วิชาประวัติศาสตร์สงครามสากล สัปดาห์แรก

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 36

วิชาประวัตศิ าสตร์ การสงครามสากล

MS 3002

กองวิชาประวัติศาสตร์ การสงคราม
ส่ วนวิชาทหาร
โรงเรียนนายร้ อยพระจุลจอมเกล้า
ความม่ ุงหมายการศึกษา บิดา= เดลบูรคก์
1. แนวคิด การกระทา ของคนสมัยโบราณ
2. เล่ ห์กล บทเรียนจากการรบ(ซ้ารอยเสมอ)
3. รู้อดีต รู้ปัจจุบนั รู้อนาคต
4. ลักษณะของสงคราม(ห้ องทดลองและการพัฒนาเทคโนโลยี)
5. ภาพรวมวิชาทหาร
หลักการศึกษาประวัตศิ าสตร์ การสงคราม
การศึกษา มีความจาเป็ นต่ อนายทหารอย่ างมาก ศึกษารู ปแบบซึ่งกันและกัน
เ ช่ น -พระเจ้ าเฟรดเดอริกมหาราช -นโปเลียน - กูเดเรียน -รอมเมล - แมคอาเธอร์
เพราะว่ า กลยุทธ และแบบอย่าง สามารถนามาประยุกต์ ใช้ ในสมัย
ของตน ( บทเรียน แนวคิด )
การพัฒนาสงคราม
- สงครามโลกครั้งที่ 1 (สงครามสนามเพลาะ) - สงครามโลกครั้งที่ 2 ( สงครามสายฟ้าแลบ )
- เจงกิสข่ าน เป็ นต้ นแบบให้ นโปเลียน , รอมเมล ได้ ศึกษา
- ถ. และ บ. สื บทอดมาจาก ทหารม้ ามองโกล
( ความรวดเร็ว , ความคล่ องแคล่ ว , จู่โจม )
การแบ่ งยุคประวัติศาสตร์
ยุคที่ 1 10,000 ปี ก่อน ค.ศ . ถึง 700 - 500 ปี ก่อน ค.ศ.
คือ อัสซีเรีย บาบิโลนเนีย อียปิ ต์ เรียก ชาติโบราณ
ยุคที่ 2 700 - 500 ปี ก่อน ค.ศ. ถึงประมาณ ค.ศ. 1,000 - 1,100
กรีก รบชนะชาติโบราณ เป็ นมหาอานาจ
โรมัน รบชนะ กรีก เป็ นมหาอานาจแทน
กรีก + โรมัน ชนชั้นคลาสสิ ก
ยุคที่ 3 ค.ศ. 1,000 - 1,100 จนถึงปัจุบัน มีชนชาติ 2 เผ่า
-เยอรมัน ตอนเหนือยุโรป
- สลาฟ ตะวันออกยุโรป เรียกชนชาติใหม่
การเลือกสงครามเพื่อศึกษา
ยุคก่ อนสมัยจักรพรรดินโปเลียน ได้แก่เรื่ อง Alexander the Great
Hannibal , Julius Caesar , Genghis Khan , Frederick the Great
ยุคสมัยจักรพรรดินโปเลียน ในพืน้ ทีก่ ารยุทธที่
Ulm - Austerlitz - Wagram - Waterloo หลักการสงคราม
รุก - รวม - คล่ อง - จู่ - รับ
ยุคหลังสมัยจักรพรรดินโปเลียน
World War 1 - 2 , Korea War,
Persian Gulf War
ประวัติศาสตร์ ทหาร
เป็ นประวัตเิ กีย่ วกับกิจการทหารทั้งใน
ยามปกติและยามสงคราม ครอบคลุม
เนื้อหาประวัตศิ าสตร์ การสงคราม

