Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 3

ขาวที่ ๒๑/๒๕๖๖

วันพุธที่ ๑๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๖

วันนี้ ศาลรัฐธรรมนูญประชุมปรึกษาคดี จํานวน ๗ เรื่อง มีคดีที่สําคัญและเปนที่สนใจ ดังนี้

(๑) นายธีรยุทธ สุวรรณเกษร (ผูรอง) ขอใหศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๔๙


(เรื่องพิจารณาที่ ๑๙/๒๕๖๖)
นายธี รยุ ท ธ สุ ว รรณเกษร (ผู ร อง) ขอให ศ าลรั ฐ ธรรมนู ญ พิ จ ารณาวิ นิ จ ฉั ย ตามรั ฐ ธรรมนู ญ
มาตรา ๔๙ วา การกระทําของนายพิธา ลิ้มเจริญรัตน หัวหนาพรรคกาวไกล (ผูถูกรองที่ ๑) และพรรคกาวไกล
(ผูถูกรองที่ ๒) ที่เสนอรางพระราชบัญญัติแกไขเพิม่ เติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... เพื่อยกเลิกประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา ๑๑๒ โดยใช เป นนโยบายในการหาเสี ยงเลื อกตั้ ง และยั งคงดํ าเนิ นการอย า งต อเนื่ อ ง
เป นการใช สิ ทธิ หรื อเสรี ภาพเพื่ อล มล างการปกครองระบอบประชาธิ ปไตยอั นมี พระมหากษั ตริ ย ทรงเป นประมุ ข
ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๔๙ วรรคหนึ่ง หรือไม
ผลการพิจารณา
ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาแลวเห็นวา ขอเท็จจริงตามคํารองและเอกสารประกอบคํารองเปนกรณีที่ผู
รองขอใหศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวา การกระทําของผูถูกรองทั้งสองเปนการใชสิทธิหรือเสรีภาพลมลางการปกครอง
ระบอบประชาธิ ปไตยอั นมี พระมหากษั ตริย ทรงเป นประมุ ขตามรัฐธรรมนู ญ มาตรา ๔๙ หรื อไม ซึ่ งผู ร องได ยื่ น
คํ า ร องต ออั ย การสู งสุ ดเพื่ อร อ งขอให ศาลรั ฐ ธรรมนู ญ วิ นิ จ ฉั ยตามรั ฐ ธรรมนู ญ มาตรา ๔๙ วรรคสอง แล ว
แต อัยการสูงสุดมิไดดําเนินการตามที่รองขอภายในสิบหาวันนับแตวันที่ไดรับคํารองขอ กรณีเปนไปตามรัฐธรรมนูญ
มาตรา ๔๙ วรรคสาม ที่ผูรองจะยื่นคํารองโดยตรงตอศาลรัฐธรรมนูญได จึงมีคําสั่งรับคํารองนี้ไวพิจารณาวินิจฉัย
ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๗ (๓) แจงให
ผูรองทราบ และใหผูถูกรองทั้งสองยื่นคําชี้แจงแกขอกลาวหาตอศาลรัฐธรรมนูญภายในสิบหาวันนับแตวันที่ไดรับสําเนา
คํารองตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๕๔
และเพื่อประโยชนแกการพิจารณา แจงอัยการสูงสุดวาหากอัยการสูงสุดไดรับ พยานหลักฐานใดเพิ่มเติม ใหจัดสง
ศาลรัฐธรรมนูญโดยเร็ว
-๒-

(๒) พระราชบั ญ ญั ติ ป ระกอบรั ฐ ธรรมนู ญ ว า ด ว ยการป อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต


พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๙๘ วรรคหนึ่ ง และวรรคสาม มาตรา ๙๙ และมาตรา ๑๐๑ ขั ด หรื อ แย ง
ต อรั ฐธรรมนูญ มาตรา ๒๖ และมาตรา ๒๗ วรรคหนึ่ งและวรรคห า หรือไม (เรื่องพิจารณาที่ ๔/๒๕๖๖)
ศาลปกครองกลางส ง คํ า โต แ ย ง ของผู ฟ อ งคดี (นายทศพร สุ ว านิ ช ) ในคดี ห มายเลขดํ า ที่
บ . ๒ ๙ ๐ /๒ ๕ ๖ ๔ เพื่ อ ขอใ ห ศ า ลรั ฐ ธรร ม นู ญ พิ จ าร ณาวิ นิ จฉั ย ตาม รั ฐ ธ รร ม นู ญ ม าต รา ๒ ๑ ๒
ว า พระราชบั ญ ญั ติ ป ระกอบรั ฐ ธรรมนู ญ ว า ด ว ยการป อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต พ.ศ. ๒๕๖๑
มาตรา ๙๘ วรรคหนึ่ ง และวรรคสาม มาตรา ๙๙ และมาตรา ๑๐๑ ขั ด หรื อ แย ง ต อ รั ฐ ธรรมนู ญ
มาตรา ๒๖ และมาตรา ๒๗ วรรคหนึ่งและวรรคหา หรือไม
ผลการพิจารณา
ศาลรั ฐ ธรรมนู ญ อภิ ป รายเพื่ อ นํ า สู ก ารวิ นิ จ ฉั ย แล ว เห็ น ว า คดี เ ป น ป ญ หาข อ กฎหมายและ
มี พ ยานหลั ก ฐานเพี ย งพอที่ จ ะพิ จ ารณาวิ นิ จ ฉั ย ได จึ ง ยุติ ก ารไต ส วนตามพระราชบั ญญั ติ ป ระกอบรั ฐธรรมนู ญ
ว า ด ว ยวิ ธี พิ จ ารณาของศาลรั ฐ ธรรมนู ญ พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๕๘ วรรคหนึ่ ง กํ า หนดนั ด แถลงด วยวาจา
ปรึกษาหารือ และลงมติในวันพุธที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๖ เวลา ๐๙.๓๐ นาฬิกา
(๓) พระราชบั ญ ญั ติ ป ระกอบรั ฐ ธรรมนู ญ ว า ด ว ยการป อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต
พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๙๘ วรรคหนึ่ง ขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ มาตรา ๒๖ มาตรา ๒๗ วรรคหนึ่งและ
วรรคสาม และมาตรา ๒๙ วรรคสอง หรือไม (เรื่องพิจารณาที่ ๙/๒๕๖๖)
ศาลปกครองอุดรธานีสงคําโตแยงของผูฟองคดี (นายกอกษาปณ อุปถัมภ) ในคดีหมายเลขดําที่ บ.
๔๑/๒๕๖๕ เพื่อขอใหศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๒๑๒ วา พระราชบัญญัติประกอบ
รั ฐธรรมนูญ ว าด วยการป องกั นและปราบปรามการทุ จ ริ ต พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๙๘ วรรคหนึ่ ง ขั ดหรือ แย ง
ตอรัฐธรรมนูญ มาตรา ๒๖ มาตรา ๒๗ วรรคหนึ่งและวรรคสาม และมาตรา ๒๙ วรรคสอง หรือไม
ผลการพิจารณา
ศาลรั ฐ ธรรมนู ญ อภิ ป รายเพื่ อ นํ า ไปสู ก ารวิ นิ จ ฉั ย แล ว เห็ น วา คดี เ ป น ป ญ หาข อ กฎหมายและ
มี พ ยานหลั ก ฐานเพี ย งพอที่ จ ะพิ จ ารณาวินิจ ฉั ย ได จึ ง ยุติก ารไตส วนตามพระราชบั ญ ญั ติป ระกอบรั ฐ ธรรมนู ญ
ว า ด ว ยวิ ธีพิ จ ารณาของศาลรัฐ ธรรมนู ญ พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๕๘ วรรคหนึ่ ง กํ า หนดนั ดแถลงด วยวาจา
ปรึกษาหารือ และลงมติในวันพุธที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๖ เวลา ๐๙.๓๐ นาฬิกา
(๔) ประธานสภาผู แ ทนราษฎรส ง คํ า ร อ งขอให ศ าลรั ฐ ธรรมนู ญ วิ นิ จ ฉั ย ตามรั ฐ ธรรมนู ญ
มาตรา ๑๗๐ วรรคสาม ประกอบมาตรา ๘๒ ว า ความเป น รั ฐ มนตรี ข องนายศั ก ดิ์ ส ยาม ชิ ด ชอบ
รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม สิ้นสุดลงเฉพาะตัวตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๑๗๐ วรรคหนึ่ง (๕) ประกอบ
มาตรา ๑๘๗ หรือไม (เรื่องพิจารณาที่ ๘/๒๕๖๖)
-๓-

