แผนการสอนวิทยาศาสตร์ - ป6 - หน่วยที่5 วงจรไฟฟ้า

You might also like

Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 230

1

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง วงจรไฟฟ้ า


กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา วิทยาศาสตร์พื้น
ฐาน รหัส ว 16101
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
เวลา 10 ชั่วโมง

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระที่ 5 พลังงาน
มาตรฐาน
มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำรง
ชีวิตการเปลี่ยนแปลง
รูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน
ผลการใช้พลังงานต่อชีวิต และสิ่งแวดล้อม มี
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นำ
ความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัด
ว 5.1 ป 6/1 ทดลองและอธิบายการต่อวงจรไฟฟ้ าอย่างง่าย
ว 5.1 ป 6/2 ทดลองและอธิบายตัวนำไฟฟ้ าและฉนวนไฟฟ้ า
ว 5.1 ป 6/3 ทดลองและอธิบายการต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบ
อนุกรมและนำความรู้ไปใช้
ประโยชน์
2

ว 5.1 ป 6/4 ทดลองและอธิบายการต่อหลอดไฟฟ้ าทั้งแบบ


อนุกรม แบบขนานและ
นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ว 5.1 ป 6/5 ทดลองและอธิบายการเกิดสนามแม่เหล็กรอบ
สายไฟที่มีกระแสไฟฟ้ าผ่าน
และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
2. สาระสำคัญ
สังเกต สืบค้นข้อมูล ทดลอง วิเคราะห์ อภิปรายการต่อวงจรไฟฟ้ า
อย่างง่าย ตัวนำไฟฟ้ าและฉนวนไฟฟ้ า การต่อเซลล์ไฟฟ้ าและการต่อ
หลอดไฟฟ้ าแบบอนุกรม แบบขนาน การเกิดสนามแม่เหล็กไฟฟ้ าและ
การนำไปใช้ประโยชน์
3. สาระการเรียนรู้
3.1 วงจรไฟฟ้ าอย่างง่ายประกอบด้วยอะไรบ้าง
3.2 ตัวนำและฉนวนไฟฟ้ าเป็ นอย่างไร
3.3 การต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบอนุกรมเป็ นอย่างไร
3.4 การต่อหลอดไฟฟ้ าแบบอนุกรมและแบบขนานให้ผลต่างกัน
อย่างไร
3.5 แม่เหล็กไฟฟ้ าเกิดขึ้นได้อย่างไร
4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
4.1 ความสามารถในการสื่อสาร
4.2 ความสามารถในการคิด
4.3 ความสามารถในการแก้ปั ญหา
4.4 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
3

5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
5.1 มีวินัย
5.2 ใฝ่ เรียนรู้
5.3 มุ่งมั่นในการทำงาน
6. ชิ้นงาน/ภาระงาน
6.1 การสืบค้นข้อมูล การร่วมอภิปรายในระหว่างเรียน
6.2 บันทึกกิจกรรมการทดลองลงในแบบบันทึกกิจกรรมทุก
กิจกรรม
7. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การผ่าน


1. สังเกต 1. แบบสังเกต พฤติกรรมการปฏิบัติ
พฤติกรรมการร่วม พฤติกรรม งานกลุ่ม
กิจกรรมการปฏิบัติ การปฏิบัติงาน ผ่านเกณฑ์ พอใช้ขึ้น
งานกลุ่ม กลุ่ม ไป
2. การสังเกต 2. แบบประเมิน สังเกตพฤติกรรมอันพึง
พฤติกรรม พฤติกรรม ประสงค์
อันพึงประสงค์ อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์ พอใช้ขึ้น
ไป
3. การตรวจแบบ 3. แบบบันทึก การตรวจแบบบันทึก
บันทึก กิจกรรม กิจกรรม
กิจกรรม ผ่านเกณฑ์ พอใช้ขึ้น
ไป
4

8. กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ 1 การต่อวงจรไฟฟ้ าอย่างง่าย
1) จุดประสงค์การเรียนรู้
1.1 อภิปรายและอธิบายความหมายและส่วนประกอบของ
วงจรไฟฟ้ าอย่างง่าย
1.2 ทดลองและสรุปผลการต่อวงจรไฟฟ้ าอย่างง่าย
1.3 เขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้ าโดยใช้สัญลักษณ์แทนอุปกรณ์
ไฟฟ้ า
1.4 สังเกตและอธิบายเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้ าปิ ดและวงจรไฟฟ้ า
เปิ ดได้
1.5 บอกและเขียนทิศทางของกระแสไฟฟ้ าในวงจรได้
2) กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนำเครื่องใช้ไฟฟ้ า เช่น กระติกน้ำร้อน วิทยุ เตารีด มาให้
นักเรียนศึกษาสังเกตแล้วสนทนากับนักเรียนว่า เครื่องใช้ไฟฟ้ าเหล่านี้
ทำงานได้อย่างไร
2. ให้นักเรียนต่อหลอดไฟฟ้ าให้สว่างตามหนังสือเรียน โดยใช้
ถ่านไฟฉาย หลอดไฟฟ้ า และสายไฟ 2 เส้น
5

3. ให้นักเรียนศึกษาสัญลักษณ์ที่ใช้เขียนแทนถ่านไฟฉาย หลอด
ไฟฟ้ าและสายไฟ รวมทั้งศึกษาการเขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้ า
4. ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมการทดลองเรื่องวงจรไฟฟ้ าอย่าง
ง่ายประกอบด้วยอะไรบ้าง บันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรมในใบบันทึก
กิจกรรม 30 นำเสนอและอภิปรายร่วมกัน
5. นักเรียนร่วมกันอภิปรายและหาข้อสรุปในประเด็น ดังนี้
- ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้ าอย่างง่ายมีอะไรบ้าง
- การต่อวงจรไฟฟ้ าอย่างง่ายประกอบด้วยอะไรบ้าง
- การเขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้ าโดยใช้สัญลักษณ์แทนอุปกรณ์
ไฟฟ้ าในการต่อวงจรไฟฟ้ าอย่างง่าย
6. สุ่มตัวแทนนักเรียนนำเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมการ
ทดลอง เพื่อนำไปสู่ข้อสรุปดังนี้
- วงจรไฟฟ้ าอย่างง่าย ประกอบด้วย แหล่งกำเนิดไฟฟ้ า
คือ ถ่านไฟฉายและ อุปกรณ์ไฟฟ้ า
7. ครูสรุปให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการต่อวงจรไฟฟ้ าอย่างง่าย
ว่าไฟฟ้ าเดินทางจากแหล่งกำเนิดไฟฟ้ าจากขั้วบวกของถ่านไฟฉายไปยัง
หลอดไฟ และผ่านหลอดไฟกลับมายังขั้วลบของถ่านไฟฉาย หลอดไฟ
จึงสว่าง เนื่องจากไฟฟ้ าเดินทางครบวงจร
8. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้ าปิ ดและงจรไฟฟ้ าเปิ ด
3) สื่อและแหล่งเรียนรู้
1. อุปกรณ์การทดลอง เช่น สายไฟแบบมีปากคีบ ถ่านไฟฉาย
พร้อมกล่องใส่ถ่านไฟฉาย หลอดไฟพร้อมฐา
4) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
6

วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การผ่าน


- สังเกต - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ พอใช้
พฤติกรรม พฤติกรรม ขึ้นไป
การปฏิบัติงาน การปฏิบัติงาน
กลุ่ม กลุ่ม
- สังเกต - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ พอใช้
พฤติกรรม พฤติกรรม ขึ้นไป
อันพึงประสงค์ อันพึงประสงค์
- ตรวจใบ - แบบประเมินการ ระดับคุณภาพ พอใช้
กิจกรรม ปฏิบัติกิจกรรมที่ 30 ขึ้นไป
ที่ 30
- ตรวจสมุด - แบบประเมินสมุด ระดับคุณภาพ พอใช้
บันทึกกิจกรรม บันทึกกิจกรรม ขึ้นไป

9. บันทึกผลหลังสอนชั่วโมงที่.........................
ผลการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………
……………………………….
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
7

……………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………...........

ปั ญหาและอุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………
…………………………….
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………...........…
ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………….
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………

ลงชื่อ............................................................ผู้
สอน

(...............................................................)
8

วัน
ที่.............เดือน...............................พ.ศ............

10. ความคิดเห็น /ข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย

……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………

ลงชื่อ............................................................ผู้
บริหาร/ผู้ได้รับมอบหมาย
(...............................................................)
วัน
ที่.............เดือน................................พ.ศ.............

ชั่วโมงที่ 2 การต่อวงจรไฟฟ้ าอย่างง่าย


1) จุดประสงค์การเรียนรู้
1.1 อภิปรายและอธิบายความหมายและส่วนประกอบของ
วงจรไฟฟ้ าอย่างง่าย
1.2 ทดลองและสรุปผลการต่อวงจรไฟฟ้ าอย่างง่าย
9

1.3 เขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้ าโดยใช้สัญลักษณ์แทนอุปกรณ์


ไฟฟ้ า
1.4 สังเกตและอธิบายเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้ าปิ ดและวงจรไฟฟ้ า
เปิ ดได้
1.5 บอกและเขียนทิศทางของกระแสไฟฟ้ าในวงจรได้
2) กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนำเครื่องใช้ไฟฟ้ า เช่น กระติกน้ำร้อน วิทยุ เตารีด มาให้
นักเรียนศึกษาสังเกตแล้วสนทนากับนักเรียนว่า เครื่องใช้ไฟฟ้ าเหล่านี้
ทำงานได้อย่างไร
2. ให้นักเรียนต่อหลอดไฟฟ้ าให้สว่างตามหนังสือเรียน โดยใช้
ถ่านไฟฉาย หลอดไฟฟ้ า และสายไฟ 2 เส้น
3. ให้นักเรียนศึกษาสัญลักษณ์ที่ใช้เขียนแทนถ่านไฟฉาย หลอด
ไฟฟ้ าและสายไฟ รวมทั้งศึกษาการเขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้ า
4. ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมการทดลองเรื่องวงจรไฟฟ้ าอย่าง
ง่ายประกอบด้วยอะไรบ้าง บันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรมในใบบันทึก
กิจกรรม 30 นำเสนอและอภิปรายร่วมกัน
5. นักเรียนร่วมกันอภิปรายและหาข้อสรุปในประเด็น ดังนี้
- ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้ าอย่างง่ายมีอะไรบ้าง
- การต่อวงจรไฟฟ้ าอย่างง่ายประกอบด้วยอะไรบ้าง
- การเขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้ าโดยใช้สัญลักษณ์แทนอุปกรณ์
ไฟฟ้ าในการต่อวงจรไฟฟ้ าอย่างง่าย
6. สุ่มตัวแทนนักเรียนนำเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมการ
ทดลอง เพื่อนำไปสู่ข้อสรุปดังนี้
10

- วงจรไฟฟ้ าอย่างง่าย ประกอบด้วย แหล่งกำเนิดไฟฟ้ า


คือ ถ่านไฟฉายและ อุปกรณ์ไฟฟ้ า
7. ครูสรุปให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการต่อวงจรไฟฟ้ าอย่างง่าย
ว่าไฟฟ้ าเดินทางจากแหล่งกำเนิดไฟฟ้ าจากขั้วบวกของถ่านไฟฉายไปยัง
หลอดไฟ และผ่านหลอดไฟกลับมายังขั้วลบของถ่านไฟฉาย หลอดไฟ
จึงสว่าง เนื่องจากไฟฟ้ าเดินทางครบวงจร
8. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้ าปิ ดและงจรไฟฟ้ าเปิ ด
3) สื่อและแหล่งเรียนรู้
1. อุปกรณ์การทดลอง เช่น สายไฟแบบมีปากคีบ ถ่านไฟฉาย
พร้อมกล่องใส่ถ่านไฟฉาย หลอดไฟพร้อมฐา
4) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การผ่าน


- สังเกต - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ พอใช้
พฤติกรรม พฤติกรรม ขึ้นไป
การปฏิบัติงาน การปฏิบัติงาน
กลุ่ม กลุ่ม
- สังเกต - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ พอใช้
พฤติกรรม พฤติกรรม ขึ้นไป
อันพึงประสงค์ อันพึงประสงค์
- ตรวจใบ - แบบประเมินการ ระดับคุณภาพ พอใช้
กิจกรรม ปฏิบัติกิจกรรมที่ 30 ขึ้นไป
ที่ 30
11

- ตรวจสมุด - แบบประเมินสมุด ระดับคุณภาพ พอใช้


บันทึกกิจกรรม บันทึกกิจกรรม ขึ้นไป

9. บันทึกผลหลังสอนชั่วโมงที่.........................
ผลการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………
……………………………….
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………...........

ปั ญหาและอุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………
…………………………….
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………...........…
12

ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………….
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………

ลงชื่อ............................................................ผู้
สอน

(...............................................................)
วัน
ที่.............เดือน...............................พ.ศ............

10. ความคิดเห็น /ข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย

……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………
13

ลงชื่อ............................................................ผู้
บริหาร/ผู้ได้รับมอบหมาย
(...............................................................)
วัน
ที่.............เดือน................................พ.ศ.............

ชั่วโมงที่ 3 เรื่อง ตัวนำและฉนวนไฟฟ้ าเป็ นอย่างไร


1) จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ทดลองและจำแนกวัสดุตามสมบัติการนำไฟฟ้าได้ว่า วัสดุใดนำ
ไฟฟ้า และวัสดุใดไม่นำไฟฟ้า
2. อภิปรายและอธิบายสมบัติของตัวนำไฟฟ้ าและฉนวนไฟฟ้ า
และการนำสมบัติของตัวนำไฟฟ้ าและฉนวนไฟฟ้ าไปใช้ประโยชน์ในชีวิต
ประจำวัน
2) กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนำอุปกรณ์ตัวอย่าง ได้แก่ สายไฟ 4 เส้น หลอดไฟฟ้ า
2.5 โวลต์ กล่องบรรจุถ่านไฟฉายซึ่งมีถ่านไฟฉาย 1 ก้อนและสวิตซ์
ให้นักเรียนศึกษาและสังเกต
2. ครูสนทนาซักถามนักเรียนว่า
- จะต่ออุปกรณ์ต่างๆ เหล่านี้เข้าด้วยกันอย่างไร จึงจะ
ทำให้หลอดไฟฟ้ าสว่าง
เมื่อเปิ ดสวิตซ์
14

- ถ้ามีวัสดุต่างๆ เช่น เข็มเย็บผ้า ลวดเย็บกระดาษ


กระดาษ ลวดทองแดง
ไส้ดินสอ แผ่นอลูมิเนียม เชือก ไม้บรรทัด ตะปู เป็ นต้น นำมาต่อใน
วงจรไฟฟ้ าหลอดไฟฟ้ าจะสว่างหรือไม่ ฯลฯ
3. ให้นักเรียนทำกิจกรรม ตัวนำและฉนวนไฟฟ้ าเป็ นอย่างไร
โดยต่อหลอดไฟฟ้ ากับถ่านไฟฉาย สายไฟและสวิตซ์ จัดให้คลิปปาก
จระเข้ที่ปลายสายไฟ 2 เส้นไม่แตะกัน แล้วนำวัตถุที่ทำจากวัสดุต่างๆ ที่
จัดไว้ให้มาต่อกับปลายสายไฟทั้งสองทีละอย่าง จากนั้นกดสวิตซ์ลงเพื่อ
ตรวจสอบว่าลหอดไฟฟ้ าสว่างหรือไม่ บันทึกผลลงในใบบันทึกกิจกรรม
31
4. จากผลการทำกิจกรรมให้นักเรียนจำแนกวัสดุที่นำไฟฟ้ าได้
และวัสดุที่นำไฟฟ้ าไม่ได้ แล้วนำเสนอต่อชั้นเรียน
5. ให้นักเรียนอภิปรายและเสนอการนำวัสดุที่เป็ นตัวนำไฟฟ้ า
และฉนวนไฟฟ้ าไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน
6. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับตัวนำไฟฟ้ า และฉนวนไฟฟ้ า
3) สื่อและแหล่งเรียนรู้
1. ตัวอย่างวัสดุต่างๆ เช่น เข็มเย็บผ้า ลวดเย็บกระดาษ
กระดาษ ลวดทองแดง
ไส้ดินสอ แผ่นอลูมิเนียม เชือก ไม้บรรทัด ตะปู
2. อุปกรณ์การทดลอง เช่น ถ่านไฟฉาย สายไฟ สวิตช์ หลอด
ไฟฟ้ า ฐานหลอดไฟฟ้ า
4) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
15

วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การ


ผ่าน
- สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกต ระดับคุณภาพ
การปฏิบัติงาน พฤติกรรม พอใช้ขึ้นไป
กลุ่ม การปฏิบัติงาน
กลุ่ม
- สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกต ระดับคุณภาพ
อันพึงประสงค์ พฤติกรรม พอใช้ขึ้นไป
อันพึงประสงค์
วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การ
ผ่าน
- ตรวจใบกิจกรรมที่ - แบบประเมินการ ระดับคุณภาพ
31 ปฏิบัติกิจกรรมการ พอใช้ขึ้นไป
เรื่อง ตัวนำและ ทดลองที่ 31 เรื่อง
ฉนวนไฟฟ้ า ตัวนำและฉนวน
ไฟฟ้ า
- ตรวจสมุดบันทึก - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ
สมุดบันทึก พอใช้ขึ้นไป

9. บันทึกผลหลังสอนชั่วโมงที่.........................
ผลการเรียนรู้
16

……………………………………………………………………………………………………
……………………………….
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………

ปั ญหาและอุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………
…………………………….
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………

ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………….
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
17

……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………

ลงชื่อ............................................................ผู้
สอน

(...............................................................)
วัน
ที่.............เดือน...............................พ.ศ............

10. ความคิดเห็น /ข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย

……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………
18

ลงชื่อ............................................................ผู้
บริหาร/ผู้ได้รับมอบหมาย
(...............................................................)
วัน
ที่.............เดือน................................พ.ศ.............

ชั่วโมงที่ 4 เรื่อง ตัวนำและฉนวนไฟฟ้ าเป็ นอย่างไร


1) จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ทดลองและจำแนกวัสดุตามสมบัติการนำไฟฟ้าได้ว่า วัสดุใดนำ
ไฟฟ้า และวัสดุใดไม่นำไฟฟ้า
2. อภิปรายและอธิบายสมบัติของตัวนำไฟฟ้ าและฉนวนไฟฟ้ า
และการนำสมบัติของตัวนำไฟฟ้ าและฉนวนไฟฟ้ าไปใช้ประโยชน์ในชีวิต
ประจำวัน
2) กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนำอุปกรณ์ตัวอย่าง ได้แก่ สายไฟ 4 เส้น หลอดไฟฟ้ า
2.5 โวลต์ กล่องบรรจุถ่านไฟฉายซึ่งมีถ่านไฟฉาย 1 ก้อนและสวิตซ์
ให้นักเรียนศึกษาและสังเกต
2. ครูสนทนาซักถามนักเรียนว่า
- จะต่ออุปกรณ์ต่างๆ เหล่านี้เข้าด้วยกันอย่างไร จึงจะ
ทำให้หลอดไฟฟ้ าสว่าง
19

เมื่อเปิ ดสวิตซ์
- ถ้ามีวัสดุต่างๆ เช่น เข็มเย็บผ้า ลวดเย็บกระดาษ
กระดาษ ลวดทองแดง
ไส้ดินสอ แผ่นอลูมิเนียม เชือก ไม้บรรทัด ตะปู เป็ นต้น นำมาต่อใน
วงจรไฟฟ้ าหลอดไฟฟ้ าจะสว่างหรือไม่ ฯลฯ
3. ให้นักเรียนทำกิจกรรม ตัวนำและฉนวนไฟฟ้ าเป็ นอย่างไร
โดยต่อหลอดไฟฟ้ ากับถ่านไฟฉาย สายไฟและสวิตซ์ จัดให้คลิปปาก
จระเข้ที่ปลายสายไฟ 2 เส้นไม่แตะกัน แล้วนำวัตถุที่ทำจากวัสดุต่างๆ ที่
จัดไว้ให้มาต่อกับปลายสายไฟทั้งสองทีละอย่าง จากนั้นกดสวิตซ์ลงเพื่อ
ตรวจสอบว่าลหอดไฟฟ้ าสว่างหรือไม่ บันทึกผลลงในใบบันทึกกิจกรรม
31
4. จากผลการทำกิจกรรมให้นักเรียนจำแนกวัสดุที่นำไฟฟ้ าได้
และวัสดุที่นำไฟฟ้ าไม่ได้ แล้วนำเสนอต่อชั้นเรียน
5. ให้นักเรียนอภิปรายและเสนอการนำวัสดุที่เป็ นตัวนำไฟฟ้ า
และฉนวนไฟฟ้ าไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน
6. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับตัวนำไฟฟ้ า และฉนวนไฟฟ้ า
3) สื่อและแหล่งเรียนรู้
1. ตัวอย่างวัสดุต่างๆ เช่น เข็มเย็บผ้า ลวดเย็บกระดาษ
กระดาษ ลวดทองแดง
ไส้ดินสอ แผ่นอลูมิเนียม เชือก ไม้บรรทัด ตะปู
2. อุปกรณ์การทดลอง เช่น ถ่านไฟฉาย สายไฟ สวิตช์ หลอด
ไฟฟ้ า ฐานหลอดไฟฟ้ า
20

4) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การ


ผ่าน
- สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกต ระดับคุณภาพ
การปฏิบัติงาน พฤติกรรม พอใช้ขึ้นไป
กลุ่ม การปฏิบัติงาน
กลุ่ม
- สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกต ระดับคุณภาพ
อันพึงประสงค์ พฤติกรรม พอใช้ขึ้นไป
อันพึงประสงค์
วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การ
ผ่าน
- ตรวจใบกิจกรรมที่ - แบบประเมินการ ระดับคุณภาพ
31 ปฏิบัติกิจกรรมการ พอใช้ขึ้นไป
เรื่อง ตัวนำและ ทดลองที่ 31 เรื่อง
ฉนวนไฟฟ้ า ตัวนำและฉนวน
ไฟฟ้ า
- ตรวจสมุดบันทึก - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ
สมุดบันทึก พอใช้ขึ้นไป

9. บันทึกผลหลังสอนชั่วโมงที่.........................
ผลการเรียนรู้
21

……………………………………………………………………………………………………
……………………………….
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………

ปั ญหาและอุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………
…………………………….
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………

ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………….
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
22

……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………

ลงชื่อ............................................................ผู้
สอน

(...............................................................)
วัน
ที่.............เดือน...............................พ.ศ............

10. ความคิดเห็น /ข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย

……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………

ลงชื่อ............................................................ผู้
บริหาร/ผู้ได้รับมอบหมาย
(...............................................................)
วัน
ที่.............เดือน................................พ.ศ.............
ชั่วโมงที่ 5 การต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบอนุกรม
23

1) จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ทดลองและอธิบายการต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบอนุกรม
2. อภิปรายและอธิบายการนำความรู้การต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบ
อนุกรมไปใช้ประโยชน์ในชีวิประจำวัน
2) กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูสาธิตการทดลองต่อเซลล์ไฟแบบอนุกรม โดยใช้หลอด
ไฟฟ้ า 1 หลอด และ 2 หลอดต่อเข้ากับถ่านไฟฉาย 2 ก้อน ต่อแบบ
อนุกรมให้นักเรียนสังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
2. ให้นักเรียนทำกิจกรรม การต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบอนุกรมเป็ น
อย่างไร และบันทึกผลในใบบันทึกกิจกรรม 32 นำเสนอผลอภิปรายร่วม
กัน
3. ครูแนะนำให้นักเรียนรู้จักแบตเตอรี่ต่างๆ ตามหนังสือเรียน
4. ครูอภิปรายถึงการนำการต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบอนุกรมไปใช้ใน
ชีวิตประจำวัน และข้อควรระวังในการเลือกใช้หลอดไฟฟ้ า ให้เหมาะสม
กับแบตเตอรี่ในวงจร
5. ให้นักเรียนสืบค้นเพิ่มเติมเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์จากการ
ต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบอนุกรมและนำเสนอ
6. ครูสรุปให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการต่อหลอดไฟฟ้ าแบบ
อนุกรม มีกระแสไฟฟ้ าปริมาณเดียวกันไหลผ่านหลอดไฟฟ้ าทั้งสอง
หลอด
3) สื่อและแหล่งเรียนรู้
1. อุปกรณ์การทดลอง เช่น ถ่านไฟฉาย, สายไฟ, สวิตช์, หลอด
ไฟฟ้ า, ฐานหลอดไฟฟ้ า
24

4) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การผ่าน


- สังเกตพฤติกรรม - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ พอใช้
การปฏิบัติงานกลุ่ม พฤติกรรม ขึ้นไป
การปฏิบัติงานกลุ่ม
- สังเกตพฤติกรรม - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ พอใช้
อันพึงประสงค์ พฤติกรรม
อันพึงประสงค์
- ตรวจใบกิจกรรมที่ - แบบประเมินการ ระดับคุณภาพ พอใช้
32 ปฏิบัติกิจกรรมการ ขึ้นไป
ทดลองที่ 32
- ตรวจสมุดบันทึก - แบบประเมินสมุด ระดับคุณภาพ พอใช้
บันทึก ขึ้นไป

9. บันทึกผลหลังสอนชั่วโมงที่.........................
ผลการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………
……………………………….
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
25

ปั ญหาและอุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………
…………………………….
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………

ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………….
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………

ลงชื่อ............................................................ผู้
สอน

(...............................................................)
26

วัน
ที่.............เดือน...............................พ.ศ............

10. ความคิดเห็น /ข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย

……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………

ลงชื่อ............................................................ผู้
บริหาร/ผู้ได้รับมอบหมาย
(...............................................................)
วัน
ที่.............เดือน................................พ.ศ.............

