Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 49

1

วิชา : Engineering Materials คาตอบที่ถูกต้อง : 3


เนื้อหาวิชา : 238 : 01 Metals ข้อที่ 7 : ในกระบวนการผลิตเหล็กหล่อเหนียว (Nodular cast iron)
ข้อที่ 1 : แร่ Bauxite ที่เป็นวัตถุดิบในการถลุงอะลูมิเนียม มีสารประกอบ ธาตุใดที่เติมลงไปเพื่อทาให้แกรไฟต์รวมตัวกันเป็นอนุภาคทรงกลม
ใดเป็นสารประกอบหลัก 1 : โครเมียม
1 : Bayer 2 : ซีเรียม
2 : Al2O3 3 : คาร์บอน
3 : Al2(SO4)3 4 : โคบอลต์
4 : Na3AlF6 คาตอบที่ถูกต้อง : 2
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 ข้อที่ 8 : ทองเหลือง (Brass) คือโลหะผสมของธาตุหลักธาตุใด
ข้อที่ 2 : เหล็กหล่อ หมายถึง เหล็กที่มีปริมาณของธาตุคาร์บอนผสมอยู่ 1 : ทองแดง และเงิน
ระหว่างค่าดังข้อใด 2 : ทองแดง และดีบุก
1 : 0.022 - 6.7 % โดยน้าหนัก 3 : ทองแดง และตะกั่ว
2 : 1.2 - 6.7 % โดยน้าหนัก 4 : ทองแดง และสังกะสี
3 : 2.0 - 4.3 % โดยน้าหนัก คาตอบที่ถูกต้อง : 4
4 : 2.0 - 6.7 % โดยน้าหนัก ข้อที่ 9 : โลหะผสมสูงกลุ่มซูเปอร์อัลลอย (Superalloys) เช่น Nickel-
คาตอบที่ถูกต้อง : 4 based superalloys มักนิยมนาไปใช้งานใดในปัจจุบัน
ข้อที่ 3 : เหล็กกล้าคาร์บอนปานกลาง มีปริมาณของธาตุคาร์บอนผสมอยู่ 1 : ใบพัดในเครื่องกังหันก๊าซในเครื่องบินไอพ่น
เป็นปริมาณเท่าใด 2 : อุปกรณ์ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์เช่น ฮาร์ดดิสค์
1 : 0.40 % โดยปริมาตร 3 : ลูกสูบเครื่องยนต์
2 : 0.40 % โดยน้าหนัก 4 : มีดกลึง
3 : 0.04 % โดยปริมาตร คาตอบที่ถูกต้อง : 1
4 : 0.04 % โดยน้าหนัก ข้อที่ 10 : โลหะใดไม่ใช่โลหะทนไฟ (Refractory Metal)
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 1 : ทังสเตน
ข้อที่ 4 : เหล็กกล้าคาร์บอนต่า มักนิยมนามาใช้ผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ในข้อ 2 : โมลิบดินัม
ใด 3 : แทนทาลัม
1 : ตัวถังรถยนต์ 4 : เยอรมันเนียม
2 : ลูกสูบ คาตอบที่ถูกต้อง : 4
3 : มีดกลึง ข้อที่ 11 : โลหะใดจัดเป็นโลหะมีสกุล (Noble Metal)
4 : ดอกสว่าน 1 : ทังสเตน
คาตอบที่ถูกต้อง : 1 2 : แพลตินัม
ข้อที่ 5 : เหล็กกล้าคาร์บอนปานกลางมีค่าความแข็ง (Hardness) เป็น 3 : ซิลิกอน
อย่างไร เทียบกับเหล็กกล้าคาร์บอนสูงภายใต้เงื่อนไขสภาวะการอบชุบ 4 : เยอรมันเนียม
เหมือนกัน คาตอบที่ถูกต้อง : 2
1 : น้อยกว่า ข้อที่ 12 : โลหะใดจัดเป็นโลหะหนัก
2 : มากกว่า 1 : แมกนีเซียม
3 : เท่ากัน 2 : อะลูมิเนียม
4 : ไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นอย่างไร 3 : เบอริลเลียม
คาตอบที่ถูกต้อง : 1 4 : โมลิบดินัม
ข้อที่ 6 : ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่วัตถุประสงค์ของการเติมธาตุโครเมียม (Cr) ใน คาตอบที่ถูกต้อง : 4
เหล็กกล้าผสมสูง (High alloy steels) ข้อที่ 13 : โลหะใดที่ไม่ควรนามาเป็นภาชนะบรรจุอาหาร
1 : เพิ่มความแข็งแรง ลดการผุกร่อน 1 : อะลูมิเนียม
2 : เพิ่มความแข็ง 2 : ตะกั่ว
3 : เพิ่มความเหนียว ขึ้นรูปง่าย 3 : ดีบุก
4 : เพิ่มความสามารถในการต้านทานการคืบ (Creep) 4 : เหล็กกล้าไร้สนิม
2

คาตอบที่ถูกต้อง : 2 3 : เหล็กกล้าคาร์บอนสูง
4 : เหล็กกล้าเครื่องมือ
ข้อที่ 14 : โลหะใดไม่เหมาะสมสาหรับนามาทาเป็นกระทะเพื่อปรุงอาหาร คาตอบที่ถูกต้อง : 1
1 : อะลูมิเนียม ข้อที่ 21 : ในกระบวนการผลิตเหล็กหล่อเทา ธาตุใดที่ต้องเติมลงไปเพื่อ
2 : เหล็กกล้าไร้สนิม ทาให้คาร์บอนรวมตัวกันเป็นกราไฟต์
3 : ทองแดง 1 : อะลูมิเนียม
4 : แมกนีเซียม 2 : ซิลิกอน
คาตอบที่ถูกต้อง : 4 3 : แคลเซียม
ข้อที่ 15 : พิวเตอร์ (Pewter) คือ โลหะผสมใด 4 : แมกนีเซียม
1 : ดีบกุ ผสม คาตอบที่ถูกต้อง : 2
2 : ทองแดงผสม ข้อที่ 22 : ข้อใดไม่ใช่สมบัติของเหล็กกล้าคาร์บอนต่า
3 : อะลูมิเนียมผสม 1 : มีความเหนียวสูง
4 : ไทเทเนียมผสม 2 : สามารถตกแต่งขึ้นรูปได้ง่าย
คาตอบที่ถูกต้อง : 1 3 : สามารถชุบแข็งได้ง่าย
ข้อที่ 16 : โลหะใดที่นามาใช้ทาเป็นชิ้นส่วนเครื่องบินน้อยที่สุด 4 : ไม่สามารถรับแรงกระแทกได้มาก
1 : ไทเทเนียม คาตอบที่ถูกต้อง : 3
2 : อะลูมิเนียม ข้อที่ 23 : ข้อใดไม่ใช่สมบัติเด่นของอะลูมิเนียม
3 : สังกะสี 1 : น้าหนักเบา
4 : นิกเกิล 2 : ทนอุณหภูมิได้สูง
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 3 : อ่อนแต่เหนียว
ข้อที่ 17 : เหล็กกล้าไร้สนิมเกรด 18-8 หมายถึง เหล็กกล้าที่ผสมโลหะ 4 : นาความร้อนได้ดี
ชนิดใดเป็นปริมาณสูงสุดสองชนิดแรก คาตอบที่ถูกต้อง : 2
1 : โครเมียม-นิเกิล ข้อที่ 24 : บรอนซ์ คือ โลหะผสมชนิดใด
2 : ไทเทเนียม-นิเกิล 1 : ทองแดงผสมดีบุก
3 : โครเมียม-ซิลิกอน 2 : อะลูมิเนียมผสมทองแดง
4 : ไทเทเนียม-ซิลิกอน 3 : ดีบุกผสมตะกั่ว
คาตอบที่ถูกต้อง : 1 4 : นิเกิลผสมไทเทเนียม
ข้อที่ 18 : ผลิตภัณฑ์ใดที่ไม่สามารถใช้อะลูมิเนียมเป็นส่วนผสมหลักได้ คาตอบที่ถูกต้อง : 1
1 : วงล้อรถยนต์ ข้อที่ 25 : ข้อใดคือลักษณะเด่นของเหล็กหล่อขาว
2 : ตัวถังรถยนต์ 1 : แข็ง ยากต่อการตกแต่ง
3 : กระป๋องน้าอัดลม 2 : อ่อน เหนียว ตกแต่ง-ขึ้นรูปได้ง่าย
4 : ไส้หลอดไฟ 3 : รับแรงอัดและแรงสั่นสะเทือนได้ดี
คาตอบที่ถูกต้อง : 4 4 : ไม่ทนต่อการเสียดสี
ข้อที่ 19 : เหล็กชนิดใดต่อไปนี้สามารถกลึงเพื่อตกแต่งขึ้นรูปได้ง่ายที่สุด คาตอบที่ถูกต้อง : 1
1 : เหล็กกล้าชุบแข็ง ข้อที่ 26 : เหล็กหล่อเทาต่างจากเหล็กหล่อขาวอย่างไร
2 : เหล็กหล่อขาว 1 : เหล็กหล่อเทามีซิลิกอนเป็นส่วนผสม แต่เหล็กหล่อขาวไม่มี
3 : เหล็กหล่อกราไฟต์กลม 2 : เหล็กหล่อเทามีกราไฟต์อิสระเป็นส่วนหนึ่งของโครงสร้าง แต่
4 : เหล็กกล้าไร้สนิมเฟร์ไรต์ เหล็กหล่อขาวไม่มี
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 3 : เหล็กหล่อเทามีความแข็งมากกว่าเหล็กหล่อขาว
ข้อที่ 20 : เหล็กกล้าชนิดใดมีสภาพดึงยืดได้ (Ductility) มากที่สุด ภายใต้ 4 : เหล็กหล่อเทาสามารถรับแรงกระแทกได้น้อยกว่าเหล็กหล่อขาว
สภาวะการอบชุบที่เหมือนกัน คาตอบที่ถูกต้อง : 2
1 : เหล็กกล้าคาร์บอนต่า ข้อที่ 27 : ในกระบวนการผลิตเหล็กหล่อกราไฟต์กลม ธาตุใดที่ต้องเติมลง
2 : เหล็กกล้าคาร์บอนปานกลาง ไปเพื่อทาให้กราไฟต์อิสระเป็นทรงกลม
3

1 : อะลูมิเนียม 3 : เหล็กกล้าผสมต่าชุบแข็ง
2 : ซิลิกอน 4 : เหล็กกล้าไร้สนิมออสเทไนต์ชุบแข็ง
3 : แคลเซียม คาตอบที่ถูกต้อง : 3
4 : แมกนีเซียม ข้อที่ 34 : โลหะชนิดใดต่อไปนี้ที่เหมาะสมสาหรับทาเครื่องยนต์ (Engine
คาตอบที่ถูกต้อง : 4 block) สาหรับรถแข่งมากที่สุด
ข้อที่ 28 : เหล็กกล้าผสมชนิดใดที่ไม่สามารถชุบแข็งได้ดี 1 : เหล็กกล้า (Steel) เนื่องจากหล่อง่ายที่สุด
1 : เหล็กกล้าโมลิบดินัม 2 : เหล็กกล้าไร้สนิม (Stainless steel) เพราะทนต่อการเกิดสนิมได้ดี
2 : เหล็กกล้าไร้สนิมออสเทไนต์ 3 : อะลูมิเนียมผสม (Aluminium alloy) เพราะมีน้าหนักเบา
3 : เหล็กกล้าแมงกานีส 4 : โลหะผสมยิ่งยวด (Superalloy) เพราะทนอุณหภูมิสูงได้ดี
4 : เหล็กกล้าโครเมียม คาตอบที่ถูกต้อง : 3
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 ข้อที่ 35 : วัสดุแม่เหล็กถาวรชนิดใดต่อไปนี้ที่ให้กาลังแม่เหล็กสูงสุด
ข้อที่ 29 : เหล็กกล้าถูกแบ่งแยกออกจากเหล็กหล่อด้วยปริมาณคาร์บอน 1 : เหล็กคาร์บอน
กี่เปอร์เซ็นต์ 2 : อัลนิโค (Alnico)
1 : 1% 3 : เฟร์ไรต์ (Hard Ferrite)
2 : 2% 4 : นิโอดิเมียม-บอรอน (NdFeB)
3 : 3% คาตอบที่ถูกต้อง : 4
4 : 4% ข้อที่ 36 : โลหะชนิดใดต่อไปนี้สามารถนามารีดเย็นเป็นแผ่นบางได้ง่าย
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 ที่สุด
ข้อที่ 30 : ธาตุผสมใดที่มีส่วนสาคัญในการทาให้เหล็กกล้าไร้สนิมทนต่อ 1 : อะลูมิเนียม
การเกิดสนิมในบรรยากาศปกติ และต้องมีปริมาณธาตุอย่างน้อยสุดเท่าใด 2 : ทองแดง
1 : 13% โดยน้าหนักโครเมียม 3 : ทองเหลือง
2 : 8% โดยน้าหนักโครเมียม 4 : เหล็กกล้าไร้สนิม
3 : 13% โดยน้าหนักนิเกิล คาตอบที่ถูกต้อง : 1
4 : 8% โดยน้าหนักนิเกิล ข้อที่ 37 : โลหะชนิดใดต่อไปนี้ที่เหมาะสาหรับการผลิตวงล้อรถยนต์มาก
คาตอบที่ถูกต้อง : 1 ที่สุด
ข้อที่ 31 : ข้อความใดต่อไปนี้เป็นการกล่าวที่ถูกต้อง 1 : อะลูมิเนียมบริสุทธิ์
1 : เหล็กกล้า Hypoeutectoid plain-carbon คือเหล็กกล้าที่มีปริมาณ 2 : อะลูมิเนียมผสมซิลิคอน
คาร์บอนมากกว่า 0.8% โดยน้าหนัก 3 : อะลูมิเนียมผสมทองแดง
2 : เหล็กเส้นที่ใช้ในงานก่อสร้างทาจากเหล็กหล่อ 4 : อะลูมิเนียมผสมแมงกานีส
3 : ธาตุที่มีบทบาทในการทาให้เหล็กกล้าไร้สนิมสามารถทนต่อการกัด คาตอบที่ถูกต้อง : 2
กร่อนได้ดีคือโครเมียม ข้อที่ 38 : โลหะชนิดใดต่อไปนี้ไม่เกิดสนิม
4 : เหล็กหล่อเป็นโลหะผสมประเภท Ferrous ที่มีปริมาณคาร์บอนน้อย 1 : เหล็กกล้าไร้สนิม
กว่า 2.4% โดยน้าหนัก 2 : ทองแดง
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 3 : อะลูมิเนียม
ข้อที่ 32 : โลหะใดต่อไปนี้มีจุดหลอมเหลวที่ต่าที่สุด 4 : ข้อ 1 2 และ 3 ผิด
1 : ทองแดง คาตอบที่ถูกต้อง : 4
2 : ทองแดงผสมสังกะสี ข้อที่ 39 : เหล็กกล้าชนิดใดต่อไปนี้เหมาะสาหรับใช้งานที่อุณหภูมิสูง
3 : ทองแดงผสมเหล็ก 1 : เหล็กกล้าคาร์บอนสูง (High carbon steel)
4 : ทองแดงผสมนิเกิล 2 : เหล็กกล้าไร้สนิมเฟร์ไรต์ (Ferritic stainless steel)
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 3 : เหล็กกล้าไร้สนิมออสเทไนต์ (Austenetic stainless steel)
ข้อที่ 33 : ชิ้นงานใดต่อไปนี้มีความแข็งแรงสูงสุด 4 : เหล็กกล้าไร้สนิมมาร์เทนไซต์ (Martensitic stainless steel)
1 : เหล็กกล้าคาร์บอนต่าชุบแข็ง คาตอบที่ถูกต้อง : 3
2 : เหล็กกล้าคาร์บอนปานกลางชุบแข็ง ข้อที่ 40 : โลหะชนิดใดต่อไปนี้เหมาะสาหรับการผลิตถังไฮโดรเจนเหลว
สาหรับยานอวกาศมากที่สุด
4

1 : อะลูมิเนียมผสมทองแดง ข้อที่ 46 : ปัจจัยใดมีผลต่อสมบัติเชิงกลของพอลิเมอร์แบบกึ่งผลึก


2 : อะลูมิเนียมผสมลิเทียม (Semicrystalline polymers)
3 : อะลูมิเนียมผสมซิลิคอน 1 : น้าหนักโมเลกุล (Molecular weight)
4 : อะลูมิเนียมผสมสังกะสี 2 : ระดับของสภาพเป็นผลึก (Degree of crystallinity)
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 3 : การอบอ่อน (Annealing)
เนื้อหาวิชา : 239 : 02 Engineering polymers 4 : ข้อ 1 2 และ 3 ถูก
คาตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 47 :
ข้อที่ 41 : ข้อใดไม่ใช่วัสดุพอลิเมอร์ จากกราฟความเค้น-ความเครียด (Stress-strain plot) กราฟเส้นใดแสดง
1 : ยาง (Rubber) สมบัติของวัสดุยืดหยุ่น (Elastomeric polymer)
2 : พลาสติก (Plastic)
3 : ไม้ (Wood)
4 : แก้ว (Glass)
คาตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 42 : ยางที่ผ่านกระบวนการ Vulcanization แล้ว จัดเป็นพอลิเม
อร์ประเภทใด
1 : พอลิเมอร์แบบสายโซ่ตรง (Linear polymer)
2 : พอลิเมอร์แบบครอสลิงค์ (Crosslinked polymer)
3 : พอลิเมอร์แบบสายเดี่ยว (Single chain polymer)
4 : พอลิเมอร์แบบกิ่ง (Branched polymer)
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 1:I
ข้อที่ 43 : ข้อใดเป็นพอลิเมอร์แบบโครงข่าย (network) 2 : II
1 : พอลิสไตรีน (Polystyrene) 3 : III
2 : ฟีนอลฟอร์มัลดีไฮด์ (Phenol-formaldehyde) 4 : IV
3 : พอลิเอทธิลีน (Polyethylene) คาตอบที่ถูกต้อง : 4
4 : พอลิพรอพิลีน (Polypropylene) ข้อที่ 48 : พอลิเมอร์ใดต่อไปนี้เป็นเทอร์โมพลาสติก (Thermoplastics)
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 1 : PVC
ข้อที่ 44 : ข้อใดเป็นลักษณะของเทอร์โมพลาสติก (Thermoplastic) 2 : Epoxy resins
1 : แข็งตัวเมื่อถูกความร้อน และอ่อนตัวเมื่อลดอุณหภูมิ 3 : Polyester
2 : อ่อนตัวเมื่อถูกความร้อน แต่กลับมาแข็งตัวเมื่อลดอุณหภูมิ 4 : Melamine
3 : แข็งตัวเมื่อถูกความร้อน และไม่สามารถทาให้อ่อนตัวได้อีก คาตอบที่ถูกต้อง : 1
4 : แข็งตัวเมื่อถูกความร้อน แต่สามารถทาให้อ่อนตัวได้เมื่อลดอุณหภูมิ ข้อที่ 49 : ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่พอลิเมอร์
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 1 : พอลิเอทิลีน (Polyethylene)
ข้อที่ 45 : ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้อง 2 : พอลิคาร์โบเนต (Polycarbonate)
1 : โคพอลิเมอร์ (Copolymer) ประกอบด้วย มอนอเมอร์มากกว่าหนึ่ง 3 : ซิลิคอนคาร์ไบด์ (Silicon carbide)
ชนิดเรียงต่อกัน 4 : ซิลิโคน (Silicone)
2 : อัลเทอร์เนตโคพอลิเมอร์ (Alternate copolymer) ประกอบด้วย มอ คาตอบที่ถูกต้อง : 3
นอเมอร์มากกว่าหนึ่งชนิดเรียงต่อแบบสลับกัน ข้อที่ 50 : เพราะเหตุใดยางรถยนต์จึงมีสีดา
3 : แรนดอมโคพอลิเมอร์ (Random copolymer) ประกอบด้วย มอนอ 1 : เนื่องจากต้องสัมผัสถนนซึ่งมีความสกปรก จึงผสมสีดาลงไป
เมอร์มากกว่าหนึ่งชนิดเรียงต่อแบบสุ่ม 2 : เนื่องจากต้องการให้มีความแข็งแรงขึ้น จึงใส่สารเสริมแรงชนิดหนึ่งซึ่ง
4 : กราฟท์โคพอลิเมอร์ (Graft copolymer) ประกอบด้วย มอนอเมอร์ มีสีดาลงไป
มากกว่าหนึ่งชนิดเรียงต่ออยู่ในสายโซ่ที่เป็นเส้นตรง 3 : เพื่อให้ง่ายต่อการดูแลรักษา
คาตอบที่ถูกต้อง : 4 4 : ข้อ 1 2 และ 3 ถูก
5

คาตอบที่ถูกต้อง : 2 1 : ไม่มีสิ่งใดเปลี่ยนแปลง
ข้อที่ 51 : โดยทั่วไปพอลิเมอร์มีสมบัติเชิงกลในข้อใดต่อไปนี้มากกว่าวัสดุ 2 : น้าอัดลมจะมีสีที่จางลง
วิศวกรรมชนิดอื่นๆ 3 : แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จะระเหยออกไป
1 : Tensile Strength 4 : ปริมาณของน้าอัดลมจะลดลง
2 : Modulus of Elasticity คาตอบที่ถูกต้อง : 3
3 : Yield Strength ข้อที่ 58 : ข้อใดต่อไปนี้ไม่เป็นความจริง
4 : Elongation 1 : โดยทั่วไป พอลิเมอร์มีค่าการนาความร้อนที่ต่ากว่าโลหะมาก
คาตอบที่ถูกต้อง : 4 2 : โดยทั่วไป อากาศมีค่าการนาความร้อนที่ต่ากว่าพอลิเมอร์มาก
ข้อที่ 52 : วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตพอลิเมอร์มาจากแหล่งใด 3 : โดยทั่วไป พอลิเมอร์มีค่าสัมประสิทธิ์ของการขยายตัวเมื่อได้รับความ
1 : แก๊สธรรมชาติ ร้อนมากกว่าโลหะ
2 : น้ามันปิโตรเลียม 4 : โดยทั่วไป เซรามิกมีค่าสัมประสิทธิ์ของการขยายตัวเมื่อได้รับความ
3 : ผลิตผลทางการเกษตร ร้อนมากกว่าพอลิเมอร์
4 : ข้อ 1 2 และ 3 ถูก คาตอบที่ถูกต้อง : 4
คาตอบที่ถูกต้อง : 4 ข้อที่ 59 : กระบวนการในข้อใดต่อไปนี้เป็นกระบวนการสร้างพอลิเมอร์
ข้อที่ 53 : ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ลักษณะหรือสมบัติของเทอร์โมเซตติ้ง จากมอนอเมอร์
(Thermosetting) 1 : Monomerization
1 : มีโครงสร้างตาข่าย 2 : Polymerization
2 : นามาขึ้นรูปใหม่ไม่ได้ 3 : Hydration
3 : ทนแรงกระแทกได้ดี 4 : Annealing
4 : ทนความร้อนได้ดี คาตอบที่ถูกต้อง : 2
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 ข้อที่ 60 : เทฟลอน (Teflon) คือชื่อทางการค้าของพอลิเมอร์ในข้อใด
ข้อที่ 54 : ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่โครงสร้างของโคพอลิเมอร์ (Copolymer) 1 : Polystyrene
1 : โครงสร้างแบบบล็อก (Block) 2 : Polyurethane
2 : โครงสร้างแบบสลับ (Alternating) 3 : Polytetrafluoroethylene
3 : โครงสร้างแบบเชิงเส้น (Linear) 4 : Polyvinyl chloride
4 : โครงสร้างแบบสุ่ม (Random) คาตอบที่ถูกต้อง : 3
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 เนื้อหาวิชา : 240 : 03 Engineering ceramics
ข้อที่ 55 : ขวดพลาสติกใสที่ใช้บรรจุน้าอัดลมในท้องตลาดมักทาด้วยพอลิ ข้อที่ 61 : ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเมื่อผสมซีเมนต์กับน้าคือปฏิกิริยาใด
เมอร์ชนิดใด 1 : ปฏิกิริยา Hydration
1 : พอลิโพรพิลีน (Polypropylene) 2 : ปฏิกิริยา Oxidation
2 : พอลิสไตรีน (Polystyrene) 3 : ปฏิกิริยา Reduction
3 : พอลิเอทิลีน เทอร์ฟาทาเลต (Polyethylene terephthalate) 4 : ปฏิกิริยา Dehydration
4 : พอลิเมทิล เมทาครีเลต (Polymethyl methacrylate) คาตอบที่ถูกต้อง : 1
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 ข้อที่ 62 : การเติมแร่ยิปซั่ม (Gypsum) ลงในซีเมนต์มีวัตถุประสงค์
ข้อที่ 56 : เราสามารถเพิ่มสมบัติในการรับแรงกระแทกให้กับพลาสติกที่ อย่างไร
เปราะได้โดยการผสมสิ่งใดต่อไปนี้ลงไปในพลาสติก 1 : เพื่อลดต้นทุนวัตถุดิบ
1 : ยาง (Rubber) 2 : เพื่อควบคุมเวลาการแข็งตัวของซีเมนต์
2 : สารเสริมแรง (Reinforcing filler) 3 : เพื่อเพิ่มความแข็งแรงให้กับซีเมนต์
3 : สารป้องกันการแตกหักของสายโซ่โมเลกุล (Stabilizer) 4 : เพื่อให้ซีเมนต์มีอายุการใช้งานที่นานขึ้น
4 : สารเพิ่มเนื้อ (Extender) คาตอบที่ถูกต้อง : 2
คาตอบที่ถูกต้อง : 1 ข้อที่ 63 : ทาไมเซรามิกโดยทั่วไปมีสมบัติที่แข็ง (Hard) และเปราะ
ข้อที่ 57 : ถ้านาขวดพลาสติกที่ทาจากพอลิเอทิลีนไปบรรจุน้าอัดลมและ (Brittle) กว่าโลหะ
ปิดฝาให้แน่น จะเกิดสิ่งใดขึ้น 1 : การเคลื่อนที่ของ Dislocation เกิดขึ้นในเซรามิกได้ง่ายกว่าโลหะ
2 : เซรามิกทั่วไปยึดกันด้วยพันธะแวนเดอร์วาลส์ แต่โลหะยึดกันด้วย
6

