Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 34

รักตัวเองรักโลกไปกับ

สารทาความเย็น R32
1.คุณสมบัติทวไปของสารท
ั่ าความเย็น R-32
ไม่มคี วามแตกต่างในทางนัยของคุณสมบัตทิ างเทคนิคระหว่างเครือ่ งปรับอากาศ
ทีใ่ ช้สารทาความเย็น R32 กับ R410A แต่มคี วามแตกต่างในแง่ของแรงดัน และ
น้ามันคอมเพรสเซอร์ทใ่ี ช้กบั R32 และ R22

ท่อสารทาความเย็นประกอบด้วยท่อทองแดง / ท่อเหล็ก ข้อต่อ และฟิ ตติง้ อื่นๆ


ส่วนประกอบทัง้ หมดต้องถูกเลือกและติดตัง้ ให้ตรงตามมาตรฐานของข้อบังคับ
เกีย่ วกับความปลอดภัยของสารทาความเย็น
2
2. คุณสมบัติของสารทาความเย็น
•คุณสมบัตขิ องสารทาความเย็น R32
สรุปคุณสมบัตหิ ลักของสารทาความเย็น R32 ได้ดงั ตารางต่อไปนี้

3
2. คุณสมบัติของสารทาความเย็น (ต่อ)

สารติดไฟยาก
(A2L)

4
2. คุณสมบัติของสารทาความเย็น (ต่อ)
•ความสามารถในการติดไฟของ R32
R32 อาจลุกไหม้เล็กน้อย เมือ่ พบกับสภาวะทัง้ หมดดังต่อไปนี้ (สภาวะความเข้มข้นของก๊าซ
พลังงานในการจุดไฟ)
(สารติดไฟยาก) แต่ไม่มคี วามเสีย่ งภายใต้สภาวะการใช้งานปกติของอุปกรณ์เครือ่ งปรับอากาศ
และสภาพแวดล้อมในการทางาน

5
2. คุณสมบัติของสารทาความเย็น (ต่อ)

6
2. คุณสมบัติของสารทาความเย็น (ต่อ)
จากการทดลอง
จากการทดลอง ภาพต่อไปนี้แสดงให้เห็นปฏิกริ ยิ าของ R32 เมือ่ ติดไฟและลุกไหม้
ในสภาวะทีส่ ามารถติดไฟได้
[การเผาไหม้ของ R32 (การแพร่กระจายของเปลวไฟ)]

7
2. คุณสมบัติของสารทาความเย็น (ต่อ)
แม้วา่ R32 จะติดไฟ แต่ความเสีย่ งทีแ่ รงดัน (= แรงระเบิด) จะเพิม่ สูงขึน้ นัน้
มีน้อย เนื่องจากการแพร่กระจายของเปลวไฟเกิดขึน้ อย่างช้าๆ (ลุกไหม้ชา้ )
เมือ่ เกิดการรัวไหล
่ พืน้ ที่
[สภาพการเปลีย่ นแปลงของเปลวไฟเมือ่ R32 เกิดการรัวไหล]