ชั่วโมงที่ 6 การต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบอนุกรม


1) จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ทดลองและอธิบายการต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบอนุกรม
2. อภิปรายและอธิบายการนำความรู้การต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบ
อนุกรมไปใช้ประโยชน์ในชีวิประจำวัน
27

2) กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูสาธิตการทดลองต่อเซลล์ไฟแบบอนุกรม โดยใช้หลอด
ไฟฟ้ า 1 หลอด และ 2 หลอดต่อเข้ากับถ่านไฟฉาย 2 ก้อน ต่อแบบ
อนุกรมให้นักเรียนสังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
2. ให้นักเรียนทำกิจกรรม การต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบอนุกรมเป็ น
อย่างไร และบันทึกผลในใบบันทึกกิจกรรม 32 นำเสนอผลอภิปรายร่วม
กัน
3. ครูแนะนำให้นักเรียนรู้จักแบตเตอรี่ต่างๆ ตามหนังสือเรียน
4. ครูอภิปรายถึงการนำการต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบอนุกรมไปใช้ใน
ชีวิตประจำวัน และข้อควรระวังในการเลือกใช้หลอดไฟฟ้ า ให้เหมาะสม
กับแบตเตอรี่ในวงจร
5. ให้นักเรียนสืบค้นเพิ่มเติมเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์จากการ
ต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบอนุกรมและนำเสนอ
6. ครูสรุปให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการต่อหลอดไฟฟ้ าแบบ
อนุกรม มีกระแสไฟฟ้ าปริมาณเดียวกันไหลผ่านหลอดไฟฟ้ าทั้งสอง
หลอด
3) สื่อและแหล่งเรียนรู้
1. อุปกรณ์การทดลอง เช่น ถ่านไฟฉาย, สายไฟ, สวิตช์, หลอด
ไฟฟ้ า, ฐานหลอดไฟฟ้ า
4) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การผ่าน


- สังเกตพฤติกรรม - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ พอใช้
28

การปฏิบัติงานกลุ่ม พฤติกรรม ขึ้นไป


การปฏิบัติงานกลุ่ม
- สังเกตพฤติกรรม - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ พอใช้
อันพึงประสงค์ พฤติกรรม
อันพึงประสงค์
- ตรวจใบกิจกรรมที่ - แบบประเมินการ ระดับคุณภาพ พอใช้
32 ปฏิบัติกิจกรรมการ ขึ้นไป
ทดลองที่ 32
- ตรวจสมุดบันทึก - แบบประเมินสมุด ระดับคุณภาพ พอใช้
บันทึก ขึ้นไป

9. บันทึกผลหลังสอนชั่วโมงที่.........................
ผลการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………
……………………………….
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………

ปั ญหาและอุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………
…………………………….
29

……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………

ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………….
……………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………

ลงชื่อ............................................................ผู้
สอน

(...............................................................)
วัน
ที่.............เดือน...............................พ.ศ............

10. ความคิดเห็น /ข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย

……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
30

……………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………

ลงชื่อ............................................................ผู้
บริหาร/ผู้ได้รับมอบหมาย
(...............................................................)
วัน
ที่.............เดือน................................พ.ศ.............

ชั่วโมงที่ 7 เรื่อง การต่อหลอดไฟฟ้ าแบบอนุกรมและแบบขนานให้


ผลต่างกันอย่างไร
1) จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ทดลองและอธิบายเกี่ยวกับการต่อหลอดไฟฟ้ าแบบ
อนุกรมและแบบขนาน พร้อมทั้งเขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้ าที่ต่อหลอด
ไฟฟ้ าแบบอนุกรมและแบบขนาน
2. อภิปรายและอธิบายความแตกต่างระหว่างการต่อหลอด
ไฟฟ้ าแบบอนุกรมและแบบขนาน
2) กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูสาธิตการต่อหลอดไฟฟ้ าแบบอนุกรมและแบบขนานให้
นักเรียนสังเกต
31

2. สุ่มตัวแทนนักเรียน 2-3 คน อธิบายการ


เปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการต่อหลอดไฟฟ้ า
แบบอนุกรมและแบบขนาน ครูฟั งคำตอบที่หลากหลายจากนักเรียน
3. ให้นักเรียนทำกิจกรรม ต่อหลอดไฟฟ้ าแบบนุกรม
และบันทึกผลในใบบันทึกกิจกรรม 33 แผ่นที่ 1 นำเสนอผลและ
อภิปรายร่วมกัน
4. ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง เรื่อง การต่อ
หลอดไฟฟ้ าแบบขนาน บันทึกผลในใบบันทึกกิจกรรม 33 แผ่นที่ 2 นำ
เสนอผลและอภิปรายร่วมกัน
5. นักเรียนร่วมกันอภิปรายหาข้อสรุปในประเด็น ดังนี้
- การต่อหลอดไฟฟ้ าแบบขนานแตกต่างจากการต่อ
หลอดไฟฟ้ าแบบอนุกรมอย่างไร
- เปรียบเทียบความสว่างของหลอดไฟฟ้ าที่ต่อแบบ
อนุกรมและแบบขนานมีความสว่างต่างกันอย่างไร
- การเขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้ าโดยใช้สัญลักษณ์แทน
อุปกรณ์ไฟฟ้ าในการต่อหลอดไฟฟ้ าแบบอนุกรมและแบบขนาน
6. นักเรียนอภิปรายร่วมกันเพื่อสรุปผลการทดลอง
ดังนี้
- ขณะที่ต่อหลอดไฟฟ้ าแบบอนุกรมถ้าถอดหลอดไฟฟ้ า
ใดหลอดหนึ่งออกจะทำให้หลอดไฟฟ้ าที่เหลือดับด้วย ส่วนการหลอด
32

ไฟฟ้ าแบบขนานถ้าเปลี่ยนหลอดไฟฟ้ าใดหลอดหนึ่งออก


หลอดไฟฟ้ าที่เหลือจะไม่ดับ
- ความสว่างของหลอดไฟฟ้ าในวงจรไฟฟ้ าที่ต่อหลอด
ไฟฟ้ าแบบอนุกรมจะสว่างมากกว่าความสว่างของหลอดไฟฟ้ าสองหลอด
ต่อขนานกัน เพราะกระแสไฟฟ้ าจากถ่านไฟฉายจะต้องสูญเสียไปกับการ
เฉลี่ยแบ่งให้หลอดไฟฟ้ าทั้งสองที่ต่อขนานกันมากกว่าการต่อหลอดไฟฟ้ า
แบบอนุกรม
7. ครูสรุปให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการต่อหลอด
ไฟฟ้ าแบบขนาน เป็ นการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้ าคร่อมกับแหล่งกำเนิดไฟฟ้ า
ทำให้กระแสไฟฟ้ าแยกผ่านอุปกรณ์ไฟฟ้ าแต่ละตัว ถ้าสายไฟที่ต่อวงจร
ส่วนใดส่วนหนึ่งขาดส่วนนั้นวงจรจะเปิ ด อุปกรณ์ไฟฟ้ าเฉพาะช่วงนั้นจะ
ไม่ทำงาน แต่อุปกรณ์ไฟฟ้ าส่วนอื่นๆ ยังทำงานได้
8. ครูนำอภิปรายให้นักเรียนช่วยกันคิดว่าการต่อไฟฟ้ า
ในบ้านควรต่ออย่างไร เพราะเหตุใด
3) สื่อและแหล่งเรียนรู้
1. อุปกรณ์การทดลอง เช่น ถ่านไฟฉาย สายไฟ สวิตช์
หลอดไฟฟ้ าพร้อมขั้วหลอด
4) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
33

วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การผ่าน


- สังเกตการร่วม - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ
กิจกรรม พฤติกรรม พอใช้ขึ้นไป
การปฏิบัติงาน การปฏิบัติงาน
กลุ่ม กลุ่ม
- สังเกตพฤติกรรม - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ
อันพึงประสงค์ พฤติกรรม พอใช้ขึ้นไป
อันพึงประสงค์
- ตรวจใบกิจกรรม - แบบประเมินการ ระดับคุณภาพ
ที่ 33 ปฏิบัติกิจกรรมการ พอใช้ขึ้นไป
ทดลองที่ 33 9.

- ตรวจสมุดบันทึก - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ


สมุดบันทึก พอใช้ขึ้นไป
บันทึกผลหลังสอนชั่วโมงที่.........................
ผลการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………
……………………………….
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
34

ปั ญหาและอุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………
…………………………….
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………

ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………….
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………

ลงชื่อ............................................................ผู้
สอน

(...............................................................)
วัน
ที่.............เดือน...............................พ.ศ............
35

10. ความคิดเห็น /ข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย

……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………

ลงชื่อ............................................................ผู้
บริหาร/ผู้ได้รับมอบหมาย
(...............................................................)
วัน
ที่.............เดือน................................พ.ศ.............

ชั่วโมงที่ 8 เรื่อง การต่อหลอดไฟฟ้ าแบบอนุกรมและแบบขนานให้


ผลต่างกันอย่างไร
1) จุดประสงค์การเรียนรู้
36

1. ทดลองและอธิบายเกี่ยวกับการต่อหลอดไฟฟ้ าแบบ
อนุกรมและแบบขนาน พร้อมทั้งเขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้ าที่ต่อหลอด
ไฟฟ้ าแบบอนุกรมและแบบขนาน
2. อภิปรายและอธิบายความแตกต่างระหว่างการต่อหลอด
ไฟฟ้ าแบบอนุกรมและแบบขนาน
2) กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูสาธิตการต่อหลอดไฟฟ้ าแบบอนุกรมและแบบขนานให้
นักเรียนสังเกต
2. สุ่มตัวแทนนักเรียน 2-3 คน อธิบายการ
เปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการต่อหลอดไฟฟ้ า
แบบอนุกรมและแบบขนาน ครูฟั งคำตอบที่หลากหลายจากนักเรียน
3. ให้นักเรียนทำกิจกรรม ต่อหลอดไฟฟ้ าแบบนุกรม
และบันทึกผลในใบบันทึกกิจกรรม 33 แผ่นที่ 1 นำเสนอผลและ
อภิปรายร่วมกัน
4. ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง เรื่อง การต่อ
หลอดไฟฟ้ าแบบขนาน บันทึกผลในใบบันทึกกิจกรรม 33 แผ่นที่ 2 นำ
เสนอผลและอภิปรายร่วมกัน
5. นักเรียนร่วมกันอภิปรายหาข้อสรุปในประเด็น ดังนี้
- การต่อหลอดไฟฟ้ าแบบขนานแตกต่างจากการต่อ
หลอดไฟฟ้ าแบบอนุกรมอย่างไร
37

- เปรียบเทียบความสว่างของหลอดไฟฟ้ าที่ต่อแบบ
อนุกรมและแบบขนานมีความสว่างต่างกันอย่างไร
- การเขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้ าโดยใช้สัญลักษณ์แทน
อุปกรณ์ไฟฟ้ าในการต่อหลอดไฟฟ้ าแบบอนุกรมและแบบขนาน
6. นักเรียนอภิปรายร่วมกันเพื่อสรุปผลการทดลอง
ดังนี้
- ขณะที่ต่อหลอดไฟฟ้ าแบบอนุกรมถ้าถอดหลอดไฟฟ้ า
ใดหลอดหนึ่งออกจะทำให้หลอดไฟฟ้ าที่เหลือดับด้วย ส่วนการหลอด
ไฟฟ้ าแบบขนานถ้าเปลี่ยนหลอดไฟฟ้ าใดหลอดหนึ่งออก
หลอดไฟฟ้ าที่เหลือจะไม่ดับ
- ความสว่างของหลอดไฟฟ้ าในวงจรไฟฟ้ าที่ต่อหลอด
ไฟฟ้ าแบบอนุกรมจะสว่างมากกว่าความสว่างของหลอดไฟฟ้ าสองหลอด
ต่อขนานกัน เพราะกระแสไฟฟ้ าจากถ่านไฟฉายจะต้องสูญเสียไปกับการ
เฉลี่ยแบ่งให้หลอดไฟฟ้ าทั้งสองที่ต่อขนานกันมากกว่าการต่อหลอดไฟฟ้ า
แบบอนุกรม
7. ครูสรุปให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการต่อหลอด
ไฟฟ้ าแบบขนาน เป็ นการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้ าคร่อมกับแหล่งกำเนิดไฟฟ้ า
ทำให้กระแสไฟฟ้ าแยกผ่านอุปกรณ์ไฟฟ้ าแต่ละตัว ถ้าสายไฟที่ต่อวงจร
ส่วนใดส่วนหนึ่งขาดส่วนนั้นวงจรจะเปิ ด อุปกรณ์ไฟฟ้ าเฉพาะช่วงนั้นจะ
ไม่ทำงาน แต่อุปกรณ์ไฟฟ้ าส่วนอื่นๆ ยังทำงานได้
38

8. ครูนำอภิปรายให้นักเรียนช่วยกันคิดว่าการต่อไฟฟ้ า
ในบ้านควรต่ออย่างไร เพราะเหตุใด
3) สื่อและแหล่งเรียนรู้
1. อุปกรณ์การทดลอง เช่น ถ่านไฟฉาย สายไฟ สวิตช์
หลอดไฟฟ้ าพร้อมขั้วหลอด
4) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การผ่าน


- สังเกตการร่วม - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ
กิจกรรม พฤติกรรม พอใช้ขึ้นไป
การปฏิบัติงาน การปฏิบัติงาน
กลุ่ม กลุ่ม
- สังเกตพฤติกรรม - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ
อันพึงประสงค์ พฤติกรรม พอใช้ขึ้นไป
อันพึงประสงค์
- ตรวจใบกิจกรรม - แบบประเมินการ ระดับคุณภาพ
ที่ 33 ปฏิบัติกิจกรรมการ พอใช้ขึ้นไป
ทดลองที่ 33
9.
- ตรวจสมุดบันทึก - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ
สมุดบันทึก พอใช้ขึ้นไป
บันทึกผลหลังสอนชั่วโมงที่.........................
ผลการเรียนรู้
39

……………………………………………………………………………………………………
……………………………….
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………

ปั ญหาและอุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………
…………………………….
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………

ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………….
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
40

……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………

ลงชื่อ............................................................ผู้
สอน

(...............................................................)
วัน
ที่.............เดือน...............................พ.ศ............

10. ความคิดเห็น /ข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย

……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………

ลงชื่อ............................................................ผู้
บริหาร/ผู้ได้รับมอบหมาย
(...............................................................)
วัน
ที่.............เดือน................................พ.ศ.............
41

ชั่วโมงที่ 9 เรื่องแม่เหล็กไฟฟ้ าเกิดขึ้นได้อย่างไร


1) จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ทดลองและอธิบายการเกิดสนามแม่เหล็กรอบสายไฟที่มี
กระแสไฟฟ้ าผ่าน
2. ทดลองและอธิบายการทำแม่เหล็กไฟฟ้ าโดยใช้สนามแม่
เหล็กที่เกิดขึ้นรอบสายไฟที่มีกระแสไฟฟ้ าผ่าน
3. ทดลองและสรุปความสัมพันธ์ระหว่างแรงแม่เหล็กกับ
ปริมาณกระแสไฟฟ้ า และจำนวนรอบของขดลวด
4. อภิปรายและนำความรู้เกี่ยวกับแม่เหล็กไฟฟ้ าไปใช้ประโยชน์
ในชีวิตประจำวัน
2) กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูสาธิตการเกิดแม่เหล็กไฟฟ้ าโดยนำตะปูยาวประมาณ 7–
10 เซนติเมตร เข้าใกล้ลวดหนีบกระดาษ ให้นักเรียนสังเกต
2. ครูใช้คำถามนำดังนี้
- มีอะไรเกิดขึ้นระหว่างตะปูกับลวดหนีบกระดาษหรือไม่
- เราจะมีวิธีการที่จะทำให้ตะปูสามารถดูดลวดหนีบกระดาษ
ได้ อย่างไร
- ครูรับฟั งคำตอบที่หลากหลายจากนักเรียน
42

3. ให้นักเรียนทำกิจกรรม แม่เหล็กไฟฟ้ าเกิดขึ้นได้อย่างไร


ตอนที่ 1 บันทึกผลในใบบันทึกกิจกรรม 34 แผ่นที่ 1 นำเสนอผล
อภิปรายและร่วมกันสรุป
4. ครูตั้งคำถามให้นักเรียนคิดว่าจะนำสนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้น
รอบสายไฟไปใช้ประโยชนือะไรได้บ้าง
5. ให้นักเรียนทำกิจกรรม แม่เหล็กไฟฟ้ าเกิดขึ้นได้อย่างไร
ตอนที่ 2 บันทึกผลในใบบันทึกกิจกรรม 34 แผ่นที่ 2 นำเสนอผล
อภิปรายและร่วมกันสรุป
5. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลการปฏิบัติกิจกรรมและ
อธิบายเพิ่มเติมจนนำไปสู่ข้อสรุปที่ว่า “ เมื่อมีกระแสไฟฟ้ าผ่านขดลวดที่
พันรอบตะปู ตะปูจะเปลี่ยนเป็ นแม่เหล็กไฟฟ้ า”
6. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายการนำแม่เหล็กไฟฟ้ าไปใช้
ประโยชน์
3) สื่อและแหล่งเรียนรู้
1 อุปกรณ์การทดลอง
1.1 ถ่านไฟฉาย จำนวน 1 ก้อน
1.2 สายไฟชนิดปากคีบ จำนวน 3 เส้น
1.3 ลวดทองแดง จำนวน 1 เส้น
1.4 ตะปู ขนาด 5 นิ้ว จำนวน 1 ตัว
1.5 คัตเตอร์ จำนวน 1 ด้าม
43

1.6 ลวดหนีบกระดาษ จำนวน 10 ตัว


2. โปสเตอร์หรือวีดีทัศน์ เรื่องสนามแม่เหล็กโลก
4) กิจกรรมเสนอแนะ
1. ครูแนะนำให้นักเรียนเพิ่มจำนวนถ่านไฟฉาย แล้วสังเกตผล
การดึงดูดลวดหนีบกระดาษของตะปู
2. หลังจากนั้นให้นักเรียนเพิ่มหรือลดจำนวนขดลวด แล้วสังเกต
ผลการดึงดูดลวดหนีบกระดาษของตะปู
5) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การผ่าน


- สังเกตพฤติกรรม - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ
การปฏิบัติงาน พฤติกรรม พอใช้ขึ้นไป
กลุ่ม การปฏิบัติงาน
กลุ่ม
- สังเกตพฤติกรรม - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ
อันพึงประสงค์ พฤติกรรม พอใช้ขึ้นไป
อันพึงประสงค์
- ตรวจใบกิจกรรม - แบบประเมินการ ระดับคุณภาพ
ที่ 34 ปฏิบัติกิจกรรมการ พอใช้ขึ้นไป
เรื่องแม่เหล็กไฟฟ้ า ทดลองที่ 34 เรื่อง
เกิดขึ้นได้ แม่เหล็กไฟฟ้ าเกิด
อย่างไร ขึ้นได้
อย่างไร
44

9. บันทึกผลหลังสอนชั่วโมงที่.........................
ผลการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………
……………………………….
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………

ปั ญหาและอุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………
…………………………….
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
…………………………

ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………….
……………………………………………………………………………………………………
45

……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
………………

ลงชื่อ............................................................ผู้
สอน

(...............................................................)
วัน
ที่.............เดือน...............................พ.ศ............
10. ความคิดเห็น /ข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย

……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………

ลงชื่อ............................................................ผู้
บริหาร/ผู้ได้รับมอบหมาย
(...............................................................)
วัน
ที่.............เดือน................................พ.ศ.............
46

ชั่วโมงที่ 10 เรื่องแม่เหล็กไฟฟ้ าเกิดขึ้นได้อย่างไร


1) จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ทดลองและอธิบายการเกิดสนามแม่เหล็กรอบสายไฟที่มี
กระแสไฟฟ้ าผ่าน
2. ทดลองและอธิบายการทำแม่เหล็กไฟฟ้ าโดยใช้สนามแม่
เหล็กที่เกิดขึ้นรอบสายไฟที่มีกระแสไฟฟ้ าผ่าน
3. ทดลองและสรุปความสัมพันธ์ระหว่างแรงแม่เหล็กกับ
ปริมาณกระแสไฟฟ้ า และจำนวนรอบของขดลวด
4. อภิปรายและนำความรู้เกี่ยวกับแม่เหล็กไฟฟ้ าไปใช้ประโยชน์
ในชีวิตประจำวัน
2) กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูสาธิตการเกิดแม่เหล็กไฟฟ้ าโดยนำตะปูยาวประมาณ 7–
10 เซนติเมตร เข้าใกล้ลวดหนีบกระดาษ ให้นักเรียนสังเกต
2. ครูใช้คำถามนำดังนี้
- มีอะไรเกิดขึ้นระหว่างตะปูกับลวดหนีบกระดาษหรือไม่
- เราจะมีวิธีการที่จะทำให้ตะปูสามารถดูดลวดหนีบกระดาษ
ได้ อย่างไร
- ครูรับฟั งคำตอบที่หลากหลายจากนักเรียน
3. ให้นักเรียนทำกิจกรรม แม่เหล็กไฟฟ้ าเกิดขึ้นได้อย่างไร
ตอนที่ 1 บันทึกผลในใบบันทึกกิจกรรม 34 แผ่นที่ 1 นำเสนอผล
อภิปรายและร่วมกันสรุป
4. ครูตั้งคำถามให้นักเรียนคิดว่าจะนำสนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้น
รอบสายไฟไปใช้ประโยชนือะไรได้บ้าง
47

5. ให้นักเรียนทำกิจกรรม แม่เหล็กไฟฟ้ าเกิดขึ้นได้อย่างไร


ตอนที่ 2 บันทึกผลในใบบันทึกกิจกรรม 34 แผ่นที่ 2 นำเสนอผล
อภิปรายและร่วมกันสรุป
5. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลการปฏิบัติกิจกรรมและ
อธิบายเพิ่มเติมจนนำไปสู่ข้อสรุปที่ว่า “ เมื่อมีกระแสไฟฟ้ าผ่านขดลวดที่
พันรอบตะปู ตะปูจะเปลี่ยนเป็ นแม่เหล็กไฟฟ้ า”
6. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายการนำแม่เหล็กไฟฟ้ าไปใช้
ประโยชน์

3) สื่อและแหล่งเรียนรู้
1 อุปกรณ์การทดลอง
1.1 ถ่านไฟฉาย จำนวน 1 ก้อน
1.2 สายไฟชนิดปากคีบ จำนวน 3 เส้น
1.3 ลวดทองแดง จำนวน 1 เส้น
1.4 ตะปู ขนาด 5 นิ้ว จำนวน 1 ตัว
1.5 คัตเตอร์ จำนวน 1 ด้าม
1.6 ลวดหนีบกระดาษ จำนวน 10 ตัว
2. โปสเตอร์หรือวีดีทัศน์ เรื่องสนามแม่เหล็กโลก
48

4) กิจกรรมเสนอแนะ
1. ครูแนะนำให้นักเรียนเพิ่มจำนวนถ่านไฟฉาย แล้วสังเกตผล
การดึงดูดลวดหนีบกระดาษของตะปู
2. หลังจากนั้นให้นักเรียนเพิ่มหรือลดจำนวนขดลวด แล้วสังเกต
ผลการดึงดูดลวดหนีบกระดาษของตะปู
5) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การผ่าน


- สังเกตพฤติกรรม - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ
การปฏิบัติงาน พฤติกรรม พอใช้ขึ้นไป
กลุ่ม การปฏิบัติงาน
กลุ่ม
- สังเกตพฤติกรรม - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ
อันพึงประสงค์ พฤติกรรม พอใช้ขึ้นไป
อันพึงประสงค์
- ตรวจใบกิจกรรม - แบบประเมินการ ระดับคุณภาพ
ที่ 34 ปฏิบัติกิจกรรมการ พอใช้ขึ้นไป
เรื่องแม่เหล็กไฟฟ้ า ทดลองที่ 34 เรื่อง
เกิดขึ้นได้ แม่เหล็กไฟฟ้ าเกิด
อย่างไร ขึ้นได้
อย่างไร

9. บันทึกผลหลังสอนชั่วโมงที่.........................
ผลการเรียนรู้
49

……………………………………………………………………………………………………
……………………………….
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………

ปั ญหาและอุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………
…………………………….
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
…………………………

ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………….
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
50

……………………………………………………………………………………………………
………………

ลงชื่อ............................................................ผู้
สอน

(...............................................................)
วัน
ที่.............เดือน...............................พ.ศ............
10. ความคิดเห็น /ข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย

……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………

ลงชื่อ............................................................ผู้
บริหาร/ผู้ได้รับมอบหมาย
(...............................................................)
วัน
ที่.............เดือน................................พ.ศ.............
51
52

ภาคผนวก
– แบบทดสอบก่อน และหลังเรียน
– ใบกิจกรรม
– ใบความรู้
– แบบประเมิน
53

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรียน
เรื่อง วงจรไฟฟ้ า ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
คำชี้แจง
เลือกคำตอบที่ถูกต้องเพียงคำตอบเดียวแล้วทำเครื่องหมาย
กากบาท () ลงในกระดาษคำตอบ
………………………………………………………………………………………………
………………………………………

1. ข้อใดเป็ นอุปกรณ์ในการต่อวงจรไฟฟ้ าอย่างง่าย


ก. มอเตอร์ แบตเตอรี่ เซลล์ไฟฟ้ า
ข. สายไฟ สวิตซ์ไฟฟ้ า เซลล์ไฟฟ้ า
ค. หลอดไฟ ออดไฟฟ้ า มอเตอร์
ง. หลอดไฟ เซลล์ไฟฟ้ า สายไฟ
2. ข้อใดเป็ นลักษณะของวงจรไฟฟ้ าเปิ ด
ก. วงจรที่มีกระแสไฟฟ้ าไม่เคลื่อนที่
ข. วงจรที่มีกระแสไฟฟ้ าลัดวงจร
ค. วงจรที่ไม่มีกระแสไฟฟ้ าผ่าน
ง. วงจรที่มีกระแสไฟฟ้ าเคลื่อนที่ได้ครบ
3. ข้อใดคือทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้ า
54

ก. จากขั้วบวกไปขั้วลบ
ข. จากขั้วลบไปขั้วบวก
ค. จากหลอดไฟฟ้ าด้านหนึ่งไปหาขั้วบวก
ง. วงจรที่มีกระแสไฟฟ้ าเคลื่อนที่ได้ครบ
4. ไฟฟ้ าช็อต เกิดจากวงจรไฟฟ้ ามีลักษณะอย่างไร
ก. วงจรปิ ด
ข. วงจรเปิ ด
ค. วงจรลัด
ง. วงจรขาด
5. วัตถุที่ยอมให้กระแสไฟฟ้ าผ่านเรียกว่าอะไร
ก. เซลล์ไฟฟ้ า
ข. ตัวละลายไฟฟ้ า
ค. ฉนวนไฟฟ้ า
ง. ตัวนำไฟฟ้ า
6. วัสดุในข้อใดเป็ นฉนวนไฟฟ้ า
ก. ตะปู
ข. ลูกกุญแจ
ค. ดินสอไม้
ง. คลิปหนีบกระดาษ
7. โลหะที่นำไฟฟ้ าได้ดีที่สุด คือโลหะใด
55