พันธะโลหะ ข้อที่ 70 : ทาไมปัจจุบันนิยมนาเซรามิกวิศวกรรม เช่น อะลูมินา


3 : ในเซรามิก ระนาบอะตอมเกิดการเลื่อน (Slip) ได้บางระนาบเท่านั้น (Alumina) มาใช้ทาหัวเทียนแทนโลหะ
4 : เซรามิกมีความหนาแน่นสูงกว่าโลหะ 1 : เซรามิกมีความแข็งแรงมากกว่าโลหะที่อุณหภูมิสูง
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 2 : เซรามิกเป็นวัสดุเปราะกว่าโลหะ
ข้อที่ 64 : ข้อใดไม่ใช่สมบัติของเซรามิก 3 : เซรามิกมีการนาไฟฟ้าที่ดีกว่าโลหะ
1 : เป็นฉนวนทั้งทางความร้อนและไฟฟ้า 4 : เซรามิกมีความหนาแน่นต่ากว่าโลหะ
2 : ความต้านทานต่อแรงกระแทกต่า คาตอบที่ถูกต้อง : 1
3 : ทนต่อแรงดึงได้ดี ข้อที่ 71 : ข้อใดกล่าวถูกต้อง
4 : เฉื่อยต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี 1 : การขึ้นรูปแก้วจะทาขณะที่แก้วมีสภาพเป็นของเหลวที่มีความหนืดสูง
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 2 : การขึ้นรูปแก้วจะเกิดปฏิกิริยา Sintering
ข้อที่ 65 : ข้อใดไม่ใช่ผลที่เกิดจากการเกิดรูพรุน (Porosity) ในเนื้ออิฐทน 3 : แก้วโดยทั่วไปเป็นของแข็งที่มีผลึก
ไฟ 4 : หลังจากขึ้นรูปแก้วแล้วต้องนาแก้วไปอบและเผา
1 : อิฐทนไฟเป็นฉนวนทางความร้อนที่ดีขึ้น คาตอบที่ถูกต้อง : 1
2 : อิฐทนไฟสามารถทนต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิได้ดีขึ้น ข้อที่ 72 : การเพิ่มความแข็งแรงให้กับแก้วโดยวิธีเทมเปอร์ (Temper)
3 : อิฐทนไฟมีความต้านทานต่อการผุกร่อนดีขึ้น หรือ Chemical treatment มีหลักการอย่างไร
4 : อิฐทนไฟมีความแข็งแรงลดลง 1 : ทาให้เกิดความเค้นแรงดึงที่ผิวและความเค้นแรงอัดภายในเนื้อแก้ว
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 2 : ทาให้เกิดความเค้นแรงอัดที่ผิวและความเค้นแรงดึงภายในเนื้อแก้ว
ข้อที่ 66 : วัสดุในข้อใดเหมาะที่จะทาเป็นวัสดุขัดถู (Abrasive material) 3 : ทาให้เกิดความเค้นแรงอัดในเนื้อแก้ว
1 : เหล็ก 4 : ทาให้เกิดความเค้นแรงดึงในเนื้อแก้ว
2 : อะลูมินา คาตอบที่ถูกต้อง : 2
3 : พอลิเอทิลีน ข้อที่ 73 : เซรามิกประเภทใดมีความเหนียว (Toughness) ดีที่สุดที่
4 : ไม้ อุณหภูมิห้อง
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 1 : ซิลิกอนไนไตรด์ (Silicon nitride)
ข้อที่ 67 : Glass transition temperature คืออะไร 2 : ซิลิกอนคาร์ไบด์ (Silicon carbide)
1 : อุณหภูมิจุดหลอมเหลว (Melting point) ของแก้ว 3 : อะลูมินา (Alumina)
2 : อุณหภูมิที่แก้วมีสภาพการนาไฟฟ้า 4 : Partially stabilized zirconia
3 : อุณหภูมิที่แก้วเปลี่ยนจากสภาพที่มีความหนืดสูงเป็นสภาพที่แข็งและ คาตอบที่ถูกต้อง : 4
เปราะ ข้อที่ 74 : Glass-ceramic แตกต่างจาก แก้ว (Glass) อย่างไร
4 : อุณหภูมิที่แก้วกลายเป็นไอ 1 : แก้วโปร่งใสแต่ Glass-ceramic ไม่โปร่งใส
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 2 : แก้วไม่นาไฟฟ้า แต่ Glass-ceramic นาไฟฟ้า
ข้อที่ 68 : ข้อใดไม่ใช่เซรามิกวิศวกรรม (Engineering ceramic) 3 : แก้วนาความร้อนได้ไม่ดี แต่ Glass-ceramic สามารถนาความร้อนได้
1 : พอร์ซิเลน (Porcelain) 4 : แก้วทนการเปลี่ยนแปลงความร้อน (Thermal shock) ได้ แต่ Glass-
2 : อะลูมินา (Alumina) ceramic ทนไม่ได้
3 : ซิลิกอนไนไตรด์ (Silicon nitride) คาตอบที่ถูกต้อง : 1
4 : เซอร์โคเนีย (Zirconia) ข้อที่ 75 : Pyroelectric ceramic มีสมบัติเด่นในข้อใด
คาตอบที่ถูกต้อง : 1 1 : สามารถเปลี่ยนสมบัติทางกลให้เป็นสมบัติไฟฟ้า
ข้อที่ 69 : เซรามิกลักษณะใดที่ไม่เหมาะสมสาหรับการนามาใช้ทาเป็น 2 : สามารถเปลี่ยนสมบัติทางไฟฟ้าให้เป็นสมบัติทางกล
กระดูกเทียม 3 : สามารถเปลี่ยนสมบัติทางไฟฟ้าให้เป็นสมบัติทางเคมี
1 : เซรามิกที่มีสมบัติต้านทานการผุกร่อนที่ดี 4 : สามารถเปลี่ยนสมบัติทางความร้อนให้เป็นสมบัติทางไฟฟ้า
2 : เซรามิกที่มีความหนาแน่นสูง คาตอบที่ถูกต้อง : 4
3 : เซรามิกที่มีความแข็งแรงสูง ข้อที่ 76 : เซรามิกประเภทแก้วต่างจากเซรามิกโดยทั่วไปอย่างไร
4 : เซรามิกที่สามารถยึดติดกับเนื้อเยื่อได้ดี 1 : แก้วไม่มีผลึก แต่เซรามิกโดยทั่วไปเป็นโครงสร้างที่มีผลึก
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 (Crystalline)
2 : แก้วสามารถดึงยืดได้ แต่เซรามิกโดยทั่วไปมีสมบัติเปราะ
7

3 : แก้วทนแรงดึงได้ดี แต่เซรามิกทนแรงอัดได้ดี 1 : ธาตุคาร์บอน (C) และ ไนโตรเจน (N)


4 : แก้วทนทานต่อสารเคมีได้ดี แต่เซรามิกโดยทั่วไปเกิดปฏิกิริยาได้ง่าย 2 : ธาตุคาร์บอน (C) และ ไฮโดรเจน (H)
คาตอบที่ถูกต้อง : 1 3 : ธาตุคาร์บอน (C) และ ซัลเฟอร์ (S)
ข้อที่ 77 : ผลิตภัณฑ์ใดต่อไปนี้ไม่จาเป็นต้องใช้วัสดุเซรามิก 4 : ธาตุคาร์บอน (C) และ ออกซิเจน (O)
1 : กระสวยอวกาศ คาตอบที่ถูกต้อง : 2
2 : เตาเผา ข้อที่ 84 : ไม้มีสมบัติทางกลตามข้อใด
3 : ลูกถ้วยไฟฟ้า (Electrical insulator) 1 : เท่ากันทุกทิศทาง
4 : มีดผ่าตัด 2 : ความแข็งแรงตามแนวความยาวมากกว่าแนวขวาง
คาตอบที่ถูกต้อง : 4 3 : ความแข็งแรงขนานเส้นใยต่ากว่าความแข็งแรงตั้งฉาก
ข้อที่ 78 : ข้อใดไม่ช่วยทาให้วัสดุที่ผลิตจากอะลูมินา (Alumina) มีสมบัติ 4 : โมดูลัสเท่ากันทุกทิศทาง
โปร่งแสง (Translucent) ได้ คาตอบที่ถูกต้อง : 2
1 : อะลูมินาที่ใช้มีความบริสุทธ์สูงมาก ข้อที่ 85 : ยางมะตอย (Asphalt) และยางมะตอยผสม (Asphalt mix) มี
2 : เป็นวัสดุผลึกเดี่ยว (Single crystal) สมบัติต่างกันอย่างไร
3 : การจัดเรียงตัวของผลึกมีทิศทางใกล้เคียงกันมาก 1 : ยางมะตอยมีแรงเสียดทาน (Friction) มากกว่ายางมะตอยผสม
4 : ขอบเกรน (Grain boundary) มีความหนามาก 2 : ยางมะตอยผสมมีแรงเสียดทาน (Friction) มากกว่ายางมะตอย
คาตอบที่ถูกต้อง : 4 3 : ยางมะตอยและยางมะตอยผสมใช้ทาพื้นรับแรงที่มีสมบัติใกล้เคียงกัน
ข้อที่ 79 : กระถางปลูกต้นไม้ โอ่งดิน อิฐมอญ จัดเป็นเซรามิกประเภทใด 4 : ยางมะตอยแข็งแรงมากกว่ายางมะตอยผสม
1 : Stoneware คาตอบที่ถูกต้อง : 2
2 : Earthenware ข้อที่ 86 : การใช้คอนกรีตในการก่อสร้าง คอนกรีตถูกใช้เพื่อให้รับแรง
3 : Porcelain ประเภทใด
4 : Bone China 1 : แรงดึง (Tension)
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 2 : แรงอัด (Compression)
ข้อที่ 80 : วัสดุทนไฟที่ใช้ในเตาเผาอุณหภูมิสูงมักทาจากวัสดุในข้อใด 3 : แรงเฉือน (Shear)
ต่อไปนี้ 4 : แรงบิด (Torsion)
1 : CaO คาตอบที่ถูกต้อง : 2
2 : Feldspar ข้อที่ 87 : ความสามารถในการทางาน (Workability) ของคอนกรีต
3 : Cement สามารถทดสอบด้วยวิธีใด
4 : Mullite 1 : การทดสอบความล้า (Fatigue test)
คาตอบที่ถูกต้อง : 4 2 : การทดสอบโดยใช้แรงอัด (Compressive test)
เนื้อหาวิชา : 241 : 04 Asphalt wood and concrete 3 : การทดสอบความแข็งแบบบริเนลล์ (Brinell)
ข้อที่ 81 : ไม้จัดเป็นวัสดุประเภทใด 4 : การทดสอบการยุบตัว (Slump test)
1 : วัสดุเชิงประกอบ คาตอบที่ถูกต้อง : 4
2 : พอลิคาร์บอเนต ข้อที่ 88 : ส่วนประกอบหลักของคอนกรีตคือข้อใด
3 : พอลิไวนิลคลอไรด์ 1 : ทราย (Sand) หินฟันม้า (Feldspar) และซีเมนต์ (Cement)
4 : พอลิเมอร์ 2 : หินย่อย (Aggregate) หินฟันม้า (Feldspar) และซีเมนต์ (Cement)
คาตอบที่ถูกต้อง : 4 3 : ทราย (Sand) หินย่อย (Aggregate) และซีเมนต์ (Cement)
ข้อที่ 82 : เพราะเหตุใดไม้จึงรับแรงดัด (Bending force) ได้ดี 4 : ทราย (Sand) หินย่อย (Aggregate) และบิทูเมน (Bitumen)
1 : เส้นใยเรียงตัวในทิศใดทิศหนึ่ง คาตอบที่ถูกต้อง : 3
2 : มีความเหนียวสูง เนื้อหาวิชา : 242 : 05 Phase equilibrium diagrams and their
3 : เนื้อไม้มีความหนาแน่นสูง interpretation
4 : ไม้มีน้าหนักเบา ข้อที่ 89 : สมการ delta ferrite + L --> austenite เรียกปฏิกิริยานี้ว่า
คาตอบที่ถูกต้อง : 1 ปฏิกิริยาใด
ข้อที่ 83 : ข้อใดเป็นส่วนประกอบหลักของยางมะตอย (Asphalt) 1 : Eutectoid
2 : Eutectic
8

3 : Peritectic ข้อที่ 93 : ปฏิกิริยายูเทกทอยด์ (Eutectoid) ของเหล็กกล้าคาร์บอน เกิดที่


4 : Peritectoid ปริมาณคาร์บอนกี่เปอร์เซ็นต์โดย
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 น้าหนัก
ข้อที่ 90 : ข้อใดไม่ใช่ข้อมูลที่สามารถทราบได้จากแผนภาพเฟส (Phase
diagram)
1 : สภาพการละลายได้ของธาตุหนึ่งในอีกธาตุหนึ่ง
2 : อุณหภูมิที่สารเริ่มหลอมละลาย
3 : ความดันที่สารเปลี่ยนเฟส
4 : ปริมาตรของสารที่หลอมเหลว
คาตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 91 : ข้อใดเป็นสิ่งที่สามารถทราบได้จากแผนภาพเฟส (Phase
diagram)
1 : อุณหภูมิที่โลหะผสมเริ่มแข็งตัวเป็นของแข็ง
2 : สภาพการละลายได้ของธาตุหนึ่งในอีกธาตุหนึ่ง ณ สภาวะสมดุล
3 : เฟสต่างๆ ที่มีอยู่ในเนื้อวัสดุ
4 : ข้อ 1 2 และ 3 ถูก
คาตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 92 : ข้อใดคือปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในแผนภาพเฟสของ Fe-Fe3C ที่
กาหนดให้

1 : 0.025%
2 : 0.8%
3 : 2.0%
4 : 4.3%
คาตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 94 : โครงสร้างใดคือโครงสร้างของเหล็กกล้าคาร์บอนส่วนผสมยู
เทกทอยด์ที่เย็นตัวอย่างช้าๆ ผ่านปฏิกิริยายูเทคทอยด์ เรียกโครงสร้างที่
เกิดขึ้นว่าอะไร
1 : เฟร์ไรต์ (Ferrite)
2 : เพอร์ไลต์ (Pearlite)
3 : ออสเทไนต์ (Austenite)
4 : ซีเมนไทต์ (Cementite)
คาตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 95 : ข้อใดไม่ใช่ข้อมูลที่ได้จากการอ่านแผนภาพเฟสในสภาวะที่
สมดุล
1 : ชนิดของเฟสที่เกิดขึ้น
1 : Peritic, Eutectic, Eutectoid 2 : ปริมาณของเฟสที่เกิดขึ้น
2 : Peritectic, Eutectic, Eutectoid 3 : อุณหภูมิที่สารเริ่มแข็งตัว (Solidify) หรือหลอมเหลว (Melt)
3 : Peritectic, Eutectic, Eutectertic 4 : ชนิดของโครงสร้างผลึกของเฟสที่เกิดขึ้น
4 : ข้อ 1 2 และ 3 ผิด คาตอบที่ถูกต้อง : 4
คาตอบที่ถูกต้อง : 2
9

ข้อที่ 96 : สารละลาย (Solution) และของผสม (Mixture) แตกต่างกัน 3 : ขนาดของอะตอมทั้งสองธาตุมีความแตกต่างกันไม่เกิน 15%


อย่างไร 4 : ธาตุแต่ละตัวควรมีค่า Valence electron เหมือนกัน
1 : สารละลายจะเกิดการแยกกันของสารทาให้เกิดเฟสมากกว่าหนึ่งเฟส คาตอบที่ถูกต้อง : 2
ของผสมจะเกิดเป็นเนื้อเดียวกันมีเพียงหนึ่งเฟส ข้อที่ 101 :
2 : สารละลายจะเกิดเฉพาะในของเหลวเท่านั้น ของผสมจะเกิดจากการ จากแผนภาพเฟสของทองแดง (Cu) – นิกเกิล (Ni) โลหะผสม
ผสมของเหลวและของแข็งด้วยกัน ประกอบด้วยทองแดง 47%โดยน้าหนักและนิกเกิล 53% โดยน้าหนัก ที่
3 : สารละลายจะเกิดเป็นเนื้อเดียวกันมีเพียงหนึ่งเฟส ของผสมจะเกิดการ 1300 องศาเซลเซียส ประกอบด้วยเฟสอะไร
แยกกันของสารทาให้เกิดเฟสมากกว่าหนึ่งเฟส
4 : สารละลายจะเกิดจากการรวมกันของของเหลวและของแข็งเป็นเฟส
เดียว ของผสมจะเกิดจากการรวมกันของสารทาให้กลายเป็นเฟสเดียว
คาตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 97 : เส้น Liquidus มีความสาคัญอย่างไร
1 : ภายใต้สภาวะที่สมดุล เฟสจะเป็นเฟสของเหลวทั้งหมดที่อุณหภูมิต่า
กว่าเส้น Liquidus
2 : ภายใต้สภาวะที่สมดุล อุณหภูมิที่อยู่ต่ากว่าเส้น Liquidus เฟส
ของเหลวเปลี่ยนเป็นเฟสของแข็ง
3 : ภายใต้สภาวะที่สมดุล เฟสของแข็งชนิดหนึ่งจะเริ่มเกิดเป็นเฟส
ของแข็งมากกว่าหนึ่งชนิดที่เส้น Liquidus
4 : ภายใต้สภาวะที่สมดุล อุณหภูมิสูงกว่าเส้น Liquidus เฟสของเหลว
เริ่มเกิดเป็นเฟสของแข็งทั้งหมด
คาตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 98 : เส้น Solidus มีความสาคัญอย่างไร
1 : ภายใต้สภาวะที่สมดุล เฟสของแข็งชนิดหนึ่งจะเริ่มเกิดเป็นเฟส
ของแข็งมากกว่าหนึ่งชนิดที่เส้น Solidus
2 : ภายใต้สภาวะที่สมดุล อุณหภูมิที่อยู่ต่ากว่าเส้น Solidus จะ
ประกอบด้วยเฟสของเหลวและเฟสของแข็ง
3 : ภายใต้สภาวะที่สมดุล อุณหภูมิที่อยู่ต่ากว่าเส้น Solidus เฟส
ของเหลวจะเปลี่ยนเป็นเฟสของแข็งทั้งหมด 1 : เฟสของเหลว
4 : ภายใต้สภาวะที่สมดุล อุณหภูมิที่อยู่สูงกว่าเส้น Solidus จะ 2 : เฟสของเหลว และเฟสของแข็ง α
ประกอบด้วยเฟสของแข็งทั้งหมด 3 : เฟสของแข็ง α
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 4 : ข้อ 1 2 และ 3 ผิด
ข้อที่ 99 : ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของเส้น Solvus คาตอบที่ถูกต้อง : 2
1 : ภายใต้สภาวะที่สมดุล เฟสของแข็งชนิดหนึ่งจะเริ่มเกิดเป็นเฟส ข้อที่ 102 : จากแผนภาพเฟสของทองแดง (Cu) – นิกเกิล (Ni) โลหะผสม
ของแข็งมากกว่าหนึ่งชนิดที่เส้น Solvus ประกอบด้วยทองแดง 30% โดยน้าหนักและนิกเกิล 70% โดยน้าหนัก ถูกให้
2 : ภายใต้สภาวะที่สมดุล อุณหภูมิที่อยู่ต่ากว่าเส้น Solvus จะ ความร้อนจากอุณหภูมิห้อง อยากทราบว่าเฟสของเหลวเริ่มเกิดขึ้นที่อุณหภูมิ
ประกอบด้วยเฟสของเหลวและเฟสของแข็ง
3 : ภายใต้สภาวะที่สมดุล เส้น Solvus จะเป็นเส้นแสดงขีดจากัดการ
ละลาย (Solubility limit) ของเฟสของแข็งสองเฟส
4 : ภายใต้สภาวะที่สมดุลอุณหภูมิที่เหนือเส้น Solvus เป็นเฟสของแข็ง
ทั้งหมด
คาตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 100 : ข้อใดไม่ทาให้เกิด Isomorphous systems
1 : โครงสร้างผลึกของแต่ละธาตุมีโครงสร้างแบบเดียวกัน
2 : ธาตุแต่ละตัวต้องรวมกันเกิดเป็นสารประกอบ (Compound)
10

ใด 45% อยากทราบเปอร์เซ็นต์โดยน้าหนักของเฟสทั้งสองของโลหะผสมนี้

1 : ประมาณ 1200 องศาเซลเซียส 1 : เปอร์เซ็นต์ของเฟสของเหลว คือ 61.5% และ เปอร์เซ็นต์ของเฟส


2 : ประมาณ 1300 องศาเซลเซียส ของแข็ง α คือ 38.5%
3 : ประมาณ 1350 องศาเซลเซียส 2 : เปอร์เซ็นต์ของเฟสของเหลว คือ 38.5% และ เปอร์เซ็นต์ของเฟส
4 : ประมาณ 1380 องศาเซลเซียส ของแข็ง α คือ 61.5%
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 3 : เปอร์เซ็นต์ของเฟสของเหลว คือ 44.5% และ เปอร์เซ็นต์ของเฟส
ข้อที่ 103 : ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับการเกิดโครงสร้างแกน (Cored ของแข็ง α คือ 55.5%
structure) 4 : เปอร์เซ็นต์ของเฟสของเหลว คือ 55.5% และ เปอร์เซ็นต์ของเฟส
1 : เกิดในสภาวะที่ไม่สมดุล ของแข็ง α คือ 44.5%
2 : เกิดจากความเข้มข้นของส่วนประกอบทางเคมี (Chemical คาตอบที่ถูกต้อง : 2
composition) ในแต่ละส่วนต่างกัน
3 : สามารถแก้ไขได้โดยการทากรรมวิธีทางความร้อน (Heat
treatment)
4 : การเย็นตัวลงอย่างช้าๆ
คาตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 104 : จากแผนภาพเฟสของทองแดง (Cu) – นิเกิล (Ni) โลหะผสม
ประกอบด้วยทองแดง 47%โดยน้าหนักและนิเกิล 53%โดยน้าหนักที่
1300 องศาเซลเซียส ประกอบด้วยเฟสสองเฟส คือ เฟสของแข็ง α ซึ่งมี
ส่วนประกอบโดยน้าหนักของทองแดง 42% และ นิเกิล 58% และเฟส
ของเหลวซึ่งมีส่วนประกอบโดยน้าหนักของทองแดง 55% และ นิเกิล
11

ข้อที่ 105 : จากแผนภาพเฟสของทองแดง (Cu) – นิกเกิล (Ni) ค่า Degree บ้าง


of freedom บนเส้น Liquidus มีค่าเท่าใด

1 : Degree of freedom = 0
2 : Degree of freedom = 1
3 : Degree of freedom = 2
4 : Degree of freedom = 3
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 1 : Eutectic reaction และ Eutectoid reaction
ข้อที่ 106 : จากแผนภาพเฟสของทองแดง (Cu) – สังกะสี (Zn) ในช่วงอุณหภูมิ 2 : Peritectic reaction และ Eutectoid reaction
ตัง้ แต่ 500 องศาเซลเซียส ถึง 750 องศาเซลเซียส ของโลหะผสมที่มีเปอร์เซ็นต์ 3 : Eutectic reaction และ Peritectoid reaction
โดยน้าหนักของสังกะสีตั้งแต่ 60% ถึง 100% มีปฏิกิริยา Invariant ใดเกิดขึ้น 4 : Monotectic reaction และ Eutectoid reaction
คาตอบที่ถูกต้อง : 2
12

ข้อที่ 107 : จากแผนภาพเฟสของ นิกเกิล (Ni)- ไททาเนียม (Ti) มีปฏิกิริยา ถูกให้ความร้อนถึงอุณหภูมิเท่าใด


