Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 19

1

บทที่ 19 พหุนามและการแยกตัวประกอบของพหุนาม

19.1 เอกนาม

คือ

ตัวเลข (สัมประสิทธิ์) × ตัวแปร × ตัวแปร × ….

โดยเลขชี้กําลังตัวแปรแตละตัวเปนศูนยหรือจํานวนเต็มบวก เชน 2x2, - 1 xy 2 , 8x2y, -3, 5, 3


4

ก. เอกนามที่คลายกัน

1. ตัวแปรชุดเดียวกัน
2. เลขชีก้ ําลังตัวแปรตัวเดียวกันในแตละเอกนามเทากัน เชน 5x 3 กับ 9x 3 (คลายกัน)

ข. ดีกรีของเอกนาม

คือ ผลบวกของเลขชี้กําลังของตัวแปรทั้งหมดในเอกนาม เชน –7x2y3 มีสัมประสิทธิ์เปน –7 และมีดีกรีเปน 2 + 3 = 5

ดีกรีของเอกนาม 0 จะไมกลาวถึงเพราะวา 0 x4 = 0
0 xn = 0 ดีกรีอาจเปน 4 หรือ n

ลองทําดู

จงเติมขอความลงในชองวาง

1. จงยกตัวอยางเอกนามมา 5 จํานวน______________________________
2. 0 มีดีกรี ______________________________
3. − 7 a 4 b 2 มีดีกรี______________________________
4. − 5 3 x 6 มีดีกรี______________________________
5. − 2x 8 กับ 2x 9 เปนเอกนามที่คลายกันหรือไม______________________________
6. เอกนาม − 2 x 2 y + 5 yx 2 − x 2 y มีคาเทากับ______________________________
7. 2 x 2 − 3 y 2 − 14 z 2 เอกนามเหลานี้รวมกันไดเทากับ______________________________
2

19.2 พหุนาม

= เอกนาม ± เอกนาม ± เอกนาม ± ……..

เชน 5x3 +4x5+ 7x + 9x3 + x4 เปนพหุนามที่มี 5 พจน และเรียก 5x3, 9x3 วาเปนพจนที่คลายกันพหุนามที่ไมมีพจนคลายกัน
เลยเรียกวาพหุนามในรูปผลสําเร็จเมื่อเขียนพหุนามใหอยูในรูปผลสําเร็จแลวจะถือวาดีกรีสูงสุดของพจนในพหุนามเปนดีกรี
ของพหุนาม

ลองทําดู

1. 5 x 2 y − 7 xy 2 + 32 x 2 y 2 ดีกรีของพหุนาม คือ __________________________


2. x5 −3x 2 y 2 + y3 +7 ดีกรีของพหุนาม คือ __________________________

19.3 การบวกลบพหุนาม

ใหนําสัมประสิทธิ์ของเอกนามที่คลายกันมาบวกลบกัน

ตัวอยางที่ 19.1 จงหาดีกรีของพหุนาม (4 a 2 − 7 a + 13 )+ (6 a 2 + 2 a − 9 )

วิธีทํา (4 a 2 − 7a + 13)+ (6a 2 + 2 a − 9) = ( 4 + 6 ) a 2 + ( − 7 + 2 ) a + ( 13 − 9 )


= 10 a 2 − 5a + 4

∴ กําลังสูงสุดคือ 2 ดีกรีของพหุนามคือ 2

ตัวอยางที่ 19.2 จงหาดีกรีของพหุนาม (2 x 3 − 3 x 2 y − 5 x y 2 + y 3 ) - (x 3 − 6 x 2 y + 4 xy 2 − 6 y 3 )

วิธีทํา (2 x 3 − 3x 2 y − 5x y 2 + y 3 ) - (x 3 − 6 x 2 y + 4 xy 2 − 6 y 3 )

= (2 - 1)x3 +(-3 + 6) x2y +(-5 - 4)xy2 +(1 + 6)y3


= x 3 + 3 x 2 y − 9 xy 2 + 7 y 3

∴ กําลังสูงสุดคือ 3 ดีกรีของพหุนามคือ 3
3

ลองทําดู

จงหาผลบวกผลลบและดีกรีของพหุนาม

(1) (5r 2 − 17r + 6) − (5r − 2)


