แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 11

โรงเรียนสมอทองปทีปพลีผลอุปถัมภ์

แผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
วิชา คณิตศาสตร์
รหัสวิชา ค 21101
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
ภาคเรียนที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ชื่อหน่วย เลขยกกำลัง
จำนวน 13 ชั่วโมง
หน่วยย่อยที่ 3 เรื่อง การเขียนเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็ น
จำนวนเต็ม เวลาสอน 1 ชั่วโมง

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
มาตรฐาน : มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจเกี่ยวกับเลขยกกำลังที่มี
เลขชี้กำลังเป็ นจำนวนเต็มและเขียนแสดงจำนวนให้อยู่ในรูปสัญกรณ์
วิทยาศาสตร์ (scientific notation)
มาตรฐาน ค 1.3 อธิบายผลที่เกิดขึ้นจากการยกกำลัง
ของจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
ตัวชี้วัด : ค 6.1 ม.1-3/1 ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปั ญหา
ม.1-3/2 ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทาง
คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีในการ แก้ปั ญหาใน
สถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
ม.1-3/3 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผล
ได้อย่างเหมาะสม
ม.1-3/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ใน
การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำเสนอได้
อย่างถูกต้องและชัดเจน
ม.1-3/5 เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์ และนำ
ความรู้ หลักการ กระบวนการ ทางคณิตศาสตร์ไป
เชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ
ม.1-3/6 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

2. ความคิดรวบยอด
เลขยกกำลังเป็ นสัญลักษณ์ใช้แสดงจำนวนที่เกิดจากการคูณตัวเอง
ซ้ำกันหลายๆ ตัว ส่วนสัญกรณ์ - วิทยาศาสตร์เป็ นการเขียนจำนวนใน
รูปการคูณของจำนวนที่มากกว่า 1 แต่น้อยกว่า 10 กับเลขยกกำลังที่มี
ฐานเป็ นสิบและเลขชี้กำลังเป็ นจำนวนเต็ม ซึ่งนิยมใช้กับจำนวนที่มีค่า
มากๆ หรือจำนวนที่มีค่าน้อยๆ

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
ด้านพุทธิพิสัย
1. นักเรียนสามารถบอกความหมายของเลขยกกำลังที่มี
เลขชี้กำลังเป็ นจำนวนเต็มบวกได้
2. นักเรียนสามารถอธิบายความหมายเลขฐานและเลขชี้กำลัง
ได้
ด้านทักษะพิสัย
นักเรียนสามารถเขียนจำนวนที่กำหนดให้ในรูปเลขยกกำลังได้
ด้านจิตพิสัย
1. นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียนและการตอบ
คำถาม
2. นักเรียนมีความกล้าแสดงออกสามารถแสดงความคิดเห็น
และยอมรับฟั งความคิดเห็นของผู้อื่น

4. สาระการเรียนรู้
บทนิยาม ถ้า a เป็ นจำนวนใด ๆ และ a เป็ นจำนวนเต็มบวก “a
ยกกำลัง n “ หรือ “a กำลัง n “ เขียนแทนด้วย a มีความหมาย
n

ดังนี้
a n=a×a×a×. ..×a

n ตัว

เรียก a ว่า เลขยกกำลัง ที่มี เป็ นฐาน และ n เป็ น


n
a

เลขชี้กำลัง
ตัวอย่าง จงเขียน 16 ในรูปเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังมากกว่า 1
วิธีทำ 16 = 2×2×2×2
4
= 2
4
ตอบ 2
หรือ 16 = 4×4
2
= 4
2
ตอบ 4
นอกจากสองคำตอบข้างต้นนี้แล้ว เราอาจเขียน 16 ในรูปเลขยก
4
กำลังที่มีฐานเป็ นจำนวนเต็มลบได้อีกสองคำตอบ ได้แก่ (-2) และ (-
2
4)

5. การบูรณาการกับสมรรถนะ
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปั ญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มุ่งมั่นในการทำงาน
2. มีระเบียบวินัย
3. ใฝ่ เรียนรู้
7. ชิ้นงาน/ภาระงาน
แบบฝึ กหัดเสริมทักษะ เรื่อง เลขยกกำลัง