Invariant ใดเกิดขึ้นบ้าง

1 : ประมาณ 750 องศาเซลเซียส


1 : Monotectic reaction, Peritectic reaction และ Eutectoid 2 : ประมาณ 800 องศาเซลเซียส
reaction 3 : ประมาณ 850 องศาเซลเซียส
2 : Monotectic reaction, Peritectic reaction และ Peritectoid 4 : ประมาณ 950 องศาเซลเซียส
reaction คาตอบที่ถูกต้อง : 3
3 : Peritectic reaction, Eutectic reaction และ Eutectoid ข้อที่ 109 : จากแผนภาพเฟสของทองแดง (Cu) – สังกะสี (Zn) โลหะผสม
reaction ประกอบด้วยทองแดง 20%โดยน้าหนักและสังกะสี 80%โดยน้าหนัก ที่ 598
4 : Eutectoid reaction, Peritectoid reactionและ Peritectic องศาเซลเซียส ประกอบด้วยเฟส
reaction
คาตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 108 : จากแผนภาพเฟสของทองแดง (Cu) – เงิน (Ag) โลหะผสม
ประกอบด้วยทองแดง 10% โดยน้าหนักและเงิน 90%โดยน้าหนัก ถูกให้
ความร้อนจนเกิดเฟสของแข็ง และเฟสของเหลว ถ้าส่วนประกอบของเฟส
ของเหลวประกอบด้วยเงิน (Ag) 85%โดยน้าหนัก อยากทราบว่าโลหะผสมนี้
13

อะไร β ประกอบด้วยเงินกี่เปอร์เซ็นต์โดยน้าหนัก

1 : เฟสของเหลว และเฟสของแข็ง δ 1 : ประมาณ 90% โดยน้าหนัก


2 : เฟสของเหลว และเฟสของแข็ง ε 2 : ประมาณ 95% โดยน้าหนัก
3 : เฟสของแข็ง ε 3 : ประมาณ 5% โดยน้าหนัก
4 : เฟสของเหลว เฟสของแข็ง δ และเฟสของแข็ง ε 4 : ประมาณ 10% โดยน้าหนัก
คาตอบที่ถูกต้อง : 4 คาตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 110 : จากแผนภาพเฟสของทองแดง (Cu) – เงิน (Ag) โลหะผสม ข้อที่ 111 :
ประกอบด้วยทองแดง 10%โดยน้าหนัก และเงิน 90%โดยน้าหนัก ถูกให้ความ จากแผนภาพเฟสของทองแดง (Cu) – นิกเกิล (Ni) โลหะผสม
ร้อนจนเกิดเฟสของแข็ง β และเฟสของเหลว ถ้าส่วนประกอบของเฟส ประกอบด้วยทองแดง 30%โดยน้าหนักและนิเกิล 70%โดยน้าหนัก ที่
ของเหลวประกอบด้วยเงิน (Ag) 85% โดยน้าหนัก อยากทราบว่าเฟสของแข็ง 1350 องศาเซลเซียส ประกอบด้วยเฟสอะไร
14

องศาเซลเซียส ประกอบด้วยเฟสอะไร

1 : เฟสของเหลว
2 : เฟสของเหลว และเฟสของแข็ง α
3 : เฟสของแข็ง α
4 : เฟสของสารประกอบระหว่างทองแดงและนิเกิล
คาตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 112 : จากแผนภาพเฟสของทองแดง (Cu) – สังกะสี (Zn) โลหะผสม
ประกอบด้วยทองแดง 20%โดยน้าหนักและสังกะสี 80%โดยน้าหนัก ที่ 800 1 : เฟสของเหลว
2 : เฟสของเหลว และเฟสของแข็ง δ
3 : เฟสของเหลว และเฟสของแข็ง ε
4 : เฟสของแข็ง γ
คาตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 113 : จากแผนภาพเฟสของทองแดง (Cu) – สังกะสี (Zn) โลหะผสม
ประกอบด้วยทองแดง 20%โดยน้าหนักและสังกะสี 80%โดยน้าหนัก ที่ 500
องศาเซลเซียส ประกอบด้วยเฟส
15

อะไร บ้าง

1 : เฟสของเหลว 1 : เฟสของแข็งสองชนิดคือ (α Pb) และ (βSn)


2 : เฟสของแข็ง ε 2 : เฟสของแข็ง (α Pb) และเฟสของเหลว
3 : เฟสของแข็ง δ 3 : เฟสของแข็ง (βSn) และเฟสของเหลว
4 : เฟสของเหลว และเฟสของแข็ง ε 4 : เฟสของเหลว
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 คาตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 114 : จากแผนภาพเฟสของตะกั่ว (Pb) – ดีบุก (Sn) โลหะผสม ข้อที่ 115 : จากแผนภาพเฟสของตะกั่ว (Pb) – ดีบุก (Sn) โลหะผสม
ประกอบด้วยดีบุก 40%โดยน้าหนักและตะกั่ว 60%โดยน้าหนัก ที่ 150 องศา ประกอบด้วยดีบุก 61.9%โดยน้าหนักและตะกั่ว 38.1%โดยน้าหนัก ที่ 183
เซลเซียส ประกอบด้วยเฟอะไร องศาเซลเซียส ประกอบด้วยเฟส
16

อะไรบ้าง ข้อที่ 116 : จากแผนภาพเฟสของตะกั่ว (Pb) – ดีบุก (Sn) บริเวณที่เป็น α มี


ความหมายว่าอย่างไร

1 : เฟสของแข็งสองชนิดคือ (α Pb) และ (βSn) และเฟสของเหลว


2 : เฟสของแข็ง (α Pb) และเฟสของเหลว 1 : เฟสสารละลายของแข็ง (α Pb) ที่มีโครงสร้างผลึกของดีบุกและตะกั่ว
3 : เฟสของแข็ง (βSn) และเฟสของเหลว อยู่ร่วมกัน
4 : เฟสของแข็งสองชนิดคือ (α Pb) และ (βSn) 2 : เฟสสารละลายของแข็ง (α Pb) ที่มีโครงสร้างผลึกของตะกั่ว และมี
คาตอบที่ถูกต้อง : 1 อะตอมของดีบุกแทรกอยู่ในโครงสร้าง
3 : เฟสสารละลายของแข็ง (α Pb) ที่มีโครงสร้างผลึกแตกต่างจาก
โครงสร้างของดีบุกและตะกั่ว
4 : เฟสสารละลายของแข็ง (α Pb) ที่มีโครงสร้างผลึกของดีบุก และมี
อะตอมของตะกั่วแทรกอยู่ในโครงสร้าง
คาตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 117 : ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของโครงสร้างจุลภาคของส่วนประกอบ
Eutectic
1 : Lamellar
2 : Rodlike
3 : Globular
4 : Homogeneous
คาตอบที่ถูกต้อง : 4
17

ข้อที่ 121 : กรรมวิธีการชุบที่ใช้ตัวกลางชนิดใดต่อไปนี้ ที่ทาให้เกิดอัตรา


การคายความร้อนจากชิ้นงานมากที่สุด
ข้อที่ 118 : ปฏิกิริยาต่อไปนี้ ข้อใดไม่ใช่ปฏิกิริยา Invariant 1 : อากาศปกติ
1 : Eutectic reaction 2 : อากาศในเตาอบ
2 : Monotectic reaction 3 : น้าเปล่า
3 : Peritectoid reaction 4 : น้ามัน
4 : Oxidation reaction คาตอบที่ถูกต้อง : 3
คาตอบที่ถูกต้อง : 4 ข้อที่ 122 : กรรมวิธีการอบชนิดใดต่อไปนี้ ทาให้ชิ้นงานมีความแข็งแรงสูง
ข้อที่ 119 : จากแผนภาพเฟสของทองแดง (Cu) – นิกเกิล (Ni) ค่า Degree ที่สุด
of freedom ระหว่างเส้น Solidus และ Liquidus มีค่าเท่าใด 1 : การอบในกระบวนการ (Process annealing)
2 : การอบปรกติ (Normalizing)
3 : การอบอ่อนเต็มที่ (Full annealing)
4 : สเฟียรอยไดซิง (Spheroidizing)
คาตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 123 : ในการอบอ่อนเต็มที่ (Full annealing) ชิ้นงานถูกทาให้เย็น
ลงด้วยตัวกลางชนิดใด
1 : อากาศปรกตินอกเตาอบ
2 : อากาศในเตาอบ
3 : น้าเปล่า
4 : น้ามัน
คาตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 124 : ในการอบปรกติ (Normalizing) ชิ้นงานถูกทาให้เย็นลงด้วย
ตัวกลางชนิดใด
1 : อากาศปรกตินอกเตาอบ
2 : อากาศในเตาอบ
3 : น้าเปล่า
4 : น้ามัน
คาตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 125 : ข้อใดคือโครงสร้างที่ได้จากการเย็นตัวอย่างช้าๆ ของ
เหล็กกล้าคาร์บอนต่าที่มีโครงสร้างออสเทไนต์ (Austenite)
1 : Degree of freedom = 0 1 : เพอร์ไลต์ (Pearlite) และ เฟร์ไรต์ (Ferrite)
2 : Degree of freedom = 1 2 : เพอร์ไลต์ (Pearlite) และ ซีเมนไทต์ (Cementite)
3 : Degree of freedom = 2 3 : เบไนต์ (Bainite)
4 : Degree of freedom = 3 4 : มาร์เทนไซต์ (Martensite)
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 คาตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 120 : ข้อใดต่อไปนี้เป็นปฏิกิริยา Monotectic ข้อที่ 126 : จากแผนภาพการแปลงคงอุณหภูมิ (Isothermal
transformation diagram) ของเหล็กกล้าคาร์บอน 1.13 wt%C ข้อใดคือ
1:
โครงสร้างสุดท้ายของชิ้นงานเหล็กกล้าคาร์บอน 1.13 wt%C ขนาดเล็กที่ถูก
2: อบที่อุณหภูมิ 920 องศาเซลเซียส จนมีโครงสร้างเป็นออสเทไนต์
3: (Austenite) ตลอดทั้งชิ้นก่อนทาให้เย็นตัวลงอย่างรวดเร็ว จนชิ้นงานมี
อุณหภูมิ 400 องศาเซลเซียส และแช่ชิ้นงานไว้ที่อุณหภูมินี้นาน 1 นาที ก่อน
4:
คาตอบที่ถูกต้อง : 3
18

ทาให้เย็นตัวถึงอุณหภูมิห้อง ข้อที่ 129 : ข้อใดคือปัจจัยที่มีผลต่อความแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอนปาน


กลาง
1 : ปริมาณคาร์บอน
2 : อุณหภูมิก่อนการชุบแข็ง
3 : อัตราการชุบแข็ง
4 : ข้อ 1 2 และ 3 ถูก
คาตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 130 : โครงสร้างเพอร์ไลต์ (Pearlite) ในเหล็กกล้าเป็นโครงสร้างที่
ได้จากปฏิกิริยาอะไร
1 : ยูเทกติก (Eutectic)
2 : ยูเทกทอยด์ (Eutectoid)
3 : เพริเทกติก (Peritectic)
4 : เพริเทกทอยด์ (Peritectoid)
คาตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 131 :
ในภาวะสมดุล ณ อุณหภูมิต่ากว่าอุณหภูมิยูเทคทอยด์เล็กน้อย โครงสร้าง
เหล็กกล้าคาร์บอนต่า (0.2wt%C) ประกอบด้วยโครงสร้างของเฟสกึ่ง
เสถียร (Metastable phase) ใดบ้าง และเกิดขึ้นในปริมาณเท่าใด

1 : ออสเทไนต์ (Austenite) และ เบไนต์ (Bainite)


2 : ออสเทไนต์ (Austenite) เบไนต์ (Bainite) และ มาร์เทนไซต์
(Martensite)
3 : เบไนต์ (Bainite) และ มาร์เทนไซต์ (Martensite)
4 : ซีเมนไทต์ (Cementite) เบไนต์ (Bainite)และ มาร์เทนไซต์
(Martensite)
คาตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 127 : ข้อใดคือวัตถุประสงค์ของการอบปรกติ (Normalizing)
1 : เพื่อปรับปรุงสมบัติเชิงกลให้ดีขึ้น
2 : เพื่อปรับปรุงโครงสร้างให้สม่าเสมอ
3 : เป็นการทาลายความเครียดภายใน
4 : ข้อ 1 2 และ 3 ถูก
คาตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 128 : ข้อใดคือวัตถุประสงค์ของการอบอ่อน (Annealing)
1 : เพื่อเพิ่มความแข็งแรง
2 : เพื่อให้ได้โครงสร้างที่มีความอ่อนตัวสูง 1 : เฟร์ไรต์ (Ferrite) 80% และ เพอร์ไลต์ (Pearlite) 20%
3 : เพื่อเพิ่มความแข็งให้กับวัสดุ 2 : เฟร์ไรต์ (Ferrite) 20% และ เพอร์ไลต์ (Pearlite) 80%
4 : ข้อ 1 2 และ 3 ถูก 3 : เฟร์ไรต์ (Ferrite) 75% และ เพอร์ไลต์ (Pearlite) 25%
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 4 : เฟร์ไรต์ (Ferrite) 25% และ เพอร์ไลต์ (Pearlite) 75%
คาตอบที่ถูกต้อง : 3
19

ข้อที่ 132 : ลักษณะโครงสร้างบริเวณรอบรอยเชื่อม (HAZ) ในเหล็กกล้า ข้อที่ 134 : จากแผนภาพเฟสดีบุก-ตะกั่ว โลหะผสมของดีบุก 85% และตะกั่ว
คาร์บอนต่าส่วนที่ติดกับบริเวณหลอมเหลว (Fusion zone) ของรอย 15% โดยน้าหนัก จานวน 750 กรัมที่อุณหภูมิสูงกว่า 183˚C เล็กน้อย
เชื่อมคือ ข้อใดต่อไปนี้ ประกอบด้วยเฟส Proeutectic β กี่
1 : โครงสร้างมีขนาดเกรนหยาบ กรัม
2 : โครงสร้างมีขนาดเกรนละเอียด
3 : โครงสร้างเป็นมาร์เทนไซต์ (Martensite)
4 : โครงสร้างเป็นเบไนต์ (Bainite)
คาตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 133 : จากแผนภาพเฟสดีบุก-ตะกั่ว โครงสร้างของโลหะผสมดีบุกและ
ตะกั่วที่อุณหภูมิต่ากว่า 183˚C เล็กน้อย ประกอบด้วยเฟส Proeutectic α
73.2% โดยน้าหนัก และเฟสของ Eutectic (α + β) 26.8% โดยน้าหนัก
ส่วนผสมของโลหะนี้คือข้อใด

1 : 323.4
2 : 482.6
3 : 526.7
4 : 651.2
คาตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 135 : จากแผนภาพเฟสดีบุก-ตะกั่ว โลหะผสมของดีบุก 85% และตะกั่ว
15% โดยน้าหนัก จานวน 750 กรัมที่อุณหภูมิต่ากว่า 183˚C เล็กน้อย

1 : ดีบุก 20% และตะกั่ว 80% โดยน้าหนัก


2 : ดีบุก 25% และตะกั่ว 75% โดยน้าหนัก
3 : ดีบุก 30% และตะกั่ว 70% โดยน้าหนัก
4 : ดีบุก 35% และตะกั่ว 65% โดยน้าหนัก
คาตอบที่ถูกต้อง : 3
20

ประกอบด้วยเฟส α กี่กรัม โดยน้าหนัก ส่วนผสมของโลหะนี้คือข้อใด

1 : 323.65 1 : ทองแดง 10% และเงิน 90% โดยน้าหนัก


2 : 240.64 2 : ทองแดง 15% และเงิน 85% โดยน้าหนัก
3 : 120.75 3 : ทองแดง 20% และเงิน 80% โดยน้าหนัก
4 : 94.36 4 : ทองแดง 25% และเงิน 75% โดยน้าหนัก
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 คาตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 136 : จากแผนภาพเฟสของทองแดง (Cu) – เงิน (Ag) โครงสร้างของ ข้อที่ 137 : โลหะผสมของทองแดง 70% และ เงิน 30% โดยน้าหนัก จานวน
โลหะผสมทองแดงและเงินที่อุณหภูมิต่ากว่า 779˚C เล็กน้อย ประกอบด้วยเฟส 800 กรัม ที่อุณหภูมิต่ากว่า 779 องศาเซลเซียส เล็กน้อย จะมีเฟสใดเกิดขึ้น
Proeutectic α 68% โดยน้าหนัก และเฟสของ Eutectic (α + β) 32% บ้างและเกิดขึ้นเป็นจานวน
21

เท่าใด เท่าใด

1 : เฟส (Cu) 410.5 กรัม และเฟส (Ag) 389.5 กรัม 1 : เฟส (Cu) 610.5 กรัม และเฟส (Ag) 189.5 กรัม
2 : เฟส (Cu) 501.7 กรัม และเฟส (Ag) 298.3 กรัม 2 : เฟส (Cu) 510.7 กรัม และเฟส (Ag) 298.3 กรัม
3 : เฟส (Cu) 524.6 กรัม และเฟส (Ag) 275.4 กรัม 3 : เฟส (Cu) 524.6 กรัม และเฟส (Ag) 275.4 กรัม
4 : เฟส (Cu) 588.8 กรัม และเฟส (Ag) 211.5 กรัม 4 : เฟส (Cu) 730 กรัม และเฟส (Ag) 70 กรัม
คาตอบที่ถูกต้อง : 4 คาตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 138 : โลหะผสมของทองแดง 70% และ เงิน 30% โดยน้าหนัก จานวน
800 กรัม ที่อุณหภูมิสูงกว่า 779 องศาเซลเซียส เล็กน้อย จะมีเฟสใดเกิดขึ้นบ้าง
และเกิดขึ้นเป็นจานวน
22

ข้อที่ 139 : จากแผนภาพเฟสของ นิกเกิล (Ni)- ไททาเนียม (Ti) ข้อใดคือ ข้อที่ 140 : จากแผนภาพเฟสของ นิกเกิล (Ni) - ไททาเนียม (Ti) ข้อใดคือ
ปฏิกิริยา Eutectic ที่เกิดขึ้น ปฏิกิริยา Peritectic ที่เกิดขึ้น

1: 1:
2: 2:
3: 3:
4: 4:
คาตอบที่ถูกต้อง : 1 คาตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 141 : ในระบบ Ternary ซึ่งประกอบด้วยส่วนประกอบ 3 ชนิด
อยากทราบว่าถ้าให้อุณหภูมิสามารถเปลี่ยนแปลงได้ แต่ความดันมีค่าคงที่
จะมีจานวนเฟสเกิดขึ้นได้มากที่สุดพร้อมกันกี่เฟสที่อุณหภูมิและ
ส่วนประกอบเดียวกัน
1:5
2:4
3:3
4:2
คาตอบที่ถูกต้อง : 2
23

ข้อที่ 142 : จากแผนภาพเฟสทองแดง-เงิน ถ้าโลหะผสมของทองแดง 70% 1 : ธาตุบริสุทธิ์


และ เงิน 30% โดยน้าหนัก จานวน 800 กรัม ที่อุณหภูมิ 800 องศาเซลเซียส 2 : สารละลายของแข็ง (Solid solution)
จะมีเฟสใดเกิดขึ้นบ้างและเกิดขึ้นเป็นจานวน 3 : สารประกอบ (Compound)
เท่าใด 4 : สารประกอบระหว่างโลหะ (Intermetallic compound)
คาตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 145 : เหล็กกล้าคาร์บอน 0.8wt%C ชุบในน้าเย็นจากอุณหภูมิ 1000
องศาเซลเซียส จะได้โครงสร้าง
ใด

1 : มาร์เทนไซต์ (Martensite)
2 : เฟร์ไรต์ (Ferrite)
1 : เฟส (Cu) 610.5 กรัม และเฟสของเหลว 189.5 กรัม 3 : เพอร์ไลต์ (Pearlite)
2 : เฟส (Cu) 549.6 กรัม และเฟสของเหลว 250.4 กรัม 4 : ออสเทไนต์ (Austenite)
3 : เฟส (Cu) 580.6 กรัม และเฟสของเหลว 219.4 กรัม คาตอบที่ถูกต้อง : 1
4 : เฟส (Cu) 730 กรัม และเฟสของเหลว 70 กรัม ข้อที่ 146 : โลหะผสมในข้อใดต่อไปนี้ที่สามารถเพิ่มความแข็งแรงโดยการบ่มแข็ง
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 (Age hardenin
ข้อที่ 143 : ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่เฟสในเหล็กกล้าคาร์บอน (Carbon steel)
1 : เหล็กบริสุทธิ์
2 : เฟร์ไรต์ (Ferrite)
3 : ซีเมนไทต์ (Cementite)
4 : ข้อ 1 2 และ 3 ผิด
คาตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 144 : ซีเมนไทต์ (Cementite) ในเหล็กกล้าคาร์บอนเป็นเฟส
(Phase) ชนิดใด
24

ได้ ใด

1 : Al + 4wt%Cu 1 : (Al)
2 : Al + 8wt%Cu 2 : (Si)
3 : Al + 12wt%Cu 3 : Eutectic ((Al)+(Si))
4 : Al + 16wt%Cu 4 : สารประกอบอะลูมิเนียมซิลิไซด์
คาตอบที่ถูกต้อง : 1 คาตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 147 : เฟสของแข็งเฟสแรกที่เกิดจากการแข็งตัวจากสภาวะของเหลวของ ข้อที่ 148 : โครงสร้างงานหล่อทองเหลือง (Zn+ 20wt%Cu) โดยทั่วไป จะเป็นดัง
Al+20wt%Si คือข้อ ในข้อ
25

ใด ข้อที่ 149 : ช่วงการแข็งตัว (Freezing range) ของโลหะผสม Cu +


40wt%Ni มีค่าประมาณเท่าใด

1 : 10 องศาเซลเซียส
2 : 40 องศาเซลเซียส
3 : 100 องศาเซลเซียส
4 : 150 องศาเซลเซียส
1 : สารละลายของแข็ง (Solid solution) ส่วนผสมเท่ากันทุกตาแหน่ง คาตอบที่ถูกต้อง : 2
2 : สารละลายของแข็ง (Solid solution) ลักษณะเป็นเดนไดรท์ ข้อที่ 150 : โลหะผสม Cu + 40wt%Ni แข็งตัวอย่างช้าๆ ในภาวะสมดุล การ
(Dendrite) แข็งตัวจะเริ่มต้นและสิ้นสุดที่อุณหภูมิใดโดยประมาณ (องศา
3 : สารประกอบ (Compound) ส่วนผสมเท่ากันทุกตาแหน่ง
4 : สารประกอบ (Compound) ลักษณะเป็นเดนไดรท์ (Dendrite)
คาตอบที่ถูกต้อง : 2
26

เซลเซียส) เท่าใด

1 : เริ่มต้น 1455 สิ้นสุด 1085


2 : เริ่มต้น 1455 สิ้นสุด 1240
3 : เริ่มต้น 1280 สิ้นสุด 1240
4 : เริ่มต้น 1280 สิน้ สุด 1085
คาตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 151 : โครงสร้างที่เกิดขึ้นจากการแข็งตัวของโลหะผสม Pb + 30wt%Sn 1 : 16%
ในภาวะสมดุล ประกอบด้วยโครงสร้างยูเทกติก (Eutectic microconstituent) 2 : 26%
ประมาณ 3 : 36%
4 : 46%
คาตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 152 : ข้อมูลในข้อใดต่อไปนี้ที่ไม่สามารถหาได้จากแผนภาพเฟส
(Phase diagram)
1 : ชนิดของเฟสในภาวะสมดุล
2 : ส่วนผสมของเฟสในภาวะสมดุล
3 : ปริมาณของเฟสในภาวะสมดุล
4 : รูปร่างของเฟสในภาวะสมดุล
คาตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 153 : โครงสร้างที่ได้จากกระบวนการมาร์เทมเปอริ่ง
(Martempering) คือโครงสร้างใด
1 : เฟร์ไรต์ (Ferrite)
2 : เพอร์ไรต์ (Pearite)
27

3 : เบไนต์ (Bainite) เซลเซียส)


4 : มาร์เทนไซต์ (Martensite)
คาตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 154 : ธาตุใดส่งเสริมให้เกิดแกรไฟต์ (Graphite) แทนที่จะเกิดคาร์
ไบด์ (Carbide) ในเหล็กหล่อ
1 : Cr
2 : Mn
3 : Mo
4 : Si
คาตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 155 : วัตถุประสงค์หลักของการอบคืนไฟ (Tempering) คือข้อใด
1 : เพิ่มความแข็งให้กับเพอร์ไลต์ (Pearlite)
2 : เพิ่มความแข็งให้กับมาร์เทนไซต์ (Martensite)
3 : เพิ่มความเหนียวให้กับเพอร์ไลต์ (Pearlite)
4 : เพิ่มความเหนียวให้กับมาร์เทนไซต์ (Martensite)
คาตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 156 : การอบปรกติ (Normalizing) สาหรับเหล็กกล้า 0.2wt%C
ควรอบที่อุณหภูมิใด (องศาเซลเซียส)
1 : 700
2 : 800
3 : 950
4 : 1050
คาตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 157 : อุณหภูมิที่เหมาะสมในการบ่มเพื่อเพิ่มความแข็ง (Aging) สาหรับโลหะ
ผสม Al + 4wt%Cu คือข้อใด (องศา