(2) (4 x 2 − 16 x + 16)+ (3x + 4)
(3) 2 x 2 − 3x + 1 - ( x 2 − 4 x + 7)
(4) (− x 3 − 3x 2 + 4 x − 10)− (3x 3 + x 2 − 5 x + 4)
(5) (− 2 x 3 + 3x + 6)+ 3(2 x 3 + 5 x + 6)
(6) 2 (6 x 2 + 2 )− 3(2 x 2 − x + 5 )+ 4
(7) 2 (7 x 3 + 12 x + 3 )− 3( 4 x + 15) + 12 (2 x 2 − 1)
(8) 3 x 2 ( 2 x − 1) − x (4 x 2 − 3 x )+ 2
(9) x (x 3 + 6 )− 3 x (x 2 + 2 )− 3 x 2 ( x − 5 ) + 3
(10) 3( x − 1) + 2 (x 2 − x + 1)− x ( x + 2 ) + 1
(11) − 2( 2 x − 1) + 3 x 2 ( x − 1) + 2 x ( x + 2 ) + 1
(12) 2 x 2 ( 3 x − 1) + 3(x 2 + 2 x − 1)+ 10
(13) 3 x (x 2 − 2 x + 2 )+ x (x 2 − 11)+ 2( x + 3 ) − 5
(14) 3(x 3 − 2 x 2 + 2 x )− 5 + x (x 2 − 11 x − 2 )+ 2 x 2 ( x + 3 ) − 5

19.4 การคูณพหุนาม

ตัวอยางที่ 19.3 จงคูณพหุนาม (5 x − 12 y )(8 x + 3 y )

วิธีทํา (5 x − 12 y )(8 x + 3 y ) = 40 x 2 + 15 xy − 96 xy − 36 y 2

= 40 x 2 − 81xy − 36 y 2
4

ลองทําดู

จงหาผลสําเร็จ

(1) ( x + 2 )( x + 3 )
(2) ( 3 x + 2 )( x − 5 )
(3) ( 7 x − 6 )( − 2 x + 1)
(4) ( 3 x + 1)( 2 x − 4 )
(5) ( x − 2 y )( 3 x + y )
(6) (2 x 2 − y )(4 x 3 + 3 y )
(7) ( 2 xy + z )( 3 xy − 2 z )
(8) ( 2 x − 3 ) (3 x 2 − 2 x + 1)
(9) ( − 2 x + 3 )(4 x 2 − 3 x − 5 )
(10) (4 x 2 + 2 x − 1)(3x 2 + 1)
5

19.5 สูตรการกระจายพหุนาม

1. a 2 − b 2 = ( a − b )( a + b )

2. ( a + b ) 2 = a 2 + 2 ab + b 2

3. ( a − b ) 2 = a 2 − 2 ab + b 2

4. ( a + b ) 3 = a 3 + 3a 2 b + 3ab 2 + b 3

5. ( a − b ) 3 = a 3 − 3a 2 b + 3ab 2 − b 3

6. a 3 + b 3 = ( a + b )(a 2 − ab + b 2 )

7. a 3 − b 3 = ( a − b ) (a 2 + ab + b 2 )

ลองทําดู

จงทําใหเปนผลสําเร็จ

(1) ( x + 3) 2 = ______________________________________________
(2) ( x − 3) 3 = ______________________________________________
(3) ( x − 2)3 = ______________________________________________
(4) ( 3 x − 1) 2 = ______________________________________________
(5) (2 x + 5 )2 = ______________________________________________
(6) ( 3 x + 1) 3 = ______________________________________________
(7) ( 2 x − 1) 3 = ______________________________________________
(8) x 3 + 125 = ______________________________________________
(9) x3 −8 = ______________________________________________
(10) 27 x 3 + 1 = ______________________________________________
(11) 125 x 3 − 1 = ______________________________________________
(12) 8x 3 − y 3 = ______________________________________________
(13) 64 x 2 − 7 = ______________________________________________
(14) 4x2 −9y2 = ______________________________________________
(15) ( 2 x + 3 y )2 = ______________________________________________
(16) ( 2 x − 15 y ) 2 = ______________________________________________
(17) ( 2 x + 3 y )3 = ______________________________________________
(18) ( 2 x − 3 y )3 = ______________________________________________
(19) 64 x 3 − y 3 = ______________________________________________
6

