Is Grammar

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 47

การศึกษาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของไวยากรณ์ ย้อนหลัง 5 ปี

นายชาคริต คาจันทรา เลขที่ 2


นายณภัทร สารเถื่อนแก้ว เลขที่ 3
นายพลวัฒน์ คาเต็ม เลขที่ 5
นายศุภวิชญ์ อุตเสน เลขที่ 11
นางสาวธัญชนก เตชะนันท์ เลขที่ 18
นางสาวพัชรพร พรมวังขวา เลขที่ 22
นางสาวภคพร ตุ้ยสาร เลขที่ 25
นางสาววรัญญา สุขใจ เลขที่ 28
นางสาวอินท์ชลิตา ธนรัฐไชยศรี เลขที่ 30

ครูที่ปรึกษา
นางสาวนิภาพร เจดียแ์ ปง

รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาการสื่อสารและการนาเสนอ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8
ปีการศึกษา 2564
โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 37

คานา

รายงานเล่มนี้ เป็นส่วนหนึ่งของการนาเสนอผลการศึกษาความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าองค์ความรู้เรื่อง
การศึกษาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของไวยากรณ์ ย้อนหลัง 5 ปี ทั้งนี้ ในรายงานนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับ
ข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของไวยากรณ์ ตลอดจนข้อเสนอแนะในการศึกษา และการนาความรู้ที่ได้
ไปเผยแพร่ เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อไป

คณะผู้จัดทา

กิตติกรรมประกาศ

การศึกษาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของไวยากรณ์ ย้อนหลัง 5 ปี ในครั้งนี้สาเร็จลุล่วงไปได้


ด้วยความเมตตาช่วยเหลืออย่างยิ่งจากคุณครูที่ปรึกษารายวิชาการสื่อสาร และการนาเสนอ ครูนิภาพร เจดีย์แปง
ที่ให้คาปรึกษาแนะนาในการศึกษา และนาเสนอผลงาน และขอขอบคุณทุกท่านที่ให้คาแนะนา และข้อคิดเห็นต่าง
ๆ ในการปฏิบัติกิจกรรมมาโดยตลอด จนกระทั่งการปฏิบัติกิจกรรมสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี

ขอขอบพระคุณ ณ โอกาสนี้

ชื่อเรื่อง การศึกษาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของไวยากรณ์ ย้อนหลัง 5 ปี
ผู้ศึกษาค้นคว้า นายชาคริต คาจันทรา เลขที่ 2
นายณภัทร สารเถื่อนแก้ว เลขที่ 3
นายพลวัฒน์ คาเต็ม เลขที่ 5
นายศุภวิชญ์ อุตเสน เลขที่ 11
นางสาวธัญชนก เตชะนันท์ เลขที่ 18
นางสาวพัชรพร พรมวังขวา เลขที่ 22
นางสาวภคพร ตุ้ยสาร เลขที่ 25
นางสาววรัญญา สุขใจ เลขที่ 28
นางสาวอินท์ชลิตา ธนรัฐไชยศรี เลขที่ 30

ครูที่ปรึกษา นางสาวนิภาพร เจดีย์แปง


โรงเรียน ศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน

บทคัดย่อ
การศึกษาในครั้งนี้เป็นการศึกษาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของไวยากรณ์ย้อนหลัง 5 ปี โดยมี
วัต ถุ ป ระสงค์ เพื่ อ ศึก ษาเป็ น แนวทางในการนาไปใช้ ส อบในปี ถัด ไป โดยใช้ก ารส ารวจจากข้อ สอบ GAT วิ ช า
ภาษาอั ง กฤษย้ อ นหลั ง 5 ปี ตั้ ง แต่ ปี 2559 ถึ ง 2563 รวบรวมโดยคณะผู้ ศึ ก ษา จากผลการส ารวจพบว่ า
เนื้อหาในแต่ละส่วนได้แก่ Speaking and Conversation, Vocabulary, Structure and Writing และ Reading
Comprehension ทุกส่วนคิดเป็นร้อยละ 25 หากนับเป็นจานวนข้อแต่ละส่วนจะมีจานวน 15 ข้อ ในผลวิจัยนี้ทา
ให้ทราบถึงข้อมูลแนวโน้มเนื้อหาที่จะออกในปีถัดไป

คาสาคัญ : GAT, ไวยากรณ์



Abstract
The objective of this study was to find the guideline for the GAT examination in the grammar
section by studying the past examination that has held from 2016 to 2020. The result of studying
found that overall GAT exams have 4 sections Speaking and Conversation 25%, Vocabulary 25%,
Structure and Writing 25%, and Reading Comprehension 25% and each section has 15 questions
by this information the examinee will have a guideline how the next year exam going to be.

Keywords : GAT, Grammar



สารบัญ
เรื่อง หน้า
คานา ก
กิตติกรรมประกาศ ข
ชื่อเรื่อง ค
ผู้ศึกษาค้นคว้า ค
ครูที่ปรึกษา ค
โรงเรียน ค
บทคัดย่อ ค
Abstract ง
สารบัญ ญ
สารบัญตาราง ด
สารบัญแผนภูมิ ต
สารบัญรูปภาพ ถ
บทที่ 1 บทนา 1
ความเป็นมาและความสาคัญ 1
วัตถุประสงค์ 2
สมมติฐานของการศึกษา 2
ขอบเขตของการศึกษาเรียนรู้ 2
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2
นิยามศัพท์เฉพาะ 3
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 4
1. แบบทดสอบวิชาความถนัดทั่วไป วิชาภาษาอังกฤษ (General Attitude Test) 4
1.1 ความหมายของแบบทดสอบวิชาความถนัดทั่วไป 4
1.2 ความสาคัญของแบบทดสอบวิชาความถนัดทั่วไป 5
1.3 ลักษณะของแบบทดสอบวิชาความถนัดทั่วไปวิชาภาษาอังกฤษ 5
(General Attitude Test)
2. แบบทดสอบวิชาความถนัดทั่วไป วิชาภาษาอังกฤษ (General Attitude Test) 6
ในส่วนของ Structure and Writing

2.1 องค์ประกอบของแบบทดสอบวิชาความถนัดทั่วไป วิชาภาษาอังกฤษ 6


(General Attitude Test) ในส่วนของ Structure and Writing
2.2 เนื้อหาไวยากรณ์ (Grammar) ที่ปรากฏในแบบทดสอบวิชาความถนัดทั่วไป 6
วิชาภาษาอังกฤษ (General Attitude Test) ในส่วนของ Structure and Writing
2.3 แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนไวยากรณ์ 8

2.4 ตัวอย่างข้อสอบพร้อมเฉลย 9
3. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 9
บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน 13
1. กลุ่มเป้าหมาย 13
2. ขอบเขตความคิด 13
3. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ ข้อมูลการศึกษา 13
4. วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล 13
5. อุปกรณ์ และวิธีการทดลอง 14
6. การวิเคราะห์ข้อมูล 14
7.ปฏิทินการปฏิบัติงานกิจกรรม 15
บทที่ 4 ผลการศึกษา 16
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ตั้งแต่ปี 2559 ถึง 2563 16
ส่วนที่ 2 ข้อมูลทั่วไปของข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของหัวข้อ Structure and 18
Writing โดยใช้ทักษะการใช้ไวยากรณ์ ในส่วนของ Error identification และ Grammar
cloze test ตั้งแต่ปี 2559 ถึง 2563
ส่วนที่ 3 ข้อมูลจากการศึกษาเนื้อหาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ 20
ในส่วนของ Structure and Writing โดยใช้ทักษะการใช้ไวยากรณ์ ตั้งแต่ปี 2559 ถึง 2563
ส่วนที่ 4 ข้อมูลสถิติทั้งหมดจากการศึกษาเนื้อหาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ 30
ในส่วนของ Structure and Writing โดยใช้ทักษะการใช้ไวยากรณ์ ตั้งแต่ปี 2559 ถึง 2563
บทที่ 5 สรุปผลอภิปราย และข้อเสนอแนะ 32
สรุปผลการศึกษา 32
อภิปรายผลการศึกษา 33
บรรณานุกรม 34
ภาคผนวก 36
ภาคผนวก 37

สารบัญตาราง

เรื่อง หน้า
ตารางที่ 1 ตารางข้อมูลที่คิดเป็นร้อยละของข้อมูลจานวนของข้อสอบ GAT 16
วิชาภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ ตั้งแต่ปี 2559 ถึง 2563
ตารางที่ 2 ตารางแสดงข้อมูลทั่วไปคิดเป็นร้อยละของข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วน 18
ของหัวข้อ Structure and Writing โดยใช้ทักษะการใช้ไวยากรณ์ ในส่วนของ
Error identification และ Grammar cloze test ตั้งแต่ปี 2559 ถึง 2563
ตารางที่ 3 ตารางแสดงข้อมูลที่คิดเป็นร้อยละจากการศึกษาเนื้อหาข้อสอบ GAT 20
วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของ Structure and Writing โดยใช้ทักษะการใช้
ไวยากรณ์ ปี 2559
ตารางที่ 4 ตารางแสดงข้อมูลที่คิดเป็นร้อยละ จากการศึกษาเนื้อหาข้อสอบข้อสอบ GAT 22
วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของ Structure and Writing โดยใช้ทักษะการใช้
ไวยากรณ์ ปี 2560
ตารางที่ 5 ตารางแสดงข้อมูลที่คิดเป็นร้อยละจากการศึกษาเนื้อหาข้อสอบข้อสอบ GAT 24
วิ ช าภาษาอั ง กฤษ ในส่ ว นของ Structure and Writing โดยใช้ ทั ก ษะการใช้
ไวยากรณ์ ปี 2561
ตารางที่ 6 ตารางแสดงข้อมูลที่คิดเป็นร้อยละ จากการศึกษาเนื้อหาข้อสอบข้อสอบ GAT 26
วิ ช าภาษาอั ง กฤษ ในส่ ว นของ Structure and Writing โดยใช้ ทั ก ษะการใช้
ไวยากรณ์ ปี 2562
ตารางที่ 7 ตารางแสดงข้อมูลที่คิดเป็นร้อยละ จากการศึกษาเนื้อหาข้อสอบข้อสอบ GAT 28
วิ ช าภาษาอั ง กฤษ ในส่ ว นของ Structure and Writing โดยใช้ ทั ก ษะการใช้
ไวยากรณ์ ปี 2563
ตารางที่ 8 ตารางแสดงข้ อ มู ล ค่ า เฉลี่ ย ทั้ ง หมดจากการศึ ก ษาเนื้ อ หาข้ อ สอบ GAT วิ ช า 30
ภาษาอังกฤษ ในส่วนของ Structure and Writing โดยใช้ทักษะการใช้ไวยากรณ์
ตั้งแต่ปี 2559 ถึง 2563