1 : 200
2 : 400
3 : 500
4 : 600
คาตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 158 : ในการหล่อโลหะผสม Cu + 10wt%Sn จะเกิดปฏิกิริยาเพริเทกติก
(Peritectic) ได้
28

หรือไม่ ใด

1 : แรงผลัก (Driving force) ต่า เนื่องจากอุณหภูมิต่าเกินไป


2 : อัตราการแพร่ซึม (Diffusion rate) ของคาร์บอนต่าเกินไป
3 : อัตราการแพร่ซึม (Diffusion rate) ของเหล็กต่าเกินไป
4 : เหล็กมีปริมาณคาร์บอนสูงเกินไป
คาตอบที่ถูกต้อง : 2
เนื้อหาวิชา : 243 : 06 Mechanical properties and testing
1 : ไม่สามารถเกิดได้ เพราะส่วนผสมไม่ใช่ส่วนผสมเพริเทกติก ข้อที่ 161 : แท่งทองเหลืองทรงกระบอกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 10 มม.
2 : ไม่สามารถเกิดได้ เพราะปริมาณดีบุกน้อยเกินไป ยาว 150 มม. ได้รับความร้อนที่อุณหภูมิห้อง (25 องศาเซลเซียส) จนมี
3 : สามารถเกิดได้ในกรณีที่การแข็งตัวเป็นไปอย่างไม่สมดุล อุณหภูมิถึง 160 องศาเซลเซียส ทาให้เส้นผ่านศูนย์กลางของแท่ง
4 : สามารถเกิดได้ในทุกกรณี ไม่ว่าการแข็งตัวจะเป็นแบบสมดุลหรือไม่ก็ ทองเหลืองมีขนาดเพิ่มขึ้นเท่าไร กาหนดให้ค่าสัมประสิทธิ์การขยายตัว
ตาม ทางความร้อนของทองเหลือง คือ 20.0 (องศาเซลเซียส x 10-6) และค่า
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 Poisson’s Ratio = 0.34
ข้อที่ 159 : โครงสร้างงานหล่อของโลหะชนิดใดต่อไปนี้ที่จะไม่มีเดนไดรต์ 1 : 0.0095 มม.
(Dendrite) ปรากฏให้เห็นอย่างชัดเจน 2 : 0.0270 มม.
1 : ทองเหลือง 3 : 0.0345 มม.
2 : อะลูมิเนียมผสมซิลิคอน 4 : 0.0375 มม.
3 : เหล็กกล้าคาร์บอนต่า คาตอบที่ถูกต้อง : 2
4 : เหล็กกล้าไร้สนิม ข้อที่ 162 : วัสดุส่วนใหญ่ในกลุ่มใดที่เปราะ (Brittle) มากที่สุด
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 1 : โลหะ
ข้อที่ 160 : การเปลี่ยนเฟสจากออสเทไนต์ (Austenite) เป็นเบไนต์ (Bainite) 2 : เซรามิก
ของเหล็กกล้าคาร์บอน 0.8wt%C ที่อุณหภูมิ 300 องศาเซลเซียส เกิดขึ้นได้ 3 : พอลิเมอร์
ค่อนข้างช้า เพราะเหตุ 4 : วัสดุเชิงประกอบ
คาตอบที่ถูกต้อง : 2
29

ข้อที่ 169 : สมบัติใดบ่งชี้ถึงพลังงานที่วัสดุดูดกลืนไว้ก่อนที่จะเสียรูปอย่าง


ข้อที่ 163 : วัสดุส่วนใหญ่ในกลุ่มใดมีสภาพยืดหยุ่นได้ (Ductile) มาก ถาวร (Plastic deformation)
ที่สุด 1 : มอดุลัสของสภาพยืดหยุ่น (Modulus of elasticity)
1 : โลหะ 2 : มอดุลัสของความยืดหยุ่น (Modulus of resilience)
2 : เซรามิก 3 : ความแข็งแรง (Strength)
3 : พอลิเมอร์ 4 : อัตราส่วนของปัวซอง (Poisson’s ratio)
4 : วัสดุเชิงประกอบ คาตอบที่ถูกต้อง : 2
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 ข้อที่ 170 : สมบัติใดบ่งชี้ถึงพลังงานที่วัสดุดูดกลืนไว้ก่อนที่ชิ้นงานแตกหัก
ข้อที่ 164 : วัสดุส่วนใหญ่ในกลุ่มใดมีความแข็งตึง (Stiffness) มากที่สุด 1 : มอดุลัสของสภาพยืดหยุ่น (Modulus of elasticity)
1 : โลหะ 2 : ความแข็งแรง (Strength)
2 : เซรามิก 3 : ความเหนียว (Toughness)
3 : พอลิเมอร์ 4 : อัตราส่วนของปัวซอง (Poisson’s ratio)
4 : วัสดุเชิงประกอบ คาตอบที่ถูกต้อง : 3
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 ข้อที่ 171 : สมบัติใดบ่งชี้การเปลี่ยนแปลงขนาดของแท่งโลหะตามทิศ
ข้อที่ 165 : การคืบ (Creep) หมายถึง การเสียรูปที่อุณหภูมิสูงในลักษณะ ทางการดึงเทียบกับขนาดเดิมในทิศทางนั้นต่อการเปลี่ยนแปลงขนาดของ
ใด แท่งโลหะในทิศทางตั้งฉากกับทิศทางการดึงเทียบกับขนาดเดิมในทิศทาง
1 : การเสียรูปถาวรของวัสดุ (Plastic deformation) เนื่องจากได้รับแรง นั้น
ดึงเกินจุดคราก (Yield point) 1 : มอดุลัสของสภาพยืดหยุ่น (Modulus of elasticity)
2 : การเสียรูปชั่วคราวของวัสดุ (Elastic deformation) เนื่องจากได้รับ 2 : มอดุลัสของความยืดหยุ่น (Modulus of resilience)
แรงดึงเกินจุดคราก (Yield point) 3 : ความเหนียว (Toughness)
3 : การเสียรูปถาวรของวัสดุ (Plastic deformation) เนื่องจากได้รับแรง 4 : อัตราส่วนของปัวซอง (Poisson’s ratio)
ดึงต่ากว่าจุดคราก (Yield point) คาตอบที่ถูกต้อง : 4
4 : การเสียรูปชั่วคราวของวัสดุ (Elastic deformation) เนื่องจากได้รับ ข้อที่ 172 : เซรามิกสามารถรับแรงชนิดใดได้ดีที่สุด
แรงดึงต่ากว่าจุดคราก (Yield point) 1 : แรงดึง (Tension)
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 2 : แรงอัด (Compression)
ข้อที่ 166 : ความล้า (Fatigue) หมายถึงเหตุการณ์ใด 3 : แรงบิด (Torsion)
1 : การยืดตัวอย่างช้าๆ ของวัสดุ 4 : แรงกระแทก (Impact)
2 : การแตกหักของวัสดุ เนื่องจากได้รับแรงดึง คาตอบที่ถูกต้อง : 2
3 : การแตกหักของวัสดุ เนื่องจากได้รับแรงกด ข้อที่ 173 : ชิ้นงานในลักษณะใดที่เสียรูปด้วยการดึงได้ยากที่สุด
4 : การแตกหักของวัสดุ เนื่องจากได้รับแรงแบบซ้าไปซ้ามา 1 : ชิ้นงานที่มีความแข็งแรงสูง (Strength)
คาตอบที่ถูกต้อง : 4 2 : ชิ้นงานที่มีความแข็งตึงมาก (Stiffness)
ข้อที่ 167 : วัสดุในข้อใดต่อไปนี้มีความแข็ง (Hardness) มากที่สุด 3 : ชิ้นงานที่มีความเหนียวมาก (Toughness)
1 : เหล็กหล่อขาว 4 : ชิ้นงานที่มีสภาพดึงยืดได้มาก (Ductility)
2 : เหล็กกล้าเครื่องมือ คาตอบที่ถูกต้อง : 2
3 : เพชรตามธรรมชาติ ข้อที่ 174 : การทดสอบใดที่เหมาะสมสาหรับหาค่าความเหนียว
4 : แท่งนาโนเพชร (Toughness) ของวัสดุมากที่สุด
คาตอบที่ถูกต้อง : 4 1 : Impact test
ข้อที่ 168 : ภายใต้แรงดึงอย่างไรที่ทาให้เหล็กกล้าคาร์บอนต่าเสียรูป 2 : Tension test
อย่างไม่สม่าเสมอ (Non-uniform deformation) 3 : Creep test
1 : ใช้แรงดึงน้อยกว่าความต้านแรงคราก (Yield strength) 4 : Hardness test
2 : ใช้แรงดึงมากกว่าความต้านแรงคราก (Yield strength) คาตอบที่ถูกต้อง : 1
3 : ใช้แรงดึงน้อยกว่าความต้านแรงดึง (Tensile strength) ข้อที่ 175 : เครื่องวัดความแข็งแบบบริเนลเหมาะสมสาหรับวัดความแข็ง
4 : ใช้แรงดึงมากกว่าความต้านแรงดึง (Tensile strength) ของวัสดุชนิดใดต่อไปนี้มากที่สุด
คาตอบที่ถูกต้อง : 4
30

1 : เหล็กหล่อเทา 1 : 500 GPa


2 : ยางพารา 2 : 50 GPa
3 : ไม้สัก 3 : 5 GPa
4 : พลาสติก 4 : 0.5 GPa
คาตอบที่ถูกต้อง : 1 คาตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 176 : แท่งโลหะผสมของอลูมิเนียมมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 15 ข้อที่ 181 : ภายใต้แรงดึง (Tension) อย่างไรที่ทาให้ชิ้นงานเสียรูปแบบ
มิลลิเมตร นาไปทดสอบด้วยแรงดึง (Tension) 24.5 กิโลนิวตัน ถ้าเส้น ยืดหยุ่น (Elastic deformation)
ผ่านศูนย์กลางของโลหะผสมนี้กลายเป็น 14.5 มิลลิเมตร จงหาค่าความ 1 : ใช้แรงดึงน้อยกว่าความต้านแรงคราก (Yield strength)
เค้นทางวิศวกรรม (Engineering stress) ในหน่วย MPa 2 : ใช้แรงดึงมากกว่าความต้านแรงคราก (Yield strength)
1 : 139 3 : ใช้แรงดึงน้อยกว่าความต้านแรงดึง (Tensile strength)
2 : 148 4 : ใช้แรงดึงมากกว่าความต้านแรงดึง (Tensile strength)
3 : 160 คาตอบที่ถูกต้อง : 1
4 : 183 ข้อที่ 182 : ภายใต้แรงดึง (Tension) อย่างไรที่ทาให้ชิ้นงานเสียรูปอย่าง
คาตอบที่ถูกต้อง : 1 ถาวร (Plastic deformation)
ข้อที่ 177 : วัสดุในข้อใดต่อไปนี้มีความแข็งแรง (Strength) มากที่สุด 1 : ใช้แรงดึงน้อยกว่าความต้านแรงคราก (Yield strength)
1 : ท่อนาโนคาร์บอน 2 : ใช้แรงดึงมากกว่าความต้านแรงคราก (Yield strength)
2 : เหล็กหล่อเทา 3 : ใช้แรงดึงน้อยกว่าความต้านแรงดึง (Tensile strength)
3 : ไททาเนียมผสมนิเกิล 4 : ใช้แรงดึงมากกว่าความต้านแรงดึง (Tensile strength)
4 : เพชร คาตอบที่ถูกต้อง : 2
คาตอบที่ถูกต้อง : 1 ข้อที่ 183 : ภายใต้แรงดึง (Tension) อย่างไรที่ทาให้ชิ้นงานอะลูมิเนียม
ข้อที่ 178 : ข้อใดถูกต้อง เสียรูปอย่างถาวรและสม่าเสมอตลอดทั้งชิ้นงาน (Uniform-plastic
1 : ความเค้นจริง คือ แรงกระทาต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ของชิ้นงานเริ่มต้น deformation)
ก่อนรับแรง 1 : ใช้แรงดึงน้อยกว่าความต้านแรงคราก (Yield strength)
2 : ความเค้นทางวิศวกรรม คือ แรงกระทาต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ของชิ้นงาน 2 : ใช้แรงดึงมากกว่าความต้านแรงคราก (Yield strength)
ในขณะใด ๆ 3 : ใช้แรงดึงมากกว่าความต้านแรงคราก (Yield strength) แต่น้อยกว่า
3 : ความเครียดจริง คือ การเปลี่ยนแปลงความยาวของชิ้นงานต่อหนึ่ง ความต้านแรงดึง (Tensile strength)
หน่วยความยาวของชิ้นงานเริ่มต้นก่อนการเปลี่ยนแปลง 4 : ใช้แรงดึงมากกว่าความต้านแรงดึง (Tensile strength)
4 : ความเครียดทางวิศวกรรม คือ การเปลี่ยนแปลงความยาวของชิ้นงาน คาตอบที่ถูกต้อง : 3
ต่อหนึ่งหน่วยความยาวของชิ้นงานเริ่มต้นก่อนการเปลี่ยนแปลง ข้อที่ 184 : ข้อใดกล่าวผิด เกี่ยวกับการแตกหักของวัสดุ
คาตอบที่ถูกต้อง : 4 1 : การแตกหักแบบเหนียว (Ductile fracture) จะเกิดหลังจากการเสีย
ข้อที่ 179 : วัสดุชิ้นหนึ่งมีความต้านแรงคราก (Yield strength) เท่ากับ รูปอย่างถาวร (Plastic deformation) และการขยายรอยแตก (Crack)
300 MPa เมื่อนาวัสดุชิ้นนี้มารับแรงซึ่งก่อให้เกิดความเค้นเท่ากับ 200 จะเกิดอย่างช้าๆ
MPa โดยเป็นการรับแรงดึงสลับกับการรับแรงอัด ซึ่งอาจทาให้วัสดุชิ้น 2 : การแตกหักแบบเปราะ (Brittle fracture) จะเกิดโดยไม่มีการเสียรูป
ดังกล่าวมีโอกาสที่จะเกิดการแตกหักประเภทใดมากที่สุด อย่างถาวร (Plastic deformation) ซึ่งมีการขยายรอยแตก (Crack) ได้
1 : แตกหักแบบเปราะ รวดเร็ว
2 : แตกหักแบบเหนียว 3 : การเกิดคอคอด (Necking) ของวัสดุจะเกิดขึ้นก่อนการแตกหักแบบ
3 : ความล้า (Fatigue) เหนียว (Ductile fracture) และแบบเปราะ (Brittle fracture) เสมอ
4 : ความคืบ (Creep) 4 : วัสดุที่เหนียว เช่น พอลิเมอร์ และเหล็กกล้าบางชนิด จะสามารถ
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 ดูดกลืนพลังงานที่ใช้ในการทาให้วัสดุแตกหักได้มากกว่าวัสดุที่เปราะ เช่น
ข้อที่ 180 : จงคานวณค่ามอดุลัสของสภาพยืดหยุ่น (Modulus of เซรามิก
elasticity) ของวัสดุ M จากข้อมูลต่อไปนี้ วัสดุ M ได้รับแรงดึง คาตอบที่ถูกต้อง : 3
(Tension) ซึ่งทาให้เกิดการเสียรูปอย่างชั่วคราว (Elastic deformation) ข้อที่ 185 : ความสามารถในการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของวัสดุก่อนการ
โดยมีค่าความเค้นทางวิศวกรรม (Engineering stress) เท่ากับ 500 MPa แตกหัก หมายถึง สมบัติข้อใด
และความเครียดทางวิศวกรรม (Engineering strain) เท่ากับ 0.001
31

1 : ความเหนียว (Toughness) 1 : 0.09


2 : สภาพดึงยืดได้ (Ductility) 2 : 0.009
3 : ความยืดหยุ่น (Resilience) 3 : 0.0009
4 : ความล้า (Fatigue) 4 : 0.00009
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 คาตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 191 : จงคานวณค่าความเค้นทางวิศวกรรม (Engineering stress)
ของวัสดุรูปทรงกระบอกเส้นผ่านศูนย์กลาง 10 มิลลิเมตร ยาว 1 เมตร
ข้อที่ 186 : ข้อใดกล่าวผิด เกี่ยวกับกฎของฮุก (Hooke’s law) และถูกรับแรงดึงขนาด 50,000 N
1 : ความสัมพันธ์ของความเค้น (Stress) และความเครียด (Strain) ที่แปร 1 : 640 GPa
ผันตรงซึ่งกันและกัน 2 : 640 MPa
2 : ค่าคงที่ของการแปรผันที่เป็นไปตามกฎของฮุก คือ ค่ามอดุลัสสภาพ 3 : 640 kPa
ยืดหยุ่น (Modulus of elasticity) 4 : 640 Pa
3 : การเสียรูปที่เกิดขึ้นซึ่งความเค้น (Stress) และความเครียด (Strain) คาตอบที่ถูกต้อง : 2
แปรผันตรงซึ่งกันและกันนี้ เรียกว่า การเสียรูปอย่างถาวร (Plastic ข้อที่ 192 : ลวดทองแดงยาว 500 มิลลิเมตร มีค่ามอดุลัสของสภาพ
deformation) ยืดหยุ่น (Modulus of elasticity) 110 GPa ถูกดึงด้วยแรงดึงจนมีความ
4 : ค่ามอดุลัสสภาพยืดหยุ่นเป็นค่าที่บอกถึงความแข็งตึง (Stiffness) ของ เค้น 350 MPa หากการเสียรูปที่เกิดขึ้นนี้เป็นการเสียรูปแบบยืดหยุ่น
วัสดุในการต้านทานต่อการเสียรูปแบบยืดหยุ่น (Elastic deformation) (Elastic deformation) ลวดทองแดงจะถูกยืดออกจนมีความยาว
ของวัสดุ เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมกี่มิลลิเมตร
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 1 : 0.016
ข้อที่ 187 : ความล้า (Fatigue) ของวัสดุหมายถึงอะไร 2 : 0.16
1 : การยืดตัวทีละน้อย เนื่องจากวัสดุรับแรงเป็นเวลานาน 3 : 1.6
2 : วัสดุมีความแข็งแรงลดลง เนื่องจากรับแรงซ้าซาก 4 : 16
3 : การสึกหรอของชิ้นงาน เนื่องจากรับแรงซ้าซากเป็นเวลานาน คาตอบที่ถูกต้อง : 3
4 : การแตกร้าวของชิ้นงาน เนื่องจากรับแรงซ้าซากเป็นเวลานาน ข้อที่ 193 : เมื่อนาวัสดุ A และวัสดุ B มาทดสอบแรงดึงได้ความสัมพันธ์
คาตอบที่ถูกต้อง : 4 ระหว่างความเค้นและความเครียดดังรูป จากผลการทดสอบ ข้อใดต่อไปนี้
ข้อที่ 188 : การทดสอบความแข็งของเหล็กหล่อเทา (Gray cast iron) เปรียบเทียบสมบัติของวัสดุ A และวัสดุ B ได้ถูกต้องที่สุด
ควรใช้วิธีทดสอบแบบใด
1 : บริเนลล์ (Brinell)
2 : วิกเกอร์ส (Vickers)
3 : รอคเวลล์ ซี (Rockwell C)
4 : รอคเวลล์ เอ (Rockwell A)
คาตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 189 : สภาพดึงยืดได้ (Ductility) ของโลหะสามารถทดสอบได้โดย 1 : วัสดุ A มีความแข็งตึง (Stiffness) มากกว่าวัสดุ B
วิธีใด 2 : วัสดุ A มีความเหนียว (Toughness) มากกว่าวัสดุ B
1 : การทดสอบโดยใช้แรงดึง (Tensile test) 3 : วัสดุ A มีความยืดหยุ่น (Resilience) มากกว่าวัสดุ B
2 : การทดสอบความแข็ง (Hardness test) 4 : วัสดุ A มีสภาพดึงยืดได้ (Ductility) มากกว่าวัสดุ B
3 : การทดสอบโดยใช้แรงกระแทก (Impact test) คาตอบที่ถูกต้อง : 1
4 : การทดสอบความล้า (Fatigue test) ข้อที่ 194 : แท่งโลหะมีพื้นที่หน้าตัดเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส มีความยาว
คาตอบที่ถูกต้อง : 1 ด้านเท่ากับ 25 เซนติเมตร ทาจากเหล็กกล้าเกรด 1020 ซึ่งมีค่าความ
ข้อที่ 190 : จงคานวณค่าความเครียดทางวิศวกรรม (Engineering ต้านแรงดึง (Tensile strength) เท่ากับ 380 MPa และค่าความต้านแรง
strain) ของวัสดุรูปร่างเป็นแท่งยาว 2.2 เมตร และพื้นที่หน้าตัดเป็นรูป คราก (Yield strength) เท่ากับ 180 MPa เมื่อแท่งโลหะนี้ได้รับแรงดึง
สี่เหลี่ยมจัตุรัสมีความยาวแต่ละด้านเท่ากับ 50 มิลลิเมตร เมื่อนาไปรับ 25,000 นิวตัน จะเกิดการเสียรูปอย่างไร
แรงดึงปรากฏว่าความยาวเพิ่มขึ้นเป็น 2.202 เมตร 1 : เกิดการเสียรูปแบบยืดหยุ่น
2 : เกิดการเสียรูปอย่างถาวรโดยเสียรูปอย่างสม่าเสมอตลอดทั้งชิ้นงาน
32

3 : เกิดการเสียรูปอย่างถาวรโดยเสียรูปอย่างไม่สม่าเสมอตลอดทั้งชิ้นงาน ข้อที่ 199 : ความเสียหายเนื่องจากการคืบ (Creep) มักเกิดขึ้นเมื่อโลหะ


4 : เกิดการเสียรูปอย่างถาวรโดยเสียรูปอย่างไม่สม่าเสมอตลอดทั้งชิ้นงาน ถูกนาไปใช้งานในสภาวะใด
และแตกหัก 1 : ใช้งานที่อุณหภูมิห้อง และได้รับความเค้นแบบวัฏจักร (Cycle
คาตอบที่ถูกต้อง : 1 stresses) เป็นเวลานาน
2 : ใช้งานที่อุณหภูมิต่ากว่าอุณหภูมิห้อง และได้รับความเค้นแบบวัฏจักร
(Cycle stresses) เป็นเวลานาน
3 : ใช้งานที่อุณหภูมิต่ากว่าอุณหภูมิห้อง และได้รับความเค้นคงที่เป็น
เวลานาน
ข้อที่ 195 : ชิ้นงานทดสอบชนิดหนึ่งเมื่อได้รับความเค้น 30,000 lb/in2 4 : ใช้งานที่อุณหภูมิสูง และได้รับความเค้นคงที่เป็นเวลานาน
จะก่อให้เกิดความเครียดเท่ากับ 0.05 จงคานวณหาค่ามอดุลัสของสภาพ คาตอบที่ถูกต้อง : 4
ยืดหยุ่น (Modulus of elasticity) ในหน่วย lb/in2 ของชิ้นงานทดสอบ ข้อที่ 200 : วัสดุชิ้นหนึ่งถูกดึงจนขาดเป็น 2 ส่วน พบว่าบริเวณรอยขาด
นี้ แยกแตกแบบราบเรียบ แสดงว่าวัสดุนี้น่าจะมีสมบัติอย่างไร
1 : มีความแข็งตึง (Stiffness) สูง และความแข็ง (Hardness) สูง
1:
2 : มีความแข็งตึง (Stiffness) สูง และสภาพดึงยืดได้ (Ductility) สูง
2: 3 : มีความแข็ง (Hardness) ต่า และสภาพดึงยืดได้ (Ductility) สูง
4 : มีความแข็ง (Hardness) ต่า และสภาพดึงยืดได้ (Ductility) ต่า
3:
คาตอบที่ถูกต้อง : 1
4: เนื้อหาวิชา : 244 : 07 Physical and chemical properties and
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 testing
ข้อที่ 196 : หากต้องการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงขนาดของวัสดุตาม ข้อที่ 201 : วัสดุส่วนใหญ่ในกลุ่มใดมีสัมประสิทธิ์การขยายตัวเนื่องจาก
ทิศทางการดึงต่อการเปลี่ยนแปลงขนาดในทิศทางตั้งฉากกับทิศทางการ ความร้อนมากที่สุด
ดึงของวัสดุชนิดต่างๆ ควรนาสมบัติของวัสดุในข้อใดต่อไปนี้มาพิจารณา 1 : โลหะ
เปรียบเทียบ 2 : เซรามิก
1 : ความเค้น (Stress) 3 : พอลิเมอร์
2 : อัตราส่วนของปัวซอง (Poisson’s ratio) 4 : วัสดุเชิงประกอบ
3 : ความเหนียว (Toughness) คาตอบที่ถูกต้อง : 3
4 : มอดุลัสของสภาพยืดหยุ่น (Modulus of elasticity) ข้อที่ 202 : วัสดุส่วนใหญ่ในกลุ่มใดมีสัมประสิทธิ์การขยายตัวเนื่องจาก
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 ความร้อนน้อยที่สุด
ข้อที่ 197 : วัสดุในข้อใดต่อไปนี้มีความแข็ง (Hardness) มากที่สุด 1 : โลหะ
1 : พอลิไวนิลคลอไรด์ 2 : เซรามิก
2 : เหล็กกล้าไร้สนิมมาเทนไซต์ 3 : พอลิเมอร์
3 : เหล็กหล่อเทา 4 : วัสดุเชิงประกอบ
4 : ซิลิกอนคาร์ไบด์ คาตอบที่ถูกต้อง : 2
คาตอบที่ถูกต้อง : 4 ข้อที่ 203 : วัสดุส่วนใหญ่ในกลุ่มใดสามารถนาความร้อนได้ดีที่สุด
ข้อที่ 198 : โลหะผสมทองแดงถูกใช้งานโดยได้รับความเค้นแบบวัฏจักร 1 : โลหะ
(Cycle stresses) ที่ 25 องศาเซลเซียส เมื่อถูกใช้ไปนานระยะหนึ่งเกิด 2 : เซรามิก
การแตกหักขึ้นแม้ว่าความเค้นที่ได้รับมีค่าน้อยกว่าค่าความต้านแรงคราก 3 : พอลิเมอร์
ความเสียหายนี้เป็นการแตกหักแบบใด 4 : วัสดุเชิงประกอบ
1 : การแตกร้าวเนื่องจากการคืบ (Creep fracture) คาตอบที่ถูกต้อง : 1
2 : การแตกหักล้า (Fatigue fracture) ข้อที่ 204 : วัสดุชนิดใดเหมาะสาหรับนามาทาเป็นตัวนาความร้อนได้ดี
3 : การแตกร้าวเปราะ (Brittle fracture) ที่สุด
4 : การแตกร้าวเหนียว (Ductile fracture) 1 : เหล็กกล้าไร้สนิม
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 2 : อะลูมิเนียม
33