ประวัตศิ าสตร์ การสงคราม


คือเรื่ องราวของสงครามในอดีตที่
กล่าวถึงการสงครามาของฝ่ ายต่ างๆ
ที่เป็ นคู่สงคราม
การเขียนประวัตศิ าสตร์ การสงคราม 2 ทาง
1. แม่ ทัพนายกองและผู้มโี อกาสไปร่ วมสงคราม
เชื่ อถือได้ ระดับหนึ่งเท่ านั้น
2. ค้ นคว้ารวบรวมจาก บทความ หนังสื อ เอกสาร
จุดมุ่งหมายและรูปแบบแตกต่ างกัน
“ฟังหู ไว้หู”
หัวข้ อศึกษา
1. สาเหตุสงคราม
2. ภูมปิ ระเทศ
3. แผนการรบของทั้ง 2 ฝ่ าย
4. กาลัง การวางกาลัง รูปขบวนรบ 2 ฝ่ าย
5. การปฏิบตั ิการรบของทั้ง 2 ฝ่ าย
6. ผลของสงคราม
7. บทเรียนจากการรบ
8. วิเคราะห์ การรบ
หัวข้ อวิเคราะห์ ยึด
1.หลักการสงครามไทย 10 ประการ
2.หลักอานาจกาลังรบ
** กาลังมีตวั ตน คน อาวุธ ภูมปิ ระเทศ
** กาลังไม่ มตี วั ตน ขวัญ ลมฟ้ าอากาศ
3. หลักการปฏิบตั กิ ารรบ
**การสงครามแบบ รุ ก รับ ร่ นถอย
** การรบนอกแบบ
ฯลฯ
ชีวประวัติผู้นาทัพที่มชี ื่ อเสี ยง
:1. ซุ นจื่อ(ซุ นวู้) ปรมาจารย์ ตาราพิชัยสงครามเก่ าแก่ ที่สุดในโลก
2. อเล็กซานเดอร์ มหาราช จอมทัพผู้ไม่ เคยแพ้ใคร
3. ฮันนิบาล เจ้ ากลยุทธแห่ งคาร์ เธจ
4. จูเลียส ซีซ่าร์ จอมทัพแห่ งโรม
5. เจงกิสข่ าน จักรพรรดิ เอเซียผู้พชิ ิตยุโรป
6. สมเด็จพระนเรศวรมหาราช จอมทัพเจ้ ากลยุทธกรุ งศรีอยุธยา ฮันนิบาล
7. เฟรดเดอริกมหาราช เจ้ ายุทธศาสตร์ เส้ นในยุโรป
8. สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก เจ้ ายุทธศาตร์ เส้ นในรัตนโกสิ นทร์
9. นโปเลียน จักรพรรดิ์จอมยุทธแห่ งฝรั่งเศส
10. เคล้ าเซวิทซ์ บิดาสงครามทางบก 11. มาฮาน บิดาสงครามทางเรื อ
12. ดูเอ้ ท์ และมืทเชลล์ ( US ) การใชกาลังทางอากาศ

ดูเอ้ ท์ + มิทเชลล์ + มาฮาน สงครามปรมาณู


ความรู้ พื้นฐานที่จาเป็ น
-หลักการสงคราม 10 ประการ
(มุ่ง-รุ ก-รวม-ออม-กล-เอก-ระวัง-จู่-ง่ าย-เบ็ด)
-ความหมายของศัพท์ เช่ น กลยุทธเส้ นใน -เส้ นนอก
การยุทธบรรจบ จุดศูนย์ ดุล จุดแตกหัก จุดผกผัน ฯลฯ
- รูปแบบดาเนินกลยุทธ
- ยุทธศาสตร์ ยุทธวิธี
ศัพท์
-จุดศูนย์ ดุล = หัวใจฝ่ ายตรงข้ าม
เมื่อถูกทาลายทาให้ พ่ายแพ้เสี ยเปรียบ
แหล่งพลังงาน - ผบ.หน่ วย - เรด้ าร์
- ขีปนาวุธ - เมืองหลวง
- จุดแตกหัก = ระดับยุทธศาตร์ เรียกว่ า จุดแตกหัก
ระดับยุทธวิธี = ภูมปิ ระเทศสาคัญ
- จุดผกผัน = หน่ วยเคลื่อนทีร่ ุกมีความเร็ว = 0 ?
รูปแบบดาเนินกลยุทธ
( รส. 100 - 1 ถึง 4 ว่ าด้ วยหลักนิยม ปี 39 )
1. การเข้ าตีตรงหน้ า
2. การเจาะ
3. การโอบ
4. การตีตลบ
5. การแทรกซึม
การดาเนินกลยุทธทางยุทธศาสตร์ และยุทธวิธี
ยุทธบริเวณ

