวอย่างเช่น แร่ควอตซ์มีความวาวแบบแก้ว แร่แบไรต์มีความวาวแบบมุก 10 ชนิด เรียงลําดับตั้งแต่แร่ที่ทนทานต่อการขูดขีดน้อยที่สุดไปถึงมากที่สุด

แร่ควอตซ์ แบไรต์
ที่มา https://geology.com

53
14/01/62

ลักษณะและสมบัติทางกายภาพของแร่
แนวแตกประชิด (Fracture) แนวแตกเรียบ (Clevage)

แนวแตกประชิด (Fracture) หมายถึง แนวแตกบาง ๆ ซึ่งปรากฏเป็นแนวขนานบาง ๆ หลายแนว


บนเนื้อแร่ และมิได้อยู่ในระนาบเดียวกับแนวแตกเรียบ
แนวแตกเรียบ (Clevage) หมายถึง รอยที่แตกเป็นระนาบเรียบตามโครงสร้างอะตอมในผลึกแร่
โดยทั่วไปรอยแตกนี้จะขนานไปกับหน้าผลึกแร่

ที่มา https://www.911metallurgist.com/blog/mohs-hardness-test-kit

ลักษณะและสมบัติทางกายภาพของแร่
ความถ่วงจําเพาะ (Specific Gravity)
อัตราส่วนระหว่างน้ําหนักของแร่ต่อน้ําหนักของน้ําที่มีปริมาตรเท่ากับแร่นั้น
แร่ที่มีความถ่วงจําเพาะสูงจะหนัก

น้ําหนักของแร่
ความถ่วงจําเพาะของแร่
น้ําหนักของน้ําทีม่ ีปริมาตรเท่าแร่
ที่มา http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/minerals/mineral-properties

54
14/01/62

แร่โลหะ (metallic mineral)

ชนิดของแร่ คือ แร่ที่มีโลหะเป็นส่วนประกอบสําคัญ สามารถนําไปถลุงนําโลหะมาใช้ประโยชน์ได้

แร่กาลีนา
แร่เงิน
แร่ทอง

ที่มา https://geology.com
แร่ทองแดง
ที่มา https://geology.com

แร่อโลหะ (non-metallic mineral) แร่รัตนชาติ (gems หรือ gemstones)

คือ แร่หรือหินที่มีคุณค่า ความสวยงาม ทนทานและหายาก สมบัติพิเศษคือโปร่งแสง


และสะท้อนแสงได้
รัตนชาติแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ

แร่ใยหิน
ที่มา https://www.treatmesothelioma.org/asbestos/ - เพชร (Diamonds) ทั้งชนิดใสไม่มีสี และชนิดที่มีสีต่างๆ
แร่ซัลเฟอร์ - พลอย (Colored stones) หมายถึง อัญมณี ต่างๆ เช่น ทับทิม ไพลิน มรกต
ควอตซ์ หยก ฯลฯ แต่ไม่รวมถึงเพชร นอกจากนี้ยังมีรัตนชาติบางชนิดที่เกิดจากสิ่งมีชวี ิต เช่น
ไข่มุก ปะการัง และอําพัน
ที่มา https://geology.com
แร่ควอตซ์

55
14/01/62

แร่รัตนชาติ (gems หรือ gemstones)


มรกต
ที่มา https://en.wikipedia.org

นพรัตน์ รัตนชาติ ทั้ง 9


เพชร
ที่มา http://www.mining.com

เพชรดีมณีแดง เขียวใสแสงมรกต เหลืองใสสดบุษราคัม


แดงแก่ก่ําโกเมนเอก สีหมอกเมฆนิลกาฬ มุกดาหารหมอกมัว
แดงสลัวเพทาย สังวาลย์สายไพฑูรย์
ทับทิม
ที่มา https://en.wikipedia.org บุษราคัม
ที่มา http://www.ebay.com/