3 : พลาสติก ข้อที่ 210 : อุณหภูมิคูรี (Curie temperature) คือ อุณหภูมิใด


4 : กระจก 1 : อุณหภูมิที่เกิดการเปลี่ยนโครงสร้างผลึก
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 2 : อุณหภูมิที่เกิดการเปลี่ยนสภาพความเป็นแม่เหล็ก
ข้อที่ 205 : วัสดุประเภทใดที่มีช่องว่างของแถบพลังงาน (Energy band 3 : อุณหภูมิที่ความจุความร้อนจาเพาะมีค่าคงที่
gap) กว้าง 4 : อุณหภูมิที่ของแข็งมีความหนืดลดลง
1 : สารตัวนา (Conductor) คาตอบที่ถูกต้อง : 2
2 : สารกึ่งตัวนา (Semiconductor) ข้อที่ 211 : เมื่อแสงตกกระทบวัสดุใดๆ ปรากฏการณ์ใดสามารถเกิดขึ้น
3 : ฉนวน (Insulator) ได้บ้าง
4 : ข้อ 1 2 และ 3 ผิด 1 : แสงสะท้อนกลับ
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 2 : แสงผ่านทะลุโดยเกิดการหักเหขึ้นภายใน
3 : แสงถูกดูดกลืน
ข้อที่ 206 : โครงสร้างอิเล็กตรอนของสารกึ่งตัวนาทางไฟฟ้า 4 : ข้อ 1 2 และ 3 ถูก
(Semiconductor) คือข้อใด คาตอบที่ถูกต้อง : 4
1 : โครงสร้างของสารที่มีอิเล็กตรอนไม่เต็มแถบเวเลนซ์ (Valance ข้อที่ 212 : เมื่อแสงตกกระทบลงบนวัสดุโปร่งใส (Transparent) ไม่มีสี
band) จะเกิดปรากฏการณ์ใดขึ้น
2 : โครงสร้างของสารที่ระดับพลังงานของแถบการนา (Conduction 1 : แสงสะท้อนกลับ
band) ซ้อนอยู่กับระดับพลังงานของแถบเวเลนซ์ (Valance band) 2 : แสงผ่านทะลุโดยเกิดการหักเหขึ้นภายใน
3 : โครงสร้างของสารที่มีอิเล็กตรอนเต็มแถบเวเลนซ์ (Valance band) 3 : แสงถูกดูดกลืน
แต่ช่องว่างระหว่างแถบเวเลนซ์ (Valance band) และแถบการนา 4 : ข้อ 1 2 และ 3 ถูก
(Conduction band) ห่างกันไม่มาก คาตอบที่ถูกต้อง : 2
4 : โครงสร้างของสารที่มีอิเล็กตรอนเต็มแถบเวเลนซ์ (Valance band) ข้อที่ 213 : เซลล์แสงอาทิตย์ (Solar cell) ใช้หลักการใดในการเปลี่ยน
แต่ช่องว่างระหว่างแถบเวเลนซ์ (Valance band) และแถบการนา พลังงานจากแสงให้เป็นพลังงานไฟฟ้า
(Conduction band) ห่างกันมาก 1 : การดูดกลืนพลังงานของแสงในสารกึ่งตัวนา
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 2 : การหักเหของคลื่นแสงในสารกึ่งตัวนา
ข้อที่ 207 : โครงสร้างของสารตัวนาไฟฟ้าคือข้อใด 3 : การสะท้อนของแสงที่ผิวของสารกึ่งตัวนา
1 : โครงสร้างของสารที่มีอิเล็กตรอนไม่เต็มแถบเวเลนซ์ (Valance 4 : ข้อ 1 2 และ 3 ถูก
band) คาตอบที่ถูกต้อง : 1
2 : โครงสร้างของสารที่ระดับพลังงานของแถบการนา (Conduction ข้อที่ 214 : โลหะในข้อใดต่อไปนี้มีความต้านทานการกัดกร่อน
band) ซ้อนอยู่กับระดับพลังงานของแถบเวเลนซ์ (Valance band) (Corrosion resistance) ในบรรยากาศปกติน้อยที่สุด
3 : ถูกทั้งข้อ 1 และ 2 1 : เหล็กกล้า
4 : ข้อ 1 2 และ 3 ผิด 2 : เหล็กหล่อ
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 3 : อะลูมิเนียม
ข้อที่ 208 : แม่เหล็กถาวร (Hard magnet) หมายถึงข้อใด 4 : ทองแดง
1 : วัสดุที่ง่ายต่อการทาเป็นแม่เหล็ก คาตอบที่ถูกต้อง : 2
2 : วัสดุที่สามารถรักษาภาวะการเป็นแม่เหล็กได้ดี ข้อที่ 215 : โลหะในข้อใดต่อไปนี้มีความต้านทานการกัดกร่อน
3 : วัสดุที่ต้องใช้สนามแม่เหล็กภายนอกน้อยเพื่อทาเป็นแม่เหล็ก (Corrosion resistance) ในบรรยากาศปกติสูงที่สุด
4 : เหล็กที่มีสนามแม่เหล็กตกค้างอยู่ภายใน 1 : เหล็กกล้าไร้สนิมเฟอร์ไรต์ (Ferritic stainless steel)
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 2 : เหล็กกล้าไร้สนิมมาร์เทนไซต์ (Martensitic stainless steel)
ข้อที่ 209 : แม่เหล็กชั่วคราว (Soft magnet) หมายถึงข้อใด 3 : เหล็กกล้าไร้สนิมออสเทไนต์ (Austenitic stainless steel)
1 : วัสดุที่ง่ายต่อการทาเป็นแม่เหล็ก 4 : เหล็กกล้าไร้สนิมแปซิฟิก (Pacific stainless steel)
2 : วัสดุที่สามารถลบล้างอานาจแม่เหล็กได้ง่าย คาตอบที่ถูกต้อง : 3
3 : วัสดุที่ต้องใช้สนามแม่เหล็กภายนอกน้อยเพื่อทาเป็นแม่เหล็ก ข้อที่ 216 : โลหะในข้อใดต่อไปนี้ควรนามาเคลือบผิวเหล็กเพื่อป้องกัน
4 : ข้อ 1 2 และ 3 ถูก การเกิดสนิมและเพิ่มความแข็งให้กับเหล็ก
คาตอบที่ถูกต้อง : 4
34

1 : สังกะสี ข้อที่ 222 : ถ้าต้องการเพิ่มสภาพนาไฟฟ้า (Electrical conductivity)


2 : โครเมียม ให้กับสารกึ่งตัวนา (Semiconductor) ควรทาอย่างไร
3 : อะลูมิเนียม 1 : ลดอุณหภูมิการใช้งาน
4 : ดีบุก 2 : เติมสารเจือปน
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 3 : นาไปผ่านกระบวนการขึ้นรูปเย็น
ข้อที่ 217 : วัสดุใดต่อไปนี้มีค่าความเป็นแม่เหล็กต่าที่สุด 4 : ข้อ 1 2 และ 3 ถูก
1 : วัสดุไดอะแมกนิติก (Diamagnetic material) คาตอบที่ถูกต้อง : 2
2 : วัสดุพาราแมกนิติก (Paramagnetic material) ข้อที่ 223 : ถ้าต้องการเพิ่มสภาพนาไฟฟ้า (Electrical conductivity)
3 : วัสดุเฟร์โรแมกนิติก (Ferromagnetic material) ให้กับสารตัวนา (Conductor) ควรทาอย่างไร
4 : วัสดุเฟร์ริแมกนิติก (Ferrignetic material) 1 : ลดอุณหภูมิการใช้งาน
คาตอบที่ถูกต้อง : 1 2 : เติมสารเจือปน
3 : นาไปผ่านกระบวนการขึ้นรูปเย็น
4 : ข้อ 1 2 และ 3 ถูก
ข้อที่ 218 : ไดโอดเปล่งแสง (Light emitting diode, LED) ใช้หลักการ คาตอบที่ถูกต้อง : 1
ใดในการทางาน ข้อที่ 224 : เมื่อสัมผัสโต๊ะไม้และโต๊ะเหล็กที่ตั้งอยู่ในห้องปรับอากาศ
1 : การสะท้อนแสง (Reflection) บริเวณเดียวกัน เราจะรู้สึกโต๊ะเย็นไม่เท่ากันอย่างไร
2 : การดูดกลืนแสง (Absorption) 1 : โต๊ะเหล็กเย็นกว่า เพราะเหล็กมีความจุความร้อนมากกว่าไม้
3 : การหักเหของแสง (Refraction) 2 : โต๊ะเหล็กเย็นกว่า เพราะเหล็กถ่ายเทความร้อนได้ดีกว่าไม้
4 : ข้อ 1 2 และ 3 ถูก 3 : โต๊ะเหล็กเย็นกว่า เพราะเหล็กมีความหนาแน่นมากกว่าไม้
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 4 : ข้อ 1 2 และ 3 ถูก
ข้อที่ 219 : แว่นขยาย (Magnifier) ใช้หลักการใดในการทางาน คาตอบที่ถูกต้อง : 2
1 : การสะท้อนแสง (Reflection) ข้อที่ 225 : ถ้าให้ความร้อนกับชิ้นงานที่มีความหนามากจะเกิดสิ่งใดขึ้น
2 : การดูดกลืนแสง (Absorption) 1 : ชิ้นงานบวมขึ้น เนื่องจากการขยายตัวทางความร้อนที่ผิวชิ้นงาน
3 : การหักเหของแสง (Refraction) มากกว่า
4 : ข้อ 1 2 และ 3 ถูก 2 : ชิ้นงานหดตัวลง เนื่องจากการหดตัวภายในชิ้นงาน
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 3 : ผิวชิ้นงานเกิดการแตกร้าว เนื่องจากการหดตัวภายในชิ้นงาน
ข้อที่ 220 : โลหะในข้อใดต่อไปนี้มีสภาพนาไฟฟ้า (Electrical 4 : เกิดความเค้นอัด (Compressive stress) ที่ผิวชิ้นงาน และความเค้น
conductivity) น้อยที่สุด ดึง (Tensile stress) ภายในชิ้นงาน
1 : ทองแดงบริสุทธิ์ ที่ใช้งาน ณ อุณหภูมิต่า คาตอบที่ถูกต้อง : 4
2 : ทองแดงบริสุทธิ์ ที่ใช้งาน ณ อุณหภูมิสูง ข้อที่ 226 : เพราะเหตุใดจึงเห็นสีในวัสดุโปร่งใส (Transparent) บาง
3 : ทองแดงผสมนิเกิลและผ่านกระบวนการรีดเย็น ที่ใช้งาน ณ อุณหภูมิ ชนิด
ต่า 1 : แสงที่ส่งผ่านถูกดูดกลืนไปในบางช่วงความยาวคลื่น
4 : ทองแดงผสมนิเกิลและผ่านกระบวนการรีดเย็น ที่ใช้งาน ณ อุณหภูมิ 2 : แสงที่ส่งผ่านเกิดการหักเหขึ้นภายในเนื้อวัสดุ
สูง 3 : มีการผสมเม็ดสีลงในเนื้อวัสดุ
คาตอบที่ถูกต้อง : 4 4 : ข้อ 1 2 และ 3 ถูก
ข้อที่ 221 : โลหะในข้อใดต่อไปนี้มีสภาพต้านทานไฟฟ้า (Electrical คาตอบที่ถูกต้อง : 1
resistivity) น้อยที่สุด ข้อที่ 227 : ข้อใดต่อไปนี้ทาให้เกิดสนิมไม่มีสีบนผิวชิ้นงานเหล็กกล้าที่มี
1 : ทองแดงบริสุทธิ์ ที่ใช้งาน ณ อุณหภูมิต่า รอยขีดข่วนในบรรยากาศที่มีความชื้น
2 : ทองแดงบริสุทธิ์ ที่ใช้งาน ณ อุณหภูมิสูง 1 : ผิวชิ้นงานถูกเคลือบด้วยสังกะสี
3 : ทองแดงผสมนิเกิลและผ่านกระบวนการรีดเย็น ที่ใช้งาน ณ อุณหภูมิ 2 : ผิวชิ้นงานถูกเคลือบด้วยโครเมียม
ต่า 3 : ผิวชิ้นงานถูกเคลือบด้วยดีบุก
4 : ทองแดงผสมนิเกิลและผ่านกระบวนการรีดเย็น ที่ใช้งาน ณ อุณหภูมิ 4 : ผิวชิ้นงานถูกเช็ดทาความสะอาดด้วยน้าสะอาดเป็นประจา
สูง คาตอบที่ถูกต้อง : 2
คาตอบที่ถูกต้อง : 1
35

ข้อที่ 228 : เทพีเสรีภาพทามาจากทองแดงบริสุทธิ์ เพราะเหตุใดเทพี ข้อที่ 233 : วัสดุในข้อใดต่อไปนี้เกิดการขยายตัวเนื่องจากความร้อนสูง


เสรีภาพจึงมีสีเขียว ที่สุด
1 : มีการทาสีเขียวเพื่อป้องกันการผุกร่อน 1 : ซิลิกา
2 : เกิดการผุกร่อนที่ผิวเกิดเป็นทองแดงออกไซด์สีเขียว 2 : เหล็กกล้า
3 : เกิดการผุกร่อนที่ผิวเกิดเป็นทองแดงซัลเฟตสีเขียว 3 : พอลิเอทิลีน
4 : เกิดการผุกร่อนที่ผิวเกิดเป็นทองแดงคลอไรด์สีเขียว 4 : อะลูมินา
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 คาตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 229 : ข้อความใดต่อไปนี้เป็นการกล่าวที่ถูกต้อง ข้อที่ 234 : วัสดุในข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจุความร้อนสูงที่สุด
1 : เงินมีค่าสภาพนาไฟฟ้า (Electrical conductivity) ดีกว่าทอง 1 : แก้ว
2 : ลวดตัวนาที่มีขนาดพื้นที่หน้าตัดมากมีการนาไฟฟ้าแย่กว่าลวดตัวนาที่ 2 : ทังสเตน
มีขนาดพื้นที่หน้าตัดน้อยกว่าในวัสดุเดียวกันที่มีความยาวเท่ากัน 3 : พอลิไวนิลคลอไรด์
3 : อะลูมิเนียมมีค่าสภาพต้านทานไฟฟ้า (Electrical resistivity) 4 : อะลูมิเนียม
มากกว่าเพชร คาตอบที่ถูกต้อง : 3
4 : อุณหภูมิไม่มีผลต่อความสามารถในการนาไฟฟ้าในวัสดุที่เป็นโลหะ ข้อที่ 235 : วัสดุในข้อใดต่อไปนี้สามารถนาไฟฟ้าได้ดีขึ้นเมื่ออุณหภูมิ
คาตอบที่ถูกต้อง : 1 ลดลง
1 : อะลูมิเนียม
ข้อที่ 230 : ข้อความใดต่อไปนี้เป็นการกล่าวที่ผิด 2 : ซิลิกอน
1 : N-type เป็นสารกึ่งตัวนาประเภท Extrinsic semiconductor 3 : พอลิเอสเทอร์
2 : อุณหภูมิสูงมีผลต่อความสามารถในการนาไฟฟ้าในวัสดุที่เป็นสารกึ่ง 4 : แคดเมียมซัลไฟด์
ตัวนา คาตอบที่ถูกต้อง : 1
3 : การเติม (Doping) ด้วยธาตุโบรอน (B3+) เข้าไปแทนที่ซิลิกอน (Si4+) ข้อที่ 236 : การทางานของอุปกรณ์วัดแสงทั่วไปในการถ่ายภาพเกี่ยวข้อง
ในโครงสร้างผลึกทาให้เกิดเป็นสารกึ่งตัวนาแบบ N-type กับปรากฏการณ์ใด
4 : การแพร่ (Diffusion) มีบทบาทอย่างมากในการทาสารกึ่งตัวนา 1 : การเปล่งแสง (Luminescence)
ประเภท Extrinsic semiconductor 2 : การนาไฟฟ้าด้วยแสง (Photoconductivity)
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 3 : การเรืองแสงแบบฟลูออเรสเซนซ์ (Fluorescence)
ข้อที่ 231 : วัสดุส่วนใหญ่ในกลุ่มใดต่อไปนี้มีจุดหลอมเหลว (Melting 4 : การเรืองแสงแบบฟอสฟอเรสเซนซ์ (Phosphorescence)
point) สูงที่สุด คาตอบที่ถูกต้อง : 2
1 : เซรามิก ข้อที่ 237 : เพราะเหตุใดพอลิเมอร์ที่มีความเป็นผลึกสูงจึงไม่โปร่งใส
2 : โลหะ (Transparent)
3 : พอลิเมอร์ 1 : การมีผลึกทาให้เกิดการเปล่งแสงมาก
4 : ไม้ 2 : การมีผลึกทาให้เกิดการเรืองแสงมาก
คาตอบที่ถูกต้อง : 1 3 : การมีผลึกทาให้เกิดการกระเจิงของแสงในเนื้อวัสดุมาก
ข้อที่ 232 : ลวดทองเหลืองยาว 1 เมตร ถูกทาให้ร้อนจนมีอุณหภูมิสูง 70 4 : การมีผลึกทาให้อิเล็กตรอนเลื่อนระดับชั้นพลังงานได้มาก
องศาเซลเซียส จากอุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส ขณะที่ปลายทั้งสองข้าง คาตอบที่ถูกต้อง : 3
ถูกยึด จงหาขนาดของความเค้นที่เกิดขึ้นในหน่วย MPa กาหนดให้ค่า ข้อที่ 238 : หากต้องการตรวจสอบวัสดุตัวอย่างว่าเป็นแม่เหล็กถาวร
มอดูลัสของสภาพยืดหยุ่น (Modulus of elasticity) ของทองเหลืองมีค่า (Hard magnet) หรือแม่เหล็กชั่วคราว (Soft magnet) ควรพิจารณา
97 GPa และสัมประสิทธิ์การขยายตัวเนื่องจากความร้อน (Coeffeicient จากสมบัติในข้อใดต่อไปนี้
of thermal expansion) ของทองเหลืองมีค่า 20×10-6 องศาเซลเซียส-1 1 : ค่าความไวต่อสภาพแม่เหล็ก (Magnetic susceptibility)
1 : +0.08 2 : ค่าความสามารถซึมซับแม่เหล็ก (Magnetic permeability)
2 : -0.08 3 : เส้นโค้งฮิสเทอรีซิส (Hysteresis loop)
3 : +77.60 4 : ค่าคงที่ไดอิเล็กทริก (Dielectric constant)
4 : -77.60 คาตอบที่ถูกต้อง : 3
คาตอบที่ถูกต้อง : 4 ข้อที่ 239 : ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่วัสดุไดอะแมกนิติก
36

1 : อะลูมินัมออกไซด์ (Al2O3) 1 : Ni
2 : แมกนีไทต์ (Fe3O4) 2 : SiC
3 : ทองแดง (Cu) 3 : H2O ระหว่างโมเลกุล
4 : สังกะสี (Zn) 4 : MgO
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 คาตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 240 : ข้อใดไม่ใช่แม่เหล็กถาวร ข้อที่ 246 : ทังสเตนที่ 20 องศาเซลเซียส มีโครงสร้างผลึกแบบ Body-
1 : วัสดุไดอะแมกนิติก centered cubic (BCC) โดยมีค่า lattice parameter 0.3165 นาโน
2 : วัสดุพาราแมกนิติก เมตร (nm) จงคานวณหาค่ารัศมีอะตอมของโลหะทังสเตนในหน่วยนาโน
3 : วัสดุเฟร์โรแมกนิติก เมตร (nm)
4 : ข้อ 1 และ 2 ถูก 1 : 0.1371
คาตอบที่ถูกต้อง : 4 2 : 0.1432
เนื้อหาวิชา : 245 : 08 Structures of materials 3 : 0.2315
ข้อที่ 241 : เพราะเหตุใดเหล็กแผ่นที่ผ่านกระบวนการขึ้นรูปด้วยวิธีรีด 4 : 0.7309
เย็น (Cold rolling) จึงมีความแข็งมากกว่าเหล็กแผ่นที่ผลิตด้วยวิธีรีดร้อน คาตอบที่ถูกต้อง : 1
(Hot rolling) ข้อที่ 247 : กาหนดให้ a, b, c คือค่าความยาวแต่ละด้านของหน่วยเซลล์
1 : การรีดเย็นไม่ทาให้เกิดผลึกใหม่ (Recrystallization) และ α, β, γ คือมุมระหว่างด้าน ถ้าพบว่าโครงสร้างผลึกแบบหนึ่งมีค่า
2 : การรีดเย็นทาให้มีความเค้นตกค้าง (Residual stress) บนผิวเหล็ก a≠b≠c และ α = β = γ = 90 องศา อยากทราบว่าโครงสร้างผลึกนี้
แผ่นน้อยกว่าการรีดร้อน มีชื่อว่าอะไร
3 : การรีดเย็นทาให้ผิวเหล็กแผ่นเกิดออกไซด์มากกว่าการรีดร้อน 1 : Cubic
4 : ข้อ 1 2 และ 3 ถูก 2 : Tetragonal
คาตอบที่ถูกต้อง : 1 3 : Orthorhombic
ข้อที่ 242 : พันธะใดเป็นพันธะทางกายภาพ (Physical bond) 4 : Monoclinic
1 : พันธะโลหะ (Metallic bond) คาตอบที่ถูกต้อง : 3
2 : พันธะไอออนิก (Ionic bond) ข้อที่ 248 : กาหนดให้ a, b, c คือค่าความยาวแต่ละด้านของหน่วยเซลล์
3 : พันธะโควาเลนซ์ (Covalent bond) และ α, β, γ คือมุมระหว่างด้าน ถ้าพบว่าโครงสร้างผลึกแบบหนึ่งมีค่า
4 : พันธะแวนเดอร์วาลส์ (Van der Waals bond) a = b = c และ α = β = γ = 90 องศา มีอะตอมอยู่ตามมุมทุกมุม
คาตอบที่ถูกต้อง : 4 และมีอะตอมอยู่กึ่งกลางหน้าทั้งหกหน้าของหน่วยเซลล์ อยากทราบว่า
ข้อที่ 243 : โครงสร้างผลึกชนิดใดมีการจัดเรียงอะตอมอย่างหนาแน่น โครงสร้างผลึกนี้มีชื่อว่าอะไร
ที่สุด 1 : Simple cubic
1 : โครงสร้างลูกบาศก์อย่างง่าย (Simple cubic) 2 : Body-centered cubic
2 : โครงสร้างลูกบาศก์กึ่งกลางเซล (Body-centered cubic) 3 : Simple orthorhombic
3 : โครงสร้างลูกบาศก์กึ่งกลางผิวหน้า (Face-centered cubic) 4 : Face-centered cubic
4 : โครงสร้างออร์โทรอมบิกกึ่งกลางฐาน (Base-centered คาตอบที่ถูกต้อง : 4
orthorhombic) ข้อที่ 249 : โครงสร้างผลึกแบบ body-centered cubic (BCC) ในหนึ่ง
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 หน่วยเซลล์ (Unit cell) ประกอบด้วยกี่อะตอม
ข้อที่ 244 : โครงสร้างของออสเทไนต์ (Austenite) ในเหล็กกล้า มี 1 : 1 อะตอม
โครงสร้างผลึกรูปแบบใด 2 : 2 อะตอม
1 : Body-centered cubic (BCC) 3 : 3 อะตอม
2 : Face-centered cubic (FCC) 4 : 4 อะตอม
3 : Hexagonal close-packed (HCP) คาตอบที่ถูกต้อง : 2
4 : Body-centered cubic (BCC) และ Face-centered cubic (FCC) ข้อที่ 250 : โครงสร้างผลึกแบบ Face-centered cubic (FCC) ในหนึ่ง
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 หน่วยเซลล์ (Unit cell) ประกอบด้วยกี่อะตอม
ข้อที่ 245 : วัสดุชนิดใดต่อไปนี้มีพันธะหลักเป็นพันธะโคเวเลนต์
(Covalent bond)
37