19.6 การหารพหุนาม

ตัวอยางที่ 19.4 จงทําใหเปนผลสําเร็จ (3 x 4 + 2 x 3 − 6 x + 1)÷ (x 2 − 4 )

วิธีทํา
3 x 2 + 2 x + 12
x2 −4 3x 4 + 2 x 3 − 6x + 1
3x4 - 12x2
2x3 + 12x2 - 6x
2x3 - 8x
2
12x + 2x + 1
12x2 - 48
2x + 49

∴ ผลลัพธจากการหาร = 3 x 2 + 2 x + 12 เศษ 2 x + 49

ลองทําดู

จงทําใหเปนผลสําเร็จ

3x 2 y 5
(1)
15 xy 3
(2)
(a 3 − 1)
a −1
42 x 3 y 3 − 14 x 3
(3)
7x 3
12a 4 + 6a 2b + 3a 2
(4)
3a 2

(5) (27 a3 − 8 )
3a − 2
(6) (2 x + 3x − x + 2) ÷ (x + 1)
3 2 2

(7) (3x + 2 x − x + 1)÷ (x − x + x)


5 4 3 2

(8) (12 x − 3x + 5) ÷ (x + 7)
2

(9) (16 x − 4 x + 13)÷ (4 x + 1)


2

(10) (18x + 3x + 3x − 1) ÷ (3x + 5x + 3)


4 3 2 2
7

19.7 ทฤษฎีเศษเหลือ

จากทฤษฎีเศษเหลือ กลาวไววา เศษที่ไดจากการหาร p(x) ดวย x – a คือ p(a)

ตัวอยางที่ 19.5 จงหาเศษที่ไดจากการหารพหุนาม 4 x 3 − 5 x 2 + x + 15 ดวย x - 2

วิธีทํา จากทฤษฎีเศษเหลือจะไดวา เศษที่ไดจากการหาร p(x) ดวย x – a คือ p(a)


จะไดวา
เอา 2 ไปแทน x ใน 4 x 3 − 5 x 2 + x + 15
ก็จะได 4 (2 3 )− 5(2 2 )+ 2 + 15
= 32 - 20 + 2 + 15 = 29
∴ เหลือเศษ = 29

ลองทําดู

จงหาเศษที่ไดจากการหารพหุนาม

(1) 3x 2 − 4 หารดวย x-2


(2) 5x 2 + 2 x − 3 หารดวย x +1
(3) 3x 4 + 2 x 3 − 3x 2 + 2 หารดวย x-1
(4) 6 x 2 + x + 10 หารดวย 2x – 3
(5) 27 x 2 + 3 x + 1 หารดวย 3x – 4
5a 3 + 7a 2 − a − 200
(6)
a−3
2 x5 − 3x 2 + 513
(7)
x+3
3 x 2 − 2 x − 160
(8)
x+7
a 4 − 3a 2 + 209
(9)
a−4
5x4 − x2 + 5
(10)
x+2
8

19.8 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง

การแยกตัวประกอบของพหุนาม คือ การเขียนพหุนามนั้นในรูปการคูณของพหุนามที่มีดีกรีต่ํากวา

ตัวอยางที่ 19.6 จงแยกตัวประกอบของพหุนามตอไปนี้ 3x 2 + 9x, x 3 + 4x 2 + 3x, -6x 3 + 3x 2 - 27x และ x 2 + 7x + 10


วิธีทํา
3x 2 + 9x = 3x(x + 3)
x 3 + 4x 2 + 3x = x(x 2 + 4x + 3)
-6x 3 + 3x 2 - 27x = -3x (2x 2 - x + 9)
x 2 + 7x + 10 = (x + 5)(x + 2)

พหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว คือ พหุนามที่เขียนไดรูป ax 2 + bx + c เมื่อ a, b, c เปนคาคงตัว โดย a ≠ 0 และ x


เปนคาตัวแปร

การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง มีหลัก ๆ อยู 4 วิธี คือ