บริเวณด้านใต้ของส่วนทีม่ กี าร
รัวไหล
่ จะมีความเข้มข้น
สูง และสูงถึงระดับเหนือพืน้
ในบริเวณทีใ่ กล้กบั การรัว่
ไหลภาพนี้แสดงสภาพการ
เปลีย่ นแปลงของเปลวไฟ
(การแพร่กระจายของเปลวไฟ)
จากการใช้ไฟแช็ค และหัวเชื่อมทีใ่ ช้ในการทางานทัวไป
่ ในการทดลองนี้แสดงให้เห็น
เปลวไฟทีแ่ พร่ขน้ึ ไปด้านบน แต่ไม่มกี ารแพร่ในแนวนอน และการแพร่ลงด้านล่าง ทัง้ นี้
เมือ่ เปลวไฟต้นเพลิงดับลงการแพร่กระจายทางด้านบนจะหยุดตาม
8
2. คุณสมบัติของสารทาความเย็น (ต่อ)
• การรลุกไหม้ของ R32 จะไม่เกิดขึน้ ภายใต้สภาวะการใช้งานปกติของเครือ่ งปรับอากาศ หรือใน
สภาพแวดล้อม การทางานตามปกติ อย่างไรก็ตาม ควรอยูห่ า่ งจากแหล่งกาเนิดไฟ (เปลวไฟทีไ่ ม่
มีกาบัง) เพือ่ ป้ องกันไม่ให้ R32 เกิดสภาวะความเข้มข้นทีจ่ ะเกิดการติดไฟ และเกิดการเผาไหม้
และช่วยลดความเสีย่ งของการลุกไหม้ แม้วา่ R32 มีโอกาสติดไฟได้น้อยก็ตาม
• ดังนัน้ ควรปฏิบตั ติ ามคาแนะนาต่อไปนี้โดยเคร่งครัดเมือ่ ใช้งาน R32 (และสาร CFC อื่นๆ)
• R32 (และสาร CFC อื่นๆ) มีน้าหนักมากกว่าอากาศ ดังนัน้ จึงมีแนวโน้มทีจ่ ะลอยอยู่ดา้ นล่าง
ใกล้ๆ พืน้ ห้อง หากก๊าซฟุ้งกระจายเต็มห้อง หรือพืน้ ทีส่ ว่ นล่างของห้อง อาจทาให้ผอู้ ยูใ่ นห้องเกิด
ภาวะขาดออกซิเจน ในกรณีของ R32 อาจสูงถึงระดับความเข้มข้นทีท่ าให้เกิดการลุกไหม้ได้
เพื่อป้ องกันการขาดออกซิเจนและป้ องกันการลุกไหม้ของ R32 ควรจัด
สภาพแวดล้อมในการทางานให้สามารถระบายอากาศได้ดี
โดยเฉพาะอย่างยิง่ การใช้ก๊าซในห้องใต้ดนิ หรือในพืน้ ทีจ่ ากัดจะทาให้มคี วามเสีย่ งเพิม่ ขึน้
จึงควรติดตัง้ ระบบระบายอากาศตามทีก่ ฎหมายกาหนด หากมีการรัวไหลของสารท ่ าความเย็นภายใน
ห้องหรือในสถานทีท่ ม่ี อี ากาศถ่ายเทไม่เพียงพอ ห้ามให้มกี ารใช้อุปกรณ์ทเ่ี กิดเปลวไฟในพืน้ ทีน่ นั ้ ๆ
จนกว่าจะมีการระบายอากาศทีด่ เี พียงพอ และสภาพแวดล้อมในการทางานได้รบั การปรับปรุงแล้ว
9
2. คุณสมบัติของสารทาความเย็น (ต่อ)
• การเชื่อม ควรจัดสภาพแวดล้อมในการทางานให้สามารถระบายอากาศได้ดี เพือ่ ป้ องกันการ
ขาดออกซิเจนและป้ องกันการลุกไหม้ของ R32 ตรวจสอบว่าไม่มวี ตั ถุอนั ตราย หรือวัตถุไวไฟ
อยูใ่ กล้เคียง และต้องมีอุปกรณ์ดบั เพลิงอยูใ่ กล้ในสภาพทีพ่ ร้อมใช้งาน
• หากก๊าซรัวออกมาสั
่ มผัสกับเปลวไฟทีไ่ ม่มกี าบัง หรือโลหะ (หรือวัสดุอ่นื ) จะทาให้เกิดความ
ร้อนสูงมากกว่า 300 ถึง 400ºC และทาให้เกิดการสลายตัวเนื่องจากความร้อน ซึง่ อาจทาให้
เกิดก๊าซพิษ ระวังอย่าปล่อยให้ก๊าซทีร่ วออกมาสั
ั่ มผัสกับวัตถุดงั กล่าว
(ก๊าซพิษไม่ได้เกิดขึน้ กับ R32 เท่านัน้ แต่ยงั เกิดขึน้ กับ R410A, R22 ฯลฯ ได้เช่นกัน)
• ติดตัง้ และซ่อมบารุงเครือ่ งปรับอากาศ โดยเว้นระยะห่างให้เพียงพอจากแหล่งกาเนิดไฟ (แหล่ง
จุดไฟ) เช่น อุปกรณ์ทม่ี กี ารเผาไหม้ก๊าซ และเครือ่ งทาความร้อนไฟฟ้ า

10
2. คุณสมบัติของสารทาความเย็น (ต่อ)
คุณลักษณะของถังเติมสารทาความเย็น
ชุดถังน้ ายาทาความเย็น พร้อมด้วยท่อสู บน้ ายาสารทาความเย็น
ควบคุมด้วยหัววาล์วซึ่งถูกระบุแสดงไว้บนป้าย label