ข้าศึก

การโอบทางยุทธวิธี

การโอบทางยุทธศาสตร์
การเจาะแนว
ที่หมาย

แนวที่มั่นข้ าศึก

การเข้ าตีหลัก การเข้ าตีรอง (ตรึง)


กองหนุน ทาการขยายผลเมื่อเจาะแนวได้
กลยุทธทางยุทธวิธี กลยุทธทางยุทธศาสตร์
การโอบ
การตีตลบ

เส้ นทางคมนาคม ของข้าศึก


ที่ต้งั กาลังข้ าศึก ที่ต้งั กาลังข้ าศึก

การเข้ าตีหลัก
การเข้ าตีรอง การเข้ าตีรอง
การรวมกาลัง
ก่ อนถึงยุทธบริเวณ
ในยุทธบริเวณ

ข้ าศึก ข้ าศึก
การตั้งรับเคลื่อนทีห่ รื อทางลึก
พืน้ ที่สาคัญต้ องป้องกัน

กองหนุนทั่วไป
กองหนุนในพืน้ ที่

กาลังตั้งรับในพืน้ ที่

กาลังคุ้มกัน / กองระวังป้องกัน

ทิศทางโจมตีของข้ าศึก
การตั้งรับอยู่กบั ที่

พืน้ ที่สาคัญต้ องป้องกัน

กาลังตั้งรับ

ทิศทางโจมตีของข้ าศึก
ที่ต้งั กาลัง
การยุทธทางเส้ นนอก

การยุทธทางเส้ นใน

ที่ต้งั กาลัง

กลยุทธทางเส้ นใน และ กลยุทธทางเส้ นนอก (การตีบรรจบ)