ก. วิธีการแจกแจง
ข. วิธีการแยกสองวงเล็บ
ค. วิธีการใชสูตร
ง. วิธีกําลังสองสมบูรณ

ก. วิธีการแจกแจง

ในกรณีที่ c = 0 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยใชสมบัติการแจกแจงดังตัวอยางตอไปนี้

ตัวอยางที่ 19.7 จงแยกตัวประกอบของพหุนามตอไปนี้ 5x 2 - 15x, 3x 2 + 6x, ax 2 - 2ax; a ≠ 0

วิธีทํา
5x 2 - 15x = 5x(x - 3)
3x 2 + 6x = 3x(x + 2)
ax 2 - 2ax; a ≠ 0 = ax(x – 2)
9

ลองทําดู

จงแยกตัวประกอบของพหุนามตอไปนี้ โดยวิธีสมบัติการแจกแจง

(1) 7x 2 - 14x = _______________________


(2) x 2 + 2x 2 + 2x 2 = _______________________
3
(3) 25y - 15y 2 + 75y = _______________________
(4) 2x y 2 - 4x 2 y 2 = _______________________
(5) 3x y 2 + 6x 2 y 2 = _______________________

การแยกตัวประกอบของพหุนามโดยวิธีจับคูหรือจัดพจนใหม เพื่อนําตัวประกอบรวมออกแลวจัดใหอยูในรูปการคูณ
ของวงเล็บของพหุนาม

ลองทําดู

จงแยกตัวประกอบของพหุนามตอไปนี้

(1) x 2 – y – x + xy
(2) ax + bx – by – cy – ay + cx
(3) a 2 + 2bc - ab – 2ac
10

ข. วิธีการแยกสองวงเล็บ

เราจะใชวิธีนี้ เมื่อ คา a และ c เปนตัวเลขที่สามารถแยกตัวประกอบไดนอย ๆ แบบ เชน 7 = 1 × 7 หรือ 3 = 1 × 3


ซึ่งจะสะดวกในการมองอยางรวดเร็ว แตถา a และ c เปนตัวเลขที่สามารถแยกตัวประกอบไดหลายแบบมาก ๆ เชน 32 = 1 × 32,
2 × 16, 4 × 8 จะทําใหเสียเวลานานมาก จึงนิยมใช วิธีที่ 3 คือใชสูตรมากกวารูปทั่วไป ax 2 + bx + c และ a ≠ 0

ถา a = 1 ใหใชแยกแฟกเตอร x 2 ± bx ± c ใหดูที่ตัวหลัง สําหรับ กรณีที่ 1 และ 2 ตัวหลังจะเปนบวก สําหรับ กรณีที่ 3 และ 4
ตัวหลังจะเปนลบ

กรณีที่ 1 x 2 + 4 x + 3

ตัวหลังเปน + ผลคูณ = 3, ผลรวม = 4 ตัวกลางเปน + (เครื่องหมายเปนบวกทั้งคู)


x 2 + 4 x + 3 = ( x + 3 )( x + 1)

กรณีที่ 2 x 2 − 4x + 3
ตัวหลังเปน + ผลคูณ = 3, ผลรวม = -4 ตัวกลางเปน - (เครื่องหมายเปนลบและบวก)
x 2 − 4 x + 3 = ( x − 3 )( x − 1)

กรณีที่ 3 x 2 − 2 x − 3
ตัวหลังเปน - ผลคูณ = 3, ผลบวก = -2 ตัวกลางเปน - (เครื่องหมายตัวมากเปนลบ)
x 2 − 2 x − 3 = ( x + 1)( x − 3 )

กรณีที่ 4 x 2 + 2x − 3

ตัวหลังเปน - ผลคูณ = 3, ผลบวก = 2 ตัวกลางเปน + (เครื่องหมายตัวมากเปนบวก)


x 2 + 2 x − 3 = ( x − 1)( x + 3 )
11

ลองทําดู

จงแยกแฟกเตอรสําหรับพหุนามตอไปนี้

(1) x 2 − 6x + 5
(2) x 2 + 10 x + 24
(3) x 2 − 3 x − 18
(4) x 2 + 14 x + 45
(5) x 2 − 11 x − 60
(6) x 2 −23 x − 50
(7) x 2 − 6 x − 16
(8) x 2 + 4 x − 21
(9) x 2 + x − 56
(10) x 2 + 12 x + 27
12