แร่กัมมันตรังสี

เป็นแร่ที่ให้พลังงานมาหาศาล สามารถปล่อยรังสีออกมาได้
ตลอดเวลา เมื่อสิ้นสุดการสลายตัวจะกลายเป็นเรดอนและตะกั่ว
โกเมน
ที่มา https://mineralseducationcoalition.org/minerals-database/garnet/
มุกดา ไพฑูรย์
ที่มา https://www.energymuse.com/moonstone-stones.html ที่มา https://pantip.com/topic/34141316

ไพลิน
เพทาย
ที่มา https://www.icstoneshop.com
ที่มา https://www.gemrockauctions.com ที่มา http://www.earthtimes.org/energy/uranium-mining-power-weapons/1873/

56
14/01/62

แร่เชื้อเพลิง (mineral fuels)

คือวัสดุที่มีต้นกําเนิดมาจากการทับถมตัวของ
เชื้อเพลิงธรรมชาติ (mineral fuels)
ซากพืช สัตว์ และอินทรียสารอื่น ๆ ได้แก่
- ถ่านหิน Coal
- ปิโตรเลียม Petroleum

ที่มา https://inhabitat.com/the-obama-administration-proposes-8-billion-in-loans-for-clean-fossil-fuel-technologies/ ที่มา https://www.indiamart.com/om-industrial-services/petrochemical-petroleum-products.html ที่มา https://inhabitat.com/the-obama-administration-proposes-8-billion-in-loans-for-clean-fossil-fuel-technologies/

ถ่านหิน (coal) ถ่านหิน (coal)


พีต (Peat) มีคาร์บอน 60%
เป็นเชื้อเพลิงธรรมชาติ เกิดจากการสะสมตัวตามธรรมชาติของซากพืชในแอ่ง
ตะกอนน้ําตื้น ถ่านหินเป็นหินตะกอนชนิดหนึ่งซึ่งสามารถติดไฟได้ มีส่วนประกอบที่ เป็นขั้นแรกในกระบวนการเกิดถ่านหิน ประกอบด้วย
สําคัญคือ สารประกอบของคาร์บอน ซึ่งจะมีอยู่ประมาณไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 โดย ซากพืชซึ่งบางส่วนได้สลายตัวไปแล้ว แต่ซากพืชบางส่วนยัง
สลายตัวไม่หมด ยังมองเห็นเป็นลําต้น กิ่ง หรือใบ มีสีน้ําตาลถึง
ปริมาณ
สีดํา มีปริมาณคาร์บอนต่ํา ประมาณร้อยละ 50-60 โดยมวล มี
ปริมาณออกซิเจนและความชื้นสูงแต่สามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงได้

ที่มา http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/fuel/coal

57
14/01/62

ถ่านหิน (coal) ถ่านหิน (coal)

ลิกไนต์ (Lignite) มีคาร์บอน 55 - 60% ซับบิทูมินัส (Sub–bituminous) มีคาร์บอน 77 %


เป็นถ่านหินที่มีสีน้ําตาลผิวด้าน มีซากพืชหลงเหลืออยู่ เป็นถ่านหินที่ใช้เวลาในการเกิดนานกว่าลิกไนต์ มีสี
เล็กน้อย มีคาร์บอนร้อยละ 55 - 60 มีออกซิเจนค่อนข้างสูง มี น้ําตาลถึงสีดํา ผิวมีทั้งด้านและเป็นมัน มีทั้งเนื้ออ่อนและเนื้อแข็ง
ความชื้นสูงถึงร้อยละ 30-70 เมื่อติดไฟมีควันและเถ้าถ่านมาก มีความชื้นประมาณร้อยละ 25-30 มีคาร์บอนสูงกว่าลิกไนต์ เป็น
มีความชื้นมาก เป็นถ่านหินที่ใช้เป็นเชื้อเพลิงสําหรับผลิต เชื้อเพลิงที่มีคุณภาพเหมาะสมในการผลิตกระแสไฟฟ้าและงาน
กระแสไฟฟ้า บ่มใบยาสูบ อุตสาหกรรม

ที่มา http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/fuel/coal ที่มา http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/fuel/coal