• รู ปข้างบนเป็ นถังเติมสารทาความเย็นที่ใช้ใน ท่อสู บน้ ายา


ประเทศญี่ปุ่น ทาความเย็น
• ซึ่ งถังเติมสารทาความเย็นที่ใช้ในประเทศอื่นๆ
อาจมีรายละเอียดแตกต่างกันออกไป

11
2. คุณสมบัติของสารทาความเย็น (ต่อ)
คุณลักษณะของถังเติมสารทาความเย็น

การใช้งานถังบรรจุสารทาความเย็น
การเคลื่อนย้าย R32 ซึง่ เป็ นก๊าซแรงดันสูง ถูกบรรจุอยูใ่ นภาชนะทนความดัน ภาชนะทนความ
ดันมีความปลอดภัยสูง แต่การขนย้ายโดยไม่ระมัดระวังอาจทาให้ภาชนะเกิดความเสียหาย ซึง่
อาจก่อให้เกิดอุบตั เิ หตุทไ่ี ม่คาดคิดได้ โปรดระมัดระวังไม่ให้ภาชนะทนความดันตกหล่น ถูกชน
ล้ม ถูกกระแทก หรือกลิง้ ไปมาได้
การจัดเก็บ
ตามข้อบังคับทัวไปเกี
่ ย่ วกับความปลอดภัยของก๊าซแรงดันสูง R32 ไม่ใช่ก๊าซติดไฟ R32 ควร
ถูกรักษาและจัดเก็บไว้ตามมาตรฐานกฎหมายและข้อบังคับกาหนดไว้เช่นเดียวกับก๊าซแรงดัน
สูงชนิดอื่น (ต้องเป็ นทีเ่ ย็น มืด และมีการระบายอากาศทีด่ ี ในอุณหภูม ิ 40ºC หรือต่ากว่า มี
การใช้อุปกรณ์ป้องกันการตกหล่น ฯลฯ)

12
3. คุณสมบัติของน้ามันคอมเพรสเซอร์
R32 ไม่สามารถเข้ากันได้กบั น้ามันแร่ (Mineral oil ((SUNISO)) และส่งผลให้คุณสมบัติ
การไหลกลับของน้ามันลดลง ดังนัน้ ควรเลือกน้ามันสังเคราะห์ (Ether oil) น้ามัน
สังเคราะห์ (Ether oil) เป็ นน้ามันคอมเพรสเซอร์สาหรับเครือ่ งปรับอากาศทีใ่ ช้ R32น้ามัน
สังเคราะห์ (Ether oil) ถูกใช้เป็ นน้ามันคอมเพรสเซอร์ทงั ้ สาหรับเครือ่ งปรับอากาศทีใ่ ช้
R32 และ R410A แต่ช่อื ผลิตภัณฑ์อาจแตกต่างกัน ดังแสดงในตารางด้านล่างนี

R22

13
4. เครือ่ งมือซ่อมบารุงสาหรับระบบที่ใช้ R32
[กรณี เปลี่ยนจาก R22]
R32 มีแรงดันสูงกว่า R22 (ประมาณ 1.6 เท่า) และน้ามันคอมเพรสเซอร์ทใ่ี ช้กบั R32
จะเป็ นน้ามันสังเคราะห์ (Ether oil) แทนน้ามัน SUNISO ทีใ่ ช้กบั R22 หากผสมน้ามัน
ชนิดทีไ่ ม่เหมาะสมกับสารทาความเย็น อาจทาให้เกิดตะกอนและปั ญหาอื่นๆ ตามมา
ดังนัน้ เครือ่ งมือซ่อมบารุงทีใ่ ช้กบั ระบบ R22 เช่น มานิโฟล์เกจ (guage manifold) และ
สายชาร์จสารทาความเย็นจึงไม่สามารถใช้รว่ มกับ R32 ได้
ให้ใช้เครือ่ งมือทีก่ าหนดไว้สาหรับ R32 เสมอ
[กรณี เปลี่ยนจาก R410A]
เนื่องจาก R32 มีแรงดันเท่ากับ R410A และใช้น้ามันคอมเพรสเซอร์ประเภททีเ่ ป็ น
น้ามันสังเคราะห์ (Ether oil) เหมือนกัน ทัง้ นี้สารทาความเย็นทัง้ สองประเภทมีความ
แตกต่างกันเพียงเล็กน้อย
เครือ่ งมือทีใ่ ช้กบั ระบบ R410A จึงสามารถใช้รว่ มกับระบบ R32 ได้