ค. วิธีใชสูตรแกสมการ

สมการกําลังสองรูปทั่วไป ax 2 + bx + c = 0 มีวิธีการแกสมการเพื่อหารากโดยใชสูตร

− b ± b 2 − 4 ac
x =
2a

ตัวอยางที่ 19.8 จงแยกตัวประกอบของพหุนาม 3 x 2 + 5 x − 2

วิธีทํา จากรูปสมการทั่วไป ax 2 + bx + c = 0

จะไดวา a = 3, b = 5, c = −2

− 5 ± 5 2 − 4 ( 3 ) ( −2 )
x =
2( 3 )
− 5 ± 25 + 24
=
6
− 5± 49
=
6
− 5± 7
=
6
− 5+ 7 2 1 − 5 − 7 − 12
= = = และ = = = −2
6 6 3 6 6
∴ 3x 2 + 5x − 2 = (3 x − 1)( x + 2 )

สิ่งที่ควรรูสําหรับวิธีนี้ คือ

เราตองจําคากําลังสองของตัวเลขได เชน1, 4, 9, 16, 25, 36, 49, 64, 81, 100, 121, 144, 169, 196, 225, 256, 289, 324, 361,
400, 441 เปนตน

เราตองสามารถถอดรากที่สองของตัวเลขที่นาจะถอดรากที่สองไดเปนจํานวนเต็มไดอยางรวดเร็ว(ใชตอนหาคา
b 2 − 4 ac โดยวิธีการแบงตัว เชน 2116 สามารถหาคาโดย แบงตัวเลขเปน 21 และ 16 เราตองหา สองตัวเหมือนกันที่สามารถ
คูณกันแลวได คาไมเกิน 21 ซึ่งก็คือ 4 นั่นเอง

จากนั้นดูคาที่สามารถเปนไปไดในการที่สองตัวคูณกันไดเทากับ 6 (ตัวหลังของ 16) ซึ่งก็คือ 4 และ 6 จากนั้น เราพิจารณา


ดูวา 2116 จะเทากับ 44 หรือ 46 โดย 40 × 40 =1,600 แต 50 × 50 = 2,500 ซึ่งจะเห็นวาคา 2116 ใกลคา 2500 มากกวา
∴ 2116 =46 นั่นเอง
13

หมายเหตุ
จากตัวอยางขางตนเปนการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองในรูป ax 2 + bx + c เมื่อ a > o แตในกรณีที่ a < oใชวิธี
ในทํานอง เดียวกัน หรือแยกตัวประกอบรวม -1 เสียกอนก็ได

ตัวอยางที่ 19.9 -3x 2 + 2x + 5 = (-1)(3x 2 –2x –5)


= (-1)(3x – 5)(x +1)
= (-3x + 5)(x + 1)
ลองทําดู

จงแยกตัวประกอบพหุนามตอไปนี้ดวยวิธีแยกแฟกเตอรดวยทั้งวิธีแยกแฟกเตอรและวิธีใชสูตรแลวเปรียบเทียบผลลัพธ

1. 4 x 2 − 12 x + 9
2. 2x 2 + x −6
3. 6 x 2 + 13 x − 5
4. 2 x 2 + 11 x − 21
5. 10 x 2 − 18 x − 4
6. 4 x 2 − 5x + 1
7. 5x 2 − 3x − 2
8. 2x 2 − 7x − 4
9. 3x 2 − 7x + 4
10. 100 x 2 − 20 x + 1
11. 5x 2 + 4x – 1
12. 12a 2 – a – 35
13. 9 – 42y + 49y 2
14. 6a 2 + 17a + 12
15. 5 + 2x – 3x 2
16. 2x 2 + 3x +1
17. 5a 2 + 32a – 21
18. 2y 2 – 12y – 14
19. 4x 2 – 8x – 5
20. 3a 2 + 2a –1
21. 15b 2 –11b + 2
22. 28x 2 + 31x – 5
23. 3 – 5x –12x 2
24. 5y 2 -13y + 6
25. 289 + 68y + 4y 2
14