ยุทธศาสตร์ 2 ระดับ
ยุทธศาสตร์ ชาติ คือ ศิลป และศาสตร์ ในการพัฒนาและการใช้ พลัง
อานาจของชาติ เพื่อให้ บรรลุถึงความประสงค์ ของชาติ
ยุทธศาสตร์ ทหาร คือ ศิลป และศาสตร์ ในการใช้ พลังอานาจของชาติ
เพื่อให้ บรรลุวัตถุประสงค์ หรื อเป้ าหมายที่บ่งไว้ ในนโยบายแห่งชาติด้วยการใช้
พลังอานาจทางทหารเข้าดาเนินการ
พลังอานาจชาติ = การเมือง สั งคม เศรษฐกิจ การทหาร
วิทยาศาสตร์ และเทคโน ฯ
ยุทธวิธี คือ การใช้ หน่ วยทหารทาการรบเพื่อให้ ไดัชัยชนะ
ซุน-วู้
“ การรณรงค์ สงครามเป็ น
งานใหญ่ ของประเทศ ”
ผู้วางแผนจะต้ องพินิจพิเคราะห์
ให้ จงหนักถึงปัจจัย 5 ข้ อ คือ
ธรรม ลมฟ้าอากาศ
ภูมปิ ระเทศ ขุนพล
และ ระเบียบวินัย
หลักการสงครามเบื้องต้ น
ซุนวู้ 13 บรรพ
1. การวางแผน 2. การดาเนินสงคราม 3. ยุทโธบาย
4. ลักษณะการยุทธ 5. ยุทธานุภาพ 6. ความตื้นลึก
หนาบาง 7. การสั ประยุทธยิงชัย 8. นานาวิการ
9. การเดินทัพ 10. ลักษณะพื้นภฺมิ 11. นวภูมิ
12. พิฆาตด้ วยเพลิง
13. การใช้ จารชน
ยุทธศาสตร์ คือ ต้ องว่าด้ วยเล่ ย์เหลีย่ มแต้ มขู่
ซุนวู้ ยุทธศาสตร์ แห่ งชัยชนะ
**หลีกเมื่อข้าศึกแกร่ ง
**รังควานเมื่อข้ าศึกพัก
**ตอกลิม่ เมื่อเห็นรอยแตกสามัคคี
**การรบแม้ ผ้ เู ขลาก็ต้องการความรวดเร็ว
**ชนะโดยไม่ ต้องรบถือว่ าวิเศษยิง่
รู้ เขา รู้ เรา รบ 100 ครั้งชนะ 100 ครั้ง
( ต้ องมีความเป็ นเบีย้ บนด้ วย )
**ระบียบ หรื อ วุ่นวาย เป็ นเรื่ องของการจัด
** กลัว หรื อกล้ า เป็ นเรื่ องความได้ เปรียบเสี ยเปรียบ
ยุทธวิธีแห่ งชัยชนะ
ผู้ชานาญการตั้งรับ เหมือนซ่ อนเร้ นอยู่ใต้ บาดาลชั้นเก้ า
ผู้ชานาญการรุ ก เหมือนไหวตัวอยู่บนฟากฟ้ าชั้นเก้ า
คุมทัพในภูเขา เราต้ องตั้งทัพในที่สูง
คุมทัพในลาน้าหรื อที่ล่ มุ อย่ ารบในลาน้าหรื อในที่ล่ มุ
คุมทัพในที่ราบ เบื้องหน้ าเป็ นแดนตาย ( น้า , ที่ล่ มุ ,หุบเหว )
เบื้องหลังเป็ นแดน เป็ น ( คมนาคมสะดวก )
ที่ต้งั จึงต้ องอยู่ในที่สูง
คุมทัพในที่ทุรกันดาร ที่ทุรกันดารต้ องอยู่หลังข้ าศึก ( ทุรกันดาร = หุบ , ห้ วย , เหว , บึง )
เมื่อสองทัพประชิดกัน ขศ. สงบ ข้ าศึกได้ เปรียบภูมปิ ระเทศ
ขศ.เริ่มยิงแต่ ไกล คือ ขศ.ต้ องการให้ เรารุก
ข้ าศึกตั้งทัพไว้ ง่ายต่ อการเข้ าตี เขาใช้ วธิ ีลวง
ยุทธศิลปแห่ งชัยชนะ
ยุทธ = สงคราม การรบพุ่ง การต่ อสู้
ศิลป = การแสดงออกให้ ปรากฏขึน้ ได้
อย่ างงดงามน่ าพึงชม และเกิดอารมณ์ สะเทือนใจ
- สงครามทุกแห่ งจะชนะกันได้ ด้วยวิธีพลิกแพลง
ยุทธวิธี คือ เป็ นไปตามหลัก รุ ก รับ ร่ นถอย
ยุทธวิธีพลิกแพลง คือ ยุทธศิลป ไม่ มีหลักเกณฑ์ ตายตัว รุ ก รับ ร่ นถอย
ปฏิบัติให้ เหมาะสมกับการผันแปรของ ข้าศึก + ภูมิประเทศ + เหตุการณ์ ณ์ ลมฟ้ า