สารบัญแผนภูมิ

เรื่อง หน้า
แผนภูมิที่ 1 แผนภูมแิ สดงข้อมูลที่คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ ของข้อมูลจานวนของข้อสอบ GAT 17
วิชาภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ ตั้งแต่ปี 2559 ถึง 2563
แผนภูมิที่ 2 แผนภูมิแสดงข้อมูลทั่วไปที่คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ ของข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ 19
ในส่วนของหัวข้อ Structure and Writing โดยใช้ทักษะการใช้ไวยากรณ์ ในส่วน
ของError identification และ Grammar cloze test ตั้งแต่ปี 2559 ถึง 2563
แผนภูมิที่ 3 แผนภูมแิ สดงข้อมูลที่คิดเป็นเปอร์เซ็นต์จากการศึกษาเนื้อหาข้อสอบ GAT 21
วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของ Structure and Writing โดยใช้ทักษะการใช้
ไวยากรณ์ ปี 2559
แผนภูมิที่ 4 แผนภูมแิ สดงข้อมูลที่คิดเป็นเปอร์เซ็นต์จากการศึกษาเนื้อหาข้อสอบข้อสอบ GAT 23
วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของ Structure and Writing โดยใช้ทักษะการใช้
ไวยากรณ์ ปี 2560
แผนภูมิที่ 5 แผนภูมแิ สดงข้อมูลที่คิดเป็นเปอร์เซ็นต์จากการศึกษาเนื้อหาข้อสอบข้อสอบ GAT 25
วิ ช าภาษาอั ง กฤษ ในส่ ว นของ Structure and Writing โดยใช้ ทั ก ษะการใช้
ไวยากรณ์ ปี 2561
แผนภูมิที่ 6 แผนภูมแิ สดงข้อมูลที่คิดเป็นเปอร์เซ็นต์จากการศึกษาเนื้อหาข้อสอบข้อสอบ GAT 27
วิ ช าภาษาอั ง กฤษ ในส่ ว นของ Structure and Writing โดยใช้ ทั ก ษะการใช้
ไวยากรณ์ ปี 2562
แผนภูมิที่ 7 แผนภูมแิ สดงข้อมูลที่คิดเป็นเปอร์เซ็นต์จากการศึกษาเนื้อหาข้อสอบข้อสอบ GAT 29
วิ ช าภาษาอั ง กฤษ ในส่ ว นของ Structure and Writing โดยใช้ ทั ก ษะการใช้
ไวยากรณ์ ปี 2563
แผนภูมิที่ 8 แผนภู มิ แ สดงข้ อ มู ล ค่ า เฉลี่ ย ทั้ ง หมดจากการศึ ก ษาเนื้ อ หาข้ อ สอบ GAT วิ ช า 31
ภาษาอังกฤษ ในส่วนของ Structure and Writing โดยใช้ทักษะการใช้ไวยากรณ์
ตั้งแต่ปี 2559 ถึง 2563

สารบัญรูปภาพ

เรื่อง หน้า
ภาพที่ 1 ปรึกษาหารือในการศึกษา และปรึกษาครูที่ปรึกษา 36
ภาพที่ 2 รวบรวมข้อมูลในรูปแบบสถิติร้อยละ 36
ภาพที่ 3 วิเคราะห์ผลข้อมูล 37
ภาพที่ 4 ตรวจสอบข้อมูลและจัดทาเป็นรูปเล่ม 37
1
บทที่ 1
บทนา

ความเป็นมาและความสาคัญ
ในปัจจุบันนี้ ข้อสอบ GAT หรือ General Aptitude Test เป็นการทดสอบวิชาความถนัดทั่วไป หรือใน
อีกมุมนึ งคือ การทดสอบวัดความรู้ว่านักเรี ยนมีความพร้อมในการเข้าเรียนมหาวิทยาลัยมากน้อยแค่ไหนโดย
ข้ อ สอบ GAT สามารถยื่ น คะแนน เพื่ อ เข้ า รั บ การคั ด เลื อ กเข้ า เรี ย นต่ อ ระดั บ มหาวิ ท ยาลั ย ในระบบรั บ ตรง
(ข้อกาหนด และเกณฑ์ของคะแนนขึ้นอยู่กับแต่ละคณะหรือมหาวิทยาลัยเป็นผู้กาหนด) และสามารถยื่นคะแนน
เพื่อเข้ารับการคัดเลือกเข้าเรียนต่อระดับมหาวิทยาลัย ผ่านระบบแอดมิชชั่น โดยคิดค่าน้าหนักของคะแนนอยู่ใน
สัดส่วนระหว่างร้อยละ 10-50 ส่วนที่เหลือนั้นก็มาจากสัดส่วนรวมกันของเกรด (GPAX) หรืออื่น ๆ ตามแต่ละคณะ
จะกาหนดเกณฑ์ข้อสอบ GAT จะแบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 GAT เชื่อมโยง เป็นการวัดความสามารถในการ
อ่าน การเขียน การคิดเชิงวิเคราะห์ การแก้โจทย์ปัญหา และวัดความสามารถในการสื่อสารพื้นฐาน โดยไม่มุ่งเน้น
ไปที่การท่องจา ส่วนที่ 2 GAT วิชาภาษาอังกฤษ เป็นการทดสอบความรู้ และความสามารถในการสื่อสารด้าน
ภาษาอั ง กฤษมี 4 ส่ ว น ซึ่ ง จะประกอบไปด้ ว ย Speaking and Conversation, Vocabulary, Structure and
Writing และ Reading Comprehension โดยทั้ง 2 ส่ ว น โดยมี สั ด ส่ ว นคะแนนเต็ ม 150 คะแนน ต่ อ วิช า ซึ่ ง
รวมกันแล้ว คะแนนเต็มทั้งหมดคือ 300 คะแนนด้วยกัน
คณะผู้จัดทาศึกษาเกี่ยวกับข้อสอบ GAT ในส่วนของไวยากรณ์ เนื่องจากพบว่ามีผู้ที่จะเข้าสอบส่วนมากยัง
สับสนกับวิธีใช้ไวยากรณ์ในภาษาอังกฤษในรูปแบบต่าง ๆ ทางคณะผู้จัดทาจึงได้ศึกษาและเเก้ไขปัญหาต่าง ๆ
ที่ผู้เข้าสอบส่วนใหญ่ไม่สามารถทาข้อสอบได้มีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้เข้าสอบมีความมั่นใจในการตอบมากขึ้น
มีประสิทธิภาพมากขึ้น มีความรู้ความเข้าใจที่พร้อมแก่การสอบมากขึ้ นด้วยเทคนิค และวิธีการที่คณะผู้จัดทาได้
นาเสนอ
ทางคณะผู้จัดทาได้เลือกที่จะศึกษาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของไวยากรณ์ ซึ่งจะอยู่ในส่วน
ของ Structure and Writing โดยคานวณจากข้อสอบย้อนหลัง 5 ปี เพื่อที่จะได้ศึกษาแนวทางในการทาข้อสอบ
ส่ ว นนี้ ใ ห้ ไ ด้ รั บ ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด แก่ ตั ว ผู้ ส อบเอง และมุ่ ง เน้ น ไปยั ง จุ ด ที่ ส าคั ญ ในการท าข้ อ สอบ GAT
วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของไวยากรณ์
2
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของไวยากรณ์ เพื่อเป็นแนวทางในการไปใช้สอบ
ในปีถัดไป
2. เพื่อศึกษาวิธีการ และหลักการของข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของไวยากรณ์ ที่สามารถ
นาไปประยุกต์ใช้ในห้องสอบได้อย่างมีประสิทธิ์ภาพ
3. เพื่อเป็นประโยชน์ และแนวทางสาหรับผู้ที่ส นใจศึกษาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของ
ไวยากรณ์

สมมติฐานของการศึกษา
1. ผู้เข้าสอบสามารถทาข้อสอบ GAT ในส่วนของไวยากรณ์ได้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
2. ผู้ที่สนใจศึกษาข้อสอบ GAT ในส่วนของไวยากรณ์ ได้ประโยชน์ เเละเป็นเเนวทางในการทาข้อสอบ

ขอบเขตของการศึกษาเรียนรู้
1. ขอบเขตด้านเนื้อหา
เพื่ อ ศึ ก ษาวิ ธี ก าร เเละหลั ก การของข้ อ สอบ GAT วิ ช าภาษาอั ง กฤษ ในส่ ว นของไวยากรณ์
เพื่อนาไปใช้ในการสอบให้มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลมากที่สุด
2. ระยะเวลาดาเนินการ
ตุลาคม 2564 – กุมภาพันธ์ 2565
3. สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน 179 หมู่ 5 ตาบลดู่ใต้ อาเภอเมืองน่าน
จังหวัดน่าน 55000

