Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 229

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

คณาจารย์ผู้เรียบเรียงเอกสารหวังใจว่าเอกสารชุดนี้จะเป็ นประโยชน์ในการเรียนการ
สอน และจะมุ่งปรับปรุงให้เป็ นตาราทีส่ มบูรณ์ ต่อไป เพื่อเสริมสร้างความเป็ น Smart Student
ของนั ก ศึก ษามหาวิท ยาลัย รามค าแหงเคีย งข้า งไปกับ ความเป็ นเลิศ ทางวิช ากา รของ
มหาวิทยาลัยสืบต่อไป

ัย
ยาล
คณาจารย์ผบู้ รรยายกระบวนวิชา RAM1103

วิท
หา
ภาษาไทยเพือ่ การสือ่ สารในการทางาน (Thai for Communication at Work)

างม
ากท
า ตจ
นุญ
ับอ
ด้ร
ย ไม่ไ
ร่โด
แพ
เผย
รือ
ยห
น่า
์จําห
ิมพ
มพ
ห้า

RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

จะต้องใช้สอ่ื สารในสังคมต่อไป ดังนัน้ ความน่าสนใจของภาษาคือภาษาไม่ใช่อกั ษร ภาษาไม่ใช่


เสียง แต่ภาษาคือสิง่ ทีอ่ านวยความสะดวกทาให้การรับรูข้ ่าวสาร ข้อมูลเป็ นไปได้อย่างสะดวก
ราบรื่น ดังที่เด็กแรกเกิดก็มีภาษาในวัยของเขา และพัฒนาความรู้ทางภาษานัน้ จนมาเป็ น
ภาษาทีม่ นุษย์ใช้สอ่ื สารเมื่อถึงวัยทีโ่ ตขึน้ ต้องติดต่อสือ่ สารกับบุคคลทัวไป

ภาษาจึงเป็ นเครื่องมือหรือสิง่ ทีม่ นุษย์กาหนดขึน้ เป็ นระบบสัญญาณเพือ่ ให้เข้าใจตรงกัน

ัย
ยาล
ทัง้ นี้ภาษาทุกภาษาจะต้องประกอบขึ้นมาจากเสียงและความหมาย (ปราณี กุลละวณิชย์และ

วิท
คณะ, 2537, หน้า78) อย่างไรก็ตามแม้ภาษาจะประกอบขึ้นมาจากเสียงและความหมาย แต่

หา
จะต้องผ่านมาถึงกระบวนการสร้างคาเสียก่อน จึงจะมีความหมายขึ้นได้ ดังเช่นในภาษาไทย

างม
ถ้าเราเปล่งเสียงพยัญชนะ ก ออกมา พยัญชนะ ก ยังไม่มคี วามหมาย เนื่องจากเป็ นการเปล่ง

ากท
เสียงเท่านัน้ ผูท้ ไ่ี ด้ยนิ ยังไม่สามารถตีความหรือทาความเข้าใจได้ว่าคือเสียงอะไร แต่เมื่อผูพ้ ดู
ได้น าเสีย งพยัญ ชะ ก ที่เ ปล่ ง ออกมานั น้ ประสมกับ สระและวรรณยุ ก ต์ ซึ่ง ในที่น้ี ส ระใน

ตจ
ภาษาไทยมีทงั ้ สิน้ 21 รูป 32 เสียง ส่วนวรรณยุกต์มี 5 เสียง คือสามัญ เอก โท ตรี จัตวา แต่

นุญ
เราเลือกใช้สระเพียงรูปเดียว เสียงเดียว เช่น สระ -า (สระอา) และวรรณยุกต์เพียงเสียงเดียว
ับอ
เช่นกัน คือ เสียงสามัญหรือเสียงวรรณยุกต์ท่ไี ม่ออกเสียงใดใด เมื่อนาเสียงพยัญชนะ ก มา
ด้ร

ประสมกับสระ -า เสี ยงวรรณยุกต์สามัญ ก็จะได้ กา กลายเป็ นคาหนึ่งคาขึ้นมาที่มคี วามหมาย


ไม่ไ

หลากหลาย อาจจะหมายถึงสัตว์ปีกชนิดหนึ่งมีขนสีดา ดังทีเ่ รียกว่ากาหรืออีกา หรือหมายถึง


กิรยิ าการทาเครื่องหมาย เช่น กาเครื่องหมายถูกหรือผิดลงหน้าคาตอบ หรือนาคาว่า กา ไป


ร่โด

ประสมกับคาอื่นก็จะได้ความหมายใหม่ขน้ึ มา เช่น กา+น้ า เป็ นกาน้ า หมายถึง กาทีใ่ ช้สาหรับ


แพ

ต้มน้ า หรืออาจจะประสมมากกว่าหนึ่งคาขึน้ ไป เช่น นก+กา+น้ า หมายถึงนกชนิดหนึ่งคล้าย