ก. ทองแดง
ข. เงิน
ค. อะลูมิเนียม
ง. เหล็ก
8. ต้องใช้วัตถุใดเชื่อมต่อกับวงจรไฟฟ้ าจึงจะทำให้หลอดไฟสว่าง
ก. คลิปหนีบกระดาษ
ข. หนังยาง
ค. แก้ว
ง. เชือก
9. การต่อเซลล์ไฟฟ้ าหลายเซลล์เรียงกันโดยขั้วบวกของเซลล์ไฟฟ้ าเซลล์
หนึ่งต่อกับขั้วลบของอีกเซลล์หนึ่งเป็ นการต่อแบบใด
ก. แบบอนุกรม
ข. แบบผสม
ค. แบบวงจรเดี่ยว
ง. แบบขนาน

10. การต่อถ่านไฟฉาย 2 ก้อน แบบอนุกรมกับแบบขนานเปรียบเทียบ


กันสรุปได้ว่า
ก. ต่อแบบขนานให้แกระแสไฟฟ้ ามากกว่า
ข. ต่อแบบอนุกรมให้กระแสไฟฟ้ ามากกว่า
56

ค. ทั้ง 2 แบบให้กระแสไฟฟ้ าเท่ากัน


ง. ไม่มีข้อสรุปที่ถูกต้อง
11. การต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบขนาน คือการต่อถ่านไฟฉายในวงจรไฟฟ้ า
แบบใด
ก. การต่อไฟฉาย 1 ก้อน ในวงจรไฟฟ้ า
ข. การต่อถ่านไฟฉาย 2 ก้อน เรียงต่อกันในวงจรไฟฟ้ า
ค. การต่อถ่านไฟฉาย 2 ก้อน วางขนานกันในวงจรไฟฟ้ า
ง. การต่อถ่ายไฟฉาย 4 ก้อน เรียงต่อกันในวงจรไฟฟ้ า
12. การต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบใดที่ให้กระแสไฟฟ้ ามากที่สุด
ก. ต่อเซลล์ไฟฟ้ า 2 เซลล์แบบอนุกรม
ข. ต่อเซลล์ไฟฟ้ า 2 เซลล์แบบขนาน
ค. ต่อเซลล์ไฟฟ้ า 3 เซลล์แบบอนุกรม
ง. ต่อเซลล์ไฟฟ้ า 3 เซลล์แบบขนาน
13. การต่อหลอดไฟ 3 ดวง แบบขนานถ้าถอดหลอดไฟออก 1 ดวง ผล
จะเป็ นอย่างไร
ก. วงจรเปิ ดทั้งวงจร
ข. ไฟฟ้ าลัดวงจร
ค. หลอดไฟดวงที่เหลือยังทำงานได้
ง. หลอดไฟดับหมดทั้ง 3 ดวง
57

14. ไฟฟ้ าแบบใดเมื่อหลอดไฟฟ้ าขาด 1 หลอด หลอดไฟฟ้ าที่เหลือจะ


ดับหมด
ก. แบบขนาน
ข. แบบอนุกรม
ค. แบบผสม
ง. แบบวงจรปิ ด

15. การต่อหลอดไฟฟ้ าแบบอนุกรม นิยมต่อที่ใด


ก. ต่อหลอดไฟฟ้ าในบ้าน
ข. ต่อสายไฟประดับ
ค. ต่อในไฟฉาย
ง. ต่อในของเล่น
16. การต่อวงจรไฟฟ้ าแบบใดที่ทำให้กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านอุปกรณ์ไฟฟ้ า
ทุกส่วนของวงจรเท่ากัน
ก. แบบขนาน
ข. แบบอนุกรม
ค. แบบผสม
ง. แบบวงจรปิ ด
58

17. ตะปูในข้อใดเมื่อนำมาต่อกับวงจรไฟฟ้ าจะเกิดอำนาจแม่เหล็กมาก


ที่สุด
ก. ตะปูขนาดใหญ่ที่พันลวดทองแดง 10 รอบ
ข. ตะปูขนาดใหญ่ที่พันลวดทองแดง 20 รอบ
ค. ตะปูขนาดเล็กที่พันลวดทองแดง 10 รอบ
ง. ตะปูขนาดเล็กที่พันลวดทองแดง 20 รอบ
18. อำนาจแม่เหล็กที่เกิดจากแม่เหล็กไฟฟ้ าจะมีอำนาจมากหรือน้อยขึ้น
อยู่กับข้อใด
ก. ค่ากระแสไฟฟ้ าในวงจร
ข. สถานที่ตั้งแม่เหล็ก
ค. จำนวนขดลวดทองแดงที่พันรอบแกนเหล็ก
ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ค
19. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของแม่เหล็กไฟฟ้ า
ก. ใช้แยกโลหะ
ค. ใช้ประดับบ้าน
ค. ใช้ในการคมนาคม
ง. ใช้เป็ นส่วนประกอบในเครื่องใช้ไฟฟ้ า

20. รถแม่เหล็กไฟฟ้ าเป็ นประโยชน์ของแม่เหล็กไฟฟ้ าด้านใด


59

ก. การสื่อสาร
ข. การคมนาคม
ค. การประกอบเครื่องใช้ไฟฟ้ า
ง. การแยกโลหะ
60

เฉลย

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรียน
เรื่อง วงจรไฟฟ้ า ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6

1. ง 6. ค 11. ค 16. ข
2. ก 7. ข 12. ค 17. ข
3. ก 8. ก 13. ค 18. ง
4. ค 9. ก 14. ข 19. ค
5. ง 10. ข 15. ข 20. ข
61

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียน
เรื่อง วงจรไฟฟ้ า ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6

คำชี้แจง
เลือกคำตอบที่ถูกต้องเพียงคำตอบเดียวแล้วทำเครื่องหมาย
กากบาท () ลงในกระดาษคำตอบ
………………………………………………………………………………………………
………………………………………
62

1. ข้อใดเป็ นลักษณะของวงจรไฟฟ้ าเปิ ด


ก. วงจรที่มีกระแสไฟฟ้ าไม่เคลื่อนที่
ข. วงจรที่มีกระแสไฟฟ้ าลัดวงจร
ค. วงจรที่ไม่มีกระแสไฟฟ้ าผ่าน
ง. วงจรที่มีกระแสไฟฟ้ าเคลื่อนที่ได้ครบ
2. ข้อใดเป็ นอุปกรณ์ในการต่อวงจรไฟฟ้ าอย่างง่าย
ก. มอเตอร์ แบตเตอรี่ เซลล์ไฟฟ้ า
ข. สายไฟ สวิตซ์ไฟฟ้ า เซลล์ไฟฟ้ า
ค. หลอดไฟ ออดไฟฟ้ า มอเตอร์
ง. หลอดไฟ เซลล์ไฟฟ้ า สายไฟ
3. วัตถุที่ยอมให้กระแสไฟฟ้ าผ่านเรียกว่าอะไร
ก. เซลล์ไฟฟ้ า
ข. ตัวละลายไฟฟ้ า
ค. ฉนวนไฟฟ้ า
ง. ตัวนำไฟฟ้ า
4. ข้อใดคือทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้ า
ก. จากขั้วบวกไปขั้วลบ
ข. จากขั้วลบไปขั้วบวก
ค. จากหลอดไฟฟ้ าด้านหนึ่งไปหาขั้วบวก
ง. วงจรที่มีกระแสไฟฟ้ าเคลื่อนที่ได้ครบ
63

5. ไฟฟ้ าช็อต เกิดจากวงจรไฟฟ้ ามีลักษณะอย่างไร


ก. วงจรปิ ด
ข. วงจรเปิ ด
ค. วงจรลัด
ง. วงจรขาด
6. ต้องใช้วัตถุใดเชื่อมต่อกับวงจรไฟฟ้ าจึงจะทำให้หลอดไฟสว่าง
ก. คลิปหนีบกระดาษ
ข. หนังยาง
ค. แก้ว
ง. เชือก
7. วัสดุในข้อใดเป็ นฉนวนไฟฟ้ า
ก. ตะปู
ข. ลูกกุญแจ
ค. ดินสอไม้
ง. คลิปหนีบกระดาษ
8. โลหะที่นำไฟฟ้ าได้ดีที่สุด คือโลหะใด
ก. ทองแดง
ข. เงิน
ค. อะลูมิเนียม
ง. เหล็ก
64

9. การต่อเซลล์ไฟฟ้ าหลายเซลล์เรียงกันโดยขั้วบวกของเซลล์ไฟฟ้ าเซลล์


หนึ่งต่อกับขั้วลบของอีกเซลล์หนึ่งเป็ นการต่อแบบใด
ก. แบบอนุกรม
ข. แบบผสม
ค. แบบวงจรเดี่ยว
ง. แบบขนาน

10. การต่อถ่านไฟฉาย 2 ก้อน แบบอนุกรมกับแบบขนานเปรียบเทียบ


กันสรุปได้ว่า
ก. ต่อแบบขนานให้แกระแสไฟฟ้ ามากกว่า
ข. ต่อแบบอนุกรมให้กระแสไฟฟ้ ามากกว่า
ค. ทั้ง 2 แบบให้กระแสไฟฟ้ าเท่ากัน
ง. ไม่มีข้อสรุปที่ถูกต้อง
11. การต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบใดที่ให้กระแสไฟฟ้ ามากที่สุด
ก. ต่อเซลล์ไฟฟ้ า 2 เซลล์แบบอนุกรม
ข. ต่อเซลล์ไฟฟ้ า 2 เซลล์แบบขนาน
ค. ต่อเซลล์ไฟฟ้ า 3 เซลล์แบบอนุกรม
ง. ต่อเซลล์ไฟฟ้ า 3 เซลล์แบบขนาน
12. การต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบขนาน คือการต่อถ่านไฟฉายในวงจรไฟฟ้ า
แบบใด
65

ก. การต่อไฟฉาย 1 ก้อน ในวงจรไฟฟ้ า


ข. การต่อถ่านไฟฉาย 2 ก้อน เรียงต่อกันในวงจรไฟฟ้ า
ค. การต่อถ่านไฟฉาย 2 ก้อน วางขนานกันในวงจรไฟฟ้ า
ง. การต่อถ่ายไฟฉาย 4 ก้อน เรียงต่อกันในวงจรไฟฟ้ า
13. การต่อหลอดไฟ 3 ดวง แบบขนานถ้าถอดหลอดไฟออก 1 ดวง ผล
จะเป็ นอย่างไร
ก. วงจรเปิ ดทั้งวงจร
ข. ไฟฟ้ าลัดวงจร
ค. หลอดไฟดวงที่เหลือยังทำงานได้
ง. หลอดไฟดับหมดทั้ง 3 ดวง
14. ไฟฟ้ าแบบใดเมื่อหลอดไฟฟ้ าขาด 1 หลอด หลอดไฟฟ้ าที่เหลือจะ
ดับหมด
ก. แบบขนาน
ข. แบบอนุกรม
ค. แบบผสม
ง. แบบวงจรปิ ด

15. การต่อหลอดไฟฟ้ าแบบอนุกรม นิยมต่อที่ใด


ก. ต่อหลอดไฟฟ้ าในบ้าน
66

ข. ต่อสายไฟประดับ
ค. ต่อในไฟฉาย
ง. ต่อในของเล่น
16. การต่อวงจรไฟฟ้ าแบบใดที่ทำให้กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านอุปกรณ์ไฟฟ้ า
ทุกส่วนของวงจรเท่ากัน
ก. แบบขนาน
ข. แบบอนุกรม
ค. แบบผสม
ง. แบบวงจรปิ ด
17. ตะปูในข้อใดเมื่อนำมาต่อกับวงจรไฟฟ้ าจะเกิดอำนาจแม่เหล็กมาก
ที่สุด
ก. ตะปูขนาดใหญ่ที่พันลวดทองแดง 10 รอบ
ข. ตะปูขนาดใหญ่ที่พันลวดทองแดง 20 รอบ
ค. ตะปูขนาดเล็กที่พันลวดทองแดง 10 รอบ
ง. ตะปูขนาดเล็กที่พันลวดทองแดง 20 รอบ
18. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของแม่เหล็กไฟฟ้ า
ก. ใช้แยกโลหะ
ค. ใช้ประดับบ้าน
ค. ใช้ในการคมนาคม
ง. ใช้เป็ นส่วนประกอบในเครื่องใช้ไฟฟ้ า
67

19. อำนาจแม่เหล็กที่เกิดจากแม่เหล็กไฟฟ้ าจะมีอำนาจมากหรือน้อยขึ้น


อยู่กับข้อใด
ก. ค่ากระแสไฟฟ้ าในวงจร
ข. สถานที่ตั้งแม่เหล็ก
ค. จำนวนขดลวดทองแดงที่พันรอบแกนเหล็ก
ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ค

20. รถแม่เหล็กไฟฟ้ าเป็ นประโยชน์ของแม่เหล็กไฟฟ้ าด้านใด


ก. การสื่อสาร
ข. การคมนาคม
ค. การประกอบเครื่องใช้ไฟฟ้ า
ง. การแยกโลหะ
68

เฉลย

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียน
เรื่อง วงจรไฟฟ้ า ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
69

1. ก 6. ก 11. ค 16. ข
2. ง 7. ค 12. ค 17. ข
3. ง 8. ข 13. ค 18. ค
4. ก 9. ก 14. ข 19. ง
5. ค 10. ข 15. ข 20. ข
70

ใบกิจกรรมที่ 2.1
เรื่อง วงจรไฟฟ้ าอย่างง่าย

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายความหมายและส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้ าอย่างง่าย
2. ทดลองและสรุปผลการต่อวงจรไฟฟ้ าอย่างง่าย
3. เขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้ าโดยใช้สัญลักษณ์แทนอุปกรณ์
ไฟฟ้ า
คำชี้แจง
1. ให้นักเรียนศึกษาวิธีการทดลอง การต่อวงจรไฟฟ้ าอย่างง่าย
2. ทำการทดลองและตอบคำถามท้ายการทดลอง
วัสดุอุปกรณ์
1. สายไฟแบบปากคีบ จำนวน 3 เส้น
2. ถ่านไฟฉายพร้อมรังถ่าน จำนวน 1 ชุด
3. หลอดไฟฟ้ าพร้อมฐาน จำนวน 1 ชุด

วิธีการ 4. สวิตซ์ไฟฟ้ า จำนวน 1 อัน

1. นำสายไฟเส้นแรกคีบที่ขั้ว 2. นำปลายสายไฟอีกด้านของสายไฟ

บวกของถ่านไฟฉายและนำสาย เส้นแรกต่อเข้ากับขั้วบวกของหลอด
ไฟฟ้ า และนำปลายสายไฟด้านหนึ่ง
71

3. นำสายไฟเส้นที่สองต่อเข้ากับขั้วด้านหนึ่งของ
สวิตช์ไฟฟ้ า
และนำสายไฟเส้นที่สามมาต่อขั้วอีกด้านหนึ่งของ

4. สังเกตความสว่างของหลอด
ไฟฟ้ า

ตารางบันทึกผลการทดลอง

การทดลอง ผลการสังเกต
1. ต่อสายไฟครบตามวงจร
ไฟฟ้ า

2. ปลดสายไฟออก 1 เส้น

จากการทดลอง จงตอบคำถามต่อไปนี้
1. วงจรไฟฟ้ าอย่างง่ายประกอบด้วยอะไรบ้าง
..................................................................................................................
72

..................................................................................................................
............................................................................................
2. เมื่อกดสวิตซ์ลงและยกสวิตซ์ขึ้น จะมีกระแสไฟฟ้ าในวงจรหรือไม่
ทราบได้อย่างไร
..................................................................................................................
..................................................................................................................
............................................................................................
3. สวิตซ์ทำหน้าที่อะไรในวงจรไฟฟ้ า
..................................................................................................................
..................................................................................................................
............................................................................................
4. นักเรียนจะสรุปผลการทดลองได้ว่าอย่างไร
..................................................................................................................
..................................................................................................................
............................................................................................

5. จากการทดลองให้นักเรียนเขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้ า การต่อวงจร
ไฟฟ้ าอย่างง่าย
73
74

แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมการ
ทำงานกลุ่ม
กิจกรรมที่ 2.1 เรื่อง วงจรไฟฟ้ าอย่าง่าย

พฤติกรรม 
ความ ความ ความ นำ รวม ผล
 ความ รับผิด ร่วม กระตือรื เสนอ เฉลี่ย การ
กกลุ่ม สนใจ ชอบ มือ อร้น แนวคิ ประเมิน
ที่ ด

3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1
ผ่าน

ไม่
1
2
3
รวม
เฉลี่ย
ร้อยละ
หมายเหตุ รายชื่อนักเรียนแต่ละกลุ่ม
กลุ่มที่
1 : ....................................................................................................
75

กลุ่มที่
2 : ....................................................................................................
กลุ่มที่ 3 :
……………………………………………………………….............................

เกณฑ์การให้คะแนน

พฤติกรรมที่ทำเป็ นประจำ ให้ 3 คะแนน


พฤติกรรมที่ทำเป็ นบางครั้ง ให้ 2 คะแนน
พฤติกรรมที่ทำน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การให้คะแนน
ช่วงคะแนน ร ะ ดั บ
คุณภาพ
13-15 ดี
8-12 พอใช้
5-7 ปรับปรุง
เกณฑ์การพิจารณาตัดสินให้คะแนนการปฏิบัติกิจกรรมการ
ทำงานกลุ่ม
กิจกรรมที่ 2.1 เรื่อง วงจรไฟฟ้ าอย่าง่าย

รายการ เกณฑ์การพิจารณาตัดสินให้คะแนน ระดับ


76

ประเมิน คะแน

สมาชิกในกลุ่มทุกคนให้ความสนใจในการปฏิบัติกิจกรรมและ 3
ปฏิบัติกิจกรรมด้วยความตั้งใจ ตลอดระยะเวลาในการปฏิบัติ
กิจกรรม
ความ สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ให้ความสนใจในการปฏิบัติกิจกรรม 2
สนใจ และปฏิบัติกิจกรรมด้วยความตั้งใจ
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ไม่ให้ความสนใจต่อการปฏิบัติกิจกรรม 1
และไม่ตั้งใจปฏิบัติกิจกรรม ตลอดระยะเวลาในการปฏิบัติ
กิจกรรม
สมาชิกในกลุ่มทุกคนมีความรับผิดชอบต่อบทบาทและหน้าที่ 3
ใน
การปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มและปฏิบัติกิจกรรมตามที่ได้รับมอบ
หมายด้วยความตั้งใจ
ความรับ สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่มีความรับผิดชอบต่อบทบาทและ 2
ผิดชอบ หน้าที่ในการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มและปฏิบัติกิจกรรมตามที่ได้
รับมอบหมาย
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ไม่มีความรับผิดชอบต่อบทบาทและ 1
หน้าที่
ที่ได้รับมอบหมายในการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม
ความ สมาชิกในกลุ่มทุกคนต่างให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม 3
ร่วมมือ และช่วยกันปฏิบัติกิจกรรมจนสำเร็จไปได้ด้วยดี มีความตั้งใจ
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ต่างให้ความร่วมมือในการปฏิบัติ 2
77

กิจกรรมและช่วยกันปฏิบัติกิจกรรม
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ไม่ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติ 1
กิจกรรม
ของกลุ่มและเกี่ยงกันปฏิบัติกิจกรรม ครูต้องคอยตักเตือน
สมาชิกในกลุ่มทุกคนมีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติกิจกรรม 3
ต่างช่วยกันปฏิบัติกิจกรรมด้วยความสนใจใฝ่ รู้อยู่ตลอดเวลา
ความ
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติ 2
กระตือรื
กิจกรรม และช่วยกันปฏิบัติกิจกรรม
อร้น
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ไม่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติ 1
กิจกรรม และไม่ตั้งใจขาดการใฝ่ รู้ใฝ่ เรียน
สมาชิกในกลุ่มทุกคนร่วมกันแสดงความคิดเห็น และยอมรับ 3
ความคิดเห็น ในการปฏิบัติกิจกรรมที่ถูกต้อง
นำเสนอ
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ร่วมกันแสดงความคิดเห็น และยอมรับ 2
แนวคิด
สมาชิกในกลุ่มไม่มีการหารือและไม่เสนอความคิดเห็น ครูต้อง 1
คอยให้คำแนะนำ
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ชื่อ...................................................................................
ชั้น......................เลขที่...................
คำชี้แจง: ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและ
นอกเวลาเรียนแล้วทำเครื่องหมาย  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน
คุณลักษ รายการประเมิน ระดับ
ณะ คะแนน
อันพึง 4 3 2 1
78

ประสงค์
1. มีวินัย 1.1 ปฏิบัติตนตามข้อตกลง กฎระเบียบของ
รับผิด ครอบครัว โรงเรียนและสังคม
ชอบ 1.2 ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบในการเรียน
การปฏิบัติงาน
1.3 ปฏิบัติตนในกิจวัตรประจำวันโดยไม่
ละเมิดสิทธิผู้อื่น
2. ใฝ่ เรียน 2.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียน สนใจ
รู้ เข้าร่วมกิจกรรม การเรียนรู้ต่าง ๆ
2..2 แสวงหา ศึกษา ค้นคว้าความรู้จาก
แหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ
2.3 บันทึกความรู้วิเคราะห์ตรวจสอบ แลก
เปลี่ยนเรียนรู้
3. มุ่งมั่น 3.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในการทำงานให้
ในการ สำเร็จ
ทำงาน 3.2 ทุ่มเททำงาน อดทนไม่ย่อท้อต่อ
ปั ญหาและอุปสรรค
3.3 ปรับปรุงพัฒนาการทำงานและผลงาน
ด้วยตนเอง

ลงชื่อ ......................................ผู้

ประเมิน

เกณฑ์การให้คะแนน
79

ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3
คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน
ไม่ปฏิบัติหรือไม่แสดงพฤติกรรม ให้ 0 คะแนน

หมายเหตุ  ให้ทำเครื่องหมาย  ในช่องที่ต้องการ

ผลการประเมินอยู่ในระดับ (ภาพรวม)  ดีเยี่ยม  ดี 


พอใช้ ปรับปรุง
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10 – 12 ดีเยี่ยม
7–9 ดี
4–6 พอใช้
0–3 ควรปรับปรุง

หมายเหตุ : ใช้ประเมินคุณลักษณะเฉพาะที่สอดคล้องกับ
กิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละครั้ง โดยไม่จำเป็ นต้องประเมินครบทั้ง
4 คุณลักษณะใน 1 ครั้ง
80

แบบประเมินการปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง
เรื่อง การต่อวงจรไฟฟ้ าอย่างง่าย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
ที่
เลข

สรุปผลการประเมิน
ชื่อ – สกุล
การวางแผนวิธีการดำเนินการ
การปฏิบัติการทดลอง ( 4)
รายการ
ประเมิน

การบันทึกผลและการสรุปผล
การอภิปรายและนำเสนอ ( 4 )
รวมคะแนน ( 16 )
ดีมาก ( 13– 16 )
ดี ( 9– 12 )
ระดับ
คุณภาพ

พอใช้ ( 5–8 )
ปรับปรุง ( 1–4 )


สรุปผลการประเมิน
81
82

การประเมิน ผ่าน ต้องมีผลการประเมินอยู่ในระดับคุณภาพ


พอใช้ ขึ้นไป

เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง
เรื่องการต่อวงจรไฟฟ้ าอย่างง่าย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6

เกณฑ์ระดับคุณภาพคะแนน
รายการ
ประเมิน 4 3 2 1

1. การ วางแผน วางแผนการ วางแผน วางแผน


วางแผน การ ทดลองและ การทดลอง การทดลอง
วิธีการ ทดลอง ออกแบบ และ และ
ดำเนิน และ การทดลอง ออกแบบ ออกแบบ
การ ออกแบบ ได้ถูกต้อง การทดลอง การทดลอง
ทดลอง การ เหมาะสม ได้ถูกต้อง ได้ไม่ถูก
ทดลองได้ กับเวลา เหมาะสม ต้องและไม่
ถูกต้อง เลือกใช้ กับเวลาแต่ เหมาะสม
เหมาะสม เครื่องมือ เลือกใช้ กับเวลา
กับเวลา และวัสดุ เครื่องมือ ต้องให้
เลือกใช้ อุปกรณ์ใน และวัสดุ ความช่วย
เครื่องมือ การทดลอง อุปกรณ์ใน เหลือในการ
และวัสดุ ได้ถูกต้อง การทดลอง เลือกใช้
83

อุปกรณ์ เหมาะสม ได้ถูกต้อง เครื่องมือ


ในการ โดยครูต้อง เหมาะสม และวัสดุ
ทดลอง แนะนำเป็ น โดยครูต้อง อุปกรณ์
ได้ถูกต้อง บางส่วน แนะนำเป็ น
เหมาะสม ส่วนมาก

2. การ ดำเนินการ ดำเนินการ ดำเนินการ ดำเนินการ


ปฏิบัติ ทดลอง ทดลองเป็ น ทดลองเป็ น ทดลอง ไม่
การ เป็ นขั้น ขั้นตอน ขั้นตอน เป็ นขั้นตอน
ทดลอง ตอน และ และใช้ และใช้ และใช้
ใช้อุปกรณ์ อุปกรณ์ อุปกรณ์ อุปกรณ์
ต่างๆ ต่างๆ ได้ ต่างๆ ได้ ต่างๆ ได้ไม่
ได้อย่างถูก อย่างถูก อย่างถูก ถูกต้อง
ต้อง ต้อง โดยครู ต้อง โดยครู
ต้องแนะนำ ต้องแนะนำ
เป็ นบาง เป็ นส่วน
ส่วน มาก
84

เกณฑ์ระดับคุณภาพคะแนน
รายการ
ประเมิน 4 3 2 1

3. การ เขียน เขียนบันทึก เขียนบันทึก เขียนบันทึก


บันทึกผล บันทึกผล ผลการ ผลการ ผลการ
การ การ ทดลองได้ ทดลองได้ ทดลองต้อง
ทดลอง ทดลองได้ ถูกต้อง ถูกต้อง ให้คำ
และ ถูกต้อง ชัดเจนและ ชัดเจนและ แนะนำ และ
สรุปผลการ ชัดเจน สรุปผลการ สรุปผลการ สรุปผลการ
ทดลอง และสรุป ทดลองได้ ทดลองได้ ทดลองได้ไม่
ผลการ ถูกต้อง ถูกต้อง ถูกต้อง
ทดลองได้ กระชับและ กระชับและ
ถูกต้อง ชัดเจน มี ชัดเจน มี
กระชับและ เหตุผล โดย เหตุผล โดย
ชัดเจน มี ครูต้อง ครูต้อง
เหตุผล แนะนำเป็ น แนะนำเป็น
สมบูรณ์ บางส่วน ส่วนมาก