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. เพื่อศึกษาเนื้อหาไวยากรณ์ที่ปรากฏในข้อสอบ GAT
2. ได้รับเทคนิคในการทาข้อสอบ GAT ในส่วนของไวยากรณ์ให้ได้ประสิทธิภาพ และใช้เวลาในการทา
ข้อสอบให้น้อยมากที่สุด
3. ผู้ที่สนใจจะสามารถดูเป็นแนวทางในการทาข้อสอบ หรืออ่านหนังสือเตรียมสอบได้ อย่างเป็นขั้นตอน
การดาเนินงาน
3
นิยามศัพท์เฉพาะ
ข้อสอบ GAT หมายถึง ข้อสอบ GAT หรือ General Aptitude Test เป็นการทดสอบวิชาความถนัด
ทั่วไป หรือคือการทดสอบวัดความรู้ ความสามารถในการเข้าเรียนมหาลัยของนักเรียน
ข้อสอบไวยากรณ์ (Grammar) หมายถึง ข้อสอบไวยากรณ์เป็นส่วนของ Structure and Writing
ข้อสอบย้อนหลัง 5 ปี หมายถึง ข้อสอบ GAT ภาษาอังกฤษย้อนหลัง 5 ปี ตั้งแต่ปี 2559-2563
4
บทที่ 2
เอกสาร และงานวิจัยทีเ่ กี่ยวข้อง
ในการศึกษาเรื่อง การศึกษาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของไวยากรณ์ ย้อนหลัง 5 ปี ผู้ศึกษา
ได้รวบรวมแนวคิด และหลักการต่าง ๆ จากเอกสารที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้
1. แบบทดสอบวิชาความถนัดทั่วไป วิชาภาษาอังกฤษ (General Attitude Test)
1.1 ความหมายของแบบทดสอบวิชาความถนัดทั่วไป
1.2 ความสาคัญของแบบทดสอบวิชาความถนัดทั่วไป
1.3 ลักษณะของแบบทดสอบวิชาความถนัดทั่วไป วิชาภาษาอังกฤษ (General Attitude Test)
2. แบบทดสอบวิ ช าความถนั ด ทั่ ว ไป วิ ช าภาษาอั ง กฤษ (General Attitude Test) ในส่ ว นของ
Structure and Writing
2.1 องค์ประกอบของแบบทดสอบวิชาความถนัดทั่วไป วิชาภาษาอังกฤษ (General Attitude
Test) ในส่วนของ Structure and Writing
2.2 เนื้อหาไวยากรณ์ (Grammar) ที่ปรากฏในแบบทดสอบวิชาความถนัดทั่วไป วิชาภาษาอังกฤษ
(General Attitude Test) ในส่วนของ Structure and Writing
2.3 แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนไวยากรณ์
2.4 ตัวอย่างข้อสอบพร้อมเฉลย
3. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1.แบบทดสอบวิชาความถนัดทั่วไป วิชาภาษาอังกฤษ (General Attitude Test)
1.1ความหมายของแบบทดสอบวิชาความถนัดทั่วไป
ตามพจนานุกรมได้ให้ความหมายของ GAT (General Aptitude Test) หรือความถนัดทั่วไปว่า เป็นการ
ทดสอบวิชาความถนัดทั่วไป หรือในอีกมุมนึงคือการทดสอบวัดดูว่านักเรียนมีความพร้อมในการจะเข้าเรียนใน
มหาวิทยาลัยมากน้อยแค่ไหน ส่วนที่ 1 GAT เชื่อมโยง คือ การวัดความสามารถในการอ่านการเขียน และการคิด
เชิงวิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหา และวัดความสามารถในการสื่อสารพื้นฐาน โดยไม่เน้นที่การท่องจา จากนั้นใน
ส่วนที่ 2 GAT วิชาอังกฤษ คือ การทดสอบความรู้ ความสามารถในการสื่อสารด้านภาษาอังกฤษ ซึ่งประกอบด้วย
Speaking and Conversation, Vocabulary, Structure and Writing, Reading Comprehension โ ด ย มี ทั้ ง
2 ส่วน จะมีสัดส่วนคะแนนเต็ม 150 คะแนนต่อวิชา ซึ่งรวมกันแล้ว คะแนนเต็มทั้งหมดคือ 300 คะแนนด้วยกัน
5

1.2ความสาคัญของแบบทดสอบวิชาความถนัดทั่วไป
GAT และ PAT ถือว่าเป็นคะแนนที่สาคัญมาก เพราะใช้ในการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทั้งในระบบรับตรง
และระบบแอดมิชันกลาง ซึ่งในแอดมิชันกลางนั้น GAT PAT รวมกันจะเป็นสัดส่วนถึงร้อยละ 50 ถ้าไม่มีคะแนนนี้ก็
ไม่ได้แอดมิชชั่น ส่วนอีกร้อยละ 50 ที่เหลือก็เป็นสัดส่วนรวมกันของเกรด (GPAX) ซึ่งจะเป็นเกรดเฉลี่ยรวมตั้งแต่
ชั้น ม.4 จนถึง ม.6 และคะแนน O-NET ซึ่งเป็นการสอบอีกแบบหนึ่ง
คณะที่ เ ปิ ด รั บ ตรงรอบแรก ส่ ว นใหญ่ ก็ จ ะใช้ ค ะแนน GAT หรื อ PAT ของการสอบรอบที่ 1 เท่ า นั้ น
ที่กล่าวว่ารับตรงก็ใช้ GAT PAT นั้น บางมหาวิทยาลัยแทบจะใช้เป็นเกณฑ์สาคัญเลยทีเดียว และรับตรงรอบแรก
ส่วนใหญ่ก็จะใช้ GAT PAT รอบแรกเท่านั้น เพราะรับตรงโครงการนั้น ๆ มักจะเสร็จสิ้นก่อนจะสอบ GAT PAT
รอบมีนาคม จึงใช้ได้แค่รอบเดียว
1.3ลักษณะของแบบทดสอบวิชาความถนัดทั่วไปวิชาภาษาอังกฤษ (General Attitude Test)
1.3.1 รูปแบบข้อสอบ เป็นแบบปรนัย 5 ตัวเลือก 1 คาตอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษมีทั้งหมด 60 ข้อ
มีค่าข้อละ 2.5 คะแนน แบ่งออกเป็น 4 ส่วน
1.3.2 Speaking and Conversation จานวน 15 ข้อ ซึ่งจะในตัวข้อสอบจะเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับ
บทสนทนาในชีวิตประจาวัน มีทั้ง สั้นและยาว หรือบางครั้งก็จะมี Idiom และสานวน
1.3.3 Vocabulary จานวน 15 ข้อ เป็นในเรื่องของคาศัพท์ ซึ่งจะสามารถแบ่งออกเป็น 2 ส่วน
ได้แก่ Synonyms 5 ข้อ และ Meaning 10 ข้อ
1.3.4 Reading comprehensive จานวน 15 ข้อ ซึ่งจะมีการวัดทักษะในการอ่าน และความเข้าใจ
ในเนื้อเรื่องที่ได้อ่าน โดยจะมีทั้งข้อความ สั้น ยาว และปานกลาง
1.3.5 Structure and Writing จานวน 15 ข้อ แบ่งเป็น 3 ส่วนย ได้แก่ Error จานวน 5 ข้อ
Cloze test จานวน 5 ข้อ และ Writing Paragraph จานวน 5 ข้อ
6
2. แบบทดสอบวิชาความถนัดทั่วไป วิชาภาษาอังกฤษ (General Attitude Test) ในส่วนของ
Structure and Writing
2.1 องค์ประกอบของแบบทดสอบวิชาความถนัดทั่วไป วิชาภาษาอังกฤษ
(General Attitude Test) ในส่วนของ Structure and Writing
2.1.1 Structure and Writing (โครงสร้างและการเขียน) : ข้อ 46-60 แบ่งออกเป็น 3 แบบ
2.1.2 ข้อ 46-50 Error Identification จะมีประโยคมาให้แล้วขีดเส้นใต้ไว้ 5 ส่วน ให้หาว่าส่วน
ไหนที่ผิดไวยากรณ์หรือผิดความหมาย
2.1.3 ข้อ 51-55 Cloze Test มี Paragraph มาให้แล้วโดยจะมีช่องว่างให้เติมคาอยู่ 5 ที่ โดยให้
เลือกข้อที่ถูกไวยากรณ์ และความหมายไปเติมในช่องว่างให้ถูกต้อง
2.1.4 ข้อ 56-60 Paragraph Writing โดยจะมีย่อหน้ามาให้ 1 เรื่อง แล้วถามคาถาม
และเราจะต้องสามารถแยกได้ว่าประเภทอันไหนคือประโยค Topic, Support และ
Concluding โดยที่เราจะต้องสังเกตว่าประโยคไหนไม่เข้าพวก ประโยคไหนมีความหมาย
เหมือนกับประโยคที่เน้นหนาไว้ในย่อหน้า

2.2 เนื้อหาไวยากรณ์ (Grammar) ที่ปรากฏในแบบทดสอบวิชาความถนัดทั่วไป วิชาภาษาอังกฤษ