8. กิจกรรมการเรียนรู้
วิธีการสอน สอนแบบอุปนัย
8.1 ขั้นนำ
1. ครูทบทวนเรื่อง ความหมายของเลขยกกำลัง โดยให้นักเรียน
ร่วมกันบอกความหมายของเลขยกกำลัง ได้ดังนี้
ถ้า a เป็ นจำนวนใดๆ และ n เป็ นจำนวนเต็มบวก “a ยก
กำลัง n หรือ a กำลัง n”
มีความหมายดังนี้
a n=a×a×a×. ..×a

n ตัว
เรียก a ว่า เลขยกกำลังที่มี a เป็ นฐาน และ n เป็ น
n

เลขชี้กำลัง
8.2 ขั้นสอน
1. ครูอธิบายวิธีการหาค่าของเลขยกกำลังในแบบต่างๆ ดังนี้
1) การหาค่าของเลขยกกำลังที่มีฐานเป็ นจำนวนเต็มบวก
เช่น
3
5 = 5×5×5= 125
2
11 = 11 × 11 = 121
2) การหาค่าของเลขยกกำลังที่มีฐานเป็ นจำนวนเต็มลบ เช่น
3
(-3) = (-3) × (-3) × (-3) = -27
4
(-5) = (-5) × (-5) × (-5) × (-5) = 625
3) การหาค่าของเลขยกกำลังที่มีฐานเป็ นเศษส่วนหรือ
ทศนิยม เช่น
() ( 23 ) × ( 23 ) × ( 23 )
3
2 8
3 = = 27

3
2 2× 2× 2 8
3 = 3 = 3

= = −16
4
−2 −(2 ×2 ×2 ×2)
3 3 3
2
(1.3) = (1.3) × (1.3) = 1.69
2. จากการแสดงวิธีการหาค่าของเลขยกกำลังในรูปแบบต่างๆ
ครูตั้งคำถามเพื่อกระตุ้นความคิด
ของนักเรียนเกี่ยวกับการหาค่าของเลขยกกำลังที่มีฐานเป็ นจำนวนต่างๆ
เช่น
1) การหาค่าของเลขยกกำลังที่มีฐานเป็ นจำนวนเต็มบวก จะมี
ค่าเป็ นอย่างไร (ถ้าฐานของเลข
ยกกำลังเป็ นจำนวนเต็มบวก ค่าของเลขยกกำลังจะมีค่าเป็ นจำนวนบวก)
2) การหาค่าของเลขยกกำลังที่มีฐานเป็ นจำนวนเต็มลบ จะมี
ค่าเป็ นอย่างไร (ถ้าฐานของเลข
ยกกำลังเป็ นจำนวนเต็มลบ และเลขชี้กำลังเป็ นจำนวนคู่ แล้วค่าของเลข
ยกกำลัง จะมีค่าเป็ นจำนวนบวก แต่ถ้าเลขชี้กำลังเป็ นจำนวนคี่ แล้วค่า
ของเลขยกกำลังจะมีค่าเป็ นจำนวนลบ)
3) ค่าของเลขยกกำลังที่มีฐานเป็ นเศษส่วนหรือทศนิยม จะมี
ค่าเป็ นอย่างไร (ค่าของเลขยกกำลังที่มีฐานเป็ นเศษส่วนหรือทศนิยม ค่า
ของเลขยกกำลังจะเป็ นเศษส่วนหรือทศนิยม)
8.3 ขั้นสรุป
1. ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปความรู้เรื่อง ค่าของเลข
ยกกำลังที่มีฐานเป็ นจำนวนเต็มบวก
เลขยกกำลังที่มีฐานเป็ นจำนวนเต็มลบ เลขยกกำลังที่มีฐานเป็ นเศษส่วน
และทศนิยม โดยเชื่อมโยงกับคำตอบที่ได้จากที่นักเรียนทำกิจกรรมร่วม
กัน
2. ครูชี้แนะให้นักเรียนสังเกตการเขียนเลขยกกำลัง การอ่าน
เลขยกกำลัง และความหมายของ
เลขยกกำลัง ว่านักเรียนต้องมีความรอบคอบ เช่น ความแตกต่าง
ระหว่าง (−7) กับ −7
2 2