4. การ เนื้อหา เนื้อหาสาระ เนื้อหา เนื้อหา


อภิปราย สาระตรง ตรงประเด็น สาระ สาระ ไม่
และนำ ประเด็น ครบถ้วน เกือบ ตรง
เสนอ ครบถ้วน สมบูรณ์ มี ทั้งหมด ประเด็น
สมบูรณ์ มี ความถูก มีความถูก และไม่มี
85

ความ ต้องตามข้อ ต้อง ครบ ความถูก


ถูกต้อง เท็จจริง ถ้วน ต้องตามข้อ
ตามข้อ โดยครูต้อง สมบูรณ์ เท็จจริง
เท็จจริง ให้คำ โดยครูต้อง
แนะนำเป็ น ให้คำ
บางส่วน แนะนำเป็ น
ส่วนมาก

ใบกิจกรรมที่ 2.2
เรือง การต่อถ่านไฟฉายแบบอนุกรม

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายวิธีการต่อถ่านไฟฉายแบบอนุกรม
86

2. ทดลองเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้ าที่ต่อถ่านไฟฉายแบบอนุกรม
3. เขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้ าโดยใช้สัญลักษณ์แทนอุปกรณ์ไฟฟ้ า

คำชี้แจง
1. ให้นักเรียนศึกษาวิธีการทดลอง การต่อถ่านไฟฉายแบบ
อนุกรม
2. ทำการทดลองและตอบคำถามท้ายการทดลอง

วัสดุอุปกรณ์
1. ถ่านไฟฉาย จำนวน 2 ก้อน
2. สายไฟฟ้ า จำนวน 4 เส้น
3. สวิตช์ไฟฟ้ า จำนวน 1 อัน
4. หลอดไฟฟ้ า จำนวน 1 อัน

วิธีการ
1. นำปลายสายไฟอีกด้าน 2. นำสายไฟเส้นที่สองต่อเข้ากับ
ของสายไฟเส้นแรกต่อเข้ากับ ขั้วด้านหนึ่งของสวิตช์และนำสาย
ขั้วบวกของหลอดไฟฟ้ าและ ไฟ เส้นที่สามมาต่อขั้วอีกด้าน
นำปลายสายไฟ
หนึ่งของสวิตช์
ด้านหนึ่งของสายไฟ
87

3 1 3
1

2 2

3. ทำการโยกสวิตช์ไฟฟ้ าให้อยู่ในตำแหน่ง“เปิ ด” เพื่อทำการปิ ดวงจร


ไฟฟ้ า
4. สังเกตความสว่างของหลอดไฟฟ้ า สังเกตและบันทึกผล

ตารางบันทึกผลการต่อวงจร
ความสว่างของหลอด
ไฟฟ้ า
รูปแบบการต่อวงจร
มา ปาน น้อ ไม่
ก กลาง ย สว่าง
1. ถ่านไฟฉาย 1 ก้อน
2. ถ่านไฟฉาย 2 ก้อน
88

จากการทดลอง จงตอบคำถามต่อไปนี้
1. การต่อวงจรไฟฟ้ าโดยใช้ถ่านไฟฉายแบบ 1 ก้อน กับแบบ 2 ก้อน ต่อ
อนุกรมกัน การต่อแบบใด
หลอดไฟจะสว่างมากกว่ากัน
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
…………………………
2. จำนวนถ่านไฟฉาย มีผลต่อความสว่างของหลอดไฟ ใช่หรือไม่
เพราะเหตุใด
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
…………………………

3. สรุปผลการทดลองได้อย่างไร
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
89

……………………………………………………………………………………………………
…………………………
4. จากการทดลองให้นักเรียนเขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้ า การต่อถ่าน
ไฟฉายแบบอนุกรม
90

แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมการ
ทำงานกลุ่ม
กิจกรรมที่ 2.2 เรื่อง การต่อถ่านไฟฉายแบบอนุกรม

พฤติกรรม 
ความ ความ ความ นำ รวม ผล
 ความ รับผิด ร่วม กระตือรื เสนอ เฉลี่ย การ
กกลุ่ม สนใจ ชอบ มือ อร้น แนวคิ ประเมิน
ที่ ด

3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1
ผ่าน

ไม่

1
2
3
รวม
เฉลี่ย
ร้อยละ
หมายเหตุ รายชื่อนักเรียนแต่ละกลุ่ม
91

กลุ่มที่
1 : ....................................................................................................
กลุ่มที่
2 : ....................................................................................................
กลุ่มที่ 3 :
……………………………………………………………….............................

เกณฑ์การให้คะแนน

พฤติกรรมที่ทำเป็ นประจำ ให้ 3 คะแนน


พฤติกรรมที่ทำเป็ นบางครั้ง ให้ 2 คะแนน
พฤติกรรมที่ทำน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การให้คะแนน
ช่วงคะแนน ร ะ ดั บ
คุณภาพ
13-15 ดี
8-12 พอใช้
5-7 ปรับปรุง
เกณฑ์การพิจารณาตัดสินให้คะแนนการปฏิบัติกิจกรรมการ
ทำงานกลุ่ม
กิจกรรมที่ 2.1 เรื่อง การต่อถ่านไฟฉายแบบอนุกรม
92

รายกา ระดั
ร บ
เกณฑ์การพิจารณาตัดสินให้คะแนน
ประเมิ คะแ
น นน
สมาชิกในกลุ่มทุกคนให้ความสนใจในการปฏิบัติกิจกรรมและ 3
ปฏิบัติกิจกรรมด้วยความตั้งใจ ตลอดระยะเวลาในการปฏิบัติ
กิจกรรม
ความ สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ให้ความสนใจในการปฏิบัติกิจกรรม 2
สนใจ และปฏิบัติกิจกรรมด้วยความตั้งใจ
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ไม่ให้ความสนใจต่อการปฏิบัติกิจกรรม 1
และไม่ตั้งใจปฏิบัติกิจกรรม ตลอดระยะเวลาในการปฏิบัติ
กิจกรรม
สมาชิกในกลุ่มทุกคนมีความรับผิดชอบต่อบทบาทและหน้าที่ใน 3
การปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มและปฏิบัติกิจกรรมตามที่ได้รับมอบ
หมายด้วยความตั้งใจ
ความ สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่มีความรับผิดชอบต่อบทบาทและหน้าที่ 2
รับผิด ในการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มและปฏิบัติกิจกรรมตามที่ได้รับมอบ
ชอบ หมาย
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ไม่มีความรับผิดชอบต่อบทบาทและ 1
หน้าที่
ที่ได้รับมอบหมายในการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม
ความ สมาชิกในกลุ่มทุกคนต่างให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม 3
93

และช่วยกันปฏิบัติกิจกรรมจนสำเร็จไปได้ด้วยดี มีความตั้งใจ
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ต่างให้ความร่วมมือในการปฏิบัติ 2
ร่วมมือ กิจกรรมและช่วยกันปฏิบัติกิจกรรม
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ไม่ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม 1
ของกลุ่มและเกี่ยงกันปฏิบัติกิจกรรม ครูต้องคอยตักเตือน
สมาชิกในกลุ่มทุกคนมีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติกิจกรรม 3
ต่างช่วยกันปฏิบัติกิจกรรมด้วยความสนใจใฝ่ รู้อยู่ตลอดเวลา
ความ
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติ 2
กระตือ
กิจกรรม และช่วยกันปฏิบัติกิจกรรม
รือร้น
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ไม่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติ 1
กิจกรรม และไม่ตั้งใจขาดการใฝ่ รู้ใฝ่ เรียน
สมาชิกในกลุ่มทุกคนร่วมกันแสดงความคิดเห็น และยอมรับ 3
นำ
ความคิดเห็น ในการปฏิบัติกิจกรรมที่ถูกต้อง
เสนอ
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ร่วมกันแสดงความคิดเห็น และยอมรับ 2
แนวคิ
สมาชิกในกลุ่มไม่มีการหารือและไม่เสนอความคิดเห็น ครูต้อง 1

คอยให้คำแนะนำ
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ชื่อ...................................................................................
ชั้น......................เลขที่...................
คำชี้แจง: ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและ
นอกเวลาเรียนแล้วทำเครื่องหมาย  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน
คุณลักษ รายการประเมิน ระดับ
ณะ คะแนน
94

อันพึง
4 3 2 1
ประสงค์
1. มีวินัย 1.1 ปฏิบัติตนตามข้อตกลง กฎระเบียบ
รับผิด ของครอบครัว โรงเรียนและสังคม
ชอบ 1.2 ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบในการเรียน
การปฏิบัติงาน
1.3 ปฏิบัติตนในกิจวัตรประจำวันโดยไม่
ละเมิดสิทธิผู้อื่น
2. ใฝ่ เรียน 2.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียน สนใจ
รู้ เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ
2..2 แสวงหา ศึกษา ค้นคว้าความรู้จาก
แหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ
2.3 บันทึกความรู้วิเคราะห์ตรวจสอบ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้
3. มุ่งมั่น 3.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในการทำงานให้
ในการ สำเร็จ
ทำงาน 3.2 ทุ่มเททำงาน อดทนไม่ย่อท้อต่อ
ปั ญหาและอุปสรรค
3.3 ปรับปรุงพัฒนาการทำงานและผลงาน
ด้วยตนเอง

ลงชื่อ ......................................ผู้

ประเมิน
95

เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3
คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน
ไม่ปฏิบัติหรือไม่แสดงพฤติกรรม ให้ 0 คะแนน

หมายเหตุ  ให้ทำเครื่องหมาย  ในช่องที่ต้องการ


ผลการประเมินอยู่ในระดับ (ภาพรวม)  ดีเยี่ยม  ดี 
พอใช้  ปรับปรุง

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10 – 12 ดีเยี่ยม
7–9 ดี
4–6 พอใช้
0–3 ควรปรับปรุง

หมายเหตุ : ใช้ประเมินคุณลักษณะเฉพาะที่สอดคล้องกับ
กิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละครั้ง โดยไม่จำเป็ นต้องประเมิน
ครบทั้ง 4 คุณลักษณะใน 1 ครั้ง
96
ที่
เลข
ชื่อ – สกุล
การวางแผนวิธีการดำเนินการ
การปฏิบัติการทดลอง ( 4)
รายการ
ประเมิน

การบันทึกผลและการสรุปผล
การอภิปรายและนำเสนอ ( 4 )
รวมคะแนน ( 16 )
ดีมาก ( 13– 16 )
ดี ( 9– 12 )
ระดับ
คุณภาพ

พอใช้ ( 5–8 )
ปรับปรุง ( 1–4 )

แบบประเมินการปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง


สรุปผลการประเมิน
เรื่อง การต่อถ่านไฟฉายแบบอนุกรม ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
97
98

สรุปผลการประเมิน
การประเมิน ผ่าน ต้องมีผลการประเมินอยู่ในระดับคุณภาพ
พอใช้ ขึ้นไป

เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง
เรื่อง การต่อถ่านไฟฉายแบบอนุกรม ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6

เกณฑ์ระดับคุณภาพคะแนน
รายการ
ประเมิน 4 3 2 1

1. การ วางแผน วางแผนการ วางแผน วางแผน


วางแผน การ ทดลองและ การทดลอง การทดลอง
วิธีการ ทดลอง ออกแบบ และ และ
ดำเนิน และ การทดลอง ออกแบบ ออกแบบ
การ ออกแบบ ได้ถูกต้อง การทดลอง การทดลอง
ทดลอง การ เหมาะสม ได้ถูกต้อง ได้ไม่ถูก
ทดลองได้ กับเวลา เหมาะสม ต้องและไม่
ถูกต้อง เลือกใช้ กับเวลาแต่ เหมาะสม
เหมาะสม เครื่องมือ เลือกใช้ กับเวลา
กับเวลา และวัสดุ เครื่องมือ ต้องให้
เลือกใช้ อุปกรณ์ใน และวัสดุ ความช่วย
99

เครื่องมือ การทดลอง อุปกรณ์ใน เหลือในการ


และวัสดุ ได้ถูกต้อง การทดลอง เลือกใช้
อุปกรณ์ เหมาะสม ได้ถูกต้อง เครื่องมือ
ในการ โดยครูต้อง เหมาะสม และวัสดุ
ทดลอง แนะนำเป็ น โดยครูต้อง อุปกรณ์
ได้ถูกต้อง บางส่วน แนะนำเป็ น
เหมาะสม ส่วนมาก

2. การ ดำเนินการ ดำเนินการ ดำเนินการ ดำเนินการ


ปฏิบัติ ทดลอง ทดลองเป็ น ทดลองเป็ น ทดลอง ไม่
การ เป็ นขั้น ขั้นตอน ขั้นตอน เป็ นขั้นตอน
ทดลอง ตอน และ และใช้ และใช้ และใช้
ใช้อุปกรณ์ อุปกรณ์ อุปกรณ์ อุปกรณ์
ต่างๆ ต่างๆ ได้ ต่างๆ ได้ ต่างๆ ได้ไม่
ได้อย่างถูก อย่างถูก อย่างถูก ถูกต้อง
ต้อง ต้อง โดยครู ต้อง โดยครู
ต้องแนะนำ ต้องแนะนำ
เป็ นบาง เป็ นส่วน
ส่วน มาก
100

เกณฑ์ระดับคุณภาพคะแนน
รายการ
ประเมิน 4 3 2 1

3. การ เขียน เขียนบันทึก เขียนบันทึก เขียนบันทึก


บันทึกผล บันทึกผล ผลการ ผลการ ผลการ
การ การ ทดลองได้ ทดลองได้ ทดลองต้อง
ทดลอง ทดลองได้ ถูกต้อง ถูกต้อง ให้คำ
และสรุป ถูกต้อง ชัดเจนและ ชัดเจนและ แนะนำ
ผลการ ชัดเจน สรุปผลการ สรุปผลการ และสรุปผล
ทดลอง และสรุป ทดลองได้ ทดลองได้ การทดลอง
ผลการ ถูกต้อง ถูกต้อง ได้ไม่ถูก
ทดลองได้ กระชับและ กระชับและ ต้อง
ถูกต้อง ชัดเจน มี ชัดเจน มี
กระชับ เหตุผล โดย เหตุผล โดย
และ ครูต้อง ครูต้อง
ชัดเจน มี แนะนำเป็ น แนะนำเป็ น
เหตุผล บางส่วน ส่วนมาก
สมบูรณ์

4. การ เนื้อหา เนื้อหาสาระ เนื้อหา เนื้อหา


อภิปราย สาระตรง ตรงประเด็น สาระเกือบ สาระไม่ตรง
และนำ ประเด็น ครบถ้วน ทั้งหมด มี ประเด็น
เสนอ ครบถ้วน สมบูรณ์ มี ความถูก และไม่มี
101

สมบูรณ์ มี ความถูก ต้อง ครบ ความถูก


ความถูก ต้องตามข้อ ถ้วน ต้องตามข้อ
ต้องตาม เท็จจริง สมบูรณ์ เท็จจริง
ข้อเท็จจริง โดยครูต้อง
จุดประสงค์การเรียนรู้ โดยครูต้อง
ให้คำ ให้คำ
1. อธิบายวิธีการต่อถ่านไฟฉายแบบขนาน
แนะนำเป็ น าที่ต่อถ่านไฟฉายแบบขนาน
2. ทดลองเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้ แนะนำเป็ น
บางส่วน ส่วนมาก
3. เขียนแผนภาพและบอกทิศทาง วงจรไฟฟ้ าโดยใช้สัญลักษณ์แทน
อุปกรณ์ไฟฟ้ า
4. บอกความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณกระแสไฟฟ้ ากับความสว่าง
ของหลอดไฟฟ้ าได้

คำชี้แจง
1. ให้นักเรียนศึกษาวิธีการทดลอง การต่อถ่านไฟฉายแบบขนาน
2. ทำการทดลองและตอบคำถามท้ายการทดลอง

ใบกิจกรรมที่ 2.3

เรื่อง การต่อถ่านไฟฉายแบบขนาน
คำชี้แจง
102

วัสดุอุปกรณ์
1. ถ่านไฟฉาย จำนวน 2 ก้อน
2. สายไฟฟ้ า จำนวน 7 เส้น
3. สวิตช์ไฟฟ้ า จำนวน 1 อัน
4. หลอดไฟฟ้ า จำนวน 1 อัน

ให้นักเรียนศึกษาวิธีการทดลอง การต่อถ่านไฟฉายแบบขนาน
103

วิธีการทดลอง

1. ต่อหลอดไฟฟ้ า 1 หลอด
เข้ากับถ่านไฟฉาย 1 ก้อน 2. นำถ่านไฟฉายมาต่อเพิ่ม

และสวิตซ์ดังรูป โยก ในวงจรดังรูป โยกสวิตซ์

สวิตซ์เพื่อปิ ดวงจรแล้ว เพื่อปิ ดวงจรแล้วสังเกต

สังเกตและ และบันทึกผล

บันทึกผล

3. ถอดถ่านไฟฉายที่เพิ่มเข้าไป 1 ก้อน หลอดไฟฉายมีการ


ตารางบันทึกผลการทดลอง
เปลี่ยนแปลงหรือไม่ สังเกตและบันทึกผล
การทดลอง ผลการสังเกต
เมื่อต่อถ่านไฟฉาย 1 ก้อนเข้า
กับวงจรไฟฟ้ า
เมื่อต่อถ่านไฟฉาย 2 ก้อนเข้า
กับวงจรไฟฟ้ า
เมื่อนำถ่านไฟฉายมาต่อเพิ่ม

จากการทดลอง จงตอบคำถามต่อไปนี้

1. การต่อถ่านไฟฉายจำนวน 1 และ 2 ก้อน หรือหลายก้อน แบบขนาน


เข้ากับหลอดไฟฉาย
มีความต่างกันหรือไม่ อย่างไร
104

2. กระแสไฟฟ้ าจากถ่านไฟฉายจำนวน 1 และ 2 ก้อนที่ไหลผ่านหลอด


ไฟฉายต่างกันหรือไม่ อย่างไร

3. สรุปผลการทดลองนี้ว่าอย่างไร

4. จากการทดลองให้นักเรียนเขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้ า การต่อถ่าน
ไฟฉายแบบขนาน
105

แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมการ
ทำงานกลุ่ม
กิจกรรมที่ 2.3 เรื่อง การต่อถ่านไฟฉายแบบขนาน

 พฤติกรรม  ผล
กกลุ่ม ความ ความ ความ ความ นำ รวม การ
ที่ สนใจ รับผิด ร่วม กระตือรื เสนอ เฉลี่ย ประเมิน
ชอบ มือ อร้น แนวคิ

106

3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1

ผ่าน

ไม่
1
2
3
รวม
เฉลี่ย
ร้อยละ
หมายเหตุ รายชื่อนักเรียนแต่ละกลุ่ม
กลุ่มที่
1 : ....................................................................................................
กลุ่มที่
2 : ....................................................................................................
กลุ่มที่ 3 :
……………………………………………………………….............................

เกณฑ์การให้คะแนน

พฤติกรรมที่ทำเป็ นประจำ ให้ 3 คะแนน


พฤติกรรมที่ทำเป็ นบางครั้ง ให้ 2 คะแนน
พฤติกรรมที่ทำน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การให้คะแนน
107

ช่วงคะแนน ร ะ ดั บ
คุณภาพ
13-15 ดี
8-12 พอใช้
5-7 ปรับปรุง
เกณฑ์การพิจารณาตัดสินให้คะแนนการปฏิบัติกิจกรรมการ
ทำงานกลุ่ม
กิจกรรมที่ 2.3 เรื่อง การต่อถ่านไฟฉายแบบขนาน

รายการ ระดับ
ประเมิน เกณฑ์การพิจารณาตัดสินให้คะแนน คะแน

สมาชิกในกลุ่มทุกคนให้ความสนใจในการปฏิบัติกิจกรรมและ 3
ปฏิบัติกิจกรรมด้วยความตั้งใจ ตลอดระยะเวลาในการปฏิบัติ
กิจกรรม
ความ
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ให้ความสนใจในการปฏิบัติกิจกรรม 2
สนใจ
และปฏิบัติกิจกรรมด้วยความตั้งใจ
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ไม่ให้ความสนใจต่อการปฏิบัติกิจกรรม 1
และไม่ตั้งใจปฏิบัติกิจกรรม ตลอดระยะเวลาในการปฏิบัติกิจกรรม
ความรับ สมาชิกในกลุ่มทุกคนมีความรับผิดชอบต่อบทบาทและหน้าที่ใน 3
ผิดชอบ การปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มและปฏิบัติกิจกรรมตามที่ได้รับมอบหมาย
ด้วยความตั้งใจ
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่มีความรับผิดชอบต่อบทบาทและหน้าที่ใน 2
108

การปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มและปฏิบัติกิจกรรมตามที่ได้รับมอบหมาย
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ไม่มีความรับผิดชอบต่อบทบาทและหน้าที่ 1
ที่ได้รับมอบหมายในการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม
สมาชิกในกลุ่มทุกคนต่างให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม 3
และช่วยกันปฏิบัติกิจกรรมจนสำเร็จไปได้ด้วยดี มีความตั้งใจ
ความ สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ต่างให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม 2
ร่วมมือ และช่วยกันปฏิบัติกิจกรรม
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ไม่ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม 1
ของกลุ่มและเกี่ยงกันปฏิบัติกิจกรรม ครูต้องคอยตักเตือน
สมาชิกในกลุ่มทุกคนมีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติกิจกรรม 3
ต่างช่วยกันปฏิบัติกิจกรรมด้วยความสนใจใฝ่ รู้อยู่ตลอดเวลา
ความ
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติกิจกรรม 2
กระตือรื
และช่วยกันปฏิบัติกิจกรรม
อร้น
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ไม่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติ 1
กิจกรรม และไม่ตั้งใจขาดการใฝ่ รู้ใฝ่ เรียน
สมาชิกในกลุ่มทุกคนร่วมกันแสดงความคิดเห็น และยอมรับความ 3
คิดเห็น ในการปฏิบัติกิจกรรมที่ถูกต้อง
นำเสนอ
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ร่วมกันแสดงความคิดเห็น และยอมรับ 2
แนวคิด
สมาชิกในกลุ่มไม่มีการหารือและไม่เสนอความคิดเห็น ครูต้องคอย 1
ให้คำแนะนำ
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ชื่อ...................................................................................
ชั้น......................เลขที่...................
109

คำชี้แจง: ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและ
นอกเวลาเรียนแล้วทำเครื่องหมาย  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน
คุณลักษ ระดับ
ณะ คะแนน
รายการประเมิน
อันพึง
4 3 2 1
ประสงค์
1. มีวินัย 1.1 ปฏิบัติตนตามข้อตกลง กฎระเบียบ
รับผิด ของครอบครัว โรงเรียนและสังคม
ชอบ 1.2 ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบในการเรียน
การปฏิบัติงาน
1.3 ปฏิบัติตนในกิจวัตรประจำวันโดยไม่
ละเมิดสิทธิผู้อื่น
2. ใฝ่ เรียน 2.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียน สนใจ
รู้ เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ
2..2 แสวงหา ศึกษา ค้นคว้าความรู้จาก
แหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ
2.3 บันทึกความรู้วิเคราะห์ตรวจสอบ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้
3. มุ่งมั่น 3.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในการทำงานให้
ในการ สำเร็จ
ทำงาน 3.2 ทุ่มเททำงาน อดทนไม่ย่อท้อต่อ
ปั ญหาและอุปสรรค
3.3 ปรับปรุงพัฒนาการทำงานและผลงาน
110

ด้วยตนเอง

ลงชื่อ ......................................ผู้

ประเมิน

เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3
คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน
ไม่ปฏิบัติหรือไม่แสดงพฤติกรรม ให้ 0 คะแนน

หมายเหตุ  ให้ทำเครื่องหมาย  ในช่องที่ต้องการ

ผลการประเมินอยู่ในระดับ (ภาพรวม)  ดีเยี่ยม  ดี 


พอใช้  ปรับปรุง
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10 – 12 ดีเยี่ยม
7–9 ดี
4–6 พอใช้
0–3 ควรปรับปรุง
111

หมายเหตุ : ใช้ประเมินคุณลักษณะเฉพาะที่สอดคล้องกับ
กิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละครั้ง โดยไม่จำเป็ นต้องประเมินครบทั้ง
4 คุณลักษณะใน 1 ครั้ง
ที่
เลข
ชื่อ – สกุล
การวางแผนวิธีการดำเนินการ
การปฏิบัติการทดลอง ( 4)
รายการ
ประเมิน
การบันทึกผลและการสรุปผล
การอภิปรายและนำเสนอ ( 4 )
รวมคะแนน ( 16 )
ดีมาก ( 13– 16 )
ดี ( 9– 12 )
ระดับ
คุณภาพ

พอใช้ ( 5–8 )
ปรับปรุง ( 1–4 )

แบบประเมินการปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง



สรุปผลการประเมิน
เรื่อง การต่อถ่านไฟฉายแบบขนาน ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
112
113

สรุปผลการประเมิน
การประเมิน ผ่าน ต้องมีผลการประเมินอยู่ในระดับคุณภาพ
พอใช้ ขึ้นไป

เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง
เรื่อง การต่อถ่านไฟฉายแบบขนาน ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6

เกณฑ์ระดับคุณภาพคะแนน
รายการ
ประเมิน 4 3 2 1

1. การ วางแผน วางแผนการ วางแผน วางแผน


วางแผน การ ทดลองและ การทดลอง การทดลอง
วิธีการ ทดลอง ออกแบบ และ และ
ดำเนิน และ การทดลอง ออกแบบ ออกแบบ
การ ออกแบบ ได้ถูกต้อง การทดลอง การทดลอง
ทดลอง การ เหมาะสม ได้ถูกต้อง ได้ไม่ถูก
ทดลองได้ กับเวลา เหมาะสม ต้องและไม่
ถูกต้อง เลือกใช้ กับเวลาแต่ เหมาะสม
114

เหมาะสม เครื่องมือ เลือกใช้ กับเวลา


กับเวลา และวัสดุ เครื่องมือ ต้องให้
เลือกใช้ อุปกรณ์ใน และวัสดุ ความช่วย
เครื่องมือ การทดลอง อุปกรณ์ใน เหลือในการ
และวัสดุ ได้ถูกต้อง การทดลอง เลือกใช้
อุปกรณ์ เหมาะสม ได้ถูกต้อง เครื่องมือ
ในการ โดยครูต้อง เหมาะสม และวัสดุ
ทดลอง แนะนำเป็ น โดยครูต้อง อุปกรณ์
ได้ถูกต้อง บางส่วน แนะนำเป็ น
เหมาะสม ส่วนมาก