(General Attitude Test) ในส่วนของ Structure and Writing
เนื้อหาไวยากรณ์ (Grammar) ที่ปรากฏในแบบทดสอบวิชาความถนัดทั่วไป วิชาภาษาอังกฤษ (General
Attitude Test) ในส่วนของ Structure and Writing ประกอบไปด้วย
Present Participle คื อ กริ ย าไม่ แ ท้ (Non-finite verb) รู ป แบบห นึ่ ง เป็ น ค ากริ ย า ที่ เ ติ ม ing
แล้วกลายเป็น Adjective เพื่อทาหน้าที่ขยายคานามโดยบ่งบอกว่าคานามที่มันขยายคากริยานั้นด้วยตนเอง และ
สาเหตุที่ต้องมีกริยาไม่แท้ เนื่องจากในประโยคนั้นมีกริยาแท้อยู่แล้ว ตามกฎแล้วหากประโยคนั้น ๆ ไม่มีคาเชื่อม
จะสามารถมีกริยาแท้ได้เพียงตัวเดียวเท่านั้น ดังนั้นจึงต้องใช้ Participle เข้ามาช่วย เพื่อทาหน้าที่เป็นกริยาไม่แท้
และทาให้ประโยคกระชับยิ่งขึ้น
Past Participle คือ กริยาไม่แท้ (Non-finite verb) รูปแบบหนึ่ง เป็นคากริยาที่ อยู่ในรูปกริยาช่องที่ 3
แล้วกลายเป็น Adjective เพื่อทาหน้าที่ขยายคานามโดยบ่งบอกว่าคานามที่มันขยายถูกกระทา และสาเหตุที่ต้องมี
กริยาไม่แท้ เนื่องจากในประโยคนั้นมีกริยาแท้อยู่แล้ว ตามกฎแล้วหากประโยคนั้น ๆ ไม่มีคาเชื่อมจะสามารถมี
กริยาแท้ได้เพียงตัวเดียวเท่านั้น ดังนั้นจึงต้องใช้ Participle เข้ามาช่วย เพื่อทาหน้าที่เป็นกริยาไม่แท้ และทาให้
ประโยคกระชับยิ่งขึ้น
Gerund คือคากริยา (Verb) ที่เติม ing เป็นกริยาไม่แท้ ใช้ทาหน้าที่เป็นคานาม การใช้ Gerund สามารถ
ใช้ทาหน้าที่เป็นได้ทั้งประธาน (Subject) กรรม (Object) และ ส่วนเสริม (Complement) ของประโยค สามารถ
ใช้ Gerund วางไว้ได้ทั้งหน้าประโยค กลางประโยค และท้ายประโยค ตามหน้าที่ของมัน Gerund ได้ชื่อว่าเป็น
กริยานามหรืออาการนาม (Verbal Noun) เนื่องจากตัวมันแม้จะใช้เป็นคานามแต่มันก็แสดงออกถึงอาการกริยา
ไปในตัว
7
Infinitive with to คือกริย าตัวแรก ที่จะต้องมี to มาคั่นก่อนที่จะตามด้วยกริยาตัวที่ 2 หรือมีคานาม
สรรพนามก่อน แล้วจึงตามด้วย to
Infinitive without to คือกริยาตัวแรกที่จะตามด้วยกริยาตัวที่ 2 ได้เลย หรือตามด้วยคานาม หรือสรรพ
นามก่อน แล้วจึงตามด้วยกริยาตัวที่ 2 ได้เลย
การใช้ Despite/In spite of เป็นคาเชื่อมที่ใช้ในประโยคแสดงความขัดแย้ง แปลว่า “แม้ว่า, ทั้ง ๆ ที”่ มัก
ตามด้วยคานาม หรือคาสรรพนามเท่านั้น หรือหากต้องตามคากริยา เราสามารถทาคากริยานั้นให้เป็นรูปแบบของ
Gerund (- ing form ที่ทาหน้าที่เป็นคานาม)
คานามนับไม่ได้ (Uncountable Noun) คานามนับไม่ได้ ห้ามเติม s หรือ es และห้ามเติม article a หรือ
an แต่ให้ใช้โดยคงรูปเดิมไว้เสมอ และกริยาที่ใช้ต้องใช้ในรูปเอกพจน์เท่านั้น
ความสอดคล้ องของประธาน และกริ ยา (Subject And Verb Agreement) คือ การใช้ป ระธาน และ
คากริยาให้สอดคล้องกันตามหลักไวยากรณ์ ซึ่งก็คือถ้าประธานเป็นเอกพจน์ (มีจานวนหนึ่งหน่วย) เราจะต้องใช้
คากริยารูปเอกพจน์ (เช่น is, does, has, คากริยารูปที่เติม s/es) แต่ถ้าประธานเป็นพหูพจน์ (มีจานวนตั้งแต่สอง
หน่วยขึ้นไป) เราจะต้องใช้คากริยารูปพหูพจน์ (เช่น are, do, have, คากริยารูปที่ไม่ได้เติม s/es)
การใช้ Amount ใช้ กั บ ค านามที่ นั บ ไม่ ไ ด้ (Uncountable noun) เช่ น An amount of water, An
amount of money, An amount of space, etc.กริ ย าที่ ต ามหลั ง An amount of + ค านามจะต้ อ งเป็ น
เอกพจน์เสมอ
การใช้ Number ใช้กับคานามที่นับได้ (Countable noun) เช่น A number of features , A number
of enterprises, A number of candidates, etc.กริยาที่ตามหลัง A number of+คานามจะต้องเป็นพหูพจน์
แต่ถ้าไม่ใช่ A number of กลับเป็น The number of กริยาที่ใช้ต้องเป็นเอกพจน์
เห็ น รู ป verb ตามด้ว ย –ing เมื่ อไร ให้ จาไว้เ สมอว่า คานั้น แปลว่า น่าส าหรับ Verb ที่เ ติม –ed นั้ น
ให้จาไว้ว่า ความหมายของคาจะแปลว่า รู้สึก
8
2.3 แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนไวยากรณ์
ผู้คนส่วนใหญ่มักจะไม่เก่งไวยากรณ์จึงต้องการที่จะพัฒนาตัวเองด้วยวิธีต่าง ๆ การเรี ยนรู้ไวยากรณ์มีวิธีที่
หลากหลายขึ้นอยู่กับผู้ที่สนใจศึกษาไวยากรณ์ว่าจะศึกษาด้วยวิธีใด จากงานวิจัยของ ชวนพิศ ศรีวิชัย ได้ศึกษา
พฤติกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษด้วยตนเอง ผลการศึกษาพบว่า นิสิตที่มีความสามารถทางภาษาอังกฤษต่างกันมี
พฤติกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษด้วยตนเองในด้านการกาหนดเป้าหมายการเรียนรู้ การเลือกวิธีการเรียนรู้ และ
การประเมินผลการเรียนรู้แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติระดับ .01 แต่ไม่พบความแตกต่างอย่างชัดเจนใน
พฤติกรรมด้านการเลือกแหล่ง และสื่อการเรียนรู้ โดยมีกลุ่มตัวอย่างคือนิสิตระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 2-4 ภาคปกติ
มหาวิทยาลั ย พะเยา ที่ล งทะเบี ยนเรี ย นวิช าการอ่านเชิงวิช าการในภาคเรียนที่ 1/2555 จานวน 280 คนจาก
ประชากรทั้งหมดจานวน 930 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลคือแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม
สาเร็จรูป SPSS โดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่ว นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า F-test และค่าสัมประสิ ทธิ์สหสัมพันธ์
ยกตัวอย่างการเรียนรู้ไวยากรณ์ที่ทางคณะผู้จัดทาจึงได้ศึกษาหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตได้ดังนี้
1. การเรียนรู้ด้วยตัวเอง เกิดจากการที่อยู่ในสิ่งเเวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ เช่น อยากเก่งภาษาอังกฤษ
เราจะต้องฝึกสื่ อสารภาษาอังกฤษกับชาวต่างชาติ เพื่อให้ได้ประสิทธิภาพในการสื่อสาร หรือเราอยากจะศึกษา
ไวยากรณ์ เราควรศึกษาจากการสื่อ เช่น การดูหนัง วาไรตี้โ ชว์ของต่างประเทศ การฟังเพลง หรือศึกษาจาก
โซเชี ย ลมี เ ดี ย โดยมี ง านวิ จั ย ของ ชวนพิ ศ ศรี วิ ชั ย ได้ ศึ ก ษาพฤติ ก รรมการเรี ย นรู้ ภ าษาอั ง กฤษด้ ว ยตนเอง
ผลการศึกษาพบว่า นิสิตที่มีความสามารถทางภาษาอังกฤษต่างกันมีพฤติกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษด้วยตนเอง
ในด้านการกาหนดเป้าหมายการเรียนรู้ การเลือกวิธีการเรียนรู้ และการประเมินผลการเรียนรู้แตกต่างกันอย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติระดับ .01 แต่ไ ม่พบความแตกต่างอย่างชัดเจนในพฤติกรรมด้านการเลือกแหล่ง และสื่อการ
เรียนรู้ โดยมีกลุ่มตัวอย่างคือ นิสิตระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 2-4 ภาคปกติ มหาวิทยาลัยพะเยา ที่ลงทะเบียนเรียน
วิชาการอ่านเชิงวิชาการในภาคเรียนที่ 1/2555 จานวน 280 คนจากประชากรทั้งหมดจานวน 930 คน เครื่องมือที่
ใช้ในการเก็บข้อมูลคือแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสาเร็จรูป SPSS โดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า F-test และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์
2. การเรี ย นเสริ มด้ ว ยติ ว เตอร์ ตามสถาบั นต่ า ง ๆ ผู้ คนส่ ว นใหญ่ หรือ เด็ ก ที่เ รีย นรู้ด้ ว ยตั ว เองได้ไ ม่ มี
ประสิทธิภาพมักจะสนใจที่จะเรียนเสริมกับคุณครูชาวต่างชาติ หรือติวเตอร์ เพื่อพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ ซึ่งมี
ข้อเสียคือ ค่าใช้จ่ายที่สูง ผู้คนบางส่วนเรียนได้มีประสิทธิภาพ และบางส่วนเรียนได้ไม่มีประสิทธิภาพทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ
ตัวผู้สอน เเละผู้ที่สนใจที่จะเรี ยน ติวเตอร์จะให้เเบบฝึกหัด หรือข้อสอบมาทา เพื่อพัฒนาทักษะให้ผู้เรียนมีการ
เรียนรู้ ทาให้ผู้ที่สนใจที่จะศึกษาได้ศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ นายอนุสรณ์ ศิวะกุล ประธานกรรมการบริหาร
9
บริษัท วรรณสรณ์ ธุรกิจ จากัด และผู้บริหารสถาบันกวดวิชาชื่อดังเคมี อ.อุ๊ ให้สัมภาษณ์ ศูนย์ข่าว TCIJ
โดยวิเคราะห์ ถึงเหตุผลที่ทาให้สถาบันกวดวิชาต่าง ๆ ได้รับความนิยมมากขึ้นในปั จจุบันว่า วิชาการเรียนที่ถูก
บรรจุ อยู่ในหลักสูตรที่เด็กต้องเรียน ทาให้ครูไม่สามารถสอนเด็กให้มีความรู้ความเข้าใจในบทเรียนได้ภายในเวลา
จากัด จึงเป็นเหตุผลสาคัญ ที่ทาให้จาเป็นต้องหาความรู้เพิ่มเติม เสริมจากเวลาเรียนปกติ เพราะจะมีเวลาเพียงพอ
ต่อการทาความเข้าใจในบทเรียนได้มากกว่า

2.4 ตัวอย่างข้อสอบพร้อมเฉลย
ตัวอย่างข้อสอบของปี 2561

46 ประโยคนี้ มีกริ ย าคือ have สามารถมี verb ได้เพียง 1 ตัว จึงต้องเปลี่ ยน remember จึงต้องแก้ไขในรูป
remembering