26. 3c 2 –19c – 72
27. 12 + 19y –21y 2
28. 30x 2 –70x +20
29. 7y 2 –78y +11
30. 12b 2 – 7b –12
31. 4a 2 –39ab – 55b 2
32. 2(y + 1) 2 – 17(y + 1) + 8
33. 24x 2 – 43x + 18
34. 44b 2 – 47b – 10
35. 28x 2 + 31xy – 5y 2
15

ง. การแยกตัวประกอบโดยวิธีกําลังสองสมบูรณ

วิธีนี้จะชวยในการแยกตัวประกอบที่เราไมสามารถแยกเปนสองวงเล็บได

- วิธีนี้มักจะใชผลตางกําลังสองชวยในการแยกตัวประกอบดวย
- วิธีนี้มักจะใชกับการแยกตัวประกอบที่มีกําลังเลขคูที่มากกวา 2

กอนอื่นตองศึกษาเกี่ยวกับ กําลังสองสมบูรณ กอนดังนี้

A 2 + 2AB + B 2 = (A + B) 2
A 2 – 2AB + B 2 = (A – B) 2
เชน
x 2 + 10x + 25 = (x + 5)(x + 5) = (x + 5) 2
x 2 - 8x + 16 = (x – 4)(x – 4) = (x – 4) 2

ลองทําดู

จงแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตอไปนี้ ใหอยูในรูปกําลังสองสมบูรณ

(1) x 2 + 12x + 36 = ______________________________


(2) x 2 + 30x + 225 = ______________________________
(3) x 2 – 36x + 324 = ______________________________
(4) x 2 – 60x + 900 = ______________________________
(5) 9y 2 + 42y + 49 = ______________________________
(6) 25x 2 + 20x + 4 = ______________________________
(7) 36x 2 – 60x + 25 = ______________________________
(8) 4y 2 – 36y + 81 = ______________________________
(9) 64x 2 – 240xy + 225y 2 = ______________________________
(10) 100x 2 + 220xy + 121y 2 = ______________________________
16

ผลตางของกําลังสอง A 2 – B 2 = (A + B)(A – B)

ลองทําดู

จงแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง ใหอยูในรูปผลตางของกําลังสองตอไปนี้

(1) x 2 - 16 = ______________________________
(2) x 2 – 25 = ______________________________
(3) x 2 – 49 = ______________________________
(4) x 2 – 81 = ______________________________
(5) x 2 –100 = ______________________________
(6) 64x 2 – 225 = ______________________________
(7) 4x 2 - 25y 2 = ______________________________
(8) (x – 5) 2 – 49 = ______________________________
(9) (x + y) 2 – (2x + 3y) 2 = ______________________________
(10) 9x 2 – (y – 2) 2 = ______________________________
(11) 4(2x – y) 2 – (x + 2y) 2 = ______________________________
17

การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยวิธีทําเปนกําลังสองสมบูรณ

ตัวอยางที่ 19. 10 จงแยกตัวประกอบของ x 2 – 8x +12 ดังตอไปนี้

วิธีทํา x 2 - 8x + 12 = {x 2 – (2)(4) x + 4 2 } – 4 2 +12 [ขั้นนี้นํา 4 2 มาบวกและลบออก]


= (x – 4) 2 – 4
= (x – 4) 2 – 2 2
= (x – 4 + 2)( x – 4 – 2)
∴ x 2 - 8x + 12 = (x – 2)(x – 6)

ลองทําดู

จงแยกตัวประกอบของพหุนามตอไปนี้ โดยทําทั้ง 3 วิธี คือ แยกแฟกเตอรธรรมดา, ใชสูตร และทําเปนกําลังสองสมบูรณ

(1) x 2 + 2x –5
(2) x 2 - 2x –195
(3) x 2 + 4x + 1
(4) x 2 + 7x + 9

กรณีพหุนามดีกรีสอง ax 2 + bx + c เมื่อ a ≠ 1 ทําเปนกําลังสองสมบูรณ แยกตัวประกอบไดโดยขั้นตอนดังนี้