2. การ ดำเนินการ ดำเนินการ ดำเนินการ ดำเนินการ


ปฏิบัติ ทดลอง ทดลองเป็ น ทดลองเป็ น ทดลอง ไม่
การ เป็ นขั้น ขั้นตอน ขั้นตอน เป็ นขั้นตอน
ทดลอง ตอน และ และใช้ และใช้ และใช้
ใช้อุปกรณ์ อุปกรณ์ อุปกรณ์ อุปกรณ์
ต่างๆ ต่างๆ ได้ ต่างๆ ได้ ต่างๆ ได้ไม่
ได้อย่างถูก อย่างถูก อย่างถูก ถูกต้อง
ต้อง ต้อง โดยครู ต้อง โดยครู
ต้องแนะนำ ต้องแนะนำ
เป็ นบาง เป็ นส่วน
ส่วน มาก
115

เกณฑ์ระดับคุณภาพคะแนน
รายการ
ประเมิน 4 3 2 1

3. การ เขียน เขียนบันทึก เขียนบันทึก เขียนบันทึก


บันทึกผล บันทึกผล ผลการ ผลการ ผลการ
การ การ ทดลองได้ ทดลองได้ ทดลองต้อง
ทดลอง ทดลองได้ ถูกต้อง ถูกต้อง ให้คำ
และสรุป ถูกต้อง ชัดเจนและ ชัดเจนและ แนะนำ
ผลการ ชัดเจน สรุปผลการ สรุปผลการ และสรุปผล
ทดลอง และสรุป ทดลองได้ ทดลองได้ การทดลอง
ผลการ ถูกต้อง ถูกต้อง ได้ไม่ถูก
ทดลองได้ กระชับและ กระชับและ ต้อง
ถูกต้อง ชัดเจน มี ชัดเจน มี
กระชับ เหตุผล โดย เหตุผล โดย
และ ครูต้อง ครูต้อง
ชัดเจน มี แนะนำเป็ น แนะนำเป็ น
เหตุผล บางส่วน ส่วนมาก
สมบูรณ์

4. การ เนื้อหา เนื้อหาสาระ เนื้อหา เนื้อหา


116

อภิปราย สาระตรง ตรงประเด็น สาระเกือบ สาระไม่ตรง


และนำ ประเด็น ครบถ้วน ทั้งหมดมี ประเด็น
เสนอ ครบถ้วน สมบูรณ์มี ความ ถูก และไม่มี
สมบูรณ์ มี ความถูก ต้อง ครบ ความถูก
ความถูก ต้องตามข้อ ถ้วน ต้องตามข้อ
ต้อง ตาม เท็จจริง สมบูรณ์ เท็จจริง
ข้อเท็จจริง โดยครูต้อง โดยครูต้อง
ให้คำ ให้คำ
แนะนำเป็ น แนะนำเป็ น
บางส่วน ส่วนมาก
117

ใบกิจกรรมที่ 2.4
เรื่อง การต่อหลอดไฟฟ้ าแบบอนุกรม
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ทดลองต่อหลอดไฟฟ้ าแบบอนุกรม
2. อธิบายการต่อหลอดไฟฟ้ าแบบอนุกรม
3. เขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้ าที่มีหลอดไฟฟ้ าต่อแบบอนุกรม
4. อภิปรายผลจากการต่อหลอดไฟฟ้ าแบบอนุกรม

คำชี้แจง
วัสดุอุปกรณ์
ให้นักเรียนศึกษาวิธีการทดลอง การต่อหลอดไฟฟ้ าแบบอนุกรม
1. ถ่านไฟฉาย จำนวน 2 ก้อน
2. สายไฟฟ้ า จำนวน 5 เส้น
3. สวิตช์ไฟฟ้ า จำนวน 1 อัน
4. หลอดไฟฟ้ า จำนวน 1 อัน
1. ต่อหลอดไฟฟ้ า 1 หลอด 2. ต่อหลอดไฟฟ้ า 2 หลอดเข้า

เข้ากับถ่านไฟฉาย 2 ก้อน กับถ่านไฟฉาย 2 ก้อนแบบ

แบบอนุกรมและสวิตซ์ดังรูป อนุกรมและสวิตซ์ดังรูป โยก

โยกสวิตซ์เพื่อปิ ดวงจรแล้ว สวิตซ์เพื่อปิ ดวงจรแล้วสังเกต

สังเกตและบันทึกผล และบันทึกผล
118

3. ถอดหลอดไฟฉายออก 1 หลอด โยกสวิตซ์เพื่อปิ ดวงจรไฟฟ้ าแล้ว


สังเกตและบันทึกผล

4. จากการทดลอง ข้อที่ 1 และข้อที่ 2 เมื่อต่อวงจรเรียบร้อยแล้วแต่ไม่


กดสวิตช์ให้วงจรไฟฟ้ าปิ ด
สังเกตและบันทึกผล
ตารางบันทึกผลการทดลอง

การทดลอง ผลการสังเกต
เมื่อหลอดไฟฟ้ า 1 หลอด
เข้ากับวงจร
เมื่อหลอดไฟฟ้ า 2 หลอด
เข้ากับวงจร
เมื่อถอดหลอดไฟออก 1 หลอด

จากการทดลอง จงตอบคำถามต่อไปนี้
1. กระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านหลอดไฟฟ้ า จำนวน 1 และ 2 หลอด ต่างกัน
หรือไม่ อย่างไร

2. เมื่อถอดหลอดไฟฟ้ าออก 1 หลอด ในขณะวงจรปิ ด หลอดไฟฟ้ าที่


เหลือจะสว่างหรือไม่ อย่างไร
119

3. จากการทดลองเมื่อต่อวงจรเรียบร้อยแล้วแต่ไม่กดสวิตช์ให้วงจรไฟฟ้ า
ปิ ด สังเกตและบันทึกผล

4. สรุปผลการทดลองนี้ว่าอย่างไร

5. จากการทดลองให้นักเรียนเขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้ า การต่อหลอด
ไฟฟ้ าแบบอนุกรม

แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมการ
ทำงานกลุ่ม
กิจกรรมที่ 2.4 เรื่อง การต่อหลอดไฟฟ้ าแบบอนุกรม
120

พฤติกรรม 
ความ ความ ความ นำ รวม ผล
 ความ รับผิด ร่วม กระตือรื เสนอ เฉลี่ย การ
กกลุ่ม สนใจ ชอบ มือ อร้น แนวคิ ประเมิน
ที่ ด

3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1

ผ่าน

ไม่
1
2
3
รวม
เฉลี่ย
ร้อยละ

หมายเหตุ รายชื่อนักเรียนแต่ละกลุ่ม
กลุ่มที่
1 : ....................................................................................................
กลุ่มที่
2 : ....................................................................................................
กลุ่มที่ 3 :
……………………………………………………………….............................

เกณฑ์การให้คะแนน
121

พฤติกรรมที่ทำเป็ นประจำ ให้ 3 คะแนน


พฤติกรรมที่ทำเป็ นบางครั้ง ให้ 2 คะแนน
พฤติกรรมที่ทำน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การให้คะแนน
ช่วงคะแนน ร ะ ดั บ
คุณภาพ
13-15 ดี
8-12 พอใช้
5-7 ปรับปรุง
เกณฑ์การพิจารณาตัดสินให้คะแนนการปฏิบัติกิจกรรมการ
ทำงานกลุ่ม
กิจกรรมที่ 2.4 เรื่อง การต่อหลอดไฟฟ้ าแบบอนุกรม

รายการ ระดั
ประเมิน บ
เกณฑ์การพิจารณาตัดสินให้คะแนน
คะแ
นน
ความ สมาชิกในกลุ่มทุกคนให้ความสนใจในการปฏิบัติกิจกรรมและ 3
สนใจ ปฏิบัติกิจกรรมด้วยความตั้งใจ ตลอดระยะเวลาในการปฏิบัติ
กิจกรรม
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ให้ความสนใจในการปฏิบัติกิจกรรม 2
122

และปฏิบัติกิจกรรมด้วยความตั้งใจ
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ไม่ให้ความสนใจต่อการปฏิบัติกิจกรรม 1
และไม่ตั้งใจปฏิบัติกิจกรรม ตลอดระยะเวลาในการปฏิบัติกิจกรรม
สมาชิกในกลุ่มทุกคนมีความรับผิดชอบต่อบทบาทและหน้าที่ใน 3
การปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มและปฏิบัติกิจกรรมตามที่ได้รับมอบหมาย
ด้วยความตั้งใจ
ความรับ
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่มีความรับผิดชอบต่อบทบาทและหน้าที่ใน 2
ผิดชอบ
การปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มและปฏิบัติกิจกรรมตามที่ได้รับมอบหมาย
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ไม่มีความรับผิดชอบต่อบทบาทและหน้าที่ 1
ที่ได้รับมอบหมายในการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม
สมาชิกในกลุ่มทุกคนต่างให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม 3
และช่วยกันปฏิบัติกิจกรรมจนสำเร็จไปได้ด้วยดี มีความตั้งใจ
ความ สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ต่างให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม 2
ร่วมมือ และช่วยกันปฏิบัติกิจกรรม
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ไม่ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม 1
ของกลุ่มและเกี่ยงกันปฏิบัติกิจกรรม ครูต้องคอยตักเตือน
สมาชิกในกลุ่มทุกคนมีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติกิจกรรม 3
ต่างช่วยกันปฏิบัติกิจกรรมด้วยความสนใจใฝ่ รู้อยู่ตลอดเวลา
ความ
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติกิจกรรม 2
กระตือรื
และช่วยกันปฏิบัติกิจกรรม
อร้น
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ไม่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติ 1
กิจกรรม และไม่ตั้งใจขาดการใฝ่ รู้ใฝ่ เรียน
นำเสนอ สมาชิกในกลุ่มทุกคนร่วมกันแสดงความคิดเห็น และยอมรับความ 3
123

คิดเห็น ในการปฏิบัติกิจกรรมที่ถูกต้อง
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ร่วมกันแสดงความคิดเห็น และยอมรับ 2
แนวคิด
สมาชิกในกลุ่มไม่มีการหารือและไม่เสนอความคิดเห็น ครูต้องคอย 1
ให้คำแนะนำ
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ชื่อ...................................................................................
ชั้น......................เลขที่...................
คำชี้แจง: ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและ
นอกเวลาเรียนแล้วทำเครื่องหมาย  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน
คุณลักษ ระดับ
ณะ คะแนน
รายการประเมิน
อันพึง
4 3 2 1
ประสงค์
1. มีวินัย 1.1 ปฏิบัติตนตามข้อตกลง กฎระเบียบ
รับผิด ของครอบครัว โรงเรียนและสังคม
ชอบ 1.2 ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบในการเรียน
การปฏิบัติงาน
1.3 ปฏิบัติตนในกิจวัตรประจำวันโดยไม่
ละเมิดสิทธิผู้อื่น
2. ใฝ่ เรียน 2.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียน สนใจ
รู้ เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ
2.2 แสวงหา ศึกษา ค้นคว้าความรู้จาก
แหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ
124

2.3 บันทึกความรู้วิเคราะห์ตรวจสอบ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้
3. มุ่งมั่น 3.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในการทำงานให้
ในการ สำเร็จ
ทำงาน 3.2 ทุ่มเททำงาน อดทนไม่ย่อท้อต่อ
ปั ญหาและอุปสรรค
3.3 ปรับปรุงพัฒนาการทำงานและผลงาน
ด้วยตนเอง

ลงชื่อ ......................................ผู้

ประเมิน
เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3
คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน
ไม่ปฏิบัติหรือไม่แสดงพฤติกรรม ให้ 0 คะแนน

หมายเหตุ  ให้ทำเครื่องหมาย  ในช่องที่ต้องการ

ผลการประเมินอยู่ในระดับ (ภาพรวม)  ดีเยี่ยม  ดี 

พอใช้  ปรับปรุง
125

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10 – 12 ดีเยี่ยม
7–9 ดี
4–6 พอใช้
0–3 ควรปรับปรุง

หมายเหตุ : ใช้ประเมินคุณลักษณะเฉพาะที่สอดคล้องกับ
กิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละครั้ง โดยไม่จำเป็ นต้องประเมินครบทั้ง
4 คุณลักษณะใน 1 ครั้ง
ที่
เลข
ชื่อ – สกุล
การวางแผนวิธีการดำเนินการ
การปฏิบัติการทดลอง ( 4)

รายการ
ประเมิน
การบันทึกผลและการสรุปผล
การอภิปรายและนำเสนอ ( 4 )
รวมคะแนน ( 16 )
ดีมาก ( 13– 16 )
ดี ( 9– 12 )

ระดับ
คุณภาพ
พอใช้ ( 5–8 )
ปรับปรุง ( 1–4 )


แบบประเมินการปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง



สรุปผลการประเมิน
เรื่อง การต่อหลอดไฟฟ้ าแบบอนุกรม ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
126
127

สรุปผลการประเมิน
การประเมิน ผ่าน ต้องมีผลการประเมินอยู่ในระดับคุณภาพ
พอใช้ ขึ้นไป

เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง
เรื่องการต่อหลอดไฟฟ้ าแบบอนุกรม ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6

เกณฑ์ระดับคุณภาพคะแนน
รายการ
ประเมิน 4 3 2 1

1. การ วางแผน วางแผนการ วางแผน วางแผน


วางแผน การ ทดลองและ การทดลอง การทดลอง
วิธีการ ทดลอง ออกแบบ และ และ
128

ดำเนิน และ การทดลอง ออกแบบ ออกแบบ


การ ออกแบบ ได้ถูกต้อง การทดลอง การทดลอง
ทดลอง การ เหมาะสม ได้ถูกต้อง ได้ไม่ถูก
ทดลองได้ กับเวลา เหมาะสม ต้องและไม่
ถูกต้อง เลือกใช้ กับเวลาแต่ เหมาะสม
เหมาะสม เครื่องมือ เลือกใช้ กับเวลา
กับเวลา และวัสดุ เครื่องมือ ต้องให้
เลือกใช้ อุปกรณ์ใน และวัสดุ ความช่วย
เครื่องมือ การทดลอง อุปกรณ์ใน เหลือในการ
และวัสดุ ได้ถูกต้อง การทดลอง เลือกใช้
อุปกรณ์ เหมาะสม ได้ถูกต้อง เครื่องมือ
ในการ โดยครูต้อง เหมาะสม และวัสดุ
ทดลอง แนะนำเป็ น โดยครูต้อง อุปกรณ์
ได้ถูกต้อง บางส่วน แนะนำเป็ น
เหมาะสม ส่วนมาก

2. การ ดำเนินการ ดำเนินการ ดำเนินการ ดำเนินการ


ปฏิบัติ ทดลอง ทดลองเป็ น ทดลองเป็ น ทดลอง ไม่
การ เป็ นขั้น ขั้นตอน ขั้นตอน เป็ นขั้นตอน
ทดลอง ตอน และ และใช้ และใช้ และใช้
ใช้อุปกรณ์ อุปกรณ์ อุปกรณ์ อุปกรณ์
ต่างๆ ต่างๆ ได้ ต่างๆ ได้ ต่างๆ ได้ไม่
ได้อย่างถูก อย่างถูก อย่างถูก ถูกต้อง
ต้อง ต้อง โดยครู ต้อง โดยครู
129

ต้องแนะนำ ต้องแนะนำ
เป็ นบาง เป็ นส่วน
ส่วน มาก

เกณฑ์ระดับคุณภาพคะแนน
รายการ
ประเมิน 4 3 2 1

3. การ เขียน เขียนบันทึก เขียนบันทึก เขียนบันทึก


บันทึกผล บันทึกผล ผลการ ผลการ ผลการ
การ การ ทดลองได้ ทดลองได้ ทดลองต้อง
ทดลอง ทดลองได้ ถูกต้อง ถูกต้อง ให้คำ
และสรุป ถูกต้อง ชัดเจนและ ชัดเจนและ แนะนำ
ผลการ ชัดเจน สรุปผลการ สรุปผลการ และสรุปผล
ทดลอง และสรุป ทดลองได้ ทดลองได้ การทดลอง
ผลการ ถูกต้อง ถูกต้อง ได้ไม่ถูก
ทดลองได้ กระชับและ กระชับและ ต้อง
ถูกต้อง ชัดเจน มี ชัดเจน มี
กระชับ เหตุผล โดย เหตุผล โดย
130

และ ครูต้อง ครูต้อง


ชัดเจน มี แนะนำเป็ น แนะนำเป็ น
เหตุผล บางส่วน ส่วนมาก
สมบูรณ์

4. การ เนื้อหา เนื้อหาสาระ เนื้อหา เนื้อหา


อภิปราย สาระตรง ตรงประเด็น สาระเกือบ สาระไม่ตรง
และนำ ประเด็น ครบถ้วน ทั้งหมด มี ประเด็น
เสนอ ครบถ้วน สมบูรณ์ มี ความถูก และไม่มี
สมบูรณ์ มี ความถูก ต้อง ครบ ความถูก
ความถูก ต้องตามข้อ ถ้วน ต้องตามข้อ
ต้องตาม เท็จจริง สมบูรณ์ เท็จจริง
ข้อเท็จจริง โดยครูต้อง โดยครูต้อง
ให้คำ ให้คำ
แนะนำเป็ น แนะนำเป็ น
บางส่วน ส่วนมาก
131

ใบกิจกรรมที่ 2.5
เรื่อง การต่อหลอดไฟฟ้ าแบบขนาน

จุดประสงค์
1.ทดลองต่อหลอดไฟฟ้ าแบบขนาน
2. อธิบายต่อหลอดไฟฟ้ าแบบขนาน
3. เขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้ าที่มีหลอดไฟฟ้ าต่อแบบขนาน
4. อภิปรายผลจากการต่อหลอดไฟฟ้ าแบบขนาน

คำชี้แจง
1. ให้นักเรียนศึกษาวิธีการทดลอง การต่อหลอดไฟฟ้ าแบบขนาน
2. ทำการทดลองและตอบคำถามท้ายการทดลอง

วัสดุและอุปกรณ์
1. สายไฟแบบปากคีบ จำนวน 8 เส้น
2. ถ่านไฟฉายพร้อมรังถ่าน ขนาด D จำนวน 2 ก้อน
3. หลอดไฟฟ้ าพร้อมขั้วหลอด ขนาด 2.5 โวลต์ จำนวน 2
หลอด
4. สวิตช์ไฟฟ้ า จำนวน 1 อัน
132

วิธีการทดลอง

2. นำหลอดไฟฟ้ า 2 หลอด
1. นำถ่านไฟฉายสองก้อนต่อเข้ากับ สายไฟ
ทั้งหมด 3 เส้น ดังรูป

3. จากข้อ 2 ต่อสวิตช์ไฟฟ้ าที่ขั้วทั้งสองด้าน

4. กดสวิตซ์สังเกตความสว่างของหลอดไฟฟ้ าทั้งสอง แล้วบันทึกผล


5. ให้นักเรียนถอดหลอดไฟฟ้ าหลอดใดหลอดหนึ่งออก สังเกตและ
บักทึกผล
133

ตารางบันทึกผลการทดลอง

การทดลอง ผลการสังเกต
1. เมื่อต่อหลอดไฟฟ้ า 2 หลอด
ขนานกัน
2. เมื่อถอดหลอดไฟฟ้ าออก 1
หลอด
134

จากการทดลองจงตอบคำถามต่อไปนี้
1. ถ้านำหลอดไฟฟ้ ามาต่อขนานมากขึ้นไปเรื่อยๆ ความสว่างของหลอด
ไฟฟ้ า จะเป็ นอย่างไร
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………
2. การต่อหลอดไฟฟ้ า 2 หลอดขนานกันมีลักษณะการต่ออย่างไร
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………
3. จากข้อที่ 2. เมื่อถอดหลอดไฟฟ้ าออก 1 หลอด ความสว่างของหลอด
ไฟฟ้ าที่เหลือเป็ นอย่างไร
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
135

……………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………
4. สรุปผลการทดลองได้ว่าอย่างไร
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
………..
5. จากการทดลองให้นักเรียนเขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้ า การต่อถ่าน
ไฟฉายแบบขนาน
136

แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมการ
ทำงานกลุ่ม
กิจกรรมที่ 2.5 เรื่อง การต่อหลอดไฟฟ้ าแบบขนาน
137

พฤติกรรม 
ความ ความ ความ นำ รวม ผล
 ความ รับผิด ร่วม กระตือรื เสนอ เฉลี่ย การ
กกลุ่ม สนใจ ชอบ มือ อร้น แนวคิ ประเมิน
ที่ ด

3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1

ผ่าน

ไม่
1
2
3
รวม
เฉลี่ย
ร้อยละ
หมายเหตุ รายชื่อนักเรียนแต่ละกลุ่ม
กลุ่มที่
1 : ....................................................................................................
กลุ่มที่
2 : ....................................................................................................
กลุ่มที่ 3 :
……………………………………………………………….............................

เกณฑ์การให้คะแนน
138

พฤติกรรมที่ทำเป็ นประจำ ให้ 3 คะแนน


พฤติกรรมที่ทำเป็ นบางครั้ง ให้ 2 คะแนน
พฤติกรรมที่ทำน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การให้คะแนน
ช่วงคะแนน ร ะ ดั บ
คุณภาพ
13-15 ดี
8-12 พอใช้
5-7 ปรับปรุง
เกณฑ์การพิจารณาตัดสินให้คะแนนการปฏิบัติกิจกรรมการ
ทำงานกลุ่ม
กิจกรรมที่ 2.5 เรื่อง การต่อหลอดไฟฟ้ าแบบขนาน

รายการ ระดับ
ประเมิน เกณฑ์การพิจารณาตัดสินให้คะแนน คะแน

ความ สมาชิกในกลุ่มทุกคนให้ความสนใจในการปฏิบัติกิจกรรมและ 3
สนใจ ปฏิบัติกิจกรรมด้วยความตั้งใจ ตลอดระยะเวลาในการปฏิบัติ
กิจกรรม
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ให้ความสนใจในการปฏิบัติกิจกรรม 2
และปฏิบัติกิจกรรมด้วยความตั้งใจ
139

สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ไม่ให้ความสนใจต่อการปฏิบัติกิจกรรม 1
และไม่ตั้งใจปฏิบัติกิจกรรม ตลอดระยะเวลาในการปฏิบัติ
กิจกรรม
สมาชิกในกลุ่มทุกคนมีความรับผิดชอบต่อบทบาทและหน้าที่ใน 3
การปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มและปฏิบัติกิจกรรมตามที่ได้รับมอบ
หมายด้วยความตั้งใจ
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่มีความรับผิดชอบต่อบทบาทและหน้าที่ 2
ความรับ
ในการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มและปฏิบัติกิจกรรมตามที่ได้รับมอบ
ผิดชอบ
หมาย
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ไม่มีความรับผิดชอบต่อบทบาทและ 1
หน้าที่
ที่ได้รับมอบหมายในการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม
สมาชิกในกลุ่มทุกคนต่างให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม 3
และช่วยกันปฏิบัติกิจกรรมจนสำเร็จไปได้ด้วยดี มีความตั้งใจ
ความ สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ต่างให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม 2
ร่วมมือ และช่วยกันปฏิบัติกิจกรรม
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ไม่ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม 1
ของกลุ่มและเกี่ยงกันปฏิบัติกิจกรรม ครูต้องคอยตักเตือน
ความ สมาชิกในกลุ่มทุกคนมีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติกิจกรรม 3
กระตือรื ต่างช่วยกันปฏิบัติกิจกรรมด้วยความสนใจใฝ่ รู้อยู่ตลอดเวลา
อร้น สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติ 2
กิจกรรม และช่วยกันปฏิบัติกิจกรรม
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ไม่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติ 1
140

กิจกรรม และไม่ตั้งใจขาดการใฝ่ รู้ใฝ่ เรียน


สมาชิกในกลุ่มทุกคนร่วมกันแสดงความคิดเห็น และยอมรับความ 3
คิดเห็น ในการปฏิบัติกิจกรรมที่ถูกต้อง
นำเสนอ
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ร่วมกันแสดงความคิดเห็น และยอมรับ 2
แนวคิด
สมาชิกในกลุ่มไม่มีการหารือและไม่เสนอความคิดเห็น ครูต้อง 1
คอยให้คำแนะนำ
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ชื่อ..................................................................................
ชั้น......................เลขที่...................
คำชี้แจง: ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและ
นอกเวลาเรียนแล้วทำเครื่องหมาย  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน
คุณลักษ ระดับ
ณะ คะแนน
รายการประเมิน
อันพึง
4 3 2 1
ประสงค์
1. มีวินัย 1.1 ปฏิบัติตนตามข้อตกลง กฎระเบียบ
รับผิด ของครอบครัว โรงเรียนและสังคม
ชอบ 1.2 ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบในการเรียน
การปฏิบัติงาน
1.3 ปฏิบัติตนในกิจวัตรประจำวันโดยไม่
ละเมิดสิทธิผู้อื่น
2. ใฝ่ เรียน 2.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียน สนใจ
รู้ เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ
141

2.2 แสวงหา ศึกษา ค้นคว้าความรู้จาก


แหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ
2.3 บันทึกความรู้วิเคราะห์ตรวจสอบ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้
3. มุ่งมั่น 3.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในการทำงานให้
ในการ สำเร็จ
ทำงาน 3.2 ทุ่มเททำงาน อดทนไม่ย่อท้อต่อ
ปั ญหาและอุปสรรค
3.3 ปรับปรุงพัฒนาการทำงานและผลงาน
ด้วยตนเอง

ลงชื่อ ......................................ผู้

ประเมิน

เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3
คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน
ไม่ปฏิบัติหรือไม่แสดงพฤติกรรม ให้ 0 คะแนน

หมายเหตุ  ให้ทำเครื่องหมาย  ในช่องที่ต้องการ


142

ผลการประเมินอยู่ในระดับ (ภาพรวม)  ดีเยี่ยม  ดี 

พอใช้  ปรับปรุง

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10 – 12 ดีเยี่ยม
7–9 ดี
4–6 พอใช้
0–3 ควรปรับปรุง

หมายเหตุ : ใช้ประเมินคุณลักษณะเฉพาะที่สอดคล้องกับ
กิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละครั้ง โดยไม่จำเป็ นต้องประเมินครบทั้ง
4 คุณลักษณะใน 1 ครั้ง
143

แบบประเมินการปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง
เรื่อง การต่อหลอดไฟฟ้ าแบบขนาน ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6