ตัวอย่างข้อสอบของปี2562

46 เปลี่ยน has เป็น had มีการใช้ has ใช้ในเหตุการณ์ในอดีต

3. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
งานวิจัยในประเทศ
ลม่อม ศรีเจริญ (2544) ได้พัฒนาบทเรียนภาษาอังกฤษ โดยใช้กิจกรรมการเรียนแบบเน้นงานปฏิบัติ เพื่อ
ส่งเสริมความสามารถในการพูดของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูงผลปรากฏว่าหลังจากการใช้
บทเรียน นักเรียนมีความสามารถในการพูดอยู่ในระดับค่อนข้างดี และนักเรียนมีความพึงพอใจกับบรรยากาศในชั้น
เรียนที่ประกอบไปด้วยกิจกรรมการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับระดับความรู้ความสามารถ และความสนใจ
10
ของผู้เรียน พฤติกรรมครูที่เน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติงานตามแนวคิดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง มีความเป็นกันเอง
และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนการพูดอย่างอิสระ ตลอดจนการปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียน และนักเรียน
กั บ นั ก เรี ย นที่ ท าให้ ไ ด้ รั บ การช่ ว ยเหลื อ จากครู และมี ก ารพึ่ ง พาระหว่ า งนั ก เรี ย นอ่ อ นกั บ นั ก เรี ย นที่ เ ก่ ง กว่ า
เป็นการสร้าง บรรยากาศที่เป็นมิตรทาให้นักเรียนคลายความวิตกกังวลในการเรียน
อรวรรณ เลาหะมณี (2546) ได้ใช้การสอนภาษาแบบมุ่งปฏิบัติงานเพื่อเพิ่มพูนความสามารถในการพูด
ภาษาอังกฤษ และความรู้ ด้านไวยากรณ์ของนักศึกษาในระดับปริญญาตรี พบว่าการสอนภาษาแบบมุ่งปฏิบัติงาน
ทาให้นักเรียนได้ใช้ความรู้แบบตรงคือความรู้เกี่ยวกับกฎเกณฑ์ทางภาษา และความรู้แบบอ้อมคือการนาเอาความรู้
เกี่ยวกับไวยากรณ์ไปใช้อย่างอัตโนมัติอย่างสัมพันธ์กัน และยังกระตุ้นให้ผู้เรียนได้คิด พิจารณา สร้างความรวบยอด
เกี่ยวกับโครงสร้างภาษาจนสามารถแก้ไขข้อผิดพลาดต่าง ๆ ทางภาษาเพื่อการสื่อสารในงานของตนเอง และ
เนื้อหาที่ใช้ในการสอนที่เกี่ยวข้องกับประสบการณ์ใกล้ตัวผู้เรียนยังช่วยดึงดูดความสนใจ ทาให้ผู้เรียนเกิด
ความเข้าใจเชื่อมโยงความคิดระหว่างบทเรียนสามารถถ่ายทอดข้อมูล ความคิด ความเข้าใจ โดยการพูดออกมาได้
ปิยธิดา วงศ์ไข่ (2547) ได้วิจัยเรื่อง การพัฒนาบทเรียนภาษาอังกฤษที่ใช้กิจกรรม มุ่งเน้นปฏิบัติงานเพื่อ
ส่งเสริมความสามารถทางการพูดภาษาอังกฤษของผู้เรียนผู้ใหญ่ ซึ่งเป็นกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาที่มุ่งเน้นให้
ผู้เรียนมีกระบวนการคิด กระบวนการเรียนรู้ และการบวนการทางานที่ขึ้นกับผู้เรียนมากที่สุด เพื่อผู้เรียนเกิดการ
เรียนรู้จากการปฏิบัติงาน ประกอบด้ว ย 3 ขั้นตอน คือ ขั้นก่อนการปฏิบัติ ที่ผู้สอนเตรียมความพร้อมให้แก่ผู้เรียน
ทางด้านภาษา อธิบายคาสั่งในการทางาน และเกณฑ์การประเมินผลงาน ขั้ นปฏิบัติประกอบด้วยขั้นตอนย่อย 3
ขั้นตอน คือ ขั้นทางานที่ผู้เรียนเลือกเองอย่างอิสระ โดยผู้สอนคอยสังเกต และชี้แนะอยู่ห่าง ๆ จากนั้นเป็นวางแผน
เพื่อการนาเสนองาน และขั้นนาเสนอผลงานที่ผู้เรียนต้องเสนองานของตนต่อชั้นเรียน เพื่อให้ผู้ฟัง และผู้สอน ร่วม
ประเมินผลงานที่นาเสนอ สุดท้ายเป็นขั้นมุ่งเน้นภาษา ซึ่งผู้เรียนได้วิเคราะห์ผลที่ได้จากการประเมินงานคนอื่น
และตนเอง ทบทวน และฝึกฝนข้อผิดพลาด มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1. พัฒนาบทเรียน ภาษาอังกฤษของผู้เรียนผู้ใหญ่
และ 2. เปรี ยบเทียบความสามารถทางการพูดภาษาอังกฤษของผู้ เรียน ผู้ ใ หญ่ก่อนและหลังการใช้กิจกรรมมุ่ง
ปฏิบัติงาน โดยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 3 ประเภทคือ ประเภทที่ 1 เครื่องมือสาหรับทาการสร้าง และใช้บทเรียน
ได้แก่ แบบสารวจความต้องการผู้เรียน ผู้ใหญ่โดยใช้กิจกรรมแบบมุ่งปฏิบัติงาน ประเภทที่ 2 เครื่องมือประเมินผล
เพื่อพัฒนาบทเรียน ได้แก่ แบบประเมินประสิทธิภาพของบทเรียน และแบบประเมินความสามารถทางการพูด
ภาษาอังกฤษ ระหว่างการปฏิบัติงานหลังจากเสร็จสิ้นการเรียนการสอนในแต่ละแผน ประเภทที่ 3 เครื่องมือที่ใช้ใน
การเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบวัดความสามารถทางการพูดภาษาอังกฤษของผู้เรียนผู้ใหญ่ก่อนและหลังการใช้
กิจ กรรมมุ่ง ปฏิ บั ติง าน จากนั้ น จึ งได้ ทาการวิเ คราะห์ ข้อ มูล โดยการหาค่า เฉลี่ ย ค่าร้ อยละและส่ ว นเบี่ ยงเบน
มาตรฐาน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. บทเรียนภาษาอังกฤษที่ใช้กิจกรรมแบบมุ่งปฏิบัติงาน เพื่อส่งเสริม
11
ความสามารถทางการพูดภาษาอังกฤษมีประสิทธิภาพมากที่สุด 2. ความสามารถทางการพูดภาษาอังกฤษของ
ผู้เรียนผู้ใหญ่สูงขึ้นหลังจากการใช้กิจกรรมมุ่งปฏิบัติงาน
ไชยยั น ต์ โตเทศ (2551) ได้วิจั ย เรื่ อง การใช้กิจ กรรมมุ่ง ปฏิบัติ งานที่เน้ นประสบการณ์ เพื่ อส่ ง เสริ ม
ความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษและความเชื่อมั่นในตนเองของนักศึ กษาวิชาการโรงแรม และการท่องเที่ยว
มีขั้นตอนการสอนหลักอยู่ 4 ขั้นตอน โดยขั้นแรกคือ ขั้นมุ่งปฏิบัติงาน ซึ่งประกอบไปด้วย ขั้นก่อนปฏิบัติงาน และ
ขั้นปฏิบัติงานเป็นการให้ตัวป้อนทางภาษาแก่ผู้เรียน มีการให้ผู้เรียนปฏิบัติงานในชั้นเรียนที่เป็นงานเดี่ยว งานคู่
และงานกลุ่มจากตัวป้อนที่ผู้สอนได้กาหนดให้ในการสื่อสาร ขั้นที่สองคือ ขั้นหลังปฏิบัติงานและคิดใคร่ครวญ โดย
ผู้เรียน และผู้สอนจะคอยเลือกเฟ้น สรุปเนื้อหาที่มีความสาคัญนามาไตร่ตรองออกมาในรูปภาษาพูด และภาษา
เขียนโดยผู้เรียนจะต้องนา สิ่งที่เรียนในชั้นเรียนออกมาใช้ เพื่อให้ผู้เรียนนาความรู้เพิ่มเติมที่ได้รับมาไปแสวงหา
ข้อมูล ขั้นที่สามคือ ขั้นประสบการณ์จริงผู้เรียนจะต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากสถานที่จริงจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เช่น
การสังเกตการณ์ การสัมภาษณ์ การจดบันทึก แล้วมาทาการสรุปและนาเสนอหน้าชั้นเรียน และขั้นตอนที่สี่คือ ขั้น
คิดใคร่ครวญ ผู้เรียนจะสรุปองค์ความรู้ทั้งหมดว่า ผู้เรียนสามารถนาความรู้ที่เรียนมาใช้จริงใน ชีวิตประจาวันได้
อย่างไรโดยผู้เรียนสามารถนาความรู้ไปใช้ประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้อง และสร้างองค์ความรู้ใหม่ได้อย่างเหมาะสม
มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบความสามารถทางการพูดภาษาอังกฤษ และความเชื่อมั่นในตนเองของนักศึกษา
ก่อน และหลังการใช้กิจกรรมมุ่งปฏิบัติงานที่เน้นประสบการณ์ โดยเครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ แผนการสอน
กิจกรรมมุ่งปฏิบัติงานที่เน้นประสบการณ์ และเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แ ก่ แบบวัดความสามารถ
ทางการพูด และแบบวัดความ เชื่อมั่นในตนเอง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้ 1. ผลการศึกษาเปรียบเทียบความสามารถทางการพูดของนักศึกษาก่อน และหลังจากการ
ใช้ กิจกรรมมุ่งปฏิบัติงานที่เน้นประสบการณ์ พบว่านักศึกษามีความสามารถทางการพูดเพิ่มขึ้นหลังการทดลองสูง
กว่าก่อนการทดลอง 2. ผลการศึกษาเปรียบเทียบความเชื่อมั่นในตนเองของนักศึกษาก่อน และหลังจากการใช้
กิ จ กรรมมุ่ ง ปฏิ บั ติ ง านที่ เ น้ น ประสบการณ์ พบว่ า นั ก ศึ ก ษามี ค วามเชื่ อ มั่ น ในตนเอง หลั ง การทดลองสู ง กว่ า
การทดลอง
จิน ตนา เกิดสายทอง (2536) ได้ศึกษาการใช้ชุดฝึ กทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ส าหรับนักเรี ยนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 5 ผลการวิจัยปรากฏว่านักเรียนมีความรู้ความสามารถในด้านการเขียนสูงขึ้นเป็นที่น่าพอใจ และ
เข้าใจใน โครงสร้างหลักของภาษาได้ดียิ่งขึ้น มีคะแนนเฉลี่ยะสู งขึ้น และนักเรียนให้ความสนใจในการทาแบบฝึก
ชุดต่อไป
สุ ร างค์ สายอุ ด ม (2541) ได้ ศึ ก ษาการใช้ แ บบฝึ ก ทั ก ษะการเขี ย นภาษาอั ง กฤษ ส าหรั บ นั ก เรี ย นชั้ น
ประถมศึกษาปีที่ 3 ผลการวิจัยพบว่านักเรียนมีความสามารถในการเขียนสูงขึ้นเป็นที่น่าพอใจ และมีความรู้
12
ความเข้าใจในโครงสร้างทางไวยากรณ์มากขึ้น ส่งผลให้สัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษ หลังใช้แบบฝึกทักษะการ
เขียนสูงขึ้นกว่าก่อนการทคลองใช้แบบฝึก
จากข้างต้น จะเห็นได้ว่างานวิจัยด้านการเรียนการสอนภาษาอังกฤษแบบเน้นภาระงานมีส่วนในการพัฒนา
ทักษะทางภาษาของผู้เรียน นอกเหนือจากบทเรียน และกิจกรรมที่มุ่งเน้นภาระงานแล้ว ผู้วิจัยยังให้ความสาคัญกับ
การใช้เอกสารจริงในฐานะงานให้แก่ผู้เรียนด้วย ซึ่งงานวิจัยเหล่านี้สามารถพัฒนาการเรียนรู้ด้านภาษาอังกฤษ
เพื่อที่จะนาความรู้ไปใช้ในการทาข้อสอบ GAT ในส่วนของไวยากรณ์
13
บทที่ 3
วิธีการดาเนินการศึกษา
1. กลุ่มเป้าหมาย
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่กาลังจะศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย โดยใช้คะแนน Gat เป็นส่วนหนึ่ง
ของเกณฑ์การรับสมัครเข้ามหาวิทยาลัย

2. ขอบเขตความคิด
การศึกษาในครั้งนี้ เป็นการศึกษาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของไวยากรณ์

3. เครื่องมือทีใ่ ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ ข้อมูลการศึกษา แบ่งออกเป็น 3 ส่วนดังนี้


ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ตั้งแต่ปี 2559 ถึง 2563
ส่วนที่ 2 ข้อมูลสถิติของคะแนนที่ได้จากการทาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ของเด็กไทยทั่วประเทศ
ตั้งแต่ปี 2559 ถึง 2563
ส่วนที่ 3 ข้อมูลจากการศึกษาเนื้อหาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของ Structure and Writing
โดยใช้ทักษะการใช้ไวยากรณ์ ตั้งแต่ปี 2559 ถึง 2563
ส่วนที่ 4 ข้อมูลสถิติทั้งหมดจากการศึกษาเนื้อหาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของ Structure
and Writing โดยใช้ทักษะการใช้ไวยากรณ์ ตั้งแต่ปี 2559 ถึง 2563

4. วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
4.1 กาหนดประเด็นที่ศึกษา คือศึกษาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของไวยากรณ์
4.2 ศึกษาเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
4.3 ทาการศึกษาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของไวยากรณ์
4.4 นาข้อมูลที่ได้มารวบรวม วิเคราะห์ ศึกษาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของไวยากรณ์ โดย
ใช้สถิติร้อยละ และนาเสนอ
14
5. อุปกรณ์ และวิธีการทดลอง
5.1 วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการศึกษา และสารวจ
ได้แก่ 1) กระดาษ
2) คอมพิวเตอร์
3) โทรศัพท์มือถือ
4) อินเตอร์เน็ต
5) ปากกา ดินสอ

6. การวิเคราะห์ข้อมูล
6.1 ตรวจสอบผลการศึกษาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของไวยากรณ์
6.2 สรุปผลการศึกษาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของยากรณ์
6.3 วิเคราะห์การศึกษาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของไวยากรณ์ และนามาจัดทาเป็นตาราง
สรุปผล และแผนภูมิ เพื่อนาเสนอข้อมูล
15
ปฏิทินการปฏิบัติงานกิจกรรม

ชื่อกิจกรรม การศึกษาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของไวยากรณ์ ย้อนหลัง 5 ปี


ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565

สัปดาห์ วัน เดือน ปี รายละเอียดการปฏิบัติกิจกรรม ผู้รับผิดชอบ


1 28 ตุลาคม 2564 -เลือกหัวข้อที่จะศึกษา คณะผู้จัดทา
-วางขอบเขตเรื่องที่จะศึกษา
2 8 พฤศจิกายน -เขียนแผนงานปฏิบัติงาน คณะผู้จัดทา
2564
3 11 พฤศจิกายน -นาเสนอแผนพัฒนาต่อครูที่ปรึกษา คณะผู้จัดทา
2564
4 6 มกราคม 2565 -ศึกษาข้อมูลของข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ คณะผู้จัดทา
ในส่วนของไวยากรณ์
5 10 มกราคม 2565 -ปรึกษาครูที่ปรึกษาในการใช้ข้อมูลข้อสอบ GAT คณะผู้จัดทา
วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของไวยากรณ์
6 13 มกราคม 2565 -เตรียมข้อมูล เพื่อรวบรวมข้อมูลทั้งหมด คณะผู้จัดทา
7 27 มกราคม 2565 -จัดการรวบรวมข้อมูลทั้งหมด คณะผู้จัดทา
8 8 กุมภาพันธ์ 2565 -จัดทาสรุปเป็นสถิติ คณะผู้จัดทา
9 14 กุมภาพันธ์ -ปรึกษาครูที่ปรึกษา เพื่อเผยแพร่ผลการศึกษา คณะผู้จัดทา
2565
10 18 กุมภาพันธ์ -จัดรูปเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์ คณะผู้จัดทา
2565
11 24 กุมภาพันธ์ -นาเสนอผล บทสรุปต่อทางโรงเรียน คณะผู้จัดทา
2565
16
บทที่ 4
ผลการศึกษา
จากการศึกษาได้ ทาการศึกษาข้ อสอบ GAT วิ ช าภาษาอัง กฤษ ในส่ ว นของไวยากรณ์ โดยผู้ ศึ กษาได้
เก็บรวบรวมข้อมูล และได้นาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลแบ่งออกเป็น 3 ส่วนดังนี้
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ตั้งแต่ปี 2559 ถึง 2563
ส่วนที่ 2 แผนภูมิแสดงข้อมูลทั่วไปของข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของหัวข้อ Structure and
Writing โดยใช้ทั กษะการใช้ไวยากรณ์ ในส่ ว นของ Error identification และ Grammar cloze test ตั้งแต่ปี
2559 ถึง 2563
ส่วนที่ 3 ข้อมูลจากการศึกษาเนื้อหาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของ Structure and Writing
โดยใช้ทักษะการใช้ไวยากรณ์ ตั้งแต่ปี 2559 ถึง 2563
ส่วนที่ 4 ข้อมูลสถิติทั้งหมดจากการศึกษาเนื้อหาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของ Structure
and Writing โดยใช้ทักษะการใช้ไวยากรณ์ ตั้งแต่ปี 2559 ถึง 2563

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ตั้งแต่ปี 2559 ถึง 2563


ตารางที่ 1 ตารางข้อมูลที่คิดเป็นร้อยละของข้อมูลจานวนของข้อสอบ GAT
วิชาภาษาอังกฤษ ตั้งแต่ปี 2559 ถึง 2563
ค่าเฉลี่ย คิดเป็น ร้อยละ ของจานวนข้อสอบของเนื้อหาที่ออกสอบ
ตั้งแต่ปี 2559 ถึง 2563
จากจานวนข้อสอบทั้งหมด Speaking and Structure Reading
ของข้อสอบ GAT Conversation Vocabulary and Writing Comprehension
วิชาภาษาอังกฤษ
: คะแนน

60 ข้อ : 150 คะแนน 25 25 25 25

จากตารางที่ 1 ตารางแสดงข้อมูลที่คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ของข้อมูลจานวนข้อสอบ GAT โดยแบ่งเป็นเนื้อหา


ในการออกข้ อสอบ GAT วิ ช าภาษาอั งกฤษ แต่ ล ะส่ ว น ได้ดั งนี้ Speaking and Conversation, Vocabulary,
Structure and Writing และ Reading Comprehension ทั้งหมด คิดได้เป็นร้อยละ 25 นับจานวนข้อเป็นส่วน
ละ 15 ข้อ
17
แผนภูมิที่ 1 แผนภูมิแสดงข้อมูลที่คิดเป็นร้อยละของข้อมูลจานวนของข้อสอบ GAT
วิชาภาษาอังกฤษ ตั้งแต่ปี 2559 ถึง 2563

แผนภูมิแสดงข้อมูลที่คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ของข้อมูลจานวนของข้อสอบ GAT
วิชาภาษาอังกฤษ ตั้งแต่ปี 2559 ถึง 2563

25% 25%

25% 25%

Speaking & Conversation Vocabulary


Structure & Writing Reading Comprehension
18
ส่วนที่ 2 แผนภูมิแสดงข้อมูลทั่วไปของข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของหัวข้อ Structure and
Writing โดยใช้ทั กษะการใช้ ไ วยากรณ์ ในส่ว นของ Structure และ Error cloze test ตั้ง แต่ปี 2559 ถึ ง
2563
ตารางที่ 2 แผนภูมิแสดงข้อมูลทั่วไปของข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของหัวข้อ Structure and
Writing โดยใช้ทักษะการใช้ไวยากรณ์ ในส่วนของ Structure และ Error cloze test ตั้งแต่ปี 2559 ถึง 2563

ค่าเฉลี่ย คิดเป็น ร้อยละ ของจานวนข้อสอบของเนื้อหาที่ออก


ตั้งแต่ปี 2559 ถึง 2563 สอบ
จากจานวนเนื้อหา
Grammar ของข้อสอบ
GAT structure Error cloze test
วิชาภาษาอังกฤษ
(ร้อยละ)
100 50 50

จากตารางที่ 2 ตารางแสดงข้อมูลที่คิดเป็น ร้อยละของข้อมูลจานวนข้อสอบ GAT โดยแบ่งเป็นเนื้อหาใน


การออกข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ แต่ละส่วน ได้ดังนี้ structure and Error cloze test ทั้งหมด คิดได้เป็น
อย่างละ ร้อยละ 50
19
แผนภูมิที่ 2 แผนภูมิแสดงข้อมูลทั่วไปของข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของหัวข้อ Structure and
Writing โดยใช้ทักษะการใช้ไวยากรณ์ ในส่วนของ Structure และ Error cloze test ตั้งแต่ปี 2559 ถึง 2563

แผนภูมิแสดงข้อมูลทั่วไปของข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของหัวข้อ


Structure and Writing โดยใช้ทักษะการใช้ไวยากรณ์ ในส่วนของ
Structure และ Error cloze test ตั้งแต่ปี 2559 ถึง 2563

50% 50%

Error identification Grammer cloze test


20

ส่วนที่ 3 ข้อมูลจากการศึกษาเนื้อหาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของ Structure and Writing


โดยใช้ทักษะการใช้ไวยากรณ์ ตั้งแต่ปี 2559 ถึง 2563
ตารางที่ 3 ตารางแสดงข้อมูลที่คิดเป็นร้อยละ จากการศึกษาเนื้อหาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ
ในส่วนของ Structure and Writing โดยใช้ทักษะการใช้ไวยากรณ์ ปี 2559
ปี 2559 (GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของ Structure and Writing โดยใช้ทักษะการใช้ไวยากรณ์)
เนื้อหา จานวน (ข้อ) คิดเป็นร้อยละ
Part of Speech 4 40
Tense 2 20
Subject Verb Agreement 2 20
Finite and Non-Finite Verb 1 10
Relative Pronoun 1 10

จากตารางที่ 3 แสดงข้อมูลการศึกษาเนื้อหาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษในส่วนของ Structure and


Writing โดยทักษะการใช้ไวยากรณ์ ปี 2559 โดยคิดเป็ นร้อยละ มีเนื้อหา Part of Speech จานวน 4 ข้อ คิดเป็น
ร้อยละ 40 Tense จานวน 2 ข้อ คิดเป็น ร้อยละ 20, Subject Verb Agreement จานวน 1 ข้อ คิดเป็น ร้อยละ
20, Finite and Non-Finite Verb จานวน 1 ข้อ คิดเป็นร้อยละ 10 และ Relative Pronoun จานวน 1 ข้อ คิด
เป็นร้อยละ 10
21
แผนภูมิที่ 3 แผนภูมแิ สดงแสดงข้อมูลที่คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ จากการศึกษาเนื้อหาข้อสอบข้อสอบ GAT
วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของ Structure and Writing โดยใช้ทักษะการใช้ไวยากรณ์ ปี 2559