ถ่านหิน (coal) ถ่านหิน (coal)

บิทูมินัส (bituminous) มีคาร์บอน 80 – 90 % แอนทราไซต์ (Anthracite) มีคาร์บอนมากกว่า 86 %


เป็ นถ่านหินที่ใช้ เวลาในการเกิดนานกว่าซับบิทมู ินสั เป็นถ่านหินที่ใช้เวลาในการเกิดนานกว่าบิทูมินัส มี
เนื ้อแน่น แข็ง มีสีนํ ้าตาลถึงสีดําสนิท ประกอบด้ วยชันถ่
้ านหิน ลักษณะดําเป็นเงา มันวาวมาก มีรอยแตกเว้าแบบก้นหอย มี
สีดํามันวาว ใช้ เป็ นเชื ้อเพลิงเพื่อการถลุงโลหะ และเป็ น ปริมาณคาร์บอนประมาณร้อยละ 86-98 ความชื้นต่ําประมาณ
วัตถุดิบเพื่อเปลี่ยนเป็ นเชื ้อเพลิงอื่นๆ ร้อยละ 2-5 มีค่าความร้อนสูงแต่ติดไฟยาก เมื่อติดไฟให้เปลว
ไฟสีน้ําเงิน ไม่มีควัน ใช้เป็นเชื้อเพลิงในอุตสาหกรรมต่างๆ

ที่มา http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/fuel/coal ที่มา http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/fuel/coal

58
14/01/62

ปิโตรเลียม (Petroleum) ปิโตรเลียม (Petroleum)

เป็นสารไฮโดรคาร์บอนที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ โดยมีธาตุคาร์บอนและ
ไฮโดรเจเป็นองค์ประกอบหลัก และมีธาตุอื่นปนอยู่อยู่ด้วย ปิโตรเลียม แบ่งตามสถานะที่สําคัญได้ 2 ชนิด คือ
น้ํามันดิบ (Oil) และแก๊สธรรมชาติ(Natural Gases)
ปิโตรเลียม เกิดจากการทับถมและแปรสภาพของซากสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ยุคก่อน
ประวัติศาสตร์นับหลายล้านปี ที่ตกตะกอนหรือถูกกระแสน้ําพัดพามาจมลง ณ บริเวณที่เป็นทะเล
หรือทะเลสาบในขณะนั้น ถูกทับถมด้วยชั้นกรวด ทราย และโคลนสลับกันเป็นชั้นๆ เกิดน้ําหนักกด
ทับกลายเป็นชั้นหินต่างๆ ผนวกกับความร้อนใต้พิภพและการสลายตัวของอินทรีย์สารตาม
ธรรมชาติ ทําให้ซากพืชและซากสัตว์กลายเป็นน้ํามันดิบและก๊าซธรรมชาติ หรือที่เราเรียกว่า
“ปิโตรเลียม” ดังนั้นเราจึงเรียกปิโตรเลียมได้อีกชื่อหนึ่งว่า “เชื้อเพลิงฟอสซิล”

ปิโตรเลียม (Petroleum)
น้ํามันดิบ (Oil)

มีสถานะเป็นของเหลว โดยทั่วไปมีสีดําหรือสีน้ําตาล
มีกลิ่นคล้ายน้ํามันเชื้อเพลิงสําเร็จรูป แต่บางชนิดจะมีกลิ่นของ
สารผสมอื่นด้วย เช่น กลิ่นกํามะถัน และกลิ่นไฮโดรซัลไฟต์
หรือก๊าซไข่เน่า เป็นต้น

ที่มา http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/31754/044330
ที่มา http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/31200-043733

59
14/01/62

ปิโตรเลียม (Petroleum)

แก๊สธรรมชาติ (natural gas)


สินในน้ํา
เป็นแก๊สที่พบตามบ่อน้ําหรือบ่อแก๊สธรรมชาติ เป็น
ของผสมของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน ซึ่งส่วนใหญ่เป็น
(Water)
มีเทนและอีเทน เนื่องจากแก๊สธรรมชาติมีความหนาแน่นน้อย
กว่าน้ํามันดิบและน้ํา จึงมักลอยตัวอยู่เหนือน้ํามันดิบและน้ําใน
แหล่งกักเก็บปิโตรเลียม