1 : 1 อะตอม 1 : พันธะโคเวเลนซ์ (Covalent bond)


2 : 2 อะตอม 2 : พันธะไอออนิก (Ionic bond)
3 : 3 อะตอม 3 : พันธะโลหะ (Metallic bond)
4 : 4 อะตอม 4 : พันธะแวนเดอร์วาลส์ (Van der Waals bond)
คาตอบที่ถูกต้อง : 4 คาตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 251 : โครงสร้างผลึกแบบ Hexagonal closed pack (HCP) ใน ข้อที่ 257 : โครงสร้างโมเลกุลของพอลิเอทิลีน (Polyethylene) แบบกิ่ง
หนึ่งหน่วยเซลล์ (Unit cell) ประกอบด้วยกี่อะตอม (Branched) มีสมบัติต่างจากโครงสร้างโมเลกุลของพอลิเอทิลีนแบบ
1 : 2 อะตอม เส้นตรง (Linear) อย่างไร
2 : 4 อะตอม 1 : ความแข็งแรงเพิ่มขึ้น
3 : 6 อะตอม 2 : ความเป็นผลึกลดลง
4 : 8 อะตอม 3 : การยืดและหดตัวลดลง
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 4 : ความทนต่อการถูกขีดข่วนเพิ่มขึ้น
ข้อที่ 252 : ข้อใดต่อไปนี้มีโครงสร้างแบบ Closed-pack คาตอบที่ถูกต้อง : 2
1 : Body-centered tetragonal ข้อที่ 258 : ข้อใดคือคาจากัดความของ Tg (Glass transition
2 : Body-centered cubic temperature)
3 : Face-centered cubic 1 : อุณหภูมิที่สายโซ่รองของโมเลกุลพอลิเมอร์สามารถเคลื่อนที่ได้
4 : Base-centered orthorhombic 2 : อุณหภูมิที่สายโซ่หลักของโมเลกุลพอลิเมอร์สามารถเคลื่อนที่ได้
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 3 : อุณหภูมิในการเกิดผลึก
4 : อุณหภูมิในการหลอมเหลว
คาตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 259 : ถ้านาพอลิเมอร์ที่มีโครงสร้างภายในเป็นแบบกึ่งผลึก
ข้อที่ 253 : พลาสติกใสจะมีโครงสร้างภายในเป็นแบบใด (Semicrystalline polymer) มาอบที่อุณหภูมิสูงกว่า Tg (Glass
1 : ไม่มีความเป็นผลึก transition temperature) ประมาณ 10 – 20 องศาเซลเซียส เป็นเวลา
2 : มีความเป็นผลึกที่มีขนาดเล็กกว่าความยาวคลื่นแสง 24 ชั่วโมง ผลที่ได้จะเป็นอย่างไร
3 : ข้อ 1 และ 2 ถูก 1 : สภาพดึงยืดได้ (Ductility) เพิ่มขึ้น
4 : ข้อ 1 และ 2 ผิด 2 : ความแข็งแรงที่จุดคราก (Yield strength) ลดลง
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 3 : ค่ามอดุลัสสภาพยืดหยุ่น (Modulus of elasticity) เพิ่มขึ้น
ข้อที่ 254 : เพราะเหตุใดพอลิเมอร์ชนิดที่มีโครงสร้างภายในที่สามารถ 4 : ความแข็ง (Hardness) ลดลง
เกิดผลึกได้ จึงมีลักษณะเป็นแบบกึ่งผลึก (Semicrystalline) เท่านั้น คาตอบที่ถูกต้อง : 3
1 : เพราะพอลิเมอร์มีโครงสร้างผลึกที่ยุ่งยากซับซ้อน ข้อที่ 260 : พอลิเมอร์ที่ไม่สามารถเกิดโครงสร้างผลึกได้ คือพอลิเมอร์ช
2 : เพราะพอลิเมอร์มีสายโซ่โมเลกุลที่ยาวมาก นิดใดต่อไปนี้
3 : เพราะการจัดเรียงตัวให้เป็นระเบียบของทุกโมเลกุลของพอลิเมอร์ทา 1 : พอลิเอทิลีน (Polyethylene)
ได้ยาก 2 : พอลิเอทิลีน เทเรฟทาเลต (Polyethylene terephthalate)
4 : ข้อ 1 2 และ 3 ถูก 3 : ไนลอน (Nylon)
คาตอบที่ถูกต้อง : 4 4 : พอลิสไตรีน (Polystyrene)
ข้อที่ 255 : ปริมาณความเป็นผลึกของพอลิเมอร์มีผลต่อความหนาแน่น คาตอบที่ถูกต้อง : 4
ของพอลิเมอร์ชนิดนั้นอย่างไร ข้อที่ 261 : ข้อใดคือโครงสร้างผลึกของมาร์เทนไซต์ (Martensite)
1 : ปริมาณผลึกที่มากขึ้น ทาให้ความหนาแน่นเพิ่มขึ้น 1 : Face-centered cubic (FCC)
2 : ปริมาณผลึกที่มากขึ้น ทาให้ความหนาแน่นลดลง 2 : Body-centered cubic (BCC)
3 : ปริมาณผลึกที่มากขึ้น อาจทาให้ความหนาแน่นเพิ่มขึ้นหรือลดลงก็ได้ 3 : Body-centered tetragonal (BCT)
4 : ปริมาณผลึกไม่มีผลต่อความหนาแน่น 4 : Face-centered tetragonal (FCT)
คาตอบที่ถูกต้อง : 1 คาตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 256 : พันธะเคมีที่เกิดในสายโซ่หลักของโมเลกุลพอลิเมอร์คือพันธะ ข้อที่ 262 : ข้อใดคือโครงสร้างผลึกของเบไนต์ (Bainite)
ชนิดใด
38

1 : Face-centered cubic (FCC) 3 : การแทรกของ Anion ในผลึกเกิดได้ง่ายกว่า


2 : Body-centered cubic (BCC) 4 : Anion มักจะอยู่ไม่เป็นระเบียบ
3 : Body-centered tetragonal (BCT) คาตอบที่ถูกต้อง : 2
4 : Face-centered tetragonal (FCT) ข้อที่ 269 : สารประกอบออกไซด์ประเภทใดที่ช่วยทาให้ความหนืดของ
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 แก้วต่าลง
ข้อที่ 263 : เหล็กกล้าคาร์บอนต่า (0.2wt%C) ในข้อใดต่อไปนี้ มีขนาด 1 : ์ N a2 O
เกรนเล็กที่สุด 2 : Al2O3
1 : อบที่อุณหภูมิ 1050 องศาเซลเซียส ปล่อยให้เย็นในเตา 3 : SiO2
2 : อบที่อุณหภูมิ 1050 องศาเซลเซียส ปล่อยให้เย็นในอากาศ 4 : TiO2
3 : อบที่อุณหภูมิ 950 องศาเซลเซียส ปล่อยให้เย็นในเตา คาตอบที่ถูกต้อง : 1
4 : อบที่อุณหภูมิ 950 องศาเซลเซียส ปล่อยให้เย็นในอากาศ ข้อที่ 270 : ทาไมแกรไฟต์ (Graphite) ถึงสามารถหลุดออกเป็นแผ่นๆได้
คาตอบที่ถูกต้อง : 4 ง่าย
ข้อที่ 264 : โครงสร้างที่ทนต่อการคืบ (Creep) ได้ดีที่สุดคือ ข้อใดต่อไปนี้ 1 : ระหว่างชั้นของโครงสร้างแกรไฟต์ยึดกันด้วยพันธะไอออนิก (Ionic
1 : ผลึกเดี่ยว (Single crystal) bond)
2 : โครงสร้างที่มีเกรนขนาดใหญ่ 2 : ระหว่างชั้นของโครงสร้างแกรไฟต์ไม่มีการยึดกันด้วยพันธะใดๆ
3 : โครงสร้างที่มีเกรนขนาดเล็ก 3 : ระหว่างชั้นของแกรไฟต์ยึดกันด้วยพันธะโควาเลนท์ (Covalent
4 : โครงสร้างที่มีเกรนรูปร่างเรียวยาว bond)
คาตอบที่ถูกต้อง : 1 4 : ระหว่างชั้นของโครงสร้างแกรไฟต์เป็นพันธะแวนเดอร์วาลส์ (Van
ข้อที่ 265 : โครงสร้างจุลภาคของรอยเชื่อมเหล็กกล้าไร้สนิมออสเทไนต์ der Waals bond)
(Austenite stainless steel) บริเวณพื้นที่หลอมเหลว (Fusion zone) คาตอบที่ถูกต้อง : 4
ประกอบด้วยเฟสต่างๆ ดังในข้อใดต่อไปนี้ ข้อที่ 271 : ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่โครงสร้างผลึกของเซรามิก
1 : ออสเทไนต์ (Austenite) 1 : BaTiO3
2 : ออสเทไนต์ (Austenite) และ เฟร์ไรต์ (Ferrite) 2 : NaCl
3 : ออสเทไนต์ (Austenite) และ เพอร์ไลต์ (Pearlite) 3 : Al2O3
4 : ออสเทไนต์ (Austenite) และ คาร์ไบด์ (Carbide) 4 : CH4
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 คาตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 266 : โครงสร้างของเหล็กกล้าคาร์บอนในข้อใดต่อไปนี้ที่ทนต่อแรง ข้อที่ 272 : การเติมสาร Intermediate oxides ในแก้วเพื่อประโยชน์
กระแทกที่อุณหภูมิต่าได้ดีที่สุด อะไร
1 : ออสเทไนต์ (Austenite) เกรนขนาดใหญ่ 1 : เพื่อให้สามารถขึ้นรูปแก้วได้ง่ายขึ้น
2 : เฟร์ไรต์ (Ferrite) เกรนขนาดใหญ่ 2 : เพื่อให้แก้วมีความหนืดต่าลง
3 : ออสเทไนต์ (Austenite) เกรนขนาดเล็ก 3 : เพื่อปรับปรุงสมบัติของแก้ว
4 : เฟร์ไรต์ (Ferrite) เกรนขนาดเล็ก 4 : เพื่อทาให้แก้วหลอมตัวที่อุณหภูมิต่าลง
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 คาตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 267 : การเกิดข้อบกพร่องแบบ Schottky มักเกิดกับผลึกที่ยึดกัน ข้อที่ 273 : ข้อใดไม่ถูกต้องเมื่อกล่าวถึงโครงสร้างของแก้ว
ด้วยพันธะชนิดใด 1 : แก้วมีโครงสร้างเป็นตาข่าย (Network structure) ที่มีทิศทางไม่
1 : พันธะโลหะ (Metallic bond) แน่นอน
2 : พันธะโควาเลนท์ (Covalent bond) 2 : พันธะของโครงสร้างของแก้วยึดกันด้วยพันธะไอออนิก (Ionic bond)
3 : พันธะไอออนิก (Ionic bond) 3 : แก้วมีโครงสร้างแบบไม่เป็นผลึก
4 : พันธะแวนเดอร์วาลส์ (Van der Waals bond) 4 : โครงสร้างของแก้วเกิดจากการยึดกันของ SiO44 -
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 คาตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 268 : ทาไมข้อบกพร่องแบบ Frenkel มักเกิดกับ Cation มากกว่า ข้อที่ 274 : การเติมสาร Glass-modifying oxide ในแก้วเพื่อประโยชน์
Anion อะไร
1 : Cation มีขนาดใหญ่กว่า Anion 1 : เพื่อให้แก้วมีความต้านทานต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ (Thermal
2 : Anion มีขนาดใหญ่กว่า Cation shock resistance)
39

2 : เพื่อให้แก้วมีความหนืดต่าลง เนื้อหาวิชา : 246 : 09 Processing-Structure relationships


3 : เพื่อให้แก้วมีความแข็งสูงขึ้น ข้อที่ 281 : ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้องที่สุด
4 : เพื่อให้แก้วมีผลึกเกิดขึ้น 1 : เหล็กโครงสร้าง FCC มีความแข็งแรงเพิ่มขึ้นช้ากว่าเหล็กโครงสร้าง
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 BCC ระหว่างการขึ้นรูปเย็น (Cold working)
ข้อที่ 275 : โครงสร้างผลึกแบบ Perovskite มีความสาคัญสาหรับวัสดุ 2 : การเคลื่อน (Dislocation) ในผลึกโครงสร้าง FCC สามารถเคลื่อนที่
ประเภทใด ได้ยากกว่าในผลึกโครงสร้าง BCC
1 : Pyroelectric material 3 : การเคลื่อน (Dislocation) ในผลึกโครงสร้าง FCC สามารถเคลื่อนที่
2 : Piezoelectric material ได้ง่ายกว่าในผลึกโครงสร้าง HCP
3 : Semiconductor 4 : ข้อ 1 2 และ 3 ผิด
4 : Capacitor คาตอบที่ถูกต้อง : 3
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 ข้อที่ 282 : การชุบแข็งเหล็กกล้าคาร์บอนปานกลาง ต้องทาการเผาเหล็ก
ข้อที่ 276 : ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของอะตอม จนได้โครงสร้างใดก่อนทาให้เย็นตัวอย่างรวดเร็ว
1 : นิวเคลียร์ 1 : เฟร์ไรต์ (Ferrite)
2 : นิวตรอน 2 : ออสเทไนต์ (Austenite)
3 : อิเล็กตรอน 3 : ซีเมนไทต์ (Cementite)
4 : โปรตอน 4 : มาร์เทนไซต์ (Martensite)
คาตอบที่ถูกต้อง : 1 คาตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 277 : พันธะในข้อใดต่อไปนี้มีความแข็งแรงน้อยที่สุด ข้อที่ 283 : เหล็กหล่อขาว (White cast iron) มีโครงสร้างจุลภาคดังใน
1 : พันธะไอออนิก ข้อใดต่อไปนี้
2 : แรงแวนเดอร์วาลส์ 1 : เฟร์ไรต์ และ เพอร์ไลต์ (Ferrite & Pearlite)
3 : พันธะโลหะ 2 : ซีเมนไทต์ และ เพอร์ไลต์ (Cementite & Pearlite)
4 : พันธะไฮโดรเจน 3 : เฟร์ไรต์ และ แกรไฟต์ (Ferrite & Graphite)
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 4 : เพอร์ไลต์ และ แกรไฟต์ (Peartite & Graphite)
ข้อที่ 278 : โครงสร้างผลึกในข้อใดต่อไปนี้ที่อะตอมมีการบรรจุแบบชิด คาตอบที่ถูกต้อง : 2
ที่สุด (closed pack) ข้อที่ 284 : ข้อใดคือโครงสร้างของเหล็กกล้าคาร์บอนปานกลางที่ได้จาก
1 : FCC และ BCC การปล่อยให้เย็นอย่างช้าๆ จากโครงสร้างออสเทไนต์ (Austenite)
2 : FCC และ HCP 1 : Cementite + Pearlite
3 : BCC และ HCP 2 : Ferrite + Pearlite
4 : Simple cubic และ HCP 3 : Bainite + Pearlite
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 4 : Martensite + Pearlite
ข้อที่ 279 : พันธะใดต่อไปนี้เกิดขึ้นระหว่างโมเลกุลของน้าในน้าแข็ง คาตอบที่ถูกต้อง : 2
1 : พันธะโคเวเลนซ์ ข้อที่ 285 : ข้อใดคือโครงสร้างจุลภาคของเหล็กกล้าคาร์บอนที่ผ่านการ
2 : พันธะไอออนิก เผาด้วยอุณหภูมิคงที่ประมาณ 730 - 750 องศาเซลเซียส เป็นเวลานาน
3 : พันธะไฮโดรเจน 20 ชั่วโมง
4 : พันธะโลหะ 1 : เพอร์ไลต์หยาบ (Coarse pearlite)
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 2 : เพอร์ไลต์ละเอียด (Fine pearlite)
ข้อที่ 280 : สารประกอบของ LiAg มีหน่วยเซลล์เป็นแบบ Simple 3 : สเฟียรอยไดต์ (Spheroidite)
cubic และอะตอมทั้งสองชนิดต่างมีเลขโคออร์ดิเนชันเท่ากับ 8 ดังนั้น 4 : เบไนต์แบบขนนก (Feathery bainite)
หน่วยเซลล์ดังกล่าวนี้จะมีลักษณะเหมือนกับผลึกในข้อใด คาตอบที่ถูกต้อง : 3
1 : NaCl ข้อที่ 286 : ในกระบวนการหล่อโลหะ เมื่อโลหะที่หลอมเหลวเกิดการ
2 : ZnS แข็งตัว และเกิดโพรงช่องว่างขึ้นภายในชิ้นงาน ซึ่งถือว่าเป็นความ
3 : CsCl บกพร่องประเภทใด
4 : AgCl 1 : ความบกพร่องแบบจุด
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 2 : ความบกพร่องแบบเส้น
40

3 : ความบกพร่องแบบระนาบ 3 : พหุผลึก (Polycrystal) ที่มีช่องว่างภายใน


4 : ความบกพร่องแบบปริมาตร 4 : ข้อ 1 2 และ 3 ผิด
คาตอบที่ถูกต้อง : 4 คาตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 287 : ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ข้อที่ 293 : โครงสร้างผลึกชนิดใดต่อไปนี้สามารถเสียรูปจากการดึงได้ง่าย
1 : Equiaxed grains เป็นเกรนที่เกิดจากผลึกที่โตสม่าเสมอในทุกทิศทาง ที่สุด
2 : Columnar grains พบบริเวณที่น้าโลหะสัมผัสกับผิวแม่พิมพ์ 1 : Hexagonal closed-pack (HCP)
3 : Equiaxed grains เกิดเนื่องจากน้าโลหะเย็นตัวอย่างรวดเร็ว 2 : Face-centered cubic (FCC)
4 : Columnar grains มิทิศทางเติบโตเข้าสู่ภายในของแม่พิมพ์ 3 : Body-centered cubic (BCC)
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 4 : Simple cubic (SC)
ข้อที่ 288 : ข้อใดกล่าวถึงกระบวนการเกิดผลึก คาตอบที่ถูกต้อง : 2
ใหม่ (Recrystallinzation) ไม่ถูกต้อง ข้อที่ 294 : เพราะเหตุใดเซอร์โคเนียมออกไซด์ (ZrO2) ที่ผสมด้วยอิเทียม
1 : ต้องเกิดการเปลี่ยนรูปน้อยที่สุดค่าหนึ่งจึงจะสามารถเกิดผลึกใหม่ได้ ออกไซด์ (Y2O3) หรือที่เรียกว่า Yttria-stabilized zirconia (YSZ) จึง
2 : ถ้าปริมาณการเปลี่ยนรูปน้อยจะทาให้อุณหภูมิในการเกิดผลึกใหม่ สามารถนามาใช้เป็นตัวตรวจวัดปริมาณก๊าซออกซิเจน (Oxygen sensor)
สูงขึ้น ได้
3 : ขนาดเกรนสุดท้ายหลังการเกิดผลึกใหม่จะขึ้นอยู่กับปริมาณการ 1 : เนื่องจากการผสมอิเทียมออกไซด์ทาให้เกิดช่องว่างของประจุบวก
เปลี่ยนรูป (Cation vacancy) ขึ้นในโครงสร้างผลึกของเซอร์โคเนียมออกไซด์ ทาให้
4 : โลหะบริสุทธิ์มีอุณหภูมิการเกิดผลึกใหม่สูงกว่าโลหะผสม ออกซิเจนไอออนสามารถเคลื่อนที่เข้ามาได้ จึงสามารถใช้ตรวจวัดปริมาณ
คาตอบที่ถูกต้อง : 4 ออกซิเจนได้
เนื้อหาวิชา : 247 : 10 Structure-Property relationships 2 : เนื่องจากการผสมอิเทียมออกไซด์ทาให้เกิดช่องว่างของประจุลบ
ข้อที่ 289 : เหล็กกล้าไร้สนิมชนิดใดต่อไปนี้ที่แม่เหล็กดูดไม่ติด (Anion vacancy) ขึ้นในโครงสร้างผลึกของเซอร์โคเนียมออกไซด์ ทาให้
1 : เหล็กกล้าไร้สนิมเฟร์ไรต์ (Ferritic stainless steel) ออกซิเจนไอออนสามารถเคลื่อนที่เข้ามาได้ จึงสามารถใช้ตรวจวัดปริมาณ
2 : เหล็กกล้าไร้สนิม ออสเทนไนต์ (Austenitic stainless steel) ออกซิเจนได้
3 : เหล็กกล้าไร้สนิมมาร์เทนไซต์ (Martensitic stainless steel) 3 : เนื่องจากอิเทียมไอออนมีขนาดเล็กกว่าเซอร์โคเนียมไอออน เมื่อผสม
4 : เหล็กกล้าไร้สนิมดูเพล็กซ์ (Duplex stainless steel) กันแล้วเกิดการแทนที่ของประจุบวกขึ้น ส่งผลให้โครงสร้างผลึกของ
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 เซอร์โคเนียมออกไซด์เกิดการหดตัว ทาให้ออกซิเจนไอออนสามารถ
ข้อที่ 290 : ถ้าแสงสามารถส่องทะลุผ่านแผ่นบางของอะลูมิเนียมออกไซด์ เคลื่อนที่เข้ามาได้ จึงสามารถใช้ตรวจวัดปริมาณออกซิเจนได้
(Al2O3) ได้ทั้งหมด ข้อใดคือโครงสร้างของอะลูมิเนียมออกไซด์แผ่นนั้น 4 : เนือ่ งจากเนื่องจากอิเทียมไอออนมีขนาดใหญ่กว่าเซอร์โคเนียมไอออน
1 : ผลึกเดี่ยว (Single crystal) เมื่อผสมกันแล้วเกิดการแทนที่ของประจุบวกขึ้น ส่งผลให้โครงสร้างผลึก
2 : พหุผลึก (Polycrystal) เนื้อแน่นไม่มีช่องว่างภายใน ของเซอร์โคเนียมออกไซด์เกิดการขยายตัว ทาให้ออกซิเจนไอออน
3 : พหุผลึก (Polycrystal) ที่มีช่องว่างภายใน สามารถเคลื่อนที่เข้ามาได้ จึงสามารถใช้ตรวจวัดปริมาณออกซิเจนได้
4 : ข้อ 1 2 และ 3 ผิด คาตอบที่ถูกต้อง : 2
คาตอบที่ถูกต้อง : 1 ข้อที่ 295 : ทาไมเซรามิกที่มีโครงสร้างคล้ายกับผลึกเดี่ยว (Like a single
ข้อที่ 291 : ถ้าแสงสามารถส่องทะลุผ่านแผ่นบางของอะลูมิเนียมออกไซด์ crystal) ถึงยอมให้แสงผ่านได้ (Translucent)
(Al2O3) ได้บางส่วน ข้อใดคือโครงสร้างของอะลูมิเนียมออกไซด์แผ่นนั้น 1 : เนื่องจากภายในเกรนมีการจัดเรียงอะตอมที่เกือบจะอยู่ในทิศทาง
1 : ผลึกเดี่ยว (Single crystal) เดียวกัน
2 : พหุผลึก (Polycrystal) เนื้อแน่นไม่มีช่องว่างภายใน 2 : เนื่องจากขอบเกรนมีความหนา
3 : พหุผลึก (Polycrystal) ที่มีช่องว่างภายใน 3 : เนื่องจากภายในเกรนมีธาตุอื่นมาแทรก
4 : ข้อ 1 2 และ 3 ผิด 4 : เนื่องจากมีช่องว่างเกิดขึ้นภายในเกรน
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 คาตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 292 : ถ้าแสงไม่สามารถส่องทะลุผ่านแผ่นบางของอะลูมิเนียม ข้อที่ 296 : โครงสร้างจุลภาคระหว่างเพอร์ไลต์หยาบ (Coarse pearlite)
ออกไซด์ (Al2O3) ได้ ข้อใดคือโครงสร้างของอะลูมิเนียมออกไซด์แผ่นนั้น และเพอร์ไลต์ละเอียด (Fine pearlite) โครงสร้างใดมีความแข็งแรง
1 : ผลึกเดี่ยว (Single crystal) มากกว่า และเพราะอะไร
2 : พหุผลึก (Polycrystal) เนื้อแน่นไม่มีช่องว่างภายใน 1 : เพอร์ไลต์หยาบแข็งแรงมากกว่า เพราะมีปริมาณคาร์บอนอิสระ
มากกว่า
41