14
เครือ่ งมือสาหรับการติดตัง้ ที่ใช้รว่ มกันได้

15
<อ้างอิง: การเปลี่ยนแปลงจาก R22 R32 , R410A R32>

16
เหตุผลที่ต้องมีการเปลี่ยนแปลงเครื่องมือ
เหตุผลหลักในการเปลีย่ นเครือ่ งมือ (ไม่สามารถใช้เครือ่ งมือร่วมกัน) มาจากการเปลีย่ น
สารทาความเย็นจาก R22 เป็ น HFC (R32, R410A) ซึง่ อธิบายได้ดงั ตารางต่อไปนี้

17
คาอธิบายเกี่ยวกับเครือ่ งมือสาหรับ R32
เครือ่ งมือทีแ่ สดงในภาพเป็ นเพียงตัวอย่างเท่านัน้ สาหรับข้อมูลเพิม่ เติมเกี่ยวกับเครือ่ งมือเฉพาะ
ทาง โปรดติดต่อผูแ้ ทนจาหน่ายเครือ่ งมือซ่อมบารุงระบบปรับอากาศและทาความเย็น

18
คาอธิบายเกี่ยวกับเครือ่ งมือสาหรับ R32

19
4. ขัน้ ตอนในการติดตัง้ เครือ่ งปรับอากาศ
ติดตัง้ ชุดภายใน ตรวจเช็ครอยรั่ ว

ติดตัง้ ชุดภายนอก เดินระบบท่ อนา้ ทิง้

ติดตัง้ ระบบท่ อทองแดง ทดสอบระบบท่ อนา้ ทิง้

เชื่อมต่ อระบบท่ อทองแดง ทดสอบเดินเครื่ อง

ดูดความชืน้ จากระบบท่ อ เติมสารทาความเย็นเพิ่ม


/แวคค่า

เดินระบบสายไฟฟ้ า อธิบายการใช้ งานแก่ ลูกค้ า


20.

20
4. ขัน้ ตอนในการติดตัง้ เครือ่ งปรับอากาศ
การติดตัง้ และบารุงรักษาเครื่องปรับอากาศที่ใช้สารทาความเย็น R32
1) กฎพืน้ ฐาน 3 ข้อเกีย่ วกับการเดินท่อสารทาความเย็น
รายละเอียดของกฎพืน้ ฐาน 3 ข้อเกีย่ วกับการเดินท่อสารทาความเย็น มีดงั ต่อไปนี้
ต้องปฏิบตั ติ ามกฎพืน้ ฐาน 3 ข้อของการเดินท่อสารทาความเย็นอย่างเคร่งครัด เมือ่ ทาการ
ติดตัง้ และบารุงรักษาท่อสารทาความเย็น

21
4. ขัน้ ตอนในการติดตัง้ เครือ่ งปรับอากาศ
การติดตัง้ และบารุงรักษาเครื่องปรับอากาศที่ใช้สารทาความเย็น R32

22
4. ขัน้ ตอนในการติดตัง้ เครือ่ งปรับอากาศ
มาตรฐานท่อทองแดง

ตาม ASTMB88 ,ASTMB280

ความหนาของท่อทองแดง
ต้องหนา 0.8 มม. ขึ้นไป

23
4. ขัน้ ตอนในการติดตัง้ เครือ่ งปรับอากาศ
การบานท่อ
ตัวอย่างลักษณะการแฟลร์ไม่ดี

1.ขัดเสี้ยนออกไม่ หมด 2.มีรายหยักบริเวณขอบแฟลร์ 3.รอยแผล

4.เสี ยรู ปทรง 5.แฟลร์ เล็กเกินไป 6.แฟลร์ ใหญ่ เกินไป


24
4. ขัน้ ตอนในการติดตัง้ เครือ่ งปรับอากาศ
การเชือ่ มบัดกรี (Brazing)
ใช้ไนโตรเจนไหลผ่านขณะทาการเชื่อมบัดกรี(ป้ องกันคราบเขม่าภายในท่อ)

Nitrogen cylinder
ปลายอีกด้านต้องเปิ ดไว้ รูใหญ่ประมาณปลายปากกา
หรือเท่านิ้วก้อยก็ได้ ห้ามเปิ ดใหญ่เกิน หรือปิ ดสนิท

2
Nitrogen gas pressure: about 0.02 MPa (0.2 kg/cm ,2.8 psi)
“ไนโตรเจนต้องเป็ นแบบชนิด เพียว ถึงจะดีที่สดุ นะครับ”
25
4. ขัน้ ตอนในการติดตัง้ เครือ่ งปรับอากาศ
ใช้ไนโตรเจนไหลผ่านขณะทาการเชื่อมบัดกรี(ป้ องกันคราบเขม่าภายในท่อ)

With N 2

Without N 2

26
4. ขัน้ ตอนในการติดตัง้ เครือ่ งปรับอากาศ
การเชือ่ มบัดกรี (Brazing)

- จัดเตรี ยมพื้นที่สาหรับงานเชื่อมที่.