ผู้สอน คุณครูปรวีณ วิริยะภาพ


ที่มา http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/31754/044330
ครูพี่เลี้ยง คุณครูคุณครูปัทมาภรณ์ แก้วคงคา

น้ํา (water)

ที่มา https://montemalaga.pvpusd.net/apps/pages/Mr.Wells_Science
เป็นสารที่มีอยู่เป็นปริมาณที่มากสุดบนโลก

โลกปกคลุมด้วยน้ํา 3 ส่วน และพื้นดิน 1 ส่วน

พื้นน้ํา เป็นน้ําทะเล 97% น้ําแข็ง 2% ที่เหลืออีก 1% เป็นน้ําจืด

ที่มา https://www.welovesolo.com/summer-holiday-yacht-with-sea-vector-background/

60
14/01/62

แหล่งน้ํา (source water) แหล่งน้ําบนดิน (Surface Water)


หรือน้ําผิวดิน คือ น้ําที่เกิดจากน้ําฝนที่ตกลงมาแล้วดินไม่สามารถดูดซับไว้ได้หมด มีทั้งที่
เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และมนุษย์สร้างขึ้น
แหล่งน้ําบนดิน (Surface Water)
น้ําจืด (fresh water) น้ํากร่อย (brackish water) น้ําเค็ม (saline water)

แหล่งน้ําใต้ดิน (Ground Water)

ที่มา https://en.wikipedia.org/wiki/James_River ที่มา http://www.siamfishing.com/board/view.php?tid=66934 ที่มา https://www.youtube.com/watch?v=QX4j_zHAlw8

แหล่งน้ําบนดิน (Surface Water) น้ําจืด (fresh water) แหล่งน้ําบนดิน (Surface Water) น้ําจืด (fresh water)

แหล่งน้ําไหล เช่น แม่น้ํา ลําธาร น้ําจะไหลจากที่หนึ่งไปยังที่อื่น ๆ เสมอ


เป็นแหล่งน้ําที่มีความเค็มไม่เกิน 0.5 ppt (น้ําที่มีเกลือละลายอยู่ไม่เกิน 0.5 ส่วน โดยจะไหลจากที่สูงไปที่ต่ํา
ในพันส่วน ppt: part per thousand) นักวิทยาศาสตร์ แบ่งน้ําจืดออกเป็น 2 ประเภท
ได้แก่

แหล่งน้ําไหล แหล่งน้ํานิ่ง

ที่มา https://th.wikipedia.org ที่มา https://sites.google.com/site/webthrrmchatiswy/haelng-na-lathar

61
14/01/62

แหล่งน้ําบนดิน (Surface Water) น้ําจืด (fresh water) แหล่งน้ําบนดิน (Surface Water) น้ําจืด (fresh water)
แหล่งน้ํานิ่ง เช่น บึง หนอง ทะแลสาบน้ําจืด แหล่งน้ําเหล่านี้บางแห่งเป็น แหล่งน้ํานิ่ง ทะเลสาบน้ําจืด (lake)
แหล่งน้ําปิด บางแห่งมีทางออกติดต่อกับแม่น้ํา ลําธาร แหล่งน้ํานิ่ง
จะไม่มีการขึ้ลงของน้ํา น้ําจะเคลื่อนที่โดยอาศัยกระแสลม แหล่งน้ํา เป็นแหล่งน้ําปิด มักเกิดบริเวณ
เหล่านี้ได้รับน้ําจากน้ําฝน หรือน้ําที่ท่วมมาจากแม่น้ําในช่วงฤดูฝน แอ่งแผ่นดิน หรือบริเวณที่มีน้ําขังไม่มี
ทางออกโดยตรง ทะเลสาบมีทั้งน้ําจืด
และน้ําเค็ม