2 : เพอร์ไลต์ละเอียดแข็งแรงมากกว่า เพราะมีปริมาณคาร์บอนอิสระ คาตอบที่ถูกต้อง : 2


มากกว่า ข้อที่ 302 : ถ้าต้องการวิเคราะห์ลักษณะทางโครงสร้างจุลภาคของห้อง
3 : เพอร์ไลต์หยาบแข็งแรงมากกว่า เพราะมีขนาดของเกรนใหญ่กว่า เครื่องยนต์ดีเซลที่ผ่านกรรมวิธีการหล่อ ควรเลือกใช้เครื่องมือใด
4 : เพอร์ไลต์ละเอียดแข็งแรงมากกว่า เพราะมีขนาดของเกรนเล็กกว่า 1 : มาตรวัดการเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ์ (X-ray diffractometer)
คาตอบที่ถูกต้อง : 4 2 : กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่าน (Transmission electron
ข้อที่ 297 : จงเรียงลาดับโครงสร้างจุลภาคที่มีความแข็งจากมากไปน้อย microscope)
1 : เพอร์ไลต์ (Pearlite), เบไนต์ (Bainite), มาร์เทนไซต์ (Martensite) 3 : กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบกราดวิเคราะห์ (Scanning electron
2 : เบไนต์ (Bainite), เพอร์ไลต์ (Pearlite), มาร์เทนไซต์ (Martensite) microscope)
3 : มาร์เทนไซต์ (Martensite), เบไนต์ (Bainite), เพอร์ไลต์ (Pearlite) 4 : ข้อ 1 2 และ 3 ถูก
4 : เบไนต์ (Bainite), มาร์เทนไซต์ (Martensite), เพอร์ไลต์ (Pearlite) คาตอบที่ถูกต้อง : 3
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 ข้อที่ 303 : ถ้าต้องการตรวจสอบการยึดติดของผลิตภัณฑ์วงจรรวม
ข้อที่ 298 : โครงสร้างของเหล็กกล้าสเฟียรอยไดซ์ (Spheroidized (Integrated circuit) บนแผงวงจรรวม (Print circuit board) ด้วยการ
steel) มีสมบัติทางกลอย่างไร และเพราะอะไร ยึดพื้นผิว (Surface mount) ควรเลือกใช้เครื่องมือใด
1 : มีความแข็งสูง เพราะปรากฏโครงสร้างของซีเมนไทต์ (Cementite) 1 : กล้องถ่ายรูปดิจิตอล (Digital camera)
แบบแท่ง 2 : กล้องจุลทรรศน์แบบแสง (Optical microscope)
2 : มีความอ่อนตัวสูง เพราะปรากฏโครงสร้างของซีเมนไทต์ 3 : กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่าน (Transmission electron
(Cementite) แบบกลม microscope)
3 : มีความแข็งสูง เพราะปรากฏโครงสร้างของกราไฟต์ (Graphite) แบบ 4 : มาตรวัดการเลี้ยวเบนของรังสีเอ็กซ์ (X-ray diffractometer)
แท่ง คาตอบที่ถูกต้อง : 2
4 : มีความอ่อนตัวสูง เพราะปรากฏโครงสร้างของกราไฟต์ (Graphite) ข้อที่ 304 : ถ้าต้องการวิเคราะห์การกระจายตัวของเฟสที่เกิดขึ้นจาก
แบบกลม กระบวนการเชื่อมยึดติดของผลิตภัณฑ์วงจรรวม (Integrated circuit)
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 บนแผงวงจรรวม (Print circuit board) ควรเลือกใช้เครื่องมือใด
ข้อที่ 299 : เซรามิกทั่วไปมีค่าของสมบัติในข้อใดน้อยกว่าของโลหะทั่วไป 1 : มาตรวัดการเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ์ (X-ray diffractometer)
1 : Hardness 2 : กล้องจุลทรรศน์แบบแสง (Optical microscope)
2 : Thermal insulation 3 : กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบกราดวิเคราะห์ (Scanning electron
3 : Toughness microscope)
4 : Chemical resistance 4 : กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่าน (Transmission electron
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 microscope)
ข้อที่ 300 : วัสดุในข้อใดสามารถดูดกลืนพลังงานไว้ก่อนที่จะเสียรูปทรง คาตอบที่ถูกต้อง : 3
อย่างถาวรได้สูง ข้อที่ 305 : ถ้าต้องการวิเคราะห์โครงสร้างผลึกของวัสดุ ควรเลือกใช้
1 : แผ่นอะลูมิเนียม เครื่องมือใด
2 : แผ่นยาง 1 : มาตรวัดการเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ์ (X-ray diffractometer)
3 : แผ่นกระจก 2 : กล้องจุลทรรศน์แบบแสง (Optical microscope)
4 : แผ่นสังกะสี 3 : กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบกราดวิเคราะห์ (Scanning electron
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 microscope)
เนื้อหาวิชา : 248 : 11 Methods and tools for structure 4 : ข้อ 1 2 และ 3 ผิด
investigation คาตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 301 : ถ้าต้องการวิเคราะห์โครงสร้างจุลภาคของชิ้นงานโลหะด้วย ข้อที่ 306 : ถ้าต้องการวิเคราะห์ทิศทางการเรียงตัวของอะตอมในแว่น
กล้องจุลทรรศน์แบบแสง (Optical microscope) ควรเตรียมชิ้นงาน ผลึกซิลิกอน (Silicon wafer) ควรเลือกใช้เครื่องมือใด
อย่างไร 1 : กล้องจุลทรรศน์แบบแสง (Optical microscope)
1 : ขัดผิวชิ้นงานให้เรียบ 2 : กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบกราดวิเคราะห์ (Scanning electron
2 : ขัดผิวชิ้นงานให้เรียบและกัดผิวชิ้นงานด้วยกรด microscope)
3 : ขัดผิวจนชิ้นงานมีความบางมาก ๆ 3 : กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่าน (Transmission electron
4 : ไม่ต้องเตรียมผิวชิ้นงาน
42

microscope) คาตอบที่ถูกต้อง : 3
4 : ข้อ 1 2 และ 3 ผิด ข้อที่ 312 : กฏในข้อใดต่อไปนี้ที่จาเป็นต่อการศึกษาโครงสร้างผลึกด้วย
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 เทคนิคการเลี้ยวเบนของรังสีเอ็กซ์
ข้อที่ 307 : ถ้าต้องการบันทึกภาพของท่อน้าที่เกิดการผุกร่อน ควร 1 : Pauli exclusion principle
เลือกใช้เครื่องมือใด 2 : Bragg’s law
1 : กล้องถ่ายรูปดิจิตอล (Digital camera) 3 : Hund’s rule
2 : กล้องจุลทรรศน์แบบแสง (Optical microscope) 4 : Lever rule
3 : กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบกราดวิเคราะห์ (Scanning electron คาตอบที่ถูกต้อง : 2
microscope) เนื้อหาวิชา : 249 : 12 Metals processing
4 : กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่งผ่าน (Transmission electron ข้อที่ 313 : ในการดึงเหล็กให้เป็นเส้นลวด ต้องใช้แรงดึงในช่วงใด
microscope) 1 : ไม่เกินความต้านแรงคราก (Yield strength)
คาตอบที่ถูกต้อง : 1 2 : ไม่เกินความต้านแรงดึง (Tensile strength)
ข้อที่ 308 : ถ้าต้องการวิเคราะห์รูปร่างของผลึกนาโนคาร์บอนที่ผลิตได้ 3 : มากกว่าความต้านแรงคราก (Yield strength) แต่ไม่เกินความต้าน
ควรเลือกใช้เครื่องมือใด แรงดึง (Tensile strength)
1 : มาตรวัดการเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ์ (X-ray diffractometer) 4 : มากกว่าความต้านแรงดึง (Tensile strength) แต่ไม่ถึงจุดแตกหัก
2 : กล้องจุลทรรศน์แบบแสง (Optical microscope) (Fracture point)
3 : เครื่องวัดการเรืองแสงของรังสีเอกซ์ (X-ray fluorescence คาตอบที่ถูกต้อง : 3
spectroscope) ข้อที่ 314 : ในการตัดชิ้นงานต้องเลือกมีดตัดอย่างไร
4 : กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่าน (Transmission electron 1 : มีดตัดต้องมีความแข็งมากกว่าชิ้นงาน
microscope) 2 : มีดตัดต้องมีความแข็งแรงมากกว่าชิ้นงาน
คาตอบที่ถูกต้อง : 4 3 : มีดตัดต้องมีความเหนียวมากกว่าชิ้นงาน
ข้อที่ 309 : ถ้าต้องการวิเคราะห์โครงสร้างจุลภาคของก้อนโลหะด้วย 4 : มีดตัดทนความร้อนได้ดี
กาลังขยายขนาด 5,000 เท่า ควรเลือกใช้เครื่องมือใด คาตอบที่ถูกต้อง : 1
1 : Optical microscope ข้อที่ 315 : ข้อใดคือข้อดีของการขึ้นรูปด้วยการหล่อแบบหล่อทราย
2 : Optical spectroscope (Sand casting)
3 : Scanning electron microscope 1 : ผลิตได้เร็ว คราวละมาก ๆ
4 : Scanning tunneling electron microscope 2 : ต้นทุนแบบหล่อต่า
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 3 : ชิ้นงานมีผิวเรียบ ไม่ต้องตกแต่งเพิ่ม
4 : ข้อ 1 2 และ 3 ถูก
ข้อที่ 310 : ข้อใดไม่ใช่สิ่งที่กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบกราด คาตอบที่ถูกต้อง : 2
วิเคราะห์ (Scanning electron microscope) สามารถให้ผลการ ข้อที่ 316 : การขึ้นรูปเย็น (Cold working) หมายถึง การขึ้นรูปด้วยแรง
วิเคราะห์ได้ ทางกล ณ อุณหภูมิใด
1 : การกระจายตัวของเฟส 1 : อุณหภูมิต่ากว่าอุณหภูมิห้อง
2 : ลักษณะพื้นผิวที่แตกหัก 2 : อุณหภูมิต่ากว่าอุณหภูมิการเกิดผลึก (Crystallization
3 : โครงสร้างผลึกของเฟสต่างๆ ในชิ้นงาน temperature)
4 : รูปร่างของเฟสต่างๆ ในชิ้นงาน 3 : อุณหภูมิต่ากว่าอุณหภูมิการตกผลึกใหม่ (Recrystallization
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 temperature)
ข้อที่ 311 : ถ้าต้องการวิเคราะห์โครงสร้างการจัดเรียงตัวของอะตอม 4 : อุณหภูมิต่ากว่าอุณหภูมิการเปลี่ยนสภาพจากเปราะเป็นดึงยืดได้
ต่างๆ ควรเลือกใช้เครื่องมือใด (Ductile-brittle transition temperature)
1 : มาตรวัดการเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ์ (X-ray diffractometer) คาตอบที่ถูกต้อง : 3
2 : กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่าน (Transmission electron ข้อที่ 317 : กรรมวิธีการทางความร้อนใด คือ การเผาชิ้นงานที่ขึ้นรูปด้วย
microscope) ผงโลหะ เพื่อให้ผงโลหะเชื่อมติดกัน
3 : ข้อ 1 และ 2 ถูก 1 : การอบอ่อน (Annealing)
4 : ข้อ 1 และ 2 ผิด 2 : การอบปกติ (Normalizing)
43

3 : การอบคืนตัว (Tempering) ข้อที่ 324 : ในการหล่อชิ้นส่วนอะลูมิเนียมผสม ธาตุผสมชนิดใดที่ทาให้


4 : การอบซินเตอร์ (Sintering) จุดหลอมเหลวของอะลูมิเนียมต่าลงมากที่สุด
คาตอบที่ถูกต้อง : 4 1 : ทองแดง
ข้อที่ 318 : กรรมวิธีการขึ้นรูปโลหะใดต่อไปนี้ที่ก่อให้เกิดการสูญเปล่า 2 : ซิลิคอน
ของวัตถุดิบน้อยที่สุด 3 : นิเกิล
1 : การหล่อด้วยแม่พิมพ์ทราย (Sand casting) 4 : แมงกานีส
2 : การหล่อแบบใช้แม่แบบ (Die casting) คาตอบที่ถูกต้อง : 2
3 : การขึ้นรูปโลหะผง (Powder Metallurgy) ข้อที่ 325 : ถ้าต้องการผลิตชิ้นส่วนงานหล่ออะลูมิเนียมเป็นจานวนมาก
4 : การตกแต่ง (Machining) ควรเลือกใช้กรรมวิธีการหล่อชนิดใดต่อไปนี้
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 1 : การหล่อด้วยแม่พิมพ์ทราย (Sand Casting)
ข้อที่ 319 : ในการขึ้นรูปเย็น (Cold working) ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้องที่สุด 2 : การหล่อจากแบบพอกหุ่น (Investment casting)
1 : ควบคุมขนาดของชิ้นงานให้เที่ยงตรงได้ยาก 3 : การหล่อแบบใช้แม่แบบ (Die casting)
2 : เกิดออกไซด์ที่ผิวชิ้นงาน 4 : การหล่อแบบต่อเนื่อง (Continuous casting)
3 : ชิ้นงานมีความแข็ง (Hardness) มากขึ้น คาตอบที่ถูกต้อง : 3
4 : ข้อ 1 2 และ 3 ถูก ข้อที่ 326 : ชิ้นงานโลหะที่ผ่านการขึ้นรูปด้วยกรรมวิธีการรีดเย็น (Cold
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 rolling) จะมีลักษณะใด
ข้อที่ 320 : ข้อใดคือข้อดีของการขึ้นรูปร้อน (Hot working) ของโลหะ 1 : ผิวเรียบ ความแข็งแรงลดลง
1 : สามารถลดขนาดชิ้นงานได้คราวละมาก ๆ 2 : ผิวเรียบ ความแข็งแรงเพิ่มขึ้น
2 : สามารถควบคุมขนาดของชิ้นงานได้ง่าย 3 : ผิวหยาบ ความแข็งแรงลดลง
3 : ชิ้นงานมีความแข็งเพิ่มมากขึ้น 4 : ผิวหยาบ ความแข็งแรงเพิ่มขึ้น
4 : ข้อ 1 2 และ 3 ถูก คาตอบที่ถูกต้อง : 2
คาตอบที่ถูกต้อง : 1 ข้อที่ 327 : การหล่อชิ้นงานเครื่องประดับ นิยมใช้การหล่อแบบใด
ข้อที่ 321 : ข้อใดคือข้อด้อยของการขึ้นรูปร้อน (Hot working) ของ 1 : การหล่อด้วยแม่พิมพ์ทราย (Sand casting)
โลหะ 2 : การหล่อจากแบบพอกหุ่น (Investment casting)
1 : ควบคุมขนาดของชิ้นงานให้เที่ยงตรงได้ยาก 3 : การหล่อแบบใช้แม่แบบ (Die casting)
2 : ชิ้นงานมีความเปราะมากขึ้น 4 : การหล่อแบบต่อเนื่อง (Continuous casting)
3 : เกิดความเค้นตกค้างภายในเนื้อชิ้นงานมากขึ้น คาตอบที่ถูกต้อง : 2
4 : ข้อ 1 2 และ 3 ถูก ข้อที่ 328 : ประแจ (Wrench) ที่สามารถใช้งานได้ทนทาน เป็นผลิตภัณฑ์
คาตอบที่ถูกต้อง : 1 ที่มักจะได้จากการขึ้นรูปด้วยกรรมวิธีใดต่อไปนี้
1 : การรีด (Rolling)
2 : การทุบขึ้นรูป (Forging)
ข้อที่ 322 : ข้อใดคือข้อดีของการขึ้นรูปเย็น (Cold working) ของโลหะ 3 : การหล่อ (Casting)
1 : ได้ผิวชิ้นงานเรียบเป็นมัน สะอาด 4 : การอัดรีด (Extrusion)
2 : ชิ้นงานมีความแข็งเพิ่มมากขึ้น คาตอบที่ถูกต้อง : 2
3 : สามารถควบคุมขนาดของชิ้นงานได้ง่าย ข้อที่ 329 : ลวดสาหรับใช้ทาตะปู เป็นผลิตภัณฑ์ที่มักจะได้จากกรรมวิธี
4 : ข้อ 1 2 และ 3 ถูก การขึ้นรูปใดต่อไปนี้
คาตอบที่ถูกต้อง : 4 1 : การรีดร้อน (Hot rolling)
ข้อที่ 323 : กรรมวิธีการผลิตใดต่อไปนี้สามารถผลิตหัวค้อนได้แข็งแรง 2 : การอัดรีด (Extrusion)
ที่สุด 3 : การดึงรีด (Drawing)
1 : การหล่อขึ้นรูป (Casting) 4 : การรีดเย็น (Cold rolling)
2 : การทุบขึ้นรูป (Forging) คาตอบที่ถูกต้อง : 3
3 : การตกแต่งขึ้นรูป (Machining) ข้อที่ 330 : มีดกลึงที่มีความเหนียว (Toughness) มาก จะมีผลต่อการ
4 : การอัดรีด (Extrusion) กลึงอย่างไร
คาตอบที่ถูกต้อง : 2
44

1 : สามารถใช้ความเร็วสูงได้ 3 : อะลูมินา (Alumina)


2 : สามารถกินลึกชิ้นงานได้คราวละมาก ๆ 4 : Cubic boron nitride
3 : กลึงได้ชิ้นงานผิวเรียบ คาตอบที่ถูกต้อง : 4
4 : มีดกลึงทนต่อการสึกดี ข้อที่ 336 : วัสดุในข้อใดต่อไปนี้มีความเหนียว (Toughness) สูงที่สุด
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 1 : เหล็กกล้าคาร์บอนสูง (High carbon steel)
ข้อที่ 331 : ถ้าต้องการตัดแต่งชิ้นงานให้เป็นร่องรูปตัว L ดังรูปข้างล่างนี้ 2 : เหล็กกล้าความเร็วรอบสูง (High speed steel)
ควรเลือกใช้กรรมวิธีการใด 3 : อะลูมินา (Alumina)
4 : Cubic boron nitride
คาตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 337 : เหล็กกล้าชนิดใดต่อไปนี้ตัดแต่งได้ยากที่สุด
1 : เหล็กกล้าไร้สนิมเฟร์ไรต์ (Ferritic stainless steel)
2 : เหล็กกล้าคาร์บอนต่า (Low carbon steel)
1 : การกลึง (Turning) 3 : เหล็กกล้าผสม (Alloy steel)
2 : การกัด (Milling) 4 : เหล็กกล้าเครื่องมือ (Tool steel)
3 : การไส (Shaping) คาตอบที่ถูกต้อง : 4
4 : การเจาะ (Drilling) ข้อที่ 338 : ในการรีด Slab เพื่อให้ได้เหล็กแผ่น (Sheet metal) ด้วย
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 กรรมวิธีการรีดร้อน (Hot rolling) ควรเลือกใช้ลูกรีดแบบใด และ
ข้อที่ 332 : ในการแล่นประสาน (Brazing) เพื่อทาให้แผ่นเหล็กสองแผ่น ความเร็วรอบอย่างไร เพื่อลดขนาดอย่างรวดเร็ว
เชื่อมติดกัน ควรเลือกใช้ลวดเชื่อมชนิดใดต่อไปนี้ 1 : ควรใช้ลูกรีดขนาดใหญ่ ผิวหยาบ และความเร็วสูง
1 : เหล็กกล้า 2 : ควรใช้ลูกรีดขนาดใหญ่ ผิวหยาบ และความเร็วรอบต่า
2 : อะลูมิเนียม 3 : ควรใช้ลูกรีดขนาดใหญ่ ผิวละเอียด และความเร็วรอบสูง
3 : ทองแดง 4 : ควรใช้ลูกรีดขนาดใหญ่ ผิวละเอียด และความเร็วรอบต่า
4 : ทองเหลือง คาตอบที่ถูกต้อง : 2
คาตอบที่ถูกต้อง : 4 ข้อที่ 339 : ในการขึ้นรูปร้อน (Hot working) ของโลหะ ควรใช้อุณหภูมิ
ข้อที่ 333 : รูขึ้น (Riser) ในงานหล่อมีไว้เพื่ออะไร ที่มากกว่าค่าใด
1 : เพื่อให้น้าโลหะล้นออกมานอกแบบ 1 : อุณหภูมิตกผลึก (Recrystallization Temperature)
2 : เพื่อให้น้าโลหะในส่วนรูขึ้น (Riser) เติมเต็มในชิ้นส่วนงานหล่อขณะ 2 : อุณหภูมิยูเทกทอยด์ (Eutectoid Temperature)
แข็งตัว 3 : อุณหภูมิยูเทกติก (Eutectic Temperature)
3 : เพื่อให้มีการหดตัวหลังการเย็นตัวของงานหล่อ 4 : อุณหภูมิจุดหลอมเหลว (Melting Temperature)
4 : เพือ่ เพิ่มน้าหนักในการกดทับแบบงานหล่อ คาตอบที่ถูกต้อง : 1
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 ข้อที่ 340 : Anodizing คืออะไร
1 : การชุบผิวเหล็กให้สวยงาม
2 : การชุบแข็งอะลูมิเนียม
ข้อที่ 334 : ปากแม่แบบ (Gate) ในงานหล่อมีไว้เพื่ออะไร 3 : การชุบแข็งผิวอะลูมิเนียม
1 : เป็นช่องสาหรับน้าโลหะวิ่งเข้าแม่แบบ 4 : การทาอะลูมิเนียมให้อ่อน
2 : เป็นช่องสาหรับเทน้าโลหะ คาตอบที่ถูกต้อง : 3
3 : เป็นช่องวิ่งของรูขึ้น (Riser) ข้อที่ 341 : โลหะในข้อใดต่อไปนี้สามารถหล่อได้ง่ายที่สุด
4 : เป็นรูไอของแบบหล่อทราย 1 : เหล็กหล่อเทา (Gray cast iron)
คาตอบที่ถูกต้อง : 1 2 : เหล็กหล่อขาว (White cast iron)
ข้อที่ 335 : วัสดุในข้อใดต่อไปนี้มีความแข็ง (Hardness) สูงที่สุด 3 : เหล็กหล่อเหนียว (Ductile cast iron)
1 : เหล็กกล้าความเร็วรอบสูง (High speed steel) 4 : เหล็กหล่ออบเหนียว (Malleable cast iron)
2 : เหล็กกล้าคาร์บอนสูง (High carbon steel) คาตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 342 : กระบวนการในข้อใดต่อไปนี้สามารถชุบแข็งผิวเหล็กที่ให้
ความแข็งสูงที่สุด
45

1 : คาร์บูไรซิ่ง (Carburizing) 3 : การลากขึ้นรูป (Deep drawing)


2 : ไนไตร์ดิ้ง (Nitriding) 4 : การอัดรีด (Extrusion)
3 : ใช้กระแสเหนี่ยวนา (Induction hardening) คาตอบที่ถูกต้อง : 3
4 : ใช้เปลวเพลิง (Flame hardening) เนื้อหาวิชา : 250 : 13 Ceramics processing
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 ข้อที่ 349 : ผลิตภัณฑ์เซรามิกในข้อใดเหมาะกับการขึ้นรูปโดยการอัด
ข้อที่ 343 : การลดปัญหาการแตกร้าวในการเชื่อมเหล็กกล้าผสมต่า (Pressing)
สามารถทาได้โดยวิธีใดต่อไปนี้ 1 : อ่างล้างหน้า
1 : ให้ความร้อนชิ้นงานก่อนเชื่อม 2 : กระเบื้องปูพื้นและผนัง
2 : อบชิ้นงานหลังการเชื่อม 3 : แจกัน
3 : ใช้ก๊าซเฉื่อยคลุมขณะเชื่อม 4 : ถ้วยกาแฟ
4 : เชื่อมโดยใช้กาลังไฟฟ้าต่า คาตอบที่ถูกต้อง : 2
คาตอบที่ถูกต้อง : 1 ข้อที่ 350 : ผลิตภัณฑ์เซรามิกในข้อใดเหมาะกับการขึ้นรูปโดยการหล่อ
ข้อที่ 344 : กระบวนการผลิตในข้อใดต่อไปนี้ที่เหมาะที่สุดในการผลิต แบบ (Slip casting)
ใบพัดของเครื่องกังหันก๊าซ (Gas turbine blades) 1 : อ่างล้างหน้า
1 : การหล่อด้วยแม่พิมพ์ทราย (Sand casting) 2 : กระเบื้องปูพื้นและผนัง
2 : การหล่อแบบใช้แม่แบบ (Die casting) 3 : โอ่งมังกร
3 : การหล่อจากแบบพอกหุ่น (Investment casting) 4 : ท่อระบายน้า
4 : การทุบขึ้นรูป (Forging) คาตอบที่ถูกต้อง : 1
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 ข้อที่ 351 : ผลิตภัณฑ์เซรามิกในข้อใดเหมาะกับการขึ้นรูปโดยการอัดรีด
ข้อที่ 345 : กรรมวิธีใดต่อไปนี้สามารถผลิตแผ่นเหล็กกล้าที่มีขนาด (Extrusion)
เที่ยงตรงตามที่ต้องการได้ดีที่สุด 1 : สุขภัณฑ์ในห้องน้า
1 : การรีดร้อน (Hot rolling) 2 : ถ้วยกาแฟ
2 : การรีดเย็น (Cold rolling) 3 : กระเบื้องมุงหลังคา
3 : การทุบขึ้นรูป (Forging) 4 : ท่อน้าทิ้ง
4 : การดึงรีด (Drawing) คาตอบที่ถูกต้อง : 4
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 ข้อที่ 352 : ข้อใดต่อไปนี้จะไม่เกิดขึ้นเมื่อให้ความร้อนกับเซรามิกในกระ
ข้อที่ 346 : ข้อใดไม่ใช่กลไกการเพิ่มความแข็งแรงให้กับอะลูมิเนียมและ บวนการอบแห้ง (Drying)
อะลูมิเนียมผสม 1 : น้าระหว่างอนุภาคถูกขจัดออก
1 : การขึ้นรูปเย็น (Cold working) 2 : สารอินทรีย์ถูกขจัดออก
2 : การขึ้นรูปร้อน (Hot working) 3 : ผลิตภัณฑ์หลังอบมีขนาดใหญ่ขึ้น
3 : การชุบแข็งแบบตกตะกอน (Precipitate hardening) 4 : ผลิตภัณฑ์หลังอบมีความแข็งแรงต่าและเปราะ
4 : การทาให้เป็นสารละลายของแข็ง (Solid solution) คาตอบที่ถูกต้อง : 3
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 ข้อที่ 353 : ข้อใดต่อไปนี้ไม่เกิดขึ้นในกระบวนการ Sintering
ข้อที่ 347 : กรรมวิธีใดต่อไปนี้เหมาะสาหรับผลิตภัณฑ์โลหะที่มีจุด 1 : Solid-state diffusion
หลอมเหลวสูงและมีสภาพการดึงยืดได้น้อย 2 : อนุภาคเกิดการเชื่อมต่อกันบริเวณที่สัมผัสกับอนุภาคอื่น
1 : การหล่อแบบพอกหุ่น (Investment casting) 3 : เกิดการหลอมละลายเป็นของเหลว
2 : การอัดรีด (Extrusion) 4 : ช่องว่างระหว่างอนุภาคมีขนาดเล็กลง
3 : กรรมวิธีโลหะผง (Powder metallurgy) คาตอบที่ถูกต้อง : 3
4 : การรีดร้อน (Hot rolling) ข้อที่ 354 : ในการขึ้นรูปเซรามิกชนิดที่มีดินเป็นองค์ประกอบหลัก (Clay
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 products) โดยวิธีการหล่อแบบ (Slip casting) ใช้วัสดุใดเป็นแบบหล่อ
ข้อที่ 348 : กระบวนการใดที่เหมาะสมสาหรับการขึ้นรูปแผ่นโลหะให้เป็น 1 : ทราย
ชิ้นงานรูปถ้วย 2 : โลหะ
1 : การหล่อขึ้นรูป (Casting) 3 : ยาง
2 : การทุบขึ้นรูป (Forging) 4 : ปูนปลาสเตอร์
46