แผนภูมิแสดงแสดงข้อมูลที่คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ จากการศึกษาเนื้อหาข้อสอบข้อสอบ
GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของ Structure and Writing
โดยใช้ทักษะการใช้ไวยากรณ์ ปี 2559

10%
10%
40%
20%

20%

Part Of Speech Tense


Subject Verb Agreement Finite And Non-Finite Verb
Relative Pronoun
22
ตารางที่ 4 ตารางแสดงข้อมูลที่คิดเป็นร้อยละ จากการศึกษาเนื้อหาข้อสอบข้อสอบ GAT
วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของ Structure and Writing โดยใช้ทักษะการใช้ไวยากรณ์ ปี 2560
ปี 2560 (GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของ Structure and Writing โดยใช้ทักษะการใช้ไวยากรณ์)
เนื้อหา จานวน (ข้อ) คิดเป็นร้อยละ
Part of Speech 2 20
Tense 3 30
Finite and Non-Finite Verb 1 10
Relative Pronoun 3 30
Parallel Structure 1 10

จากตารางที่ 4 แสดงข้อมูลการศึกษาเนื้อหาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษในส่วนของ Structure and


Writing โดยทักษะการใช้ไวยากรณ์ ปี 2560 โดยคิดเป็นร้อยละ มีเนื้อหา Part of Speech จานวน 2 ข้อ คิดเป็น
ร้อยละ 20, Tense จานวน 3 ข้อ คิดเป็นร้อยละ 30, Finite and Non-Finite Verb จานวน 1 ข้อ คิดเป็นร้อยละ
10, Relative Pronoun จานวน 3 ข้อ คิดเป็นร้อยละ 30 และ Parallel Structure จานวน 1 ข้อ คิดเป็นร้อยละ
10
23

แผนภูมิที่ 4 แผนภูมิแสดงแสดงข้อมูลที่คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ จากการศึกษาเนื้อหาข้อสอบข้อสอบ GAT


วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของ Structure and Writing โดยใช้ทักษะการใช้ไวยากรณ์ ปี 2560

แผนภูมิแสดงแสดงข้อมูลที่คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ จากการศึกษาเนื้อหาข้อสอบข้อสอบ GAT


วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของ Structure and Writing
โดยใช้ทักษะการใช้ไวยากรณ์ ปี 2560

10%
10%
30%

20%
30%

Tense Relative Pronoun


Part Of Speech Parallel Structure
Finite And Non-Finite Verb
24
ตารางที่ 5 ตารางแสดงข้อมูลที่คิดเป็นร้อยละ จากการศึกษาเนื้อหาข้อสอบข้อสอบ GAT
วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของ Structure and Writing โดยใช้ทักษะการใช้ไวยากรณ์ ปี 2561
ปี 2561 (GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของ Structure and Writing โดยใช้ทักษะการใช้ไวยากรณ์)
เนื้อหา จานวน (ข้อ) คิดเป็นร้อยละ
Part of Speech 3 30
Tense 2 20
Relative Pronoun 2 20
Finite and Non-Finite Verb 1 10
Subject Verb Agreement 1 10
Parallel Structure 1 10

จากตารางที่ 5 แสดงข้อมูลการศึกษาเนื้อหาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษในส่วนของ Structure and


Writing โดยทักษะการใช้ไวยากรณ์ ปี 2561 โดยคิดเป็นร้อยละ มีเนื้อหา Part of Speech จานวน 3 ข้อ คิดเป็น
ร้อยละ 30, Tense จานวน 2 ข้อ คิดเป็น ร้อยละ 20, Subject Verb Agreement จานวน 1 ข้อ คิดเป็นร้อยละ
10, Finite and Non-Finite Verb จานวน 1 ข้อ คิดเป็น ร้อยละ 10, Relative Pronoun จานวน 2 ข้อ คิดเป็น
ร้อยละ 20 และ Parallel Structure จานวน 1 ข้อ คิดเป็นร้อยละ 10
25
แผนภูมิที่ 5 แผนภูมิแสดงแสดงข้อมูลที่คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ จากการศึกษาเนื้อหาข้อสอบข้อสอบ GAT
วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของ Structure and Writing โดยใช้ทักษะการใช้ไวยากรณ์ ปี 2561

แผนภูมิแสดงแสดงข้อมูลที่คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ จากการศึกษาเนื้อหาข้อสอบข้อสอบ GAT


วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของ Structure and Writing
โดยใช้ทักษะการใช้ไวยากรณ์ ปี 2561

10%
10%
30%
10%

20% 20%

Part of Speech Tense

Relative Pronoun Subject Verb Agreement

Finite And Non-Finite Verb Parallel Structure


26
ตารางที่ 6 ตารางแสดงข้อมูลที่คิดเป็นร้อยละ จากการศึกษาเนื้อหาข้อสอบข้อสอบ GAT
วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของ Structure and Writing โดยใช้ทักษะการใช้ไวยากรณ์ ปี 2562
ปี 2562 (GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของ Structure and Writing โดยใช้ทักษะการใช้ไวยากรณ์)
เนื้อหา จานวน (ข้อ) คิดเป็นร้อยละ
Part of Speech 3 30
Tense 2 20
Parallel Structure 2 20
Finite and Non-Finite Verb 1 10
Subject Verb Agreement 1 10
Passive Voice 1 10

จากตารางที่ 6 แสดงข้อมูลการศึกษาเนื้อหาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษในส่วนของ Structure and


Writing โดยทักษะการใช้ไวยากรณ์ ปี 2562 โดยคิดเป็นร้อยละ มีเนื้อหา Part of Speech จานวน 3 ข้อ คิดเป็น
ร้อยละ 30, Tense จานวน 2 ข้อ คิดเป็นร้อยละ 20, Subject Verb Agreement จานวน 1 ข้อ คิดเป็นร้อยละ
10, Finite and Non-Finite Verb จานวน 1 ข้อ คิดเป็น ร้อยละ 10, Parallel Structure จานวน 2 ข้อ คิดเป็น
ร้อยละ 20 และ Passive Voice จานวน 1 ข้อ คิดเป็นร้อยละ 10
27
แผนภูมิที่ 6 แผนภูมิแสดงแสดงข้อมูลที่คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ จากการศึกษาเนื้อหาข้อสอบข้อสอบ GAT
วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของ Structure and Writing โดยใช้ทักษะการใช้ไวยากรณ์ ปี 2562

แผนภูมิแสดงแสดงข้อมูลที่คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ จากการศึกษาเนื้อหาข้อสอบข้อสอบ GAT


วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของ Structure and Writing
โดยใช้ทักษะการใช้ไวยากรณ์ ปี 2562

10%
10%
30%
10%

20% 20%

Part of Speech Tense

Parallel Structure Subject Verb Agreement

Finite And Non-Finite Verb Passive Voice


28
ตารางที่ 7 ตารางแสดงข้อมูลที่คิดเป็นร้อยละ จากการศึกษาเนื้อหาข้อสอบข้อสอบ GAT
วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของ Structure and Writing โดยใช้ทักษะการใช้ไวยากรณ์ ปี 2563
ปี 2563 (GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของ Structure and Writing โดยใช้ทักษะการใช้ไวยากรณ์)
เนื้อหา จานวน (ข้อ) คิดเป็นร้อยละ
Part of Speech 5 50
Tense 2 20
Subject Verb Agreement 1 10
Finite And Non-Finite Verb 1 10
Passive Voice 1 10

จากตารางที่ 7 แสดงข้อมูลการศึกษาเนื้อหาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษในส่วนของ Structure and


Writing โดยทักษะการใช้ไวยากรณ์ ปี 2563 โดยคิดเป็นร้อยละ มีเนื้อหา Part of Speech จานวน 5 ข้อ คิดเป็น
ร้อยละ 50, Tense จานวน 2 ข้อ คิดเป็นร้อยละ 20, Subject Verb Agreement จานวน 1 ข้อ คิดเป็นร้อยละ
10, Finite and Non-Finite Verb จานวน 1 ข้อ คิดเป็น ร้อยละ 10 และ Passive Voice จานวน 1 ข้อ คิดเป็น
ร้อยละ 10
29
แผนภูมิที่ 7 แผนภูมิแสดงแสดงข้อมูลที่คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ จากการศึกษาเนื้อหาข้อสอบข้อสอบ GAT
วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของ Structure and Writing โดยใช้ทักษะการใช้ไวยากรณ์ ปี 2563

แผนภูมิแสดงแสดงข้อมูลที่คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ จากการศึกษาเนื้อหาข้อสอบข้อสอบ GAT


วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของ Structure and Writing
โดยใช้ทักษะการใช้ไวยากรณ์ ปี 2563

10%
10%

10% 50%
20%

Part of Speech Tense

Subject Verb Agreement Finite And Non-Finite Verb

Passive Voice
30
ส่วนที่ 4 ข้อมูลสถิติทั้งหมดจากการศึกษาเนื้อหาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของ Structure and
Writing โดยใช้ทักษะการใช้ไวยากรณ์ ตั้งแต่ปี 2559 ถึง 2563
ตารางที่ 8 ตารางแสดงข้อมูลค่าเฉลี่ยทั้งหมดจากการศึกษาเนื้อหาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ
ในส่วนของ Structure and Writing โดยใช้ทักษะการใช้ไวยากรณ์ ตั้งแต่ปี 2559 ถึง 2563
ข้อมูลค่าเฉลี่ยทั้งหมดจากการศึกษาเนื้อหาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ
ในส่วนของ Structure and Writing โดยใช้ทักษะการใช้ไวยากรณ์ ตั้งแต่ปี 2559 ถึง 2563

เนื้อหา ค่าเฉลี่ย ตั้งแต่ ปี 2559-2563

จานวน (ข้อ) ร้อยละ


Part Of Speech 3 27
Tense 2 18
Subject Verb Agreement 2 18
Relative Pronoun 1 9
Finite and Non-Finite Verb 1 9
Parallel Structure 1 9
Passive Voice 1 9

รวม 11 100

จากตารางที่ 8 ตารางแสดงข้อมูลค่าเฉลี่ยทั้งหมดจากการศึกษาเนื้อหาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ใน