ที่มา http://www.manager.co.th/QOL/ViewNews.aspx?NewsID=9600000004198
ที่มา https://travel.thaiza.com/foreign/370983/

แหล่งน้ําบนดิน (Surface Water) น้ําจืด (fresh water) แหล่งน้ําบนดิน (Surface Water) น้ําจืด (fresh water)
แหล่งน้ํานิ่ง บึง (swamp) แหล่งน้ํานิ่ง หนอง (marsh)

เป็นแหล่งที่ลุ่มมีน้ําขังตลอดทั้งปี เป็นแหล่งที่ลุ่มมีน้ําท่วมเป็นครั้ง
มีต้นไม้ขึ้นโดยรอบบริเวณบึง เช่นบึง คราว มีพืชล้มลุกปกคลุมอยู่บริเวณน้ํา
บอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์ ตื้นรอบหนอง หนองส่วนใหญ่จะอยู่
ใกล้เคียงหรือติดกับแม่น้ํา

ที่มา https://www.tripadvisor.com
ที่มา http://www.manager.co.th/QOL/ViewNews.aspx?NewsID=9600000004198

62
14/01/62

แหล่งน้ําบนดิน (Surface Water) น้ํากร่อย (brackish water) แหล่งน้ําบนดิน (Surface Water) น้ําเค็ม (saline water)

เป็นแหล่งน้ําที่ลึกและกว้างใหญ่ไพศาล ได้แก่ ทะเลและมหาสมุทร ซึ่งอุดม


เป็นแหล่งน้ําที่อยู่ระหว่างแหล่งน้ําจืดกับแหล่งน้ําเค็ม ซึ่งเป็นบริเวณที่มีน้ําทะเล
สมบูรณ์ด้วยทรัพยากรต่าง ๆ เป็นจํานวนมาก ทรัพยากรทางทะเลที่สําคัญ ได้แก่
ขึ้นถึง น้ํากร่อยจะมีความเค็มประมาณ 0.5 – 25 ppt แหล่งน้ํากร่อยนี้จัดเป็นแหล่งรวม
ชายทะเล ป่าชายเลน ทรัพยากรประมง แนวปะการัง แร่ธาตุในน้ําทะเลและใต้ทะเล
ของพืชพรรณและสัตว์น้ํานานาชนิด

ที่มา http://www.siamfishing.com/board/view.php?tid=66934 ที่มา https://www.youtube.com/watch?v=QX4j_zHAlw8

แหล่งน้ําบนดิน (Surface Water) น้ําเค็ม (saline water) 1. ไหล่ทวีป เป็นส่วนที่อยู่ติดกับแผ่นดินและเป็นเขตน้ําตื้น ซึ่งอาจแผ่ออกไปได้ไกลถึง 1,500
กิโลเมตร และลึกประมาณ 20–550 เมตร เป็นพื้นที่ที่มนุษย์ใช้ในการทําประมงและเลี้ยงสัตว์
พื้นผิวโลกที่อยู่ใต้ท้องทะเลและมหาสมุทรจะมีลักษณะภูมิประเทศและความลึกที่ 2. ลาดทวีป ต่อจากไหล่ทวีปลึกลงไปสู่ก้นมหาสมุทร มีลักษณะความลาดชัน บริเวณนี้มีความ
ลึกประมาณ 180–360 เมตร
แตกต่างกันซึ่งแบ่งเป็นส่วนต่าง ๆ ดังนี้
3. เนินทวีป เป็นส่วนที่อยู่ระหว่างลาดทวีปและแอ่งมหาสมุทร มีความลาดเอียงไม่มากนัก มี
ความลึก 1,400–5,100 เมตร
4. แอ่งมหาสมุทร เป็นส่วนที่อยู่ต่อจาก
เนินทวีป ประกอบด้วยที่ราบทะเลลึก
สันเขา มหาสมุทร เหวทะเลลึก และ
ภูเขาไฟใต้สมุทร

ที่มา http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/31431 ที่มา http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/31431