รายการ ระดับ
ประเมิน คุณภาพ
สรุปผลการประเมิน

เลข ชื่อ – สกุล


ที่
144


การ
การ
การ
การ

สรุปผลการประเมิน
การประเมิน ผ่าน ต้องมีผลการประเมินอยู่ในระดับคุณภาพ
พอใช้ ขึ้นไป

เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง
เรื่อง การต่อหลอดไฟฟ้ าแบบขนาน ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6

เกณฑ์ระดับคุณภาพคะแนน
145

รายการ
4 3 2 1
ประเมิน
1. การ วางแผน วางแผนการ วางแผน วางแผน
วางแผน การ ทดลองและ การทดลอง การทดลอง
วิธีการ ทดลอง ออกแบบ และ และ
ดำเนิน และ การทดลอง ออกแบบ ออกแบบ
การ ออกแบบ ได้ถูกต้อง การทดลอง การทดลอง
ทดลอง การ เหมาะสม ได้ถูกต้อง ได้ไม่ถูก
ทดลองได้ กับเวลา เหมาะสม ต้องและไม่
ถูกต้อง เลือกใช้ กับเวลาแต่ เหมาะสม
เหมาะสม เครื่องมือ เลือกใช้ กับเวลา
กับเวลา และวัสดุ เครื่องมือ ต้องให้
เลือกใช้ อุปกรณ์ใน และวัสดุ ความช่วย
เครื่องมือ การทดลอง อุปกรณ์ใน เหลือในการ
และวัสดุ ได้ถูกต้อง การทดลอง เลือกใช้
อุปกรณ์ เหมาะสม ได้ถูกต้อง เครื่องมือ
ในการ โดยครูต้อง เหมาะสม และวัสดุ
ทดลอง แนะนำเป็ น โดยครูต้อง อุปกรณ์
ได้ถูกต้อง บางส่วน แนะนำเป็ น
เหมาะสม ส่วนมาก

2. การ ดำเนินการ ดำเนินการ ดำเนินการ ดำเนินการ


ปฏิบัติ ทดลอง ทดลองเป็ น ทดลองเป็ น ทดลอง ไม่
การ เป็ นขั้น ขั้นตอน ขั้นตอน เป็ นขั้นตอน
146

ทดลอง ตอน และ และใช้ และใช้ และใช้


ใช้อุปกรณ์ อุปกรณ์ อุปกรณ์ อุปกรณ์
ต่างๆ ต่างๆ ได้ ต่างๆ ได้ ต่างๆ ได้ไม่
ได้อย่างถูก อย่างถูก อย่างถูก ถูกต้อง
ต้อง ต้อง โดยครู ต้อง โดยครู
ต้องแนะนำ ต้องแนะนำ
เป็ นบาง เป็ นส่วน
ส่วน มาก

เกณฑ์ระดับคุณภาพคะแนน
รายการ
ประเมิน 4 3 2 1

3. การ เขียน เขียนบันทึก เขียนบันทึก เขียนบันทึก


บันทึกผล บันทึกผล ผลการ ผลการ ผลการ
การ การ ทดลองได้ ทดลองได้ ทดลองต้อง
ทดลอง ทดลองได้ ถูกต้อง ถูกต้อง ให้คำ
และ ถูกต้อง ชัดเจนและ ชัดเจนและ แนะนำ
สรุปผล ชัดเจน สรุปผลการ สรุปผลการ และสรุปผล
147

การ และสรุป ทดลองได้ ทดลองได้ การทดลอง


ทดลอง ผลการ ถูกต้อง ถูกต้อง ได้ไม่ถูก
ทดลองได้ กระชับและ กระชับและ ต้อง
ถูกต้อง ชัดเจน มี ชัดเจน มี
กระชับ เหตุผล โดย เหตุผล โดย
และ ครูต้อง ครูต้อง
ชัดเจน มี แนะนำเป็ น แนะนำเป็ น
เหตุผล บางส่วน ส่วนมาก
สมบูรณ์

4. การ เนื้อหา เนื้อหาสาระ เนื้อหา เนื้อหา


อภิปราย สาระตรง ตรงประเด็น สาระเกือบ สาระไม่ตรง
และนำ ประเด็น ครบถ้วน ทั้งหมด มี ประเด็น
เสนอ ครบถ้วน สมบูรณ์ มี ความถูก และไม่มี
สมบูรณ์ มี ความถูก ต้อง ครบ ความถูก
ความถูก ต้องตามข้อ ถ้วน ต้องตามข้อ
ต้องตาม เท็จจริง สมบูรณ์ เท็จจริง
ข้อเท็จจริง โดยครูต้อง โดยครูต้อง
ให้คำ ให้คำ
แนะนำเป็ น แนะนำเป็ น
บางส่วน ส่วนมาก
148

ใบกิจกรรมที่ 2.6
เรื่อง การต่อหลอดไฟฟ้ าแบบอนุกรมและแบบขนานให้ผลต่างกัน
อย่างไร

จุดประสงค์
1. ทดลองและสรุปผลเกี่ยวกับการต่อหลอดไฟฟ้ าแบบอนุกรม
และแบบขนาน
2. เปรียบเทียบความสว่างของหลอดไฟฟ้ าการต่อแบบอนุกรม
และแบบขนาน
3. เขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้ าโดยใช้สัญลักษณ์แทนอุปกรณ์ไฟฟ้ า
คำชี้แจง
1. ให้นักเรียนศึกษาวิธีการทดลองการต่อหลอดไฟฟ้ าแบบอนุกรม
และแบบขนาน
2. ทำการทดลองและตอบคำถามท้ายการทดลอง
149

วัสดุอุปกรณ์
1. สายไฟแบบปากคีบ จำนวน 8 เส้น
2. ถ่านไฟฉายพร้อมรังถ่าน จำนวน 2 ก้อน
3. หลอดไฟฟ้ าพร้อมขั้วหลอด 2.5 โวลต์ จำนวน 2 หลอด
4. สวิตช์ไฟฟ้ า จำนวน 1 อัน
ตอนที่ 1 การต่อหลอดไฟฟ้ าแบบอนุกรม
วิธีการทดลอง
1. ต่อหลอดไฟฟ้ า ขนาด 2.5 โวลต์ 2 หลอด ที่ต่อเรียงกันต่อเข้า
กับถ่านไฟฟ้ าฉาย 2 ก้อน
และสวิตช์ ดังรูป กดสวิตช์ให้วงจรไฟฟ้ าครบวงจรแล้วสังเกต
และบันทึกผล

2. ต่อหลอดไฟฟ้ า 2 หลอดเรียงกันและต่อถ่านไฟฉาย 2 ก้อน ดังรูป ก.


และนำมาต่อกับสวิตช์
ดังรูป ข.
150

A
A

B B
รูป รูป

3. ต่อสายไฟแต่ละปลาย (A และ B) ซึ่งสาย A จากหลอดไฟฟ้ าต่อเข้า


กับสวิตช์ ส่วนสาย B จากชุด
ของถ่านไฟฉายต่อเข้ากับสวิตช์อีกด้าน กดสวิตช์ให้วงจรไฟฟ้ าครบ
วงจร สังเกตและบันทึกผล
4. ขณะกดสวิตช์ต่อวงจรแล้วถอดหลอดไฟฟ้ าหลอดใดหลอดหนึ่งออก
สังเกตและบันทึกผล

ตอนที่ 2 การต่อหลอดไฟฟ้ าแบบขนาน


วิธีการทดลอง
1. ต่อหลอดไฟฟ้ าขนาด 2.5 โวลต์1 หลอด เข้ากับถ่านไฟฉาย 2
ก้อน และสวิตช์
เป็ นวงจรไฟฟ้ าอย่างง่าย ดังรูป กดสวิตช์ต่อวงจรไฟฟ้ าแล้ว สังเกต
และบันทึกผล
151

2. ต่อหลอดไฟฟ้ าคร่อมกัน โดยนำปลายสายไฟแต่ละขั้วของหลอด


ไฟฟ้ าแต่ละหลอดรวมกัน
และปลายสายไฟด้านหนึ่งต่อถ่านไฟฉาย 2 ก้อน ดังรูป ก และปลาย
สายไฟอีกด้านต่อเข้ากับ
สวิตช์ ดังรูป ข.

A
A
B B

รูป รูป
152

3. ต่อสายไฟแต่ละปลาย (A และ B) ซึ่งสาย A จากหลอดไฟฟ้ าต่อเข้า


กับสวิตช์ ส่วนสาย B จากชุด
ของถ่านไฟฉายต่อเข้ากับสวิตช์อีกด้าน กดสวิตช์ให้วงจรไฟฟ้ าครบ
วงจรสังเกตและบันทึกผล
4. ขณะกดสวิตช์ต่อวงจรแล้วถอดหลอดไฟฟ้ าหลอดใดหลอดหนึ่งออก
สังเกตและบันทึกผล

ตารางบันทึกผลการทดลอง ตอนที่ 1 และตอนที่ 2

ความสว่างของหลอดไฟฟ้ า
รูปแบบการต่อวงจร ปาน
มาก น้อย ไม่สว่าง
กลาง
1.ต่อหลอดไฟฟ้ าแบบอนุกรม
2. ต่อหลอดไฟฟ้ าแบบขนาน
153

จากการทดลองจงตอบคำถามต่อไปนี้

1. ในการต่อหลอดไฟฟ้ าแบบอนุกรม ถ้าเราถอดหลอดไฟฟ้ าหลอดใด


หลอดหนึ่งออกจากวงจรไฟฟ้ า
หลอดไฟที่เหลืออีกหลอดจะยังมีความสว่างหรือไม่ เพราะเหตุใด
............................................................................................................
.......................................
............................................................................................................
.......................................
2. ในการต่อหลอดไฟฟ้ าแบบขนาน ถ้าเราถอดหลอดไฟฟ้ าหลอดใด
หลอดหนึ่งออกจากวงจรไฟฟ้ า
หลอดไฟที่เหลืออีกหลอดจะยังมีความสว่างหรือไม่ เพราะเหตุใด
............................................................................................................
.......................................
............................................................................................................
.......................................
3. การต่อหลอดไฟแบบอนุกรมกับแบบขนานการต่อแบบไหนให้ความ
สว่างของหลอดไฟมากกว่ากัน
............................................................................................................
.......................................
154

............................................................................................................
.......................................
4. การต่อหลอดไฟฟ้ าแบบอนุกรมและแบบขนานในวงจรไฟฟ้ า มีผลต่อ
สิ่งใด
............................................................................................................
.......................................
............................................................................................................
.......................................

5. จากการทดลองให้นักเรียนเขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้ าที่ต่อในตอนที่ 1
และตอนที่ 2

แผนภาพวงจรไฟฟ้ าที่ต่อแบบอนุกรมแผนภาพวงจรไฟฟ้ าที่ต่อแบบ


ขนาน
( ตอนที่ 1 ) (
ตอนที่ 2 )
155

แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมการ
ทำงานกลุ่ม
กิจกรรมที่ 2.6 เรื่อง การต่อหลอดไฟฟ้ าแบบอนุกรมและแบบ
ขนานให้ผลต่างกันอย่างไร

พฤติกรรม 
ความ ความ ความ นำ รวม ผล
 ความ รับผิด ร่วม กระตือรื เสนอ เฉลี่ย การ
กกลุ่ม สนใจ ชอบ มือ อร้น แนวคิ ประเมิน
ที่ ด

3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 ผ่าน

ไม่
1
2
3
รวม
เฉลี่ย
ร้อยละ

หมายเหตุ รายชื่อนักเรียนแต่ละกลุ่ม
156

กลุ่มที่
1 : ....................................................................................................
กลุ่มที่
2 : ....................................................................................................
กลุ่มที่ 3 :
……………………………………………………………….............................

เกณฑ์การให้คะแนน

พฤติกรรมที่ทำเป็ นประจำ ให้ 3 คะแนน


พฤติกรรมที่ทำเป็ นบางครั้ง ให้ 2 คะแนน
พฤติกรรมที่ทำน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การให้คะแนน
ช่วงคะแนน ร ะ ดั บ
คุณภาพ
13-15 ดี
8-12 พอใช้
5-7 ปรับปรุง
เกณฑ์การพิจารณาตัดสินให้คะแนนการปฏิบัติกิจกรรมการ
ทำงานกลุ่ม
กิจกรรมที่ 2.4 เรื่อง การต่อหลอดไฟฟ้ าแบบอนุกรมและแบบ
ขนานให้ผลต่างกันอย่างไร
157

รายการ ระดับ
ประเมิน เกณฑ์การพิจารณาตัดสินให้คะแนน คะแน

สมาชิกในกลุ่มทุกคนให้ความสนใจในการปฏิบัติกิจกรรมและ 3
ปฏิบัติกิจกรรมด้วยความตั้งใจ ตลอดระยะเวลาในการปฏิบัติ
กิจกรรม
ความ สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ให้ความสนใจในการปฏิบัติกิจกรรม 2
สนใจ และปฏิบัติกิจกรรมด้วยความตั้งใจ
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ไม่ให้ความสนใจต่อการปฏิบัติกิจกรรม 1
และไม่ตั้งใจปฏิบัติกิจกรรม ตลอดระยะเวลาในการปฏิบัติ
กิจกรรม
สมาชิกในกลุ่มทุกคนมีความรับผิดชอบต่อบทบาทและหน้าที่ใน 3
การปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มและปฏิบัติกิจกรรมตามที่ได้รับมอบ
หมายด้วยความตั้งใจ
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่มีความรับผิดชอบต่อบทบาทและหน้าที่ 2
ความรับ
ในการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มและปฏิบัติกิจกรรมตามที่ได้รับมอบ
ผิดชอบ
หมาย
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ไม่มีความรับผิดชอบต่อบทบาทและ 1
หน้าที่
ที่ได้รับมอบหมายในการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม
ความ สมาชิกในกลุ่มทุกคนต่างให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม 3
ร่วมมือ และช่วยกันปฏิบัติกิจกรรมจนสำเร็จไปได้ด้วยดี มีความตั้งใจ
158

สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ต่างให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม 2
และช่วยกันปฏิบัติกิจกรรม
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ไม่ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม 1
ของกลุ่มและเกี่ยงกันปฏิบัติกิจกรรม ครูต้องคอยตักเตือน
สมาชิกในกลุ่มทุกคนมีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติกิจกรรม 3
ต่างช่วยกันปฏิบัติกิจกรรมด้วยความสนใจใฝ่ รู้อยู่ตลอดเวลา
ความ
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติ 2
กระตือรื
กิจกรรม และช่วยกันปฏิบัติกิจกรรม
อร้น
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ไม่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติ 1
กิจกรรม และไม่ตั้งใจขาดการใฝ่ รู้ใฝ่ เรียน
สมาชิกในกลุ่มทุกคนร่วมกันแสดงความคิดเห็น และยอมรับความ 3
คิดเห็น ในการปฏิบัติกิจกรรมที่ถูกต้อง
นำเสนอ
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ร่วมกันแสดงความคิดเห็น และยอมรับ 2
แนวคิด
สมาชิกในกลุ่มไม่มีการหารือและไม่เสนอความคิดเห็น ครูต้อง 1
คอยให้คำแนะนำ
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ชื่อ...................................................................................
ชั้น......................เลขที่...................
คำชี้แจง: ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและ
นอกเวลาเรียนแล้วทำเครื่องหมาย  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน
คุณลักษ รายการประเมิน ระดับ
ณะ คะแนน
อันพึง 4 3 2 1
159

ประสงค์
1. มีวินัย 1.1 ปฏิบัติตนตามข้อตกลง กฎระเบียบ
รับผิด ของครอบครัว โรงเรียนและสังคม
ชอบ 1.2 ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบในการเรียน
การปฏิบัติงาน
1.3 ปฏิบัติตนในกิจวัตรประจำวันโดยไม่
ละเมิดสิทธิผู้อื่น
2. ใฝ่ เรียน 2.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียน สนใจ
รู้ เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ
2.2 แสวงหา ศึกษา ค้นคว้าความรู้จาก
แหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ
2.3 บันทึกความรู้วิเคราะห์ตรวจสอบ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้
3. มุ่งมั่น 3.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในการทำงานให้
ในการ สำเร็จ
ทำงาน 3.2 ทุ่มเททำงาน อดทนไม่ย่อท้อต่อ
ปั ญหาและอุปสรรค
3.3 ปรับปรุงพัฒนาการทำงานและผลงาน
ด้วยตนเอง

ลงชื่อ ......................................ผู้

ประเมิน
160

เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3
คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน
ไม่ปฏิบัติหรือไม่แสดงพฤติกรรม ให้ 0 คะแนน

หมายเหตุ  ให้ทำเครื่องหมาย  ในช่องที่ต้องการ

ผลการประเมินอยู่ในระดับ (ภาพรวม)  ดีเยี่ยม  ดี 

พอใช้  ปรับปรุง
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10 – 12 ดีเยี่ยม
7–9 ดี
4–6 พอใช้
0–3 ควรปรับปรุง

หมายเหตุ : ใช้ประเมินคุณลักษณะเฉพาะที่สอดคล้องกับ
กิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละครั้ง โดยไม่จำเป็ นต้องประเมินครบทั้ง
4 คุณลักษณะใน 1 ครั้ง
161

แบบประเมินการปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง
เรื่อง การต่อหลอดไฟฟ้ าแบบอนุกรมและแบบขนานให้ผล
ต่างกันกันอย่างไร
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
ที่
เลข

สรุปผลการประเมิน
ชื่อ – สกุล
การวางแผนวิธีการดำเนินการ
การปฏิบัติการทดลอง ( 4)
รายการ
ประเมิน

การบันทึกผลและการสรุปผล
การอภิปรายและนำเสนอ ( 4 )
รวมคะแนน ( 16 )
ดีมาก ( 13– 16 )
ดี ( 9– 12 )
ระดับ
คุณภาพ

พอใช้ ( 5–8 )
ปรับปรุง ( 1–4 )


สรุปผลการประเมิน
162
163

การประเมิน ผ่าน ต้องมีผลการประเมินอยู่ในระดับคุณภาพ


พอใช้ ขึ้นไป

เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง
เรื่อง การต่อหลอดไฟฟ้ าแบบอนุกรมและแบบขนานให้ผล
ต่างกันอย่างไร
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6

เกณฑ์ระดับคุณภาพคะแนน
รายการ
ประเมิน 4 3 2 1

1. การ วางแผน วางแผนการ วางแผน วางแผน


วางแผน การ ทดลองและ การทดลอง การทดลอง
วิธีการ ทดลอง ออกแบบ และ และ
ดำเนิน และ การทดลอง ออกแบบ ออกแบบ
การ ออกแบบ ได้ถูกต้อง การทดลอง การทดลอง
ทดลอง การ เหมาะสม ได้ถูกต้อง ได้ไม่ถูก
ทดลองได้ กับเวลา เหมาะสม ต้องและไม่
ถูกต้อง เลือกใช้ กับเวลาแต่ เหมาะสม
เหมาะสม เครื่องมือ เลือกใช้ กับเวลา
กับเวลา และวัสดุ เครื่องมือ ต้องให้
เลือกใช้ อุปกรณ์ใน และวัสดุ ความช่วย
เครื่องมือ การทดลอง อุปกรณ์ใน เหลือในการ
164

และวัสดุ ได้ถูกต้อง การทดลอง เลือกใช้


อุปกรณ์ เหมาะสม ได้ถูกต้อง เครื่องมือ
ในการ โดยครูต้อง เหมาะสม และวัสดุ
ทดลอง แนะนำเป็ น โดยครูต้อง อุปกรณ์
ได้ถูกต้อง บางส่วน แนะนำเป็ น
เหมาะสม ส่วนมาก

2. การ ดำเนินการ ดำเนินการ ดำเนินการ ดำเนินการ


ปฏิบัติ ทดลอง ทดลองเป็ น ทดลองเป็ น ทดลอง ไม่
การ เป็ นขั้น ขั้นตอน ขั้นตอน เป็ นขั้นตอน
ทดลอง ตอน และ และใช้ และใช้ และใช้
ใช้อุปกรณ์ อุปกรณ์ อุปกรณ์ อุปกรณ์
ต่างๆ ต่างๆ ได้ ต่างๆ ได้ ต่างๆ ได้ไม่
ได้อย่างถูก อย่างถูก อย่างถูก ถูกต้อง
ต้อง ต้อง โดยครู ต้อง โดยครู
ต้องแนะนำ ต้องแนะนำ
เป็ นบาง เป็ นส่วน
ส่วน มาก

เกณฑ์ระดับคุณภาพคะแนน
165

รายการ
4 3 2 1
ประเมิน
3. การ เขียน เขียนบันทึก เขียนบันทึก เขียนบันทึก
บันทึกผล บันทึกผล ผลการ ผลการ ผลการ
การ การ ทดลองได้ ทดลองได้ ทดลองต้อง
ทดลอง ทดลองได้ ถูกต้อง ถูกต้อง ให้คำ
และสรุป ถูกต้อง ชัดเจนและ ชัดเจนและ แนะนำ
ผลการ ชัดเจน สรุปผลการ สรุปผลการ และสรุปผล
ทดลอง และสรุป ทดลองได้ ทดลองได้ การทดลอง
ผลการ ถูกต้อง ถูกต้อง ได้ไม่ถูก
ทดลองได้ กระชับและ กระชับและ ต้อง
ถูกต้อง ชัดเจน มี ชัดเจน มี
กระชับ เหตุผล โดย เหตุผล โดย
และ ครูต้อง ครูต้อง
ชัดเจน มี แนะนำเป็ น แนะนำเป็ น
เหตุผล บางส่วน ส่วนมาก
สมบูรณ์

4. การ เนื้อหา เนื้อหาสาระ เนื้อหา เนื้อหา


อภิปราย สาระตรง ตรงประเด็น สาระเกือบ สาระไม่ตรง
และนำ ประเด็น ครบถ้วน ทั้งหมด มี ประเด็น
เสนอ ครบถ้วน สมบูรณ์ มี ความถูก และไม่มี
สมบูรณ์ มี ความถูก ต้อง ครบ ความถูก
166

ความถูก ต้องตามข้อ ถ้วน ต้องตามข้อ


ต้องตาม เท็จจริง สมบูรณ์ เท็จจริง
ข้อเท็จจริง โดยครูต้อง โดยครูต้อง
ให้คำ ให้คำ
แนะนำเป็ น แนะนำเป็ น
บางส่วน ส่วนมาก

ใบกิจกรรมที่ 2.7
เรื่อง สมบัติของตัวนำและฉนวนไฟฟ้ า

จุดประสงค์
1. ทดลองและจำแนกวัสดุตามสมบัติการนำไฟฟ้าได้ว่า วัสดุใดนำ
ไฟฟ้า และวัสดุใดไม่นำไฟฟ้า
2. อธิบายสมบัติของตัวนำไฟฟ้ าและฉนวนไฟฟ้ า และการนำสมบัติ
ของตัวนำไฟฟ้ าและฉนวนไฟฟ้ าไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน
คำชี้แจง
167

1. ให้นักเรียนศึกษาวิธีการทดลองสมบัติของตัวนำและฉนวนไฟฟ้ า
2. ทำการทดลองและตอบคำถามท้ายการทดลอง

วัสดุและอุปกรณ์
1. สายไฟแบบปากคีบ จำนวน 4 เส้น
2. ถ่านไฟฉายพร้อมรังถ่าน จำนวน 1 ก้อน
3. หลอดไฟฟ้ าพร้อมขั้วหลอด ขนาด 2.5 โวลต์ จำนวน 1
หลอด
4. สวิตช์ไฟฟ้ า จำนวน 1 อัน
5. วัสดุคละชนิด เช่น ไส้ดินสอ แผ่นอลูมิเนียม เชือกไม้บรรทัด
ตะปู ยางลบ เข็มเย็บผ้า
ลวดเย็บกระดาษ กระดาษ ลวดทองแดง

วิธีการทดลอง
1. นำสายไฟต่อเข้ากับ ถ่านไฟฉายและหลอดไฟ ดังรูป
168

2. นำสายไฟเส้นต่อเข้ากับขั้วด้านหนึ่งของสวิตช์ไฟฟ้ า และนำ
สายไฟ
เส้นสุดท้ายมาต่อขั้วอีกด้านหนึ่งของสวิตช์ไฟฟ้ า

3. นำปลายสายไฟทั้งสองข้างมาแตะกันโยกสวิตช์ไฟฟ้ าให้อยู่ใน
ตำแหน่ง “เปิ ด” เพื่อทำการปิ ดวงจรไฟฟ้ า สังเกตการณ์หลอด
ไฟสว่างหรือไม่และบันทึกผล
4. แยกปลายสายไฟออกจากกัน นำวัตถุต่างๆมาต่อระหว่างปลาย
ทั้งสอง ดังรูป โยกสวิตช์ไฟฟ้ าให้อยู่ในตำแหน่ง “เปิ ด” เพื่อ
ทำการปิ ดวงจรไฟฟ้ าสังเกตและบันทึกผล
169

วัตถุต่างๆมาต่อระหว่างปลายทั้งสอง

ตารางบันทึกผลการทดลอง
วัตถุ วัสดุที่ใช้ทำ ผลการสังเกต
1. ไส้

ดินสอ

2. แผ่

นอลูมิ

เนียม

3. เชือก

4.

ไม้บรรทั
170

5. ตะปู

6.

ยางลบ

7. เข็ม

เย็บผ้า

8. ลวด

เย็บ

กระดา

9.

กระดา

10.

ลวด

ทองแดง
171

จากการทดลอง จงตอบคำถามต่อไปนี้

1. วัตถุอะไรบ้าง ที่นำมาต่อระหว่างปลายสายไฟแล้วทำให้วงจรปิ ด
ทราบได้อย่างไร
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
…………

2. วัตถุอะไรบ้าง ที่นำมาต่อระหว่างปลายสายไฟแล้วทำให้วงจรเปิ ด
ทราบได้อย่างไร
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
…………
3. วัตถุที่กระแสไฟฟ้ าผ่านได้ ทำจากวัสดุอะไรบ้าง
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
…………
4. วัตถุที่กระแสไฟฟ้ าผ่านไม่ได้ ทำจากวัสดุอะไรบ้าง
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
172

……………………………………………………………………………………………………
…………
5. สวิตซ์ทำหน้าที่อะไรในวงจรไฟฟ้ า
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
…………
6. สรุปผลการทดลองได้ว่าอย่างไร
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
…………
173

แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมการ
ทำงานกลุ่ม
กิจกรรมที่ 2.7 เรื่อง ตัวนำและฉนวนไฟฟ้ า

พฤติกรรม 
ความ ความ ความ นำ รวม ผล
 ความ รับผิด ร่วม กระตือรื เสนอ เฉลี่ย การ
กกลุ่ม สนใจ ชอบ มือ อร้น แนวคิ ประเมิน
ที่ ด

3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1

ผ่าน

ไม่
1
2
3
รวม
เฉลี่ย
ร้อยละ
หมายเหตุ รายชื่อนักเรียนแต่ละกลุ่ม
กลุ่มที่
1 : ....................................................................................................
กลุ่มที่
2 : ....................................................................................................
174

กลุ่มที่ 3 :
……………………………………………………………….............................