อากาศ
- ไม่ อบั จน ไม่ สิ้นสุ ด เหมือนน้าหารู ปลักษณ์ ไม่ ได้ แม่ น้าไหลริน
ตะวันขึน้ แล้วตก ( การศึกไม่ มีหลักเกณฑ์ ตายตัว )
ยุทธวิธีและยุทธศิลปต้ องเกื้อกลู กัน
- การรบธรรมดา และการรบพลิกแพลง จึงต้ องเกื้อกูลกัน เหมือนโซ่ ติดกันเป็ นพืด
หาข้ อขั้นต้ นข้ อสุ ดท้ ายมิได้ การเปลี่ยนแปรของวิธีการทั้ง 2 มิรู้ จบ
- สงครามตามแบบ ย่ อมมีอาวุธเครื่ องช่ วยรบใหม่ ๆ เกิดขึน้ เรื่ อยเพื่อพลิกแพลงไปให้ มาก
- สงครามนอกแบบ สงครามเย็น สงครามประชาชน สงครามกองโจร
สงครามรักษาหมู่บ้าน คิดทาทุกอย่ างทั้งเย็นและร้ อนเพื่อให้ ได้ ชัยชนะ
- สงครามตามแบบ และ สงครามนอกแบบ จึงต้ องผสมผสาน
เกือ้ กูลกัน ให้ แปรเปลีย่ นไปได้ ไม่ ร้ ู จบ
- อาวุธ พลังงานต่ าง ๆ
เครื่ องช่ วยรบ ก็ต้ังแต่ บนดิน มุดนา้
มุดดิน ไปถึงท่ องไปในฟ้าถึงดวงดาว
สถานที่รบจะไม่ แย้ มพราย
ข้ าศึกมากหลายก็ทาให้ หมดกาลังใจสู้ ได้
วิธีแบ่ งกาลังข้ าศึก ให้ รักษาหลายแห่ ง และให้ อ่อนกาลัง
คิดระวังหน้ า กาลังหลังจะน้ อย
คิดระวังหลัง กาลังหน้ าจะน้ อย
คิดระวังทางซ้ าย กาลังทางขวาก็จะน้ อย
คิดระวังทางขวา กาลังทางซ้ ายก็จะน้ อย
คิดระวังทุกแห่ ง ทุกแห่ งก็จะน้ อย
รู้ สถานที่ วัน เวลา จะรบเราก็สามารถไปสู่ ชัยชนะได้
- จะชนะข้ าศึกด้ วยการกลิง้ หินกระทบไข่
- นา้ ไหลจากทีส่ ู งลงสู่ ทตี่ ่า หลีกที่แข็งเข้ าสู่ ทอี่ ่อน
ก็จะไหลไปได้ ตลอด ( ยุทธวิธี )
- จะรู้ข้าศึกได้ ด้วยการสอดแนม รู้จักการเคลื่อนไหวของ
ข้ าศึก และการล่ อการลวงให้ หลงกล ( ข่ าว + เล่ ห์กล )
- การลวง ทาอหังการ ทาสงบ แยกกาลังไปปี กและหลัง
กาลังรบมิใช่ จานวน
- แต่ อยู่ทรี่ ู้ จกั รวมกาลัง และกระจายกาลัง ให้ รบตรงทีอ่ ่ อนได้ กพ็ อแล้ ว
- คุมทัพไร้ ความคิด หมิน่ ข้ าศึก ก็คือตกเป็ นเชลย
- มีคนน้ อย แต่ ความรู้ มาก ขวัญดีมาก ร่ างกายแข็งแรงมาก
อาวุธสมรรถภาพมาก เครื่ องช่ วยรบสมรรถภาพมาก
ผู้นามีค่าสู ง(หิน)
- ตรงทีแ่ ตก คือตรงจุดอ่ อนข้ าศึก คือต้ องใช้ นา้ หนักเข้ าตรง
จุดอ่ อน ( จุดอ่ อนตรงข้ ามนา้ หนัก )
( จึงเหมือนกลิง้ หิน เข้ าไปในไข่ (แตกทุกที ))
เวลา
การท าการหรื อ การเข้ า ตี
เป็ นเรื่ องสาคัญทีส่ ุ ด เปรียบเหมือนเหยีย่ วพุ่งเข้ า
โฉบเหยื่อการเคลื่อนไหวหรื อการเคลื่อนทีข่ องเหยื่อต้ องพบกัน
พอดี เหยีย่ วจึงจะโฉบเหยื่อได้ ( ในอากาศ ) ตรงจุดอ่ อน
ถ้ าฝ่ ายใดเร็วหรื อช้ าไปเล็กน้ อย อาจพบจุดแข็ง
ผู้ชานาญการศึก เปรียบ
เหมือนไสว้ หย่ าน อสรพิษ
แห่ งหุบเขาฉางซาน เมื่อถูก
ตีกลางตัว หัวและหางจะ
ตลบถึงกันทั้งสองข้ าง
หลักการสงครามไทย