63
14/01/62

แหล่งน้ําใต้ดิน (Ground Water) แหล่งน้ําใต้ดิน (Ground Water) น้ําในดิน


แหล่งน้ําที่อยู่ลึกลงไปใต้ผิวดิน เกิดจากน้ําบนดินไหลซึมลงไปรวมกันอยู่ใต้ผิวดิน น้ําจะใส
เนื่องจากสารแขวนลอยถูกชั้นดินและหินกรองกักเอาไว้ หรือ น้ําใต้ดินชั้นบน หลังจากดิน
ได้ดูดซับน้ําไว้ จนกระทั่งบริเวณผิวหน้าดิน
น้ําในดิน อิ่มตัวแล้ว น้ําจะไหลซึมลงไปในดินชั้นล่าง
เกิดเป็นแหล่งน้ํา
น้ําบาดาล

ที่มา http://www.siamchemi.com/

แหล่งน้ําใต้ดิน (Ground Water) น้ําบาดาล แหล่งน้ําใต้ดิน (Ground Water) น้ําบาดาล

เป็นแหล่งน้ําใต้ดินที่อยู่ลึกลงไป โดยซึมผ่านลงมาจากผิวดินแล้วซึม
ผ่านชั้นดินลงไปขังตัวอยู่ระหว่างช่องว่างหรือโพรงของชั้นหินเกิดเป็นชั้นน้ํา
น้ําบาดาลเป็นน้ําที่มีคุณภาพดี เนื่องจากไหลผ่านชั้นดินทราย ซึ่ง
บาดาล และเรียกระดับน้ําที่อยู่บนสุดของชั้นนี้ว่า ระดับน้ําบาดาล
ทําหน้าที่คล้ายเครื่องกรองน้ําธรรมชาติ ระดับน้ําบาดาลมีการ
เปลี่ยนแปลงไปตาฤดูการ หรือตามปริมาณการเพิ่มหรือสูญเสียน้ํา แต่การ
น้ําบาดาลอาจเกิดเป็นชั้น ๆ มากกว่า 1 ชั้น แต่ละชั้นคั่นด้วยชั้นหิน เปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นช้า เพราะน้ําบาดาลอยู่ในชั้นหินซึ่งน้ําซึมผ่านได้ยาก
เนื้อแน่นหรือหินดินดาน นอกจากมนุษย์จะสูบเอาไปใช้ประโยชน์

64
14/01/62

Water Cycle

ที่มา https://pmm.nasa.gov/education/water-cycle

Evaporation - การระเหย Transpiration - การคายน้ําของพืช

หมายถึง การที่น้ําในแหล่งน้ํา เช่น แม่น้ํา ทะเล และมหาสมุทร ฯลฯ หมายถึง การแพร่ของน้ําออกจากใบของพืชโดยผ่านทางปากใบ


กลายเป็นไอเมื่อได้รับความร้อนจากแสงอาทิตย์

ที่มา https://pmm.nasa.gov/education/water-cycle ที่มา https://pmm.nasa.gov/education/water-cycle

65
14/01/62

Condensation - การควบแน่น Precipitation - การเกิดฝน

หมายถึง การที่ไอน้ําในบรรยากาศเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลวในรูปของ หมายถึง ปรากฏการณ์ของการเกิดการรวมตัวของน้ําในอากาศ เกิดเป็นฝน


เมฆเมื่อได้รับความเย็น และหิมะตกสู่พื้นโลก ซึ่งส่วนใหญ่ตกลงสู่พื้นที่มหาสมุทร นอกจากนั้นบางส่วนก็ซึม
ลงดินและไหลลงสู่แหล่งน้ําต่าง ๆ

ที่มา https://pmm.nasa.gov/education/water-cycle ที่มา https://pmm.nasa.gov/education/water-cycle

Runoff - การรวมตัวของน้ํา การผุพังโดยการกระทําของน้ํา

หมายถึง น้ําไหลผ่านเป็นการไหลของน้ําบนผิวดินไปสู่มหาสมุทร น้ําไหลลง การกร่อนโดยคลื่น