เผย

อีก า จะเห็น ได้ ว่ า ภาษาจึง เกิด มาจากการเปล่ ง เสีย งและเข้า สู่ ก ระบวนการสร้ า งค า มี
รือ

ความหมาย ใช้สอ่ื สาร เกิดการรับรู้ ตีความ เข้าใจ จึงจะบรรลุผลของการสือ่ สาร


ยห
น่า

ประเภทของภาษา
์จําห

ประเภทของภาษา สามารถแบ่งได้ 2 ลักษณะคือภาษาทีใ่ ช้ในการสื่อสาร ได้แก่ ภาษา


ิมพ

พูด ภาษาเขียน เรียกว่า วัจนภาษา (Verbal Language) ภาษาที่ใช้ส่อื สารผ่านถ้อยคา การ


มพ

พูด การเขียน และภาษาทีใ่ ช้ในการแสดงออกอาจจะผ่านท่าทาง น้าเสียงหรือบริบททีแ่ วดล้อม


ห้า

ในการใช้ภาษา เรียกว่า อวัจนภาษา (Non Verbal Language) ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารโดย


กาหนดผ่านระบบสัญญาณ ภาษาท่าทาง

2 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

วัจนภาษา
วัจนภาษา (Verbal Language) คือ ภาษาที่ใช้ส่อื สารโดยแสดงผ่านทางภาษาพูดหรือ
ภาษาเขียน ส่วนใหญ่มกั เป็ นการใช้ถอ้ ยคาการพูดและและการเขียนทีม่ นุษย์ได้ตกลงร่วมกันว่า
จะใช้ในสังคม รวมทัง้ ในชีวติ ประจาวัน ทัง้ นี้วจั นภาษาในสังคมไทยยังมีความสัมพันธ์กบั ระดับ
ของภาษาด้วย เนื่องจากภาษาไทยเป็ นภาษาทีม่ รี ะดับการใช้ให้เหมาะสมกับบุคคล กาลเทศะ

ัย
ยาล
และสถานการณ์ การสื่อสารด้วยถ้อยคาที่เป็ นภาษาพูดหรือภาษาเขียนจึงต้องมีระเบียบแห่ง

วิท
การใช้ภาษาทีส่ อดคล้องกับบริบทและสถานการณ์ดว้ ย ตัวอย่างวัจนภาษาผ่านภาษาพูด เช่น

หา
างม
นาย ก : ไปไหนมา กินข้าวแล้วยัง ลูก

ากท
นางสาว ข : หนูไปมหาวิทยาลัยมาค่ะ พ่อ กินข้าวเรียบร้อยแล้วค่ะ

ตจ
จากประโยคสนทนาระหว่างนาย ก ผู้เป็ นพ่อกับนางสาว ข ผู้เป็ นลูกสาว จะรับทราบ

นุญ
ความหมายว่าผู้เป็ นพ่อได้ถามลูกสาวเกี่ยวกับการไปทาธุระรวมทัง้ ไต่ถามถึงได้รบั ประทาน
ับอ
อาหารหรือยังด้วยถ้อยคาเรียบง่าย สะท้อนถึงความเป็ นกันเอง ทางนางสาว ข ผูเ้ ป็ นลูกสาวก็
ด้ร

ได้ตอบคาถามนาย ก ผูเ้ ป็ นพ่อด้วยถ้อยคาที่เป็ นระเบียบภาษาไม่แตกต่างกัน และทัง้ นาย ก


ไม่ไ

นางสาว ข ก็รบั รู้เข้าใจสารที่ส่งผ่านกันด้วยวัจนภาษา อีกตัวอย่างหนึ่งเป็ นการใช้วจั นภาษา


ผ่านภาษาเขียน
ร่โด
แพ
เผย

เรียน ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร สหะโรจน์ กิตติมหาเจริญ


รือ

อาจารย์ผสู้ อนกระบวนวิชา RAM 1103


ยห

ผม นายรักเรียน เรียนดี นักศึกษาชัน้ ปี ท่ี 1 คณะมนุ ษยศาสตร์ ขอเข้าพบ


น่า

อาจารย์เพือ่ ขอคาปรึกษาและคาชีแ้ นะวิชาทีเ่ รียนในวันพฤหัสบดีน้ี เวลา 13.30 น.ตามเวลา


์จําห

ทีอ่ าจารย์สะดวกและได้ให้ไว้สาหรับนักศึกษาเข้าพบ โดยมีเรื่องทีจ่ ะขอคาปรึกษาคือการเข้า


ิมพ

ชัน้ เรียนและการทบทวนบทเรียนครับ
มพ

จึงเรียนมาเพือ่ ทราบ และขอแสดงความเคารพเป็ นอย่างสูง


ห้า

นายรักเรียน เรียนดี
นักศึกษาชัน้ ปี ท่ี 1 คณะมนุษยศาสตร์

RAM 1103 3

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ตัวอย่างวัจนภาษาข้างต้นเป็ นภาษาเขียนที่นักศึกษาได้มีมาถึงอาจารย์ผู้สอน โดยมี