การเปรียบเทียบหลักการสงครามชาติมหาอานาจ
สหรัฐ ออสเตรเลีย โซเวียต ฝรั่งเศส จีน
มุ่งหมาย เลือกและดารงเป้ าหมาย รุกและเสริมความมัน่ คง - เลือกและดารงเป้ าหมาย
รุก รุก รุก - -
รวมกาลัง รวมกาลัง รวมกาลัง รวมกาลัง รวมกาลัง
ออมกาลัง ออมกาลัง ออมกาลัง - -
กลยุทธ อ่ อนตัว กลยุทธริเริ่ม - อ่ อนตัวริเริ่ม
เอกภาพ ร่ วมมือ รบผสมเหล่ า - การประสาน
ระวังป้ องกัน ระวังป้ องกัน กองหนุนพอเพียง - ระวังป้ องกัน
จู่โจม จู่โจม จู่โจมและลวง จู่โจม จู่โจม
ง่ าย รักษาขวัญ ขวัญ เสรี ขวัญ
สน. จาก ปชช. การธุรการ ทาลายล้ าง - คล่ องแคล่ ว
การเปรียบเทียบวิวฒ
ั นาการของหลักการสงครามของไทยและต่ างประเทศ
พ.ศ. ค.ศ. หลักการสงครามสากล กองทัพไทย
ตาราพิชัยสงคราม ถึง หลักการสงคราม
43 -500 ตาราพิชัยสงครามซุนวู้
เป็ นตาราพิชัยสงครามที่เก่ าแก่ ที่สุดในโลก
2041 1498 __________________ ตาราพิชัยสงคราม
( สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 )
2315 1772 แปล ซุนวู้ เป็ นภาษาฝรั่ง
2345 1802 __________________ ( แปลสามก๊ ก (พระยาพระคลัง )
2355 1812 หลักการสงครามสงคราม
ของ ( เคล้ าเซวิทซ์ )
2358 1815 __________________ ( ตาราพิชัยสงครามฉบับหลวง รัชกาลที่ 3 )
2374 1831 แปลสู ตรการสงคราม
นโปเลียน ภาษาอังกฤษ
2453 1910 แปล ซุนวู้เป็ นภาษาอังกฤษ
( ลีโอเนลส์ กีลส์ )
2455 1912 หลักการสงคราม 6 ข้ อ ของฟูลเลอร์
2457 1914 __________________ หัวข้ อยุทธวิธีทั่วไป ( 2457 - 2458 )
หลักการสงคราม 2 ประการ
โดยกรมหลวงพิษณุโลกประชานารถ ฯ
2458 1915 หลักการสงคราม 8 ข้ อ ของฟูลเลอร์
2463 1920 กองทัพอังกฤษนาหลักการฯของ
ฟูลเลอร์ ไปใช้
2464 1921 กองทัพสหรัฐนาหลักการฯของ
ฟูลเลอร์ ไปใช้
2470 1927 __________________ ตารายุทธศาสตร์ ของกรมยุทธการทหารบก
พ.ท.พระศรีสิทธิสงคราม, พ.ต. พระสงครามภักดี
2480 1937 __________________ ยุทธศาสตร์ ว่าด้ วยหลักการนาทัพจากหลักการ
สงคราม 7 ประการ ( อังกฤษ)
โดย พ.อ.พระสงครามภักดี
2492 1949 __________________ หลักการสงคราม 9 ประการ ( ของสหรัฐฯ)
2495 1952 __________________ แปล ซุนวู้เป็ นภาษาไทย โดย เสถียร วีรกุล
2535 1982 __________________ หลักการสงคราม 10 ประการ ( แนวสหรัฐ )
( เพิม่ การต่ อสู้ เบ็ดเสร็จ เป็ นข้ อ 10 )
การศึกษาหลักการสงคราม
การฝึ กความคิดหรื อสติปัญญาของนายทหาร คิดและปฏิบตั ิ
ความรู้ ที่ได้ รับ 3 ลักษณะ รู้
รู้ และเข้ าใจ
**ศึกษาทีล่ ะหลักและเหตุผล (ระดับ นนร.)

รู้ แจ้ งเห็นจริง


สนับสนุน
**ปัจจัยแห่ งชัยชนะ
พบกันสัปดาห์ หน้ า
ให้ นนร.อ่านพระเจ้ าอเล็กซานเดอร์ มหาราชมาก่ อน

You might also like