สู่แม่น้ําและไหลไปสู่มหาสมุทร ซึ่งอาจจะถูกกักชั่วคราวตาม บึง หรือ ทะเลสาบ
การกร่อนโดยกระแสน้ํา
ก่อนไหลลงสู่มหาสมุทร น้ําบางส่วนกลับกลายเป็นไอก่อนจะไหลกลับลงสู่ ที่มา https://daily.rabbit.co.th/

มหาสมุทร การกร่อนโดยธารน้ําแข็ง
การพัดพาและการทับถม
ที่มา http://nekozawa-kuromi.blogspot.com/2014/02/surface-water-groundwater-surface-water.html

ทางน้ําโค้งตวัดหรือบึงโค้ง
ที่ราบน้ําท่วมถึง
ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ํา
ที่มา http://oknation.nationtv.tv/blog/print.php?id=517408 เนินตะกอนรูปพัด ที่มา https://pantip.com/topic/35365206
ที่มา https://pmm.nasa.gov/education/water-cycle

66
14/01/62

ใช้น้ําในการอุปโภคและบริโภค น้ําเป็นแหล่งอาหารของมนุษย์ การระบายน้ําเสียลงสู่แหล่งน้ํา การทําลายป่าไม้ซึ่งเป็นต้นกําเนิด


ของแหล่งน้ํา
ใช้แหล่งน้ําเพื่อการเกษตร

ใช้น้ําเพื่อการอุตสาหกรรม
การใช้ประโยชน์จากแหล่งน้ํา การกระทําของมนุษย์
แหล่งน้ําเพื่อการคมนาคม ที่ส่งผลต่อแหล่งน้ํา การชลประทาน

การใช้ยาฆ่าแมลง ปุ๋ยเคมี
แหล่งน้ําเพื่อการนันทนาการและการพักผ่อน

แหล่งน้ําเพื่อการผลิตกระแสไฟฟ้า การขุดเจาะบ่อน้ําบ่าดาล

น้ําเสีย การตรวจวัดคุณภาพน้ํา
หมายถึง น้ําที่มีสิ่งเจือปนต่าง ๆ มากมาย จนกระทั่งกลายเป็นน้ําที่ไม่เป็นที่ต้องการ และน่า
รังเกียจของคนทั่วไป ไม่เหมาะสมสําหรับใช้ประโยชน์อีกต่อไป หรือถ้าปล่อยลงสู่ลําน้ําธรรมชาติก็จะ ค่า DO - Dissolved Oxygen คือ ปริมาณออกซิเจนที่ละลายได้ในน้ํา ถ้าน้ํามีค่า
ทําให้คุณภาพน้ําของธรรมชาติเสียหายได้ DO ต่ํากว่า 3 มิลลิกรัม/ลิตร จัดว่าเป็นน้ําเสีย ค่า DO สูง = ดี
ค่า COD - Chemical Oxygen Demand คือ ปริมาณออกซิเจนที่ใช้ในการย่อย
น้ํามันและสารลอยน้ําต่าง ๆ สารอินทรีย์ โลหะหนักและสารพิษ สลายสารอินทรีย์ในน้ํา
ค่า BOD - Biochemical Oxygen Demand คือ ปริมาณออกซิเจนที่แบคทีเรีย
สารก่อให้เกิดฟอง/สารซักฟอก สารอนินทรีย์ จุลินทรีย์ ใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ในน้ํา โดยวัดที่ 20 องซาเซลเซียส เป็นเวลา 5 วัน
COD และ BOD สูง = ไม่ดี
ธาตุอาหาร กลิ่น

67
14/01/62

การปลูกป่า ใช้น้ําอย่างประหยัดและเกิด
ประโยชน์สูงสุด
แบบทดสอบ 2/3

การอนุรักษ์แหล่งน้ํา
ให้ความรู้แก่ประชาชน

การป้องกันการเกิดมลพิษทางน้ํา

การขุดลอกคูคลอง

แบบทดสอบ 2/4 แบบทดสอบ 2/5

68

You might also like