- ทําสัมประสิทธิของตัวแปรกําลังสอง (พจนหนา) ใหเปน 1


1
- หาพจนทายจากสูตร พจนทาย = ( x สัมประสิทธิ์พจนกลาง) 2 มาบวกเขาไปเพื่อใหอยูในรูปกําลังสองสมบูรณ แลวออกเพื่อ
2
ใหคาคงเดิม
- จัดใหอยูในรูปของผลตางของกําลังสอง แลวแยกตัวประกอบ A 2 - B 2 = (A + B) A- B)
- นําสัมประสิทธิ์ที่ถูกแยกออกไปนอกวงเล็บ นํากลับมาคูณไดเพียงวงเล็บเดียวเทานั้น

ลองทําดู

จงแยกตัวประกอบของพหุนามตอไปนี้ โดยทําทั้ง 3 วิธี คือ แยกแฟกเตอรธรรมดา, ใชสูตร และทําเปนกําลังสองสมบูรณ

(1) 3x 2 + 19x – 14
(2) –3x 2 + 2x + 5
18

19.9 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกวาสองที่มีสัมประสิทธิ์เปนจํานวนเต็ม

ถา A และ B เปนพหุนามที่อยูในรูปผลบวกของ กําลังสาม เขียนสูตรดังนี้

A 3 + B 3 = (A + B)(A 2 – AB + B 2 )
A 3 – B 3 = (A – B)(A 2 + AB + B 2 )

ลองทําดู

จงแยกตัวประกอบของพหุนามตอไปนี้

(1) 27a 3 – 8b 3 = ______________________________


(2) 64x 3 + y 3 = ______________________________
(3) 125 – 216y 3 = ______________________________
(4) x 3 y 3 + 64x 3 = ______________________________
(5) 1000n 3 – 729m 3 = ______________________________

ในการแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกวาสอง อาจทําไดโดยจัดพหุนามนั้นใหอยูในรูปกําลังสองสมบูรณ
ผลตางของกําลังสอง ผลบวกของกําลังสาม หรือผลตางของกําลังสาม

ลองทําดู

จงแยกตัวประกอบของพหุนามตอไปนี้

(1) 81x 4 – 256y 4


(2) 64x 6 – 729
(3) x 4 – 3x 3 – 4x 2 +12x
(4) 4x 4 – 4ax 2 + 2by + a 2 – b 2 – y 2
(5) 64 x 6 − 729 y 6
19

การแยกตัวประกอบพหุนามในรูปกําลังสองสมบูรณ ดวยการเพิ่มพจนกลาง (ใชไดเฉพาะพหุนามที่มีพจนกลางสูงกวา 2 เทานั้น)


มีขั้นตอนดังนี้

1. จัดใหอยูในรูปกําลังสองสมบูรณ โดยการเพิ่มพจนกลางเขาแลวหักออก
2. แยกตัวประกอบ โดยใชผลตางกําลังสอง

A 2 – B 2 = (A + B)(A – B)

ลองทําดู

จงแยกตัวประกอบของพหุนามตอไปนี้

(1) x4 + 4
(2) x4 +x2 +1

การแยกตัวประกอบพหุนาม โดยวิธีจัดใหอยูในรูปกําลังสามของผลบวกหรือผลตางในรูปทั่วไปคือ

A 3 + 3A 2 B + 3AB 2 + B 3 = (A + B) 3
A 3 - 3A 2 B + 3AB 2 - B 3 = (A - B) 3

ลองทําดู

จงแยกตัวประกอบของพหุนามตอไปนี้

(1) a 3 + 6a 2 + 12a + 8
(2) x 3 – 3x 2 y + 3xy 2 – y 3
(3) 8a 3 - 24a 2 b + 24ab 2 – 8b 3

การแยกตัวประกอบของพหุนามโดยวิธีจับคูหรือจัดพจนใหม เพือนําตัวประกอบรวมออกมาจัดใหอยูในรูปของการคูณของ
วงเล็บ แลวอาจทําไดโดยจัดพหุนามนั้นใหอยูในรูปกําลังสองสมบูรณ ผลตางของกําลังสอง ผลบวกของกําลังสามหรือ ผลตางของ
กําลังสาม

ลองทําดู

จงแยกตัวประกอบของพหุนาม 8x 3 – 4xy + 2y – 1

You might also like