เกณฑ์การให้คะแนน

พฤติกรรมที่ทำเป็ นประจำ ให้ 3 คะแนน


พฤติกรรมที่ทำเป็ นบางครั้ง ให้ 2 คะแนน
พฤติกรรมที่ทำน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การให้คะแนน
ช่วงคะแนน ร ะ ดั บ
คุณภาพ
13-15 ดี
8-12 พอใช้
5-7 ปรับปรุง
เกณฑ์การพิจารณาตัดสินให้คะแนนการปฏิบัติกิจกรรมการ
ทำงานกลุ่ม
กิจกรรมที่ 2.7 เรื่อง ตัวนำและฉนวนไฟฟ้ า

รายการ ระดับ
ประเมิน เกณฑ์การพิจารณาตัดสินให้คะแนน คะแน

175

สมาชิกในกลุ่มทุกคนให้ความสนใจในการปฏิบัติกิจกรรมและ 3
ปฏิบัติกิจกรรมด้วยความตั้งใจ ตลอดระยะเวลาในการปฏิบัติ
กิจกรรม
ความ สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ให้ความสนใจในการปฏิบัติกิจกรรม 2
สนใจ และปฏิบัติกิจกรรมด้วยความตั้งใจ
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ไม่ให้ความสนใจต่อการปฏิบัติกิจกรรม 1
และไม่ตั้งใจปฏิบัติกิจกรรม ตลอดระยะเวลาในการปฏิบัติ
กิจกรรม
สมาชิกในกลุ่มทุกคนมีความรับผิดชอบต่อบทบาทและหน้าที่ 3
ใน
การปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มและปฏิบัติกิจกรรมตามที่ได้รับมอบ
หมายด้วยความตั้งใจ
ความรับ สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่มีความรับผิดชอบต่อบทบาทและ 2
ผิดชอบ หน้าที่ในการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มและปฏิบัติกิจกรรมตามที่ได้
รับมอบหมาย
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ไม่มีความรับผิดชอบต่อบทบาทและ 1
หน้าที่
ที่ได้รับมอบหมายในการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม
ความ สมาชิกในกลุ่มทุกคนต่างให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม 3
ร่วมมือ และช่วยกันปฏิบัติกิจกรรมจนสำเร็จไปได้ด้วยดี มีความตั้งใจ
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ต่างให้ความร่วมมือในการปฏิบัติ 2
กิจกรรมและช่วยกันปฏิบัติกิจกรรม
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ไม่ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติ 1
176

กิจกรรม
ของกลุ่มและเกี่ยงกันปฏิบัติกิจกรรม ครูต้องคอยตักเตือน
สมาชิกในกลุ่มทุกคนมีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติกิจกรรม 3
ต่างช่วยกันปฏิบัติกิจกรรมด้วยความสนใจใฝ่ รู้อยู่ตลอดเวลา
ความ
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติ 2
กระตือรื
กิจกรรม และช่วยกันปฏิบัติกิจกรรม
อร้น
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ไม่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติ 1
กิจกรรม และไม่ตั้งใจขาดการใฝ่ รู้ใฝ่ เรียน
สมาชิกในกลุ่มทุกคนร่วมกันแสดงความคิดเห็น และยอมรับ 3
ความคิดเห็น ในการปฏิบัติกิจกรรมที่ถูกต้อง
นำเสนอ
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ร่วมกันแสดงความคิดเห็น และยอมรับ 2
แนวคิด
สมาชิกในกลุ่มไม่มีการหารือและไม่เสนอความคิดเห็น ครูต้อง 1
คอยให้คำแนะนำ
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ชื่อ.............................................................................. .....
ชั้น......................เลขที่...................
คำชี้แจง: ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและ
นอกเวลาเรียนแล้วทำเครื่องหมาย  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน
คุณลักษ ระดับ
ณะ คะแนน
รายการประเมิน
อันพึง
4 3 2 1
ประสงค์
1. มีวินัย 1.1 ปฏิบัติตนตามข้อตกลง กฎระเบียบ
177

รับผิด ของครอบครัว โรงเรียนและสังคม


ชอบ 1.2 ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบในการเรียน
การปฏิบัติงาน
1.3 ปฏิบัติตนในกิจวัตรประจำวันโดยไม่
ละเมิดสิทธิผู้อื่น
2. ใฝ่ เรียน 2.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียน สนใจ
รู้ เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ
2.2 แสวงหา ศึกษา ค้นคว้าความรู้จาก
แหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ
2.3 บันทึกความรู้วิเคราะห์ตรวจสอบ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้
3. มุ่งมั่น 3.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในการทำงานให้
ในการ สำเร็จ
ทำงาน 3.2 ทุ่มเททำงาน อดทนไม่ย่อท้อต่อ
ปั ญหาและอุปสรรค
3.3 ปรับปรุงพัฒนาการทำงานและผลงาน
ด้วยตนเอง

ลงชื่อ ......................................ผู้

ประเมิน

เกณฑ์การให้คะแนน
178

ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3
คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน
ไม่ปฏิบัติหรือไม่แสดงพฤติกรรม ให้ 0 คะแนน

หมายเหตุ  ให้ทำเครื่องหมาย  ในช่องที่ต้องการ

ผลการประเมินอยู่ในระดับ (ภาพรวม)  ดีเยี่ยม  ดี 

พอใช้  ปรับปรุง

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10 – 12 ดีเยี่ยม
7–9 ดี
4–6 พอใช้
0–3 ควรปรับปรุง

หมายเหตุ : ใช้ประเมินคุณลักษณะเฉพาะที่สอดคล้องกับ
กิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละครั้ง โดยไม่จำเป็ นต้องประเมินครบทั้ง
4 คุณลักษณะใน 1 ครั้ง
179

แบบประเมินการปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง
เรื่อง ตัวนำและฉนวนไฟฟ้ า ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
ที่
เลข

สรุปผลการประเมิน
ชื่อ – สกุล
การวางแผนวิธีการดำเนินการ
การปฏิบัติการทดลอง ( 4)
รายการ
ประเมิน

การบันทึกผลและการสรุปผล
การอภิปรายและนำเสนอ ( 4 )
รวมคะแนน ( 16 )
ดีมาก ( 13– 16 )
ดี ( 9– 12 )
ระดับ
คุณภาพ

พอใช้ ( 5–8 )
ปรับปรุง ( 1–4 )


สรุปผลการประเมิน
180
181

การประเมิน ผ่าน ต้องมีผลการประเมินอยู่ในระดับคุณภาพ


พอใช้ ขึ้นไป

เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง
เรื่อง ตัวนำและฉนวนไฟฟ้ า ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6

เกณฑ์ระดับคุณภาพคะแนน
รายการ
ประเมิน 4 3 2 1

1. การ วางแผน วางแผนการ วางแผน วางแผน


วางแผน การ ทดลองและ การทดลอง การทดลอง
วิธีการ ทดลอง ออกแบบ และ และ
ดำเนิน และ การทดลอง ออกแบบ ออกแบบ
การ ออกแบบ ได้ถูกต้อง การทดลอง การทดลอง
ทดลอง การ เหมาะสม ได้ถูกต้อง ได้ไม่ถูก
ทดลองได้ กับเวลา เหมาะสม ต้องและไม่
ถูกต้อง เลือกใช้ กับเวลาแต่ เหมาะสม
เหมาะสม เครื่องมือ เลือกใช้ กับเวลา
กับเวลา และวัสดุ เครื่องมือ ต้องให้
เลือกใช้ อุปกรณ์ใน และวัสดุ ความช่วย
เครื่องมือ การทดลอง อุปกรณ์ใน เหลือในการ
และวัสดุ ได้ถูกต้อง การทดลอง เลือกใช้
อุปกรณ์ เหมาะสม ได้ถูกต้อง เครื่องมือ
182

ในการ โดยครูต้อง เหมาะสม และวัสดุ


ทดลอง แนะนำเป็ น โดยครูต้อง อุปกรณ์
ได้ถูกต้อง บางส่วน แนะนำเป็ น
เหมาะสม ส่วนมาก

2. การ ดำเนินการ ดำเนินการ ดำเนินการ ดำเนินการ


ปฏิบัติ ทดลอง ทดลองเป็ น ทดลองเป็ น ทดลอง ไม่
การ เป็ นขั้น ขั้นตอน ขั้นตอน เป็ นขั้นตอน
ทดลอง ตอน และ และใช้ และใช้ และใช้
ใช้อุปกรณ์ อุปกรณ์ อุปกรณ์ อุปกรณ์
ต่างๆ ต่างๆ ได้ ต่างๆ ได้ ต่างๆ ได้ไม่
ได้อย่างถูก อย่างถูก อย่างถูก ถูกต้อง
ต้อง ต้อง โดยครู ต้อง โดยครู
ต้องแนะนำ ต้องแนะนำ
เป็ นบาง เป็ นส่วน
ส่วน มาก

เกณฑ์ระดับคุณภาพคะแนน
183

รายการ
4 3 2 1
ประเมิน
3. การ เขียน เขียนบันทึก เขียนบันทึก เขียนบันทึก
บันทึกผล บันทึกผล ผลการ ผลการ ผลการ
การ การ ทดลองได้ ทดลองได้ ทดลองต้อง
ทดลอง ทดลองได้ ถูกต้อง ถูกต้อง ให้คำ
และ ถูกต้อง ชัดเจนและ ชัดเจนและ แนะนำ
สรุปผล ชัดเจน สรุปผลการ สรุปผลการ และสรุปผล
การ และสรุป ทดลองได้ ทดลองได้ การทดลอง
ทดลอง ผลการ ถูกต้อง ถูกต้อง ได้ไม่ถูก
ทดลองได้ กระชับและ กระชับและ ต้อง
ถูกต้อง ชัดเจน มี ชัดเจน มี
กระชับ เหตุผล โดย เหตุผล โดย
และ ครูต้อง ครูต้อง
ชัดเจน มี แนะนำเป็ น แนะนำเป็ น
เหตุผล บางส่วน ส่วนมาก
สมบูรณ์

4. การ เนื้อหา เนื้อหาสาระ เนื้อหา เนื้อหา


อภิปราย สาระ ตรง ตรงประเด็น สาระเกือบ สาระไม่ตรง
และนำ ประเด็น ครบถ้วน ทั้งหมด มี ประเด็น
เสนอ ครบถ้วน สมบูรณ์ มี ความถูก และไม่มี
สมบูรณ์ มี ความถูก ต้อง ครบ ความถูก
184

ความถูก ต้องตามข้อ ถ้วน ต้องตามข้อ


ต้องตาม เท็จจริง สมบูรณ์ เท็จจริง
ข้อเท็จจริง โดยครูต้อง โดยครูต้อง
ให้คำ ให้คำ
แนะนำเป็ น แนะนำเป็ น
บางส่วน ส่วนมาก

ใบกิจกรรมที่ 2.8
เรื่อง การเกิดสนามแม่เหล็ก

จุดประสงค์
1. ทดลองการเกิดสนามแม่เหล็กรอบสายไฟที่มีกระแสไฟฟ้ าผ่าน
2. อธิบายการเกิดสนามแม่เหล็กรอบสายไฟที่มีกระแสไฟฟ้ าผ่าน
คำชี้แจง
1. ให้นักเรียนศึกษาวิธีการทดลอง การเกิดสนามแม่เหล็ก
2. ทำการทดลองและตอบคำถามท้ายการทดลอง
185

วัสดุอุปกรณ์
1. สายไฟแบบปากคีบ จำนวน 3 เส้น
2. ถ่านไฟฉายพร้อมรังถ่าน จำนวน 1
ก้อน
3. หลอดไฟฟ้ าพร้อมขั้วหลอด ขนาด 2.5 โวลต์ จำนวน 1
หลอด
4. สวิตช์ไฟฟ้ า จำนวน 1 อัน
5. เข็มทิศ จำนวน 1
อัน
วิธีการทดลอง
2. นำเข็มทิศไปวางไว้ใต้สายไฟ
1. ต่อหลอดไฟฟ้ า ขนาด 2.5
เส้นใดเส้นหนึ่ง
โวลต์ 1 หลอด โดยปรับเข็มทิศให้อยู่ในแนวทิศ
ต่อเข้ากับถ่านไฟฟ้ าฉาย 1
186

3. กดสวิตช์เปิ ดและปิ ดหลาย 4. เมื่อหลอดไฟฟ้ าสว่างและไม่


ครั้งแต่ละครั้ง สว่างให้สังเกตลักษณะของเข็ม

ตารางบันทึกผลการทดลอง

การทดลอง การเปลี่ยนแปลงของเข็มทิศ
1.ขณะไม่มีกระแสไฟฟ้ าผ่าน
สายไฟ
2. ขณะมีกระแสไฟฟ้ าผ่านสาย
ไฟ

จากการทดลองจงตอบคำถามต่อไปนี้

1. เข็มทิศเป็ นอุปกรณ์ที่มีหน้าที่อะไร
187

............................................................................................................
.......................................
............................................................................................................
.......................................

2. เมื่อเปิ ดสวิตช์และหลอดไฟฟ้ าสว่างขึ้น เข็มทิศมีการเปลี่ยนแปลง


อย่างไร
............................................................................................................
.......................................
............................................................................................................
.......................................

3. เพราะเหตุใดเมื่อเปิ ดสวิตช์ไฟฟ้ า เข็มทิศจึงบ่ายเบนออกจากทิศเหนือ


และใต้
............................................................................................................
.......................................
............................................................................................................
.......................................

4. จากการทดลองการปิ ดสวิตช์ไฟฟ้ ามีผลต่อสิ่งใด


............................................................................................................
.......................................
188

............................................................................................................
.......................................

5. สรุปผลการทดลองนี้ได้ว่าอย่างไร
............................................................................................................
.......................................
............................................................................................................
.......................................
189

แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมการ
ทำงานกลุ่ม
กิจกรรมที่ 2.8 เรื่อง การเกิดสนามแม่เหล็ก

พฤติกรรม 
ความ ความ ความ นำ รวม ผล
 ความ รับผิด ร่วม กระตือรื เสนอ เฉลี่ย การ
กกลุ่ม สนใจ ชอบ มือ อร้น แนวคิ ประเมิน
ที่ ด

3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1
ผ่าน

ไม่

1
2
3
รวม
190

เฉลี่ย
ร้อยละ
หมายเหตุ รายชื่อนักเรียนแต่ละกลุ่ม
กลุ่มที่
1 : ....................................................................................................
กลุ่มที่
2 : ....................................................................................................
กลุ่มที่ 3 :
……………………………………………………………….............................

เกณฑ์การให้คะแนน

พฤติกรรมที่ทำเป็ นประจำ ให้ 3 คะแนน


พฤติกรรมที่ทำเป็ นบางครั้ง ให้ 2 คะแนน
พฤติกรรมที่ทำน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การให้คะแนน
ช่วงคะแนน ร ะ ดั บ
คุณภาพ
13-15 ดี
8-12 พอใช้
5-7 ปรับปรุง
191

เกณฑ์การพิจารณาตัดสินให้คะแนนการปฏิบัติกิจกรรมการ
ทำงานกลุ่ม
กิจกรรมที่ 2.8 เรื่อง การเกิดสนามแม่เหล็ก

รายการ ระดั
ประเมิน บ
เกณฑ์การพิจารณาตัดสินให้คะแนน
คะแ
นน
สมาชิกในกลุ่มทุกคนให้ความสนใจในการปฏิบัติกิจกรรมและปฏิบัติ 3
กิจกรรมด้วยความตั้งใจ ตลอดระยะเวลาในการปฏิบัติกิจกรรม
ความ สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ให้ความสนใจในการปฏิบัติกิจกรรม 2
สนใจ และปฏิบัติกิจกรรมด้วยความตั้งใจ
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ไม่ให้ความสนใจต่อการปฏิบัติกิจกรรม 1
และไม่ตั้งใจปฏิบัติกิจกรรม ตลอดระยะเวลาในการปฏิบัติกิจกรรม
สมาชิกในกลุ่มทุกคนมีความรับผิดชอบต่อบทบาทและหน้าที่ใน 3
การปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มและปฏิบัติกิจกรรมตามที่ได้รับมอบหมาย
ด้วยความตั้งใจ
ความรับ
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่มีความรับผิดชอบต่อบทบาทและหน้าที่ใน 2
ผิดชอบ
การปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มและปฏิบัติกิจกรรมตามที่ได้รับมอบหมาย
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ไม่มีความรับผิดชอบต่อบทบาทและหน้าที่ 1
ที่ได้รับมอบหมายในการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม
ความ สมาชิกในกลุ่มทุกคนต่างให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม 3
ร่วมมือ และช่วยกันปฏิบัติกิจกรรมจนสำเร็จไปได้ด้วยดี มีความตั้งใจ
192

สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ต่างให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม 2
และช่วยกันปฏิบัติกิจกรรม
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ไม่ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม 1
ของกลุ่มและเกี่ยงกันปฏิบัติกิจกรรม ครูต้องคอยตักเตือน
สมาชิกในกลุ่มทุกคนมีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติกิจกรรม 3
ต่างช่วยกันปฏิบัติกิจกรรมด้วยความสนใจใฝ่ รู้อยู่ตลอดเวลา
ความ
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติกิจกรรม 2
กระตือรื
และช่วยกันปฏิบัติกิจกรรม
อร้น
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ไม่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติ 1
กิจกรรม และไม่ตั้งใจขาดการใฝ่ รู้ใฝ่ เรียน
สมาชิกในกลุ่มทุกคนร่วมกันแสดงความคิดเห็น และยอมรับความ 3
คิดเห็น ในการปฏิบัติกิจกรรมที่ถูกต้อง
นำเสนอ
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ร่วมกันแสดงความคิดเห็น และยอมรับ 2
แนวคิด
สมาชิกในกลุ่มไม่มีการหารือและไม่เสนอความคิดเห็น ครูต้องคอย 1
ให้คำแนะนำ
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ชื่อ.............................................................................. .....
ชั้น......................เลขที่...................
คำชี้แจง: ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและ
นอกเวลาเรียนแล้วทำเครื่องหมาย  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน
คุณลักษ รายการประเมิน ระดับ
ณะ คะแนน
อันพึง 4 3 2 1
193

ประสงค์
1. มีวินัย 1.1 ปฏิบัติตนตามข้อตกลง กฎระเบียบ
รับผิด ของครอบครัว โรงเรียนและสังคม
ชอบ 1.2 ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบในการเรียน
การปฏิบัติงาน
1.3 ปฏิบัติตนในกิจวัตรประจำวันโดยไม่
ละเมิดสิทธิผู้อื่น
2. ใฝ่ เรียน 2.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียน สนใจ
รู้ เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ
2.2 แสวงหา ศึกษา ค้นคว้าความรู้จาก
แหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ
2.3 บันทึกความรู้วิเคราะห์ตรวจสอบ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้
3. มุ่งมั่น 3.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในการทำงานให้
ในการ สำเร็จ
ทำงาน 3.2 ทุ่มเททำงาน อดทนไม่ย่อท้อต่อ
ปั ญหาและอุปสรรค
3.3 ปรับปรุงพัฒนาการทำงานและผล
งานด้วยตนเอง

ลงชื่อ ......................................ผู้

ประเมิน
194

เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3
คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน
ไม่ปฏิบัติหรือไม่แสดงพฤติกรรม ให้ 0 คะแนน

หมายเหตุ  ให้ทำเครื่องหมาย  ในช่องที่ต้องการ

ผลการประเมินอยู่ในระดับ (ภาพรวม)  ดีเยี่ยม  ดี 

พอใช้  ปรับปรุง
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10 – 12 ดีเยี่ยม
7–9 ดี
4–6 พอใช้
0–3 ควรปรับปรุง

หมายเหตุ : ใช้ประเมินคุณลักษณะเฉพาะที่สอดคล้องกับกิจกรรม
การเรียนรู้ในแต่ละครั้ง โดยไม่จำเป็ นต้องประเมินครบทั้ง
4 คุณลักษณะใน 1 ครั้ง
195

แบบประเมินการปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง
เรื่อง การเกิดสนามแม่เหล็ก ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
ที่
เลข

สรุปผลการประเมิน
ชื่อ – สกุล
การวางแผนวิธีการดำเนินการ
การปฏิบัติการทดลอง ( 4)
รายการ
ประเมิน

การบันทึกผลและการสรุปผล
การอภิปรายและนำเสนอ ( 4 )
รวมคะแนน ( 16 )
ดีมาก ( 13– 16 )
ดี ( 9– 12 )
ระดับ
คุณภาพ

พอใช้ ( 5–8 )
ปรับปรุง ( 1–4 )


สรุปผลการประเมิน
196
197

การประเมิน ผ่าน ต้องมีผลการประเมินอยู่ในระดับคุณภาพ


พอใช้ ขึ้นไป

เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง
เรื่อง การเกิดสนามแม่เหล็ก ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6

เกณฑ์ระดับคุณภาพคะแนน
รายการ
ประเมิน 4 3 2 1

1. การ วางแผน วางแผนการ วางแผน วางแผน


วางแผน การ ทดลองและ การทดลอง การทดลอง
วิธีการ ทดลอง ออกแบบ และ และ
ดำเนิน และ การทดลอง ออกแบบ ออกแบบ
การ ออกแบบ ได้ถูกต้อง การทดลอง การทดลอง
ทดลอง การ เหมาะสม ได้ถูกต้อง ได้ไม่ถูก
ทดลองได้ กับเวลา เหมาะสม ต้องและไม่
ถูกต้อง เลือกใช้ กับเวลาแต่ เหมาะสม
เหมาะสม เครื่องมือ เลือกใช้ กับเวลา
กับเวลา และวัสดุ เครื่องมือ ต้องให้
เลือกใช้ อุปกรณ์ใน และวัสดุ ความช่วย
เครื่องมือ การทดลอง อุปกรณ์ใน เหลือในการ
และวัสดุ ได้ถูกต้อง การทดลอง เลือกใช้
อุปกรณ์ เหมาะสม ได้ถูกต้อง เครื่องมือ
198

ในการ โดยครูต้อง เหมาะสม และวัสดุ


ทดลอง แนะนำเป็ น โดยครูต้อง อุปกรณ์
ได้ถูกต้อง บางส่วน แนะนำเป็ น
เหมาะสม ส่วนมาก

2. การ ดำเนินการ ดำเนินการ ดำเนินการ ดำเนินการ


ปฏิบัติ ทดลอง ทดลองเป็ น ทดลองเป็ น ทดลอง ไม่
การ เป็ นขั้น ขั้นตอน ขั้นตอน เป็ นขั้นตอน
ทดลอง ตอน และ และใช้ และใช้ และใช้
ใช้อุปกรณ์ อุปกรณ์ อุปกรณ์ อุปกรณ์
ต่างๆ ต่างๆ ได้ ต่างๆ ได้ ต่างๆ ได้ไม่
ได้อย่างถูก อย่างถูก อย่างถูก ถูกต้อง
ต้อง ต้อง โดยครู ต้อง โดยครู
ต้องแนะนำ ต้องแนะนำ
เป็ นบาง เป็ นส่วน
ส่วน มาก

เกณฑ์ระดับคุณภาพคะแนน
199

รายการ
4 3 2 1
ประเมิน
3. การ เขียน เขียนบันทึก เขียนบันทึก เขียนบันทึก
บันทึกผล บันทึกผล ผลการ ผลการ ผลการ
การ การ ทดลองได้ ทดลองได้ ทดลองต้อง
ทดลอง ทดลองได้ ถูกต้อง ถูกต้อง ให้คำ
และ ถูกต้อง ชัดเจนและ ชัดเจนและ แนะนำ
สรุปผล ชัดเจน สรุปผลการ สรุปผลการ และสรุปผล
การ และสรุป ทดลองได้ ทดลองได้ การทดลอง
ทดลอง ผลการ ถูกต้อง ถูกต้อง ได้ไม่ถูก
ทดลองได้ กระชับและ กระชับและ ต้อง
ถูกต้อง ชัดเจน มี ชัดเจน มี
กระชับ เหตุผล โดย เหตุผล โดย
และ ครูต้อง ครูต้อง
ชัดเจน มี แนะนำเป็ น แนะนำเป็ น
เหตุผล บางส่วน ส่วนมาก
สมบูรณ์

4. การ เนื้อหา เนื้อหาสาระ เนื้อหา เนื้อหา


อภิปราย สาระ ตรง ตรงประเด็น สาระเกือบ สาระไม่ตรง
และนำ ประเด็น ครบถ้วน ทั้งหมด มี ประเด็น
เสนอ ครบถ้วน สมบูรณ์ มี ความถูก และไม่มี
สมบูรณ์ มี ความถูก ต้อง ครบ ความถูก
200

ความถูก ต้องตามข้อ ถ้วน ต้องตามข้อ


ต้องตาม เท็จจริง สมบูรณ์ เท็จจริง
ข้อเท็จจริง โดยครูต้อง โดยครูต้อง
ให้คำ ให้คำ
แนะนำเป็ น แนะนำเป็ น
บางส่วน ส่วนมาก

ใบกิจกรรมที่ 2.9
เรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้ าเกิดขึ้นได้อย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………
จุดประสงค์ สามารถทดลองและสรุปการเกิดแม่เหล็กไฟฟ้ าได้

คำชี้แจง 1. ให้นักเรียนศึกษาวิธีการทดลองการเกิดแม่เหล็ก
ไฟฟ้ า
2. ทำการทดลองและตอบคำถามท้ายการทดลอง

วัสดุอุปกรณ์
1. สายไฟแบบปากคีบ จำนวน 3 เส้น
201

วิธีการ

ตารางบันทึกผลการทดลอง

ผลการทดลอง
การทดลอง
ดึงดูด ไม่ดึงดูด
202

การเปลี่ยนแปลงเมื่อนำตะปูที่
พันด้วยลวดทองแดงเข้าใกล้
ลวดหนีบกระดาษ

จากการทดลองจงตอบคำถามต่อไปนี้
1. เมื่อมีกระแสไฟฟ้ าผ่านขดลวดที่พันรอบตะปู ตะปูมีการเปลี่ยนแปลง
หรือไม่
อย่างไร......................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..............................................................................