จุดประสงค์คอื ขอเข้าพบเพื่อ ขอรับชี้แนะและขอปรึกษา ลักษณะการใช้วจั นภาษาแสดงถึง
ผูใ้ ช้วจั นภาษารู้จกั บริบท กาลเทศะและสถานการณ์ของการสื่อสารกับบุคคลทีต่ ้องการจะเข้า
พบ จึงมีการใช้วจั นภาษาที่มคี วามสุภาพและเรียงลาดับข้อมูลเพื่อส่งสารไปยังผู้รบั สารเข้าใจ
จุดประสงค์ของผูส้ ง่ สาร

ัย
ยาล
วัจนภาษาจึงเป็ นการสื่อสารที่มคี วามสาคัญต่อ การดาเนินชีวติ ประจาวัน เพราะการ

วิท
สื่อสารด้วยถ้อยคาจะเป็ นภาษาพูดหรือภาษาเขียนก็ตาม ถ้าผูใ้ ช้วจั นภาษาสามารถใช้ถ้อยคา

หา
ให้ถูกต้องตามบริบทและสถานการณ์กจ็ ะทาให้การรับทราบข้อมูลหรือเรื่องที่ประสงค์ให้ผรู้ บั

างม
สารทราบประสบความสาเร็จ ทัง้ นี้การแสดงวัจนภาษาในสังคมไทยต้องสอดคล้องกับระดับของ

ากท
ภาษาซึง่ จะได้กล่าวต่อไปด้วย

ตจ
อวัจนภาษา

นุญ
อวัจ นภาษา (Non Verbal Language) หรือ เรีย กอีก อย่ า งหนึ่ ง ภาษาท่ า ทาง ภาษา
ับอ
สัญ ลัก ษณ์ ซึ่ง จะมีค วามแตกต่ า งจากวัจ นภาษาตรงที่อ วัจ นภาษาจะเป็ น การใช้ ภ าษาใน
ด้ร

ลักษณะที่ไม่ใช่ภาษาพูด ภาษาเขียน แต่จะเป็ นภาษาที่แสดงออกผ่านทางกิรยิ าอาการ เช่น


ไม่ไ

พยักหน้า ส่ายหน้า ยิม้ โบกมือ กวักมือ โอบมือกอด การแสดงอาการภาษาเหล่านี้สามารถสือ่


ความหมายหรือสื่อสารกับผู้รบั สารได้ บางตาราก็กล่าวว่าการแสดงออกของอวัจนภาษาเรียก


ร่โด

อีก อย่ า งหนึ่ ง ว่ า ภาษากาย (Body Language) ทัง้ นี้ ภ าษากายถือ ว่ า เป็ น เพีย งบางส่ ว นขอ
แพ

งอวัจนภาษา แต่ไม่ได้หมายรวมว่าภาษากายจะเป็ นอวัจนภาษาทัง้ หมด (คณาจารย์ภาควิชา


เผย

ภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม,


รือ

2551, หน้า 26) การแสดงอวัจนภาษามีทงั ้ สิ้น 6 ประเภท ได้แก่ เทศภาษา วัตถุภาษา กาล
ยห

ภาษา สัมผัสภาษา ปริภาษา กายภาษา


น่า

1 เทศภาษา หมายถึงอวัจภาษาที่แสดงออกผ่านทางพื้นที่ ระยะห่างของพื้นที่ โดย


์จําห

การแสดงอวัจนภาษาแบบนี้จะเกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ของบุคคลหรือสถานภาพของบุคคล
ิมพ

ด้วย เช่น ในงานพิธกี าร เก้าอี้แถวหน้าส่วนใหญ่จะว่างเว้นไว้ให้แขกผูใ้ หญ่ ขณะทีเ่ ราเมื่อเดิน


มพ

เข้าไปก็จะรับรูว้ ่าเก้าอี้แถวหน้าสาหรับแขกผู้มเี กียรติหรือผูใ้ หญ่ เราก็จะมานัง่ ลาดับแถวที่ถดั


ห้า

มาหรือเลี่ยงไปนัง่ แถวตรงกลางหรือแถวหลังสุด การเลือกที่นัง่ ของบุค คลก็บ่งบอกถึงการ


แสดงออกทางพืน้ ทีต่ วั ตนของบุคคลผูน้ นั ้

4 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

2.วัตถุภาษา หมายถึงอวัจนภาษาที่ส่อื ความหมายถึงข้าวของ สิง่ ของเครื่อ งใช้ใ น


ชีวติ ประจาวัน วัตถุภาษาสามารถสื่อถึงรสนิยม ความเป็ นตัวตนส่วนบุคคล ตลอดจนอาชีพ
และสถานภาพได้ เช่น เครื่องแต่งกายตามอาชีพ (ข้าราชการ ทหาร ตารวจ) กระเป๋