สมาชิกสภาผูแทนราษฎร จํานวน ๕๔ คน ยื่นคํารองตอประธานสภาผูแทนราษฎร (ผูรอง) วา


นายศักดิ์สยาม ชิดชอบ รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม (ผูถูกรอง) ยังคงไวซึ่งหุนสวนและยังคงเปนผูถือหุน
และเจ า ของห า งหุ น สว นจํ า กั ด บุ รี เ จริ ญคอนสตรัคชั่น อยา งแท จ ริ ง ซึ่ ง จะทํ า ให ผู ถู ก ร องเข า ไปเกี่ ย วข อ งกั บ
การบริหารจัดการหุนหรือกิจการของหางหุนสวน เปนการกระทําอันเปนการตองหามตามรัฐธรรมนูญมาตรา ๑๘๗
ประกอบพระราชบัญ ญัติก ารจั ดการหุนสว นและหุนของรัฐ มนตรี พ.ศ. ๒๕๔๓ มาตรา ๔ (๑) เปนเหตุใ ห
ความเป น รั ฐ มนตรี ข องผู ถู ก ร อ งสิ้ น สุ ดลงเฉพาะตั ว ตามรั ฐ ธรรมนู ญ มาตรา ๑๗๐ วรรคหนึ่ ง (๕) หรื อ ไม
ผูรองจึงสงคํารองเพื่อขอใหศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๑๗๐ วรรคสาม ประกอบมาตรา ๘๒
และศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาขอเท็จจริงตามคํารองและเอกสารประกอบคํารองแลวมีคําสั่งรับคํารองนี้ไวพิจารณา
วินิจฉัยและสั่งใหผูถูกรองหยุดปฏิบัติหนาที่รัฐมนตรีตั้งแตวันที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๖ จนกวาศาลรัฐธรรมนูญ จะมี
คําวินิจฉัย
ผลการพิจารณา
ศาลรั ฐ ธรรมนู ญ อภิป รายเพื่ อ นํ า ไปสู ก ารวิ นิ จ ฉั ย แล ว เห็ น ว า เพื่ อ ประโยชน แ ห ง การพิ จ ารณา
ใหบุคคลที่เกี่ยวของจัดสงเอกสารหลักฐานเพิ่มเติมตอศาลรัฐธรรมนูญ

อนึ่ง วันนี้เวลา ๑๕.๑๕ นาฬิกา คณะกรรมการการเลือกตั้ง (ผูรอง) ยื่นคํารองฉบับลงวันที่ ๑๒


กรกฎาคม ๒๕๖๖ พรอมเอกสารประกอบคํารอง เพื่อขอใหศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๘๒
วา สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของนายพิธา ลิ้มเจริญรัตน สิ้นสุดลงตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๑๐๑ (๖)
ประกอบมาตรา ๙๘ (๓) หรือไม ซึ่ง สํานักงานศาลรัฐธรรมนูญ ลงรับ คํา รองในทางธุรการแลว จะไดนํา เสนอ
คํา รองดั งกลา วตอศาลรัฐธรรมนูญเพื่อ พิจ ารณาตามพระราชบัญ ญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดว ยวิธีพิจารณาของ
ศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๔๙ ตอไป

You might also like