2. สรุปผลการทดลองได้ว่าอย่างไร
.................................................................................................................
.................................................................................................................
.................................................................................................................
.................................................................................................................
...................................................................
203

แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมการ
ทำงานกลุ่ม
กิจกรรมที่ 2.9 เรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้ าเกิดขึ้นได้อย่างไร

พฤติกรรม 
ความ ความ ความ นำ รวม ผล
 ความ รับผิด ร่วม กระตือรื เสนอ เฉลี่ย การ
กกลุ่ม สนใจ ชอบ มือ อร้น แนวคิ ประเมิน
ที่ ด

3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1
ผ่าน

ไม่

1
2
3
รวม
เฉลี่ย
204

ร้อยละ
หมายเหตุ รายชื่อนักเรียนแต่ละกลุ่ม
กลุ่มที่
1 : ....................................................................................................
กลุ่มที่
2 : ....................................................................................................
กลุ่มที่ 3 :
……………………………………………………………….............................

เกณฑ์การให้คะแนน

พฤติกรรมที่ทำเป็ นประจำ ให้ 3 คะแนน


พฤติกรรมที่ทำเป็ นบางครั้ง ให้ 2 คะแนน
พฤติกรรมที่ทำน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การให้คะแนน
ช่วงคะแนน ร ะ ดั บ
คุณภาพ
13-15 ดี
8-12 พอใช้
5-7 ปรับปรุง
205

เกณฑ์การพิจารณาตัดสินให้คะแนนการปฏิบัติกิจกรรมการ
ทำงานกลุ่ม
กิจกรรมที่ 2.9 เรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้ าเกิดขึ้นได้อย่างไร

รายการ ระดับ
ประเมิน เกณฑ์การพิจารณาตัดสินให้คะแนน คะแน

สมาชิกในกลุ่มทุกคนให้ความสนใจในการปฏิบัติกิจกรรมและ 3
ปฏิบัติกิจกรรมด้วยความตั้งใจ ตลอดระยะเวลาในการปฏิบัติ
กิจกรรม
ความ สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ให้ความสนใจในการปฏิบัติกิจกรรม 2
สนใจ และปฏิบัติกิจกรรมด้วยความตั้งใจ
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ไม่ให้ความสนใจต่อการปฏิบัติกิจกรรม 1
และไม่ตั้งใจปฏิบัติกิจกรรม ตลอดระยะเวลาในการปฏิบัติ
กิจกรรม
ความรับ สมาชิกในกลุ่มทุกคนมีความรับผิดชอบต่อบทบาทและหน้าที่ใน 3
ผิดชอบ การปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มและปฏิบัติกิจกรรมตามที่ได้รับมอบ
หมายด้วยความตั้งใจ
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่มีความรับผิดชอบต่อบทบาทและหน้าที่ 2
ในการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มและปฏิบัติกิจกรรมตามที่ได้รับมอบ
หมาย
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ไม่มีความรับผิดชอบต่อบทบาทและ 1
หน้าที่
206

ที่ได้รับมอบหมายในการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม
สมาชิกในกลุ่มทุกคนต่างให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม 3
และช่วยกันปฏิบัติกิจกรรมจนสำเร็จไปได้ด้วยดี มีความตั้งใจ
ความ สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ต่างให้ความร่วมมือในการปฏิบัติ 2
ร่วมมือ กิจกรรมและช่วยกันปฏิบัติกิจกรรม
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ไม่ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม 1
ของกลุ่มและเกี่ยงกันปฏิบัติกิจกรรม ครูต้องคอยตักเตือน
สมาชิกในกลุ่มทุกคนมีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติกิจกรรม 3
ต่างช่วยกันปฏิบัติกิจกรรมด้วยความสนใจใฝ่ รู้อยู่ตลอดเวลา
ความ
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติ 2
กระตือรื
กิจกรรม และช่วยกันปฏิบัติกิจกรรม
อร้น
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ไม่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติ 1
กิจกรรม และไม่ตั้งใจขาดการใฝ่ รู้ใฝ่ เรียน
สมาชิกในกลุ่มทุกคนร่วมกันแสดงความคิดเห็น และยอมรับ 3
ความคิดเห็น ในการปฏิบัติกิจกรรมที่ถูกต้อง
นำเสนอ
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ร่วมกันแสดงความคิดเห็น และยอมรับ 2
แนวคิด
สมาชิกในกลุ่มไม่มีการหารือและไม่เสนอความคิดเห็น ครูต้อง 1
คอยให้คำแนะนำ
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ชื่อ...................................................................................
ชั้น......................เลขที่...................
คำชี้แจง: ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและ
นอกเวลาเรียนแล้วทำเครื่องหมาย  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน
207

คุณลักษ ระดับ
ณะ คะแนน
รายการประเมิน
อันพึง
4 3 2 1
ประสงค์
1. มีวินัย 1.1 ปฏิบัติตนตามข้อตกลง กฎระเบียบ
รับผิด ของครอบครัว โรงเรียนและสังคม
ชอบ 1.2 ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบในการเรียน
การปฏิบัติงาน
1.3 ปฏิบัติตนในกิจวัตรประจำวันโดยไม่
ละเมิดสิทธิผู้อื่น
2. ใฝ่ เรียน 2.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียน สนใจ
รู้ เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ
2.2 แสวงหา ศึกษา ค้นคว้าความรู้จาก
แหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ
2.3 บันทึกความรู้วิเคราะห์ตรวจสอบ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้
3. มุ่งมั่น 3.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในการทำงานให้
ในการ สำเร็จ
ทำงาน 3.2 ทุ่มเททำงาน อดทนไม่ย่อท้อต่อ
ปั ญหาและอุปสรรค
3.3 ปรับปรุงพัฒนาการทำงานและผลงาน
ด้วยตนเอง
208

ลงชื่อ ......................................ผู้

ประเมิน
เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3
คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน
ไม่ปฏิบัติหรือไม่แสดงพฤติกรรม ให้ 0 คะแนน

หมายเหตุ  ให้ทำเครื่องหมาย  ในช่องที่ต้องการ

ผลการประเมินอยู่ในระดับ (ภาพรวม)  ดีเยี่ยม  ดี 

พอใช้  ปรับปรุง

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10 – 12 ดีเยี่ยม
7–9 ดี
4–6 พอใช้
0–3 ควรปรับปรุง
209

หมายเหตุ : ใช้ประเมินคุณลักษณะเฉพาะที่สอดคล้องกับ
กิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละครั้ง โดยไม่จำเป็ นต้องประเมินครบทั้ง
4 คุณลักษณะใน 1 ครั้ง
ที่
เลข
ชื่อ – สกุล
การวางแผนวิธีการดำเนินการ
การปฏิบัติการทดลอง ( 4)
รายการ
ประเมิน

การบันทึกผลและการสรุปผล
การอภิปรายและนำเสนอ ( 4 )
รวมคะแนน ( 16 )
ดีมาก ( 13– 16 )
ดี ( 9– 12 )
ระดับ
คุณภาพ

พอใช้ ( 5–8 )
ปรับปรุง ( 1–4 )

แบบประเมินการปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง


สรุปผลการประเมิน
เรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้ าเกิดขึ้นได้อย่างไร ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
210
211

สรุปผลการประเมิน
การประเมิน ผ่าน ต้องมีผลการประเมินอยู่ในระดับคุณภาพ
พอใช้ ขึ้นไป

เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง
เรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้ าเกิดขึ้นได้อย่างไร ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6

เกณฑ์ระดับคุณภาพคะแนน
รายการ
ประเมิน 4 3 2 1

1. การ วางแผนการ วางแผนการ วางแผน วางแผนการ


วางแผน ทดลองและ ทดลองและ การทดลอง ทดลองและ
วิธีการ ออกแบบ ออกแบบ และ ออกแบบ
ดำเนิน การ การทดลอง ออกแบบ การทดลอง
การ ทดลองได้ ได้ถูกต้อง การทดลอง ได้ไม่ถูก
ทดลอง ถูกต้อง เหมาะสม ได้ถูกต้อง ต้องและไม่
เหมาะสม กับเวลา เหมาะสม เหมาะสม
กับเวลา เลือกใช้ กับเวลาแต่ กับเวลา
เลือกใช้ เครื่องมือ เลือกใช้ ต้องให้
212

เครื่องมือ และวัสดุ เครื่องมือ ความช่วย


และวัสดุ อุปกรณ์ใน และวัสดุ เหลือในการ
อุปกรณ์ การทดลอง อุปกรณ์ใน เลือกใช้
ในการ ได้ถูกต้อง การทดลอง เครื่องมือ
ทดลอง เหมาะสม ได้ถูกต้อง และวัสดุ
ได้ถูกต้อง โดยครูต้อง เหมาะสม อุปกรณ์
เหมาะสม แนะนำเป็ น โดยครูต้อง
บางส่วน แนะนำเป็ น
ส่วนมาก

2. การ ดำเนินการ ดำเนินการ ดำเนินการ ดำเนินการ


ปฏิบัติ ทดลอง ทดลองเป็ น ทดลองเป็ น ทดลอง ไม่
การ เป็ นขั้น ขั้นตอน ขั้นตอน เป็ นขั้นตอน
ทดลอง ตอน และ และใช้ และใช้ และใช้
ใช้อุปกรณ์ อุปกรณ์ อุปกรณ์ อุปกรณ์ต่างๆ
ต่างๆ ต่างๆ ได้ ต่างๆ ได้ ได้ไม่ถูก
ได้อย่างถูก อย่างถูก อย่างถูก ต้อง
ต้อง ต้อง โดยครู ต้อง โดยครู
ต้องแนะนำ ต้องแนะนำ
เป็ นบาง เป็ นส่วน
ส่วน มาก
213

เกณฑ์ระดับคุณภาพคะแนน
รายการ
ประเมิน 4 3 2 1

3. การ เขียน เขียนบันทึก เขียนบันทึก เขียนบันทึก


บันทึกผล บันทึกผล ผลการ ผลการ ผลการ
การ การ ทดลองได้ ทดลองได้ ทดลองต้อง
ทดลอง ทดลองได้ ถูกต้อง ถูกต้อง ให้คำ
และ ถูกต้อง ชัดเจนและ ชัดเจนและ แนะนำ
สรุปผล ชัดเจน สรุปผลการ สรุปผล และสรุปผล
การ และสรุป ทดลองได้ การทดลอง การทดลอง
ทดลอง ผลการ ถูกต้อง ได้ถูกต้อง ได้ไม่ถูก
ทดลองได้ กระชับและ กระชับและ ต้อง
ถูกต้อง ชัดเจน มี ชัดเจน มี
กระชับ เหตุผล โดย เหตุผล โดย
และ ครูต้อง ครูต้อง
ชัดเจน มี แนะนำเป็ น แนะนำเป็ น
เหตุผล บางส่วน ส่วนมาก
สมบูรณ์

4. การ เนื้อหา เนื้อหาสาระ เนื้อหา เนื้อหา


214

อภิปราย สาระ ตรง ตรงประเด็น สาระ เกือบ สาระไม่ตรง


และนำ ประเด็น ครบถ้วน ทั้งหมด ประเด็น
เสนอ ครบถ้วน สมบูรณ์ มี มีความถูก และไม่มี
สมบูรณ์ มี ความถูก ต้อง ครบ ความถูก
ความถูก ต้องตามข้อ ถ้วน ต้องตามข้อ
ต้องตาม เท็จจริง สมบูรณ์ เท็จจริง
ข้อเท็จจริง โดยครูต้อง โดยครูต้อง
ให้คำ ให้คำ
แนะนำเป็ น แนะนำเป็ น
บางส่วน ส่วนมาก

ใบกิจกรรมที่ 2.10
เรื่อง การประดิษฐ์ของเล่นจากวงจรไฟฟ้ าและแม่เหล็กไฟฟ้ า
215

จุดประสงค์ สามารถนำความรู้เรื่องวงจรไฟฟ้ า ตัวนำไฟฟ้ า ฉนวน


ไฟฟ้ า และ
แม่เหล็กไฟฟ้ ามาประยุกต์ใช้ได้

คำชี้แจง ให้นักเรียนดำเนินการดังต่อไปนี้

1. ให้นักเรียนศึกษาวิธีการประดิษฐ์เบ็ดตกปลาของเล่นเกมตก
ปลาจากภาพ
2. นักเรียนทดลองใช้เบ็ดที่ประดิษฐ์ตกปลาและตอบคำถาม

วัสดุอุปกรณ์
1. ถ่านไฟฉายพร้อมกระบะถ่าน จำนวน 4-6 ก้อน
2. สายไฟ จำนวน 2-3 เส้น (คละขนาดใหญ่เล็ก) ยาวเส้น
ละประมาณ 70-100 ซม.
3. สวิตซ์ 1 อัน
4. ลวดทองแดง 1 เส้น (ความยาว 15-20 ซม)
5. ก้านลูกโป่ งหรือแท่งไม้ 1 ก้าน (ความยาวประมาณ
50 ซม.)
6. ตะปูขนาด 1.5-2 นิ้ว 1 ตัว
7. ปลากระดาษ ประมาณ 10-20 ตัว (ติดลวดเสียบกระดาษ, ตัว
หนีบพลาสติก, ตัวหนีบไม้)
216

วิธีการทดลอง
1. ให้นักเรียนประดิษฐ์คันเบ็ดตกปลาโดยใช้ความรู้เรื่องวงจร
ไฟฟ้ าและแม่เหล็กไฟฟ้ ามาประยุกต์ใช้ ดังภาพ

2. นำเบ็ดที่นักเรียนประดิษฐ์ไปทดลองตกปลา สังเกตผล และตอบ


คำถามต่อไปนี้

คำถาม
1) จากการประดิษฐ์เบ็ดตกปลาตามรูปภาพที่กำหนดให้นักเรียนคิด
ว่าสิ่งใดไม่ส่งผลต่อจำนวนปลาที่ตกได้
1. ถ่านไฟฉาย
2. คันเบ็ด
3. ขดลวดที่พันตะปู
4. ชนิดของตัวหนีบกระดาษที่ติดบนตัวปลา
2) ปลาที่ติดตัวหนีบกระดาษชนิดใดบ้างที่เบ็ดตกปลาของนักเรียนไม่
สามารถตกได้
217

ให้นักเรียนเขียนวงกลมล้อมรอบ คำว่า ได้ หรือไม่ได้ ในแต่ละ


ชนิด

ชนิดของปลา ได้หรือไม่ได้
ปลาที่ติดตัวหนีบพลาสติก ได้ / ไม่ได้
ปลาที่ติดลวดเสียบกระดาษ ได้ / ไม่ได้
ปลาที่ติดตัวหนีบไม้ ได้ / ไม่ได้

เพราะอะไรจึงเป็ นเช่นนั้น จง
อธิบาย......................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
.............................................................................
3) ถ้านักเรียนต้องการจะตกปลาให้ได้จำนวนมากขึ้นกว่าเดิมนักเรียน
จะมีวิธีการปรับปรุงเบ็ดตกปลาของนักเรียนอย่างไรบ้าง
................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..........................................................................
218
219

แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมการ
ทำงานกลุ่ม
กิจกรรมที่ 2.10 เรื่อง การประดิษฐ์ของเล่นจากวงจรไฟฟ้ า
และแม่เหล็กไฟฟ้ า

พฤติกรรม 
ความ ความ ความ นำ รวม ผล
 ความ รับผิด ร่วม กระตือรื เสนอ เฉลี่ย การ
กกลุ่ม สนใจ ชอบ มือ อร้น แนวคิ ประเมิน
ที่ ด

3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1

ผ่าน

ไม่
1
2
3
รวม
เฉลี่ย
ร้อยละ
หมายเหตุ รายชื่อนักเรียนแต่ละกลุ่ม
กลุ่มที่
1 : ....................................................................................................
กลุ่มที่
2 : ....................................................................................................
220

กลุ่มที่ 3 :
……………………………………………………………….............................

เกณฑ์การให้คะแนน

พฤติกรรมที่ทำเป็ นประจำ ให้ 3 คะแนน


พฤติกรรมที่ทำเป็ นบางครั้ง ให้ 2 คะแนน
พฤติกรรมที่ทำน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การให้คะแนน
ช่วงคะแนน ร ะ ดั บ
คุณภาพ
13-15 ดี
8-12 พอใช้
5-7 ปรับปรุง
เกณฑ์การพิจารณาตัดสินให้คะแนนการปฏิบัติกิจกรรมการ
ทำงานกลุ่ม
กิจกรรมที่ 2.10 เรื่อง การประดิษฐ์ของเล่นจากวงจรไฟฟ้ า
และแม่เหล็กไฟฟ้ า

รายการ เกณฑ์การพิจารณาตัดสินให้คะแนน ระดับ


ประเมิน คะแน
221


สมาชิกในกลุ่มทุกคนให้ความสนใจในการปฏิบัติกิจกรรมและ 3
ปฏิบัติกิจกรรมด้วยความตั้งใจ ตลอดระยะเวลาในการปฏิบัติ
กิจกรรม
ความ สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ให้ความสนใจในการปฏิบัติกิจกรรม 2
สนใจ และปฏิบัติกิจกรรมด้วยความตั้งใจ
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ไม่ให้ความสนใจต่อการปฏิบัติกิจกรรม 1
และไม่ตั้งใจปฏิบัติกิจกรรม ตลอดระยะเวลาในการปฏิบัติ
กิจกรรม
สมาชิกในกลุ่มทุกคนมีความรับผิดชอบต่อบทบาทและหน้าที่ 3
ใน
การปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มและปฏิบัติกิจกรรมตามที่ได้รับมอบ
หมายด้วยความตั้งใจ
ความรับ สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่มีความรับผิดชอบต่อบทบาทและ 2
ผิดชอบ หน้าที่ในการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มและปฏิบัติกิจกรรมตามที่ได้
รับมอบหมาย
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ไม่มีความรับผิดชอบต่อบทบาทและ 1
หน้าที่
ที่ได้รับมอบหมายในการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม
ความ สมาชิกในกลุ่มทุกคนต่างให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม 3
ร่วมมือ และช่วยกันปฏิบัติกิจกรรมจนสำเร็จไปได้ด้วยดี มีความตั้งใจ
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ต่างให้ความร่วมมือในการปฏิบัติ 2
กิจกรรมและช่วยกันปฏิบัติกิจกรรม
222

สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ไม่ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติ 1
กิจกรรม
ของกลุ่มและเกี่ยงกันปฏิบัติกิจกรรม ครูต้องคอยตักเตือน
สมาชิกในกลุ่มทุกคนมีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติกิจกรรม 3
ต่างช่วยกันปฏิบัติกิจกรรมด้วยความสนใจใฝ่ รู้อยู่ตลอดเวลา
ความ
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติ 2
กระตือรื
กิจกรรม และช่วยกันปฏิบัติกิจกรรม
อร้น
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ไม่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติ 1
กิจกรรม และไม่ตั้งใจขาดการใฝ่ รู้ใฝ่ เรียน
สมาชิกในกลุ่มทุกคนร่วมกันแสดงความคิดเห็น และยอมรับ 3
ความคิดเห็น ในการปฏิบัติกิจกรรมที่ถูกต้อง
นำเสนอ
สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่ร่วมกันแสดงความคิดเห็น และยอมรับ 2
แนวคิด
สมาชิกในกลุ่มไม่มีการหารือและไม่เสนอความคิดเห็น ครูต้อง 1
คอยให้คำแนะนำ
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ชื่อ...................................................................................
ชั้น......................เลขที่...................
คำชี้แจง: ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและ
นอกเวลาเรียนแล้วทำเครื่องหมาย  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน
คุณลักษ ระดับ
ณะ คะแนน
รายการประเมิน
อันพึง
4 3 2 1
ประสงค์
223

1. มีวินัย 1.1 ปฏิบัติตนตามข้อตกลง กฎระเบียบ


รับผิด ของครอบครัว โรงเรียนและสังคม
ชอบ 1.2 ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบในการเรียน
การปฏิบัติงาน
1.3 ปฏิบัติตนในกิจวัตรประจำวันโดยไม่
ละเมิดสิทธิผู้อื่น
2. ใฝ่ เรียน 2.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียน สนใจ
รู้ เข้าร่วมกิจกรรม การเรียนรู้ต่าง ๆ
2.2 แสวงหา ศึกษา ค้นคว้าความรู้จาก
แหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ
2.3 บันทึกความรู้วิเคราะห์ตรวจสอบ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้
3. มุ่งมั่น 3.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในการทำงานให้
ในการ สำเร็จ
ทำงาน 3.2 ทุ่มเททำงาน อดทนไม่ย่อท้อต่อ
ปั ญหาและอุปสรรค
3.3 ปรับปรุงพัฒนาการทำงานและผล
งานด้วยตนเอง

ลงชื่อ ......................................ผู้

ประเมิน
เกณฑ์การให้คะแนน
224

ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3
คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน
ไม่ปฏิบัติหรือไม่แสดงพฤติกรรม ให้ 0 คะแนน

หมายเหตุ  ให้ทำเครื่องหมาย  ในช่องที่ต้องการ

ผลการประเมินอยู่ในระดับ (ภาพรวม)  ดีเยี่ยม  ดี 

พอใช้  ปรับปรุง

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10 – 12 ดีเยี่ยม
7–9 ดี
4–6 พอใช้
0–3 ควรปรับปรุง

หมายเหตุ : ใช้ประเมินคุณลักษณะเฉพาะที่สอดคล้องกับ
กิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละครั้ง โดยไม่จำเป็ นต้องประเมินครบทั้ง
4 คุณลักษณะใน 1 ครั้ง
225

แบบประเมินการปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง
เรื่อง การประดิษฐ์ของเล่นจากวงจรไฟฟ้ าและแม่เหล็กไฟฟ้ า
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
ที่
เลข

สรุปผลการประเมิน
ชื่อ – สกุล
การวางแผนวิธีการดำเนินการ
การปฏิบัติการทดลอง ( 4)
รายการ
ประเมิน

การบันทึกผลและการสรุปผล
การอภิปรายและนำเสนอ ( 4 )
รวมคะแนน ( 16 )
ดีมาก ( 13– 16 )
ดี ( 9– 12 )
ระดับ
คุณภาพ

พอใช้ ( 5–8 )
ปรับปรุง ( 1–4 )


สรุปผลการประเมิน
226
227

การประเมิน ผ่าน ต้องมีผลการประเมินอยู่ในระดับคุณภาพ


พอใช้ ขึ้นไป

เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง
เรื่อง การประดิษฐ์ของเล่นจากวงจรไฟฟ้ าและแม่เหล็กไฟฟ้ า ชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ 6

เกณฑ์ระดับคุณภาพคะแนน
รายการ
ประเมิน 4 3 2 1

1. การ วางแผน วางแผนการ วางแผน วางแผน


วางแผน การ ทดลองและ การทดลอง การทดลอง
วิธีการ ทดลอง ออกแบบ และ และ
ดำเนิน และ การทดลอง ออกแบบ ออกแบบ
การ ออกแบบ ได้ถูกต้อง การทดลอง การทดลอง
ทดลอง การ เหมาะสม ได้ถูกต้อง ได้ไม่ถูก
ทดลองได้ กับเวลา เหมาะสม ต้องและไม่
ถูกต้อง เลือกใช้ กับเวลาแต่ เหมาะสม
เหมาะสม เครื่องมือ เลือกใช้ กับเวลา
กับเวลา และวัสดุ เครื่องมือ ต้องให้
เลือกใช้ อุปกรณ์ใน และวัสดุ ความช่วย
เครื่องมือ การทดลอง อุปกรณ์ใน เหลือใน
และวัสดุ ได้ถูกต้อง การทดลอง การเลือกใช้
228

อุปกรณ์ เหมาะสม ได้ถูกต้อง เครื่องมือ


ในการ โดยครูต้อง เหมาะสม และวัสดุ
ทดลอง แนะนำเป็ น โดยครูต้อง อุปกรณ์
ได้ถูกต้อง บางส่วน แนะนำเป็ น
เหมาะสม ส่วนมาก

2. การ ดำเนินการ ดำเนินการ ดำเนินการ ดำเนินการ


ปฏิบัติ ทดลอง ทดลองเป็ น ทดลองเป็ น ทดลอง ไม่
การ เป็ นขั้น ขั้นตอน ขั้นตอน เป็ นขั้นตอน
ทดลอง ตอน และ และใช้ และใช้ และใช้
ใช้อุปกรณ์ อุปกรณ์ อุปกรณ์ อุปกรณ์
ต่างๆ ต่างๆ ได้ ต่างๆ ได้ ต่างๆ ได้ไม่
ได้อย่างถูก อย่างถูก อย่างถูก ถูกต้อง
ต้อง ต้อง โดยครู ต้อง โดยครู
ต้องแนะนำ ต้องแนะนำ
เป็ นบาง เป็ นส่วน
ส่วน มาก

เกณฑ์ระดับคุณภาพคะแนน
229

รายการ
4 3 2 1
ประเมิน
3. การ เขียน เขียนบันทึก เขียนบันทึก เขียนบันทึก
บันทึกผล บันทึกผล ผลการ ผลการ ผลการ
การ การ ทดลองได้ ทดลองได้ ทดลองต้อง
ทดลอง ทดลองได้ ถูกต้อง ถูกต้อง ให้คำ
และ ถูกต้อง ชัดเจนและ ชัดเจนและ แนะนำ
สรุปผล ชัดเจน สรุปผลการ สรุปผล และสรุปผล
การ และสรุป ทดลองได้ การทดลอง การทดลอง
ทดลอง ผลการ ถูกต้อง ได้ถูกต้อง ได้ ไม่ถูก
ทดลองได้ กระชับและ กระชับและ ต้อง
ถูกต้อง ชัดเจน มี ชัดเจน มี
กระชับ เหตุผล โดย เหตุผล โดย
และ ครูต้อง ครูต้อง
ชัดเจน มี แนะนำเป็ น แนะนำเป็ น
เหตุผล บางส่วน ส่วนมาก
สมบูรณ์

4. การ เนื้อหา เนื้อหาสาระ เนื้อหา เนื้อหา


อภิปราย สาระ ตรง ตรงประเด็น สาระ เกือบ สาระไม่ตรง
และนำ ประเด็น ครบถ้วน ทั้งหมด ประเด็น
เสนอ ครบถ้วน สมบูรณ์ มี มีความถูก และไม่มี
สมบูรณ์ มี ความถูก ต้อง ครบ ความถูก
230

ความถูก ต้องตามข้อ ถ้วน ต้องตามข้อ


ต้องตาม เท็จจริง สมบูรณ์ เท็จจริง
ข้อเท็จจริง โดยครูต้อง โดยครูต้อง
ให้คำ ให้คำ
แนะนำเป็ น แนะนำเป็ น
บางส่วน ส่วนมาก

You might also like