คาตอบที่ถูกต้อง : 4 3 : การฉีด (Injection)


ข้อที่ 355 : ในการผลิตเซรามิกชนิดที่มีดินเป็นองค์ประกอบหลัก (Clay 4 : การเป่า (Blowing)
products) ด้วยวิธีการหล่อแบบ (Slip casting) แบบที่ใช้ในการขึ้นรูป คาตอบที่ถูกต้อง : 2
ควรมีลักษณะอย่างไรและเพราะเหตุใด ข้อที่ 361 : ในกระบวนการอบ ทาไมผลิตภัณฑ์เซรามิกที่ผนังมีความหนา
1 : เนื่องจากผลิตภัณฑ์ที่ได้มีการขยายขนาด จึงต้องทาให้แบบมีขนาด มากมีแนวโน้มที่จะเกิดการแตกได้ง่ายกว่าเซรามิกที่มีผนังบาง
เล็กกว่างานจริง 1 : การหดตัวที่ผิว (Surface) กับเนื้อส่วนใน (Interior) มีค่าแตกต่างกัน
2 : เนื่องจากผลิตภัณฑ์ที่ได้มีจะมีขนาดเท่าเดิม ดังนั้นแบบจะมีขนาดเท่า 2 : ผลิตภัณฑ์ผนังหนาต้องอบที่อุณหภูมิสูงกว่าผลิตภัณฑ์ผนังบาง
งานจริง 3 : น้าในเนื้อส่วนใน (Interior) ของผลิตภัณฑ์ผนังหนาสามารถกาจัดออก
3 : เนื่องจากผลิตภัณฑ์ที่ได้มีการหดตัว จึงต้องทาให้แบบมีขนาดใหญ่กว่า ได้ง่าย
งานจริง 4 : ผลิตภัณฑ์ผนังหนามีความแข็งแรงน้อยกว่าผลิตภัณฑ์ผนังบาง
4 : ผลิตภัณฑ์ที่ได้อาจจะหดตัวหรือขยายตัวก็ได้ การเผื่อขนาดแบบ คาตอบที่ถูกต้อง : 1
แล้วแต่ชนิดของผลิตภัณฑ์ ข้อที่ 362 : การเกิดเป็นเนื้อแก้ว (Vitrification) จะทาให้เกิดผลในข้อใด
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 1 : สัมประสิทธิ์การขยายตัวเนื่องจากความร้อน (Coefficient of
ข้อที่ 356 : กระจก เป็นผลิตภัณฑ์ที่มักจะได้จากการขึ้นรูปแบบใด thermal expansion) ต่าลง
1 : การเป่า (Blowing) 2 : การนาความร้อน (Thermal conductivity) ต่าลง
2 : การอัด (Pressing) 3 : การนาไฟฟ้า (Electrical conductivity) ดีขึ้น
3 : การดึง (Drawing) 4 : การเสียรูป (Warpage) ต่าลง
4 : การอัดรีด (Extrusion) คาตอบที่ถูกต้อง : 1
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 ข้อที่ 363 : ในเซรามิกแบบดั้งเดิม (Conventional ceramic) การเติม
ข้อที่ 357 : ผลิตภัณฑ์ประเภทใดขึ้นรูปโดยการเป่า (Blowing) Flux จะมีประโยชน์ในเรื่องใด
1 : ขวดแก้ว 1 : ทาให้ผลิตภัณฑ์เกิดเป็นเนื้อแก้ว
2 : จานแก้ว 2 : ทาให้การเกิดเป็นเนื้อแก้วสามารถเกิดที่อุณหภูมิต่าลง
3 : กระจก 3 : ไม่ให้ผลิตภัณฑ์เกิดการหดตัว
4 : เลนส์ 4 : ทาให้มีความเปราะน้อยลง
คาตอบที่ถูกต้อง : 1 คาตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 358 : ข้อใดไม่ใช่วัตถุประสงค์ในการใช้ดินเป็นวัตถุดิบในเซรามิก ข้อที่ 364 : ข้อใดเป็นกระบวนการที่สาคัญที่ใช้ในการทากระจกนิรภัย
ดั้งเดิม (Conventional ceramics) (Safety glass) สาหรับกระจกหน้ารถ
1 : ดินช่วยในเรื่องความเหนียวขณะขึ้นรูปทาให้ขึ้นรูปได้ง่าย 1 : Pressing
2 : ดินช่วยให้เซรามิกคงรูปอยู่ได้ขณะเผา 2 : Drying
3 : ดินช่วยให้เซรามิกมีความหนาแน่นสูง 3 : Tempering
4 : ดินมีราคาถูก 4 : Blowing
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 คาตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 359 : ในการบดผสมวัตถุดิบสาหรับผลิตเซรามิก ทาไมจึงต้องมีการ ข้อที่ 365 : กระบวนการในข้อใดต่อไปนี้ทาให้ชิ้นงานเซรามิกมีความ
ควบคุมการกระจายขนาดอนุภาค (Particle size distribution) หนาแน่นมากขึ้นและมีรูพรุนน้อยลง
1 : เพื่อให้วัตถุดิบหลอมตัวได้ง่าย 1 : Drying
2 : เพื่อให้วัตถุดิบสามารถอัดตัวกันเพื่อให้มีช่องว่างน้อยที่สุด 2 : Pressing
3 : เพื่อให้วัตถุดิบผสมกันได้ดียิ่งขึ้น 3 : Casting
4 : เพื่อให้วัตถุดิบไม่เกิดการหดตัวหลังให้ความร้อน 4 : Sintering
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 คาตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 360 : ถ้าต้องการขึ้นรูปท่อเซรามิกที่มีความยาวและมีหน้าตัด ข้อที่ 366 : ขวดเบียร์เป็นผลิตภัณฑ์ที่มักจะได้จากกรรมวิธีการขึ้นรูปใด
เหมือนกันตลอดความยาวชิ้นงาน 1 เมตร ควรขึ้นรูปด้วยวิธีใด ต่อไปนี้
1 : การอัด (Pressing) 1 : Pressing
2 : การอัดรีด (Extrusion) 2 : Extrusion
47

3 : Blowing 1 : การฉีดขึ้นรูป (Injection molding)


4 : Casting 2 : การเป่าขึ้นรูป (Blow molding)
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 3 : การอัดรีด (Extrusion)
ข้อที่ 367 : กระจกหน้าต่างเป็นผลิตภัณฑ์ที่มักจะได้จากกรรมวิธีการขึ้น 4 : การอัดเข้ากับแบบ (Compression molding)
รูปใดต่อไปนี้ คาตอบที่ถูกต้อง : 3
1 : Pressing ข้อที่ 373 : ขวดพลาสติก เป็นผลิตภัณฑ์ที่มักจะได้จากการขึ้นรูปแบบใด
2 : Drawing 1 : การฉีดขึ้นรูป (Injection molding)
3 : Blowing 2 : การเป่าขึ้นรูป (Blow molding)
4 : Casting 3 : การอัดรีด (Extrusion)
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 4 : การอัดเข้ากับแบบ (Compression molding)
ข้อที่ 368 : ข้อใดกล่าวเกี่ยวกับกรรมวิธีทางความร้อนของแก้วไม่ถูกต้อง คาตอบที่ถูกต้อง : 2
1 : การอบอ่อนแก้วทาเพื่อลดปริมาณความเค้นตกค้างของชิ้นงาน ข้อที่ 374 : ผงถ่าน (Carbon black) ที่ใช้เป็นส่วนผสมในยางรถยนต์
2 : การอบอ่อนแก้วทาได้โดยการให้ความร้อนถึงจุดอ่อนตัวแล้วปล่อยให้ เป็นสารเติมแต่งชนิดใด
เย็นตัวช้าๆ จนถึงอุณหภูมิห้อง 1 : สี (Colorant)
3 : การเพิ่มความแข็งให้กับแก้ว (Glass tempering) ทาได้โดยการให้ 2 : สารเสริมแรง (Reinforcing filler)
ความร้อนถึงจุดอ่อนตัว แล้วทาให้เย็นตัวอย่างรวดเร็วโดยการเป่าลม 3 : สารไม่เสริมแรง (Non-reinforcing filler)
4 : ชิ้นงานที่เย็นตัวอย่างรวดเร็วจากการเพิ่มความแข็งให้กับแก้ว (Glass 4 : สารป้องกันการติดไฟ (Flame retardant)
tempering) จะทาให้เกิดความเค้นอัดที่ผิวและเกิดความเค้นแรงดึงที่เนื้อ คาตอบที่ถูกต้อง : 2
ภายใน ข้อที่ 375 : ผลิตภัณฑ์ที่ทาจากพอลิเมอร์ชนิดใดต่อไปนี้มีการหดตัวหลัง
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 กระบวนการขึ้นรูปมากที่สุด
เนื้อหาวิชา : 251 : 14 Polymers processing 1 : วัสดุยืดหยุ่น (Elastomer)
ข้อที่ 369 : ผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์ที่ได้จากการขึ้นรูปด้วยเครื่องอัดรีด 2 : เทอร์โมเซตติ้ง (Thermosetting)
(Extrusion) จะมีลักษณะแบบใด 3 : เทอร์โมพลาสติกชนิดที่เกิดโครงสร้างผลึก (Crystalline
1 : เป็นภาชนะกลวง thermoplastic)
2 : รูปร่างลักษณะซับซ้อนมาก 4 : เทอร์โมพลาสติกชนิดที่ไม่เกิดโครงสร้างผลึก (Non-crystalline
3 : รูปร่างหน้าตัดเหมือนกันตลอดความยาวของชิ้นงาน thermoplastic)
4 : ข้อ 1 2 และ 3 ถูก คาตอบที่ถูกต้อง : 3
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 ข้อที่ 376 : สารเติมแต่งชนิดไม่เสริมแรง (Non-reinforcing filler) นิยม
ข้อที่ 370 : กระบวนการขึ้นรูปชนิดใดที่ไม่นิยมใช้กับพอลิเมอร์ชนิดเทอร์ ใช้ผสมในพอลิเมอร์ก่อนทาการขึ้นรูปเพราะเหตุใด
โมพลาสติก (Thermoplastic) 1 : เพื่อให้สีสวยขึ้น
1 : การฉีดขึ้นรูป (Injection molding) 2 : เพื่อลดต้นทุน
2 : การเป่าขึ้นรูป (Blow molding) 3 : เพื่อให้ใช้ในช่วงอุณหภูมิที่กว้างขึ้น
3 : การรีดให้เป็นแผ่น (Calendering) 4 : เพื่อใช้ในการหล่อลื่น
4 : การหล่อ (Casting) คาตอบที่ถูกต้อง : 2
คาตอบที่ถูกต้อง : 4 ข้อที่ 377 : พอลิไวนิล คลอไรด์ (Polyvinyl chloride) สามารถนามาใช้
ข้อที่ 371 : ข้อใดคือส่วนประกอบที่สาคัญของเครื่องขึ้นรูปแบบฉีด เป็นหนังเทียมได้ ถ้าหากเติมสารเติมแต่งชนิดใดลงไปในกระบวนการผลิต
(Injection molding) 1 : สารหล่อลื่น (Lubricant)
1 : หน่วยฉีด (Injection unit) 2 : สารเสริมแรง (Reinforcing filler)
2 : หน่วยจับยึด (Clamping unit) 3 : สารป้องกันการแตกหักของสายโซ่โมเลกุล (Stabilizer)
3 : แม่พิมพ์ (Mold) 4 : ข้อ 1 2 และ 3 ผิด
4 : ข้อ 1 2 และ 3 ถูก คาตอบที่ถูกต้อง : 4
คาตอบที่ถูกต้อง : 4 ข้อที่ 378 : เพราะเหตุใดกระบวนการขึ้นรูปแบบอัดเข้ากับแบบ
(Compression molding) จึงนิยมใช้กับพอลิเมอร์ชนิดเทอร์โมเซต
ข้อที่ 372 : ท่อพลาสติก เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการขึ้นรูปแบบใด
48

ติ้ง (Thermosetting) มากกว่าพอลิเมอร์ชนิดเทอร์โมพลาสติก 3 : การฉีดขึ้นรูป (Injection molding)


(Thermoplastic) 4 : การเป่าขึ้นรูป (Blow molding)
1 : การขึ้นรูปเทอร์โมเซตติ้ง ไม่จาเป็นต้องมีการหล่อเย็น คาตอบที่ถูกต้อง : 2
2 : ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการขึ้นรูปเทอร์โมเซตติ้ง มีผิวที่เป็นมันวาวกว่า ข้อที่ 384 : ยางลบดินสอ เป็นผลิตภัณฑ์ที่มักจะได้จากการขึ้นรูปแบบใด
3 : ประหยัดพลังงาน เนื่องจากในกระบวนการผลิตเทอร์โมเซตติ้ง มี 1 : การอัดรีด (Extrusion)
ความต้องการใช้อุณหภูมิที่ต่ากว่าในกระบวนการผลิตเทอร์โมพลาสติก 2 : การอัดเข้าแบบ (Compression molding)
4 : ข้อ 1 2 และ 3 ถูก 3 : การฉีดขึ้นรูป (Injection molding)
คาตอบที่ถูกต้อง : 1 4 : การเป่าขึ้นรูป (Blow molding)
ข้อที่ 379 : สารเติมแต่งที่นิยมใช้ในการทาให้ยางเกิดโครงสร้างตาข่าย คาตอบที่ถูกต้อง : 1
(Network) ขณะขึ้นรูปคือข้อใด ข้อที่ 385 : สารเติมแต่งประเภทใดต่อไปนี้ใช้สาหรับลดความรุนแรงของ
1 : หินปูน อัคคีภัยที่เกิดขึ้นกับวัสดุพอลิเมอร์
2 : กามะถัน 1 : Stabilizer
3 : ผงถ่าน 2 : Colorant
4 : ขี้ผึ้ง 3 : Flame retardant
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 4 : Filler
ข้อที่ 380 : กระบวนการขึ้นรูปพอลิเมอร์โดยวิธีการอัดรีดเป่าขึ้นรูป คาตอบที่ถูกต้อง : 3
(Extrusion blow molding) จะมีความแตกต่างจากกระบวนการขึ้นรูป ข้อที่ 386 : แผ่นฟิล์มพลาสติกเป็นผลิตภัณฑ์ที่มักจะได้จากกรรมวิธีการ
โดยวิธีการฉีดเป่าขึ้นรูป (Injection blow molding) อย่างไร ขึ้นรูปใดต่อไปนี้
1 : ชนิดของพอลิเมอร์ที่ใช้แตกต่างกัน 1 : Injection molding
2 : ผลิตภัณฑ์ที่ได้เป็นภาชนะกลวง 2 : Extrusion
3 : รูปร่างผลิตภัณฑ์ที่ได้มีความซับซ้อนเหมือนกัน 3 : Casting
4 : เทคนิคที่ใช้ในการเป่าด้วยวิธีการฉีดเป่าขึ้นรูป (Injection blow 4 : Blow molding
molding) ยุ่งยากกว่าการเป่าด้วยวิธีการอัดรีดเป่าขึ้นรูป (Extrusion คาตอบที่ถูกต้อง : 2
blow molding) ข้อที่ 387 : ขั้นตอนใดต่อไปนี้ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์พอลิเมอร์
คาตอบที่ถูกต้อง : 4 แบบเติม (Addition polymerization)
ข้อที่ 381 : ช้อนพลาสติกตักไอศกรีม เป็นผลิตภัณฑ์ที่มักจะได้จากการ 1 : Initiation
ขึ้นรูปแบบใด 2 : Termination
1 : การหล่อ (Casting) 3 : Condensation
2 : การอัดเข้าแบบ (Compression molding) 4 : Propagation
3 : การฉีดขึ้นรูป (Injection molding) คาตอบที่ถูกต้อง : 3
4 : การอัดรีด (Extrusion) ข้อที่ 388 : ผลิตภัณฑ์ในข้อใดไม่สามารถขึ้นรูปด้วยกระบวนการ
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 ฉีด (Injection molding) ได้
ข้อที่ 382 : กล่องพลาสติกใสสาหรับใส่ขนมเค้กชิ้นเล็กๆ เป็นผลิตภัณฑ์ที่ 1 : เปลือกหุ้มสายเคเบิล
มักจะได้จากการขึ้นรูปแบบใด 2 : ใบพัดลม
1 : การขึ้นรูปด้วยความร้อน (Thermo-forming) 3 : แผ่นซีดี
2 : การอัดเข้าแบบ (Compression molding) 4 : ฝาครอบโทรศัพท์มือถือ
3 : การฉีดขึ้นรูป (Injection molding) คาตอบที่ถูกต้อง : 1
4 : การเป่าขึ้นรูป (Blow molding) เนื้อหาวิชา : 252 : 15 Composite materials
คาตอบที่ถูกต้อง : 1 ข้อที่ 389 : วัตถุประสงค์หลักในการพัฒนาวัสดุเชิงประกอบ
ข้อที่ 383 : จานข้าวเมลามีน (Melamine) เป็นผลิตภัณฑ์ที่มักจะได้จาก (Composites) คือข้อใด
การขึ้นรูปแบบใด 1 : เพิ่มความรวดเร็วในการผลิตและประสิทธิภาพการผลิต
1 : การขึ้นรูปด้วยความร้อน (Thermo-forming) 2 : ลดต้นทุนการผลิต เพิ่มความสามารถในการแข่งขัน
2 : การอัดเข้าแบบ (Compression molding) 3 : ปรับปรุงสมบัติบางประการของชิ้นงาน เช่น ความแข็งแรง
4 : ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและใช้ทรัพยากรให้คุ้มค่า
49

คาตอบที่ถูกต้อง : 3 1 : Pyrolysis
ข้อที่ 390 : วัสดุในข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่วัสดุเชิงประกอบ (Composites) 2 : Hydrolysis
1 : ซีเมนต์ (Cement) 3 : Synthesis
2 : คอนกรีต (Concrete) 4 : Analysis
3 : คอนกรีตเสริมเหล็ก (Reinforced concrete) คาตอบที่ถูกต้อง : 1
4 : โฟม (Foam) ข้อที่ 397 : วัสดุเชิงประกอบ (Composite) ชนิดใดต่อไปนี้ที่เหมาะ
คาตอบที่ถูกต้อง : 1 สาหรับผลิตก้านสูบ (Connecting rods) ในเครื่องยนต์
ข้อที่ 391 : ผลิตภัณฑ์ใดต่อไปนี้ที่นิยมผลิตจากวัสดุเชิงประกอบ 1 : อะลูมิเนียมเสริมใยแก้ว (Glass fibers)
(Composites) 2 : อะลูมิเนียมเสริมใยซิลิกอนคาร์ไบด์ (SiC)
1 : ถ้วยกาแฟ 3 : อะลูมิเนียมเสริมใยหิน (Asbestos)
2 : หม้อหุงข้าว 4 : อะลูมิเนียมเสริมใยเหล็ก (Steel)
3 : ไม้เทนนิส คาตอบที่ถูกต้อง : 2
4 : กรอบแว่นตา ข้อที่ 398 : ข้อใดต่อไปนี้เป็นวัสดุเชิงประกอบที่มีสมบัติแบบไอโซทรอปิก
คาตอบที่ถูกต้อง : 3 1 : คานไม้
ข้อที่ 392 : ไฟเบอร์กลาส (Fiberglass) เป็นวัสดุชนิดใด 2 : โครงเครื่องบินไฟเบอร์กลาส
1 : เป็นแก้ว (Glass) ที่นามาขึ้นรูปเป็นเส้นใย (Fiber) 3 : ยางรถยนต์เสริมแรงด้วยคาร์บอนแบล็ก
2 : เป็นวัสดุเชิงประกอบ (Composite) ที่มีเทอร์โมเซท (Thermoset) 4 : ชิ้นส่วนกระสวยอวกาศทาจากเส้นใยยาวเคฟลาร์และอีพอกซี
เป็นโครงสร้างพื้น (Matrix) (Kevlar-epoxy)
3 : เป็นวัสดุเชิงประกอบที่มีเทอร์โมพลาสติก (Thermoplastic) เป็น คาตอบที่ถูกต้อง : 3
โครงสร้างพื้น ข้อที่ 399 : ข้อใดไม่ใช้วิธีเพิ่มความแข็งแรงให้กับวัสดุเชิงประกอบ
4 : เป็นวัสดุเชิงประกอบที่มีเซรามิก (Ceramic) เป็นโครงสร้างพื้น 1 : ลดขนาดของอนุภาคให้เล็กลง
คาตอบที่ถูกต้อง : 2 2 : ลดความยาวเส้นใยเสริมแรงให้สั้นลง
ข้อที่ 393 : ใยแก้ว (Glass fibers) ประกอบด้วยสารประกอบชนิดใดมาก 3 : เพิ่มแรงยึดเหนี่ยวระหว่างเนื้อพื้นและอนุภาคเสริมแรง
ที่สุด 4 : ปรับการกระจายตัวของอนุภาคในเนื้อพื้นให้สม่าเสมอ
1 : SiO2 คาตอบที่ถูกต้อง : 2
2 : Al2O3 ข้อที่ 400 : ข้อใดต่อไปนี้ คือหน้าที่ของเฟสกระจายตัว (Disperse
3 : CaO phase) ในวัสดุเชิงประกอบ
4 : MgO 1 : เป็นตัวกลางในการถ่ายโอนแรงจากภายนอกให้กับวัสดุผสม
คาตอบที่ถูกต้อง : 1 2 : เสริมสมบัติของวัสดุผสมให้ดีขึ้น
ข้อที่ 394 : เซอร์เมท (Cermet) เป็นวัสดุชนิดใด 3 : ป้องกันความเสียหายของเฟสเนื้อพื้น (Matrix) จากสภาพแวดล้อม
1 : เซรามิก 4 : ลดต้นทุนการผลิต
2 : วัสดุเชิงประกอบ (Composite) มีโลหะเป็นโครงสร้างพื้น (Matrix) คาตอบที่ถูกต้อง : 2
3 : วัสดุเชิงประกอบ (Composite) มีเซรามิกเป็นโครงสร้างพื้น (Matrix)
4 : โลหะชนิดหนึ่ง มีความแข็งสูง ใช้เป็นมีดกลึง
คาตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 395 : เคฟลาร์ (Kevlar) เป็นเส้นใยชนิดใด
1 : เส้นใยธรรมชาติ
2 : เส้นใยพอลิเมอร์สังเคราะห์
3 : เส้นใยแก้ว
4 : เส้นใยคาร์บอน
คาตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 396 : กระบวนการในข้อใดต่อไปนี้ที่ใช้ในการผลิตเส้นใยคาร์บอน
(Carbon fibers)

You might also like