ส่วนของ Structure and Writing โดยใช้ทักษะการใช้ไวยากรณ์ ตั้งแต่ปี 2559 ถึง 2563 ดังนี้ Part of Speech
มีค่าเฉลี่ย 3 ข้อ คิดเป็นร้อยละ 27, Tense ค่าเฉลี่ย 2 ข้อ คิดเป็นร้อยละ 18, Subject Verb Agreement
ค่าเฉลี่ย 2 ข้อ คิดเป็นร้อยละ 18 Relative Pronoun ค่าเฉลี่ย 1 ข้อ คิดเป็นร้อยละ 9, Finite And Non-Finite
Verb ค่าเฉลี่ย 1 ข้อ คิดเป็นร้อยละ 9, Parallel Structure ค่าเฉลี่ย 1 ข้อ คิดเป็นร้อยละ 9, Passive Voice
ค่าเฉลี่ย 1 ข้อ คิดเป็นร้อยละ 9
31
แผนภูมิที่ 8 แผนภูมิแสดงค่าเฉลี่ยของเปอร์เซ็นต์ทั้งหมดจากการศึกษาเนื้อหาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ
ในส่วนของ Structure and Writing โดยใช้ทักษะการใช้ไวยากรณ์ ตั้งแต่ปี 2559 ถึง 2563

แผนภูมิแสดงค่าเฉลี่ยของเปอร์เซ็นต์ทั้งหมดจากการศึกษาเนื้อหาข้อสอบ GAT
วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของ Structure and Writing โดยใช้ทักษะการใช้
ไวยากรณ์ ตั้งแต่ปี 2559 ถึง 2563

9%
9% 27%
18%
18%
9%
9%

Part Of Speech Tense


Relative Pronoun Finite And Non-Finite Verb
Subject Verb Agreement Parallel Structure
Passive Voice
32

บทที่ 5
สรุปผลอภิปราย และข้อเสนอแนะ

สรุปผลการศึกษา
จากการที่ผู้ศึกษาได้ทาการศึกษาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของไวยากรณ์ ย้อนหลัง 5 ปี ในครั้งนี้
มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นประโยชน์ และแนวทางสาหรับผู้ที่สนใจศึกษาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของ
ไวยากรณ์สรุปผลการศึกษาได้ดังนี้
1. ข้อมูลทั่วไปของข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ตั้งแต่ปี 2559 ถึง 2563
เปอร์เซ็นต์ของข้อมูลจานวนข้อสอบ GAT โดยแบ่งเนื้อหาของข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ เป็นแต่ละส่วน
ได้แก่ Speaking and Conversation, Vocabulary, Structure and Writing และ Reading Comprehension
ทุกส่วน คิดได้เป็นร้อยละ 25 โดยหากนับเป็นจานวนข้อแต่ละส่วน จะเท่ากับ 15 ข้อ
2. ข้อมูลทั่วไปของข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของหัวข้อ Structure and Writing โดยใช้ทักษะ
การใช้ไวยากรณ์ ในส่วนของ Error identification และ Grammar cloze test ตั้งแต่ปี 2559 ถึง 2563
ร้อยละของข้อมูลจานวนข้อสอบ GAT โดยแบ่งเนื้อหาหัวข้อ Structure and Writing ร้อยละ 50 และ
มี Error identification และ Grammar cloze test ร้อยละ 50
3. ข้อมูลจากการศึกษาเนื้อหาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของ Structure and Writing โดยใช้
ทักษะการใช้ไวยากรณ์ ตั้งแต่ปี 2559 ถึง 2563
การศึ ก ษาเนื้ อ หาข้ อ สอบ GAT วิ ช าภาษาอัง กฤษในส่ ว นของ Structure and Writing โดยทั ก ษะการใช้
ไวยากรณ์ ปี 2559 ถึง 2563 หากคิดเป็นร้อยละ เนื้อหาที่มีแนวโน้มที่จะออกทุกปีและมีจานวนข้อออกมากที่สุด
คือ Part of Speech ที่หากวิเคราะห์จานวนข้อของเรื่อง Part of Speech ของแต่ละปีออกมาเป็นร้อยละทุกปี
เรื่องนี้จะมีแนวโน้มไม่ต่ากว่าร้อยละ 20 ที่จานวนข้อสอบในเรื่องนี้จะปรากฏขึ้น
33

4. ข้อมูล สถิติทั้งหมดจากการศึกษาเนื้อหาข้อสอบ GAT วิช าภาษาอังกฤษ ในส่ ว นของ Structure and


Writing โดยใช้ทักษะการใช้ไวยากรณ์ ตั้งแต่ปี 2559 ถึง 2563
ค่าเฉลี่ยทั้งหมดจากการศึกษาเนื้อหาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ บ่งบอกว่าเรื่องที่มีแนวโน้มจะออกสอบ
มากที่สุดในแต่ละปีคือ Part of Speech, อันดับที่ 2 คือ Tense, อันดับที่ 3 คือ Relative Pronoun, อันดับที่ 4
คื อ Finite And Non-Finite Verb, อั น ดั บ 5 คื อ Subject Verb Agreement และ Parallel Structure และ
อันดับสุดท้าย คือ Passive Voice

อภิปรายผลการศึกษา
จากการที่ผู้ศึกษาได้ทาการศึกษาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของไวยากรณ์ ย้อนหลัง 5 ปีในครั้งนี้
มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นประโยชน์ และแนวทางสาหรับผู้ที่สนใจศึกษาข้อสอบ GAT วิชาภาษาอังกฤษ ในส่วนของ
ไวยากรณ์อภิปรายผลการศึกษาได้ดังนี้
1. ด้านการศึกษาเนื้อหาที่มีแนวโน้มที่จะออกสอบในแต่ละปี เรื่องที่มีแนวโน้มจะออกสอบทุกปี และมีจานวน
ข้อมากที่สุดคือ Part of Speech ที่หากวิเคราะห์จานวนเรื่อง และจานวนข้อสอบไวยากรณ์เป็นค่าเฉลี่ย ตั้งแต่ปี
2559 ถึง 2563 เรื่อง Part of Speech มีจานวนข้อสูงถึงร้อยละ 34
2. ด้านการศึกษาความสาคัญของข้อสอบ GAT ที่ใช้ในการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทั้งในระบบรับตรง และ
ระบบแอดมิชชันกลาง ซึ่งในแอดมิชชันกลางนั้นจะมีการนาคะแนน GAT และ PAT มารวมกันจะเป็นสัดส่วนถึง
ร้อยละ 50 หากไม่มีคะแนนส่วนนี้จะไม่สามารถใช้สิทธิ์ยื่นเข้าสมัครเรียนในระดับมหาวิทยาลัยของรัฐได้
3. ด้านการศึกษาองค์ความรู้ วิธีใช้งานเกี่ยวกับเนื้อหาไวยากรณ์ที่ปรากฏในข้อสอบในแต่ละปี เป็นเนื้อหาที่มี
สอนในห้องเรียนระดับมัธยมปลายไม่ว่าจะเป็นเรื่อง Part of Speech, Finite and Non-Finite Verb, Parallel
Structure, Passive voice และ Relative pronoun ฯลฯ
34
บรรณานุกรม
ข้อสอบ GAT ENG (ส่วนภาษาอังกฤษ) ปี 63 พร้อมเฉลย. 2563. (ออนไลน์). แหล่งที่มา :
https://www.triam-ent.com/. 23 มกราคม 2565.
ข้อสอบเก่า พร้อมเฉลยวิชา GAT ภาษาอังกฤษ ปี 61 สาหรับเข้ามหาวิทยาลัย. 2563. (ออนไลน์). แหล่งที่มา :
https://www.triam-ent.com/. 23 มกราคม 2565.
ข้อสอบเก่า GAT ENG ปี 2562 พร้อมเฉลย. 2562. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : https://www.triam-ent.com/.
23 มกราคม 2565.
ข้อสอบเก่า GAT ENG ปี 2562 พร้อมเฉลย. 2563. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : https://www.triam-ent.com/.
23 มกราคม 2565.
ครูพี่หมี. 2563. รวม ข้อสอบ & เฉลย GAT Eng. (ออนไลน์). แหล่งที่มา :
https://www.mylearnville.com/gat-eng-exambank/. 23 มกราคม 2565.
คลังข้อสอบ GAT-PAT. 2562. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : https://tcaster.net/. 23 มกราคม 2565.
ค่าเฉลี่ยคะแนน GAT/PAT ย้อนหลัง ที่เด็ก TCAS ควรรู้. 2562. (ออนไลน์). แหล่งที่มา :
https://www.trueplookpanya.com/tcas/article/detail/. 23 มกราคม 2565.
ชวนพิศ ศรีวิชัย. 2557. พฤติกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษด้วยตนเองของนิสิตระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัย
พะเยา. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : https://so03.tci-thaijo.org/index.php/Humanties-up/article/view/.
10 มกราคม 2565.
พัตรสุดา ขาวผ่อง. 2561. การพัฒนาชุดกิจกรรมไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ โดยการเรียนรู้แบบกากับตัวเอง.
(ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://libdoc.dpu.ac.th/thesis/Patsuda.Kao.pdf. 10 มกราคม 2565
รวมข้อสอบGAT Thai & ปี52-63 พร้อมเฉลย. 2564. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : https://www.dek-
d.com/board/tcas/. 23 มกราคม 2565.
สุพรรณี อาศัยราช และ นันทวดี วงษ์เสถียร. 2557. การพัฒนาบทเรียนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษแบบเน้นภาระงาน
โดยใช้เอกสารจริงด้านสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา. (ออนไลน์). แหล่งที่มา :
https://research.rmutsb.ac.th/fullpaper/pdf. 10 มกราคม 2565.
GAT Community. 2561. เฉลยข้อสอบ GAT ENG มี.ค. ปี 60 (ปีล่าสุด). (ออนไลน์). แหล่งที่มา :
https://www.facebook.com/media/set/. 23 มกราคม 2565.
GAT Community. 2562. เฉลยข้อสอบ GAT ENG ก.พ. ปี 61 (ปีล่าสุด). (ออนไลน์). แหล่งที่มา :
https://www.facebook.com/gatcommunity/photos/. 23 มกราคม 2565.
GAT Community. 2564. ข้อสอบ GAT ENG ปี 61-64 (ปีล่าสุด). (ออนไลน์). แหล่งที่มา :
https://mobile.facebook.com/gatcommunity/posts/. 23 มกราคม 2565.
GAT Eng Thailand. 2564. แจกข้อสอบ GAT Eng ปี 63 ปีล่าสุด. (ออนไลน์). แหล่งที่มา :
https://www.facebook.com/GATEngThailand/posts/. 23 มกราคม 2565.
35

GAT/PAT คืออะไร. 2564. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : https://www.chulatutoracademia.com/gat-pat-.


23 มกราคม 2565.
36
ภาคผนวก

ภาพที่ 1 ปรึกษาหารือในการศึกษา และปรึกษาครูที่ปรึกษา

ภาพที่ 2 รวบรวมข้อมูลในรูปแบบสถิติร้อยละ
35
37

ภาพที่ 3 วิเคราะห์ผลข้อมูล

ภาพที่ 4 ตรวจสอบข้อมูลและจัดทาเป็นรูปเล่ม

You might also like