(−7)2 อ่านว่า ลบเจ็ดทั้งหมดยกกำลังสอง โดยมี (-7) เป็ นฐาน

มีค่าเท่ากับ 49
−7 2 อ่านว่า ลบเจ็ดยกกำลังสอง โดยมี 7 เป็ นฐาน มีค่า
เท่ากับ – 49
3. ครูสุ่มนักเรียนภายในห้องมา 5 คนเพื่อตอบคำถาม ถ้าเด็ก
นักเรียนตอบถูก 2 คน แต่ตอบผิด 3 คน แสดงว่าเด็กยังไม่เข้าใจในเรื่อง
ระบบจำนวนเต็ม ครูจึงต้องมีการปรับปรุงสื่อการสอนให้นักเรียนสนใจ
มากขึ้น แต่ถ้านักเรียนตอบคำถามถูก 4 – 5 คน แสดงว่านักเรียนส่วน
ใหญ่เข้าใจในเรื่องที่สอนดี

8.4 สื่อการเรียนการสอน
1. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน คณิตศาสตร์เล่ม 1
2. ห้องสมุดโรงเรียน
3. อินเตอร์เน็ต

9. การวัดและการประเมินผล
วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
ตรวจผลงาน แบบฝึ กหัดเสริม นักเรียนทำแบบฝึ กหัดผ่าน
- แบบฝึ กหัดเสริม ทักษะเรื่อง เลขยก เกณฑ์ระดับคุณภาพ 2 (พอใช้)
ทักษะเรื่อง กำลัง
เลขยกกำลัง

สังเกตพฤติกรรมการ แบบประเมิน นักเรียนมีคุณลักษณะที่พึง


ทำงาน คุณลักษณะที่พึง ประสงค์ผ่านเกณฑ์ประเมิน
ประสงค์ เฉลี่ยในระดับ 2 คะแนนขึ้นไป
สังเกตทักษะ/ แบบประเมิน นักเรียนมีทักษะ/กระบวนการ
กระบวนการทาง ทักษะ/ ทางคณิตศาสตร์ผ่านเกณฑ์
คณิตศาสตร์ผู้เรียน กระบวนการทาง ประเมินเฉลี่ยในระดับ 2
คณิตศาสตร์ คะแนนขึ้นไป

แบบฝึ กหัดเสริมทักษะ
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลัง

ชื่อ-
สกุล………………………………………………………………………………….ชั้น…
…...............เลขที่…………………...

คำชี้แจง ให้นักเรียนทำกิจกรรมตามที่กำหนดต่อไปนี้
1. หาค่าของเลขยกกำลังต่อไปนี้
1) 0 = ..............................................
5
2) 1159 = .............................................
3) (−1) = ............................................
15

4) −7 = ............................................
3

5) 8 = ............................................
3

6) (−4) = ............................................
3

7) 10 = ............................................
6

8) (1.2) = ............................................
3

()
4
1
=
9) 3 ............................................
10) (4 a ) = ............................................
2

2. เขียนจำนวนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปเลขยกกำลัง
1) 1,000 = .........................................
2) 625 = .........................................
3) 81 = .........................................
4) -125 = .........................................
5) -100,000 = .........................................
6) - 0.027 = .........................................
7) 0.64 = .........................................
8) - 32 = .........................................
9) - 243 = .........................................
81
10) 16 = .........................................
เฉลยแบบฝึ กหัดเสริมทักษะ
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลัง

ชื่อ-
สกุล………………………………………………………………………………….ชั้น…
…...............เลขที่…………………...

คำชี้แจง ให้นักเรียนทำกิจกรรมตามที่กำหนดต่อไปนี้
1. หาค่าของเลขยกกำลังต่อไปนี้
1) 0 = 0
5

2) 1159 =1
3) (−1) = -1
15

4) −7 = -343
3

5) 8 = 512
3

6) (−4) = -64
3

7) 10 = 1,000,000
6

8) (1.2) = 1.728
3

()
4
1
= 1
9) 3 81
2
10) (4 a ) = 16a
2

2. เขียนจำนวนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปเลขยกกำลัง
3
1) 1,000 = 10
4 4
2) 625 = 5 หรือ (-5)
4 4
3) 81 = 3 หรือ (-3)
3
4) -125 = (-5)
5
5) -100,000 = (-10)
3
6) - 0.027 = (-0.3)
2
7) 0.64 = (0.8)
5
8) - 32 = (-2)
5
9) - 243 = (-3)
81
()
4
3
10) 16 = 2

You might also like