การทางานเชื่อมท่อกับพื่น จัดเตรี ยมพื้นที่สาหรับงาน


จะทาให้การเชื่อมลาบาก เชื่อมโดยเฉพาะจะให้การ
และงานเชื่อมไม่ได้คุณภาพ เชื่อมมีประสิ ทธิภาพ

ต่อท่อจากข้องอ 90 อย่างน้อย 30 cm
ป้องกันเขม่าจากเปลวไฟ
27
4. ขัน้ ตอนในการติดตัง้ เครือ่ งปรับอากาศ
การใช้ ประแจทอร์ คในการขันหัวแฟลร์

มาตรฐานการขันอัดแน่ นประแจทอร์ ค
ขนาดหัวแฟลร์ R22 R410A /R32
kgf•cm N•m kgf•cm N•m
1/4 160(+/-20) 16(+/-2) 144 ~ 176 14.2 ~ 17.2
3/8 370(+/-40) 37(+/-4) 333 ~ 407 32.7 ~ 39.9
1/2 560(+/-60) 56(+/-6) 504 ~ 616 49.5 ~ 60.3
5/8 700(+/-70) 70(+/-7) 630 ~ 770 61.8 ~ 75.4
1100(+/-
3/4 110(+/-10) 990 ~ 1210 92.7 ~ 118.6
100)

28
4. ขัน้ ตอนในการติดตัง้ เครือ่ งปรับอากาศ
การใช้ ประแจทอร์ คในการขันหัวแฟลร์

29
4. ขัน้ ตอนในการติดตัง้ เครือ่ งปรับอากาศ
การดูดความชื้น / ทาสุญญากาศในระบบท่อทองแดง

ทาสุ ญญากาศแบบมาตรฐาน
0.5 kg/cm2

0 kg/cm2
-200 mmHg
แรงดัน

-500 mmHg

-700 mmHg
-755 mmHg
-760 mmHg เวลา
A B
ไม่น้อยกว่า 15 นาที เติมสารทาความเย็นเข้าระบบ
30
4. ขัน้ ตอนในการติดตัง้ เครือ่ งปรับอากาศ
ข้อควรระวังการดูดความชื้น/แวคคัม่
อุปกรณ์ พเิ ศษ

31
4. ขัน้ ตอนในการติดตัง้ เครือ่ งปรับอากาศ
ข้อควรระวังการดูดความชื้น/แวคคัม่

อุปกรณ์ พเิ ศษ

32
4. ขัน้ ตอนในการติดตัง้ เครือ่ งปรับอากาศ
การตรวจสอบรอยรัว่

หลังจากต่อท่อและขันนั ทแฟร์แล ้ว ชา่ งติดตัง้ สามารถเชค


็ รั่วทีจ
่ ด ื่ มต่อก่อนเปิ ดเครือ
ุ เชอ ่ ง
ื่ มท่อระหว่างคอยล์รอ
จุดเชอ ้ นและคอยล์เย็ น
้ องนา้
สามารถเช็ครว่ ั ได้โดยใชฟ

เปิ ดวาล์วด้านความด ันสูง หรือ ไฮเพลสเชอร์


ประมาณ 5 วินาที แล้วปิ ด

เช็ครว่ ั โดยใชฟ ้ องนา้ ทีจ


่ ด
ุ เชอื่ มต่อ (จุดต่อที่
คอยล์เย็น, จุดต่อทีค ่ อยล์รอ ้ น. เซอร์วส ิ วาล์ว
และรอยเชอ ื่ ม)


สงเกตุ วา ึ้ มาทีจ
่ มีฟองประทุขน ุ ทีเ่ ช็คหรือไม่
่ ด
ถ้ามีแสดงว่าจุดนนคื
ั้ อ จุดรว่ ั

ิ้ สว
** ให้แก้ไขชน ่ นหรือจุดนนๆ
ั้ หรือติดตงใหม่
ั้

33
DAIKIN

ขอบคุณครับ 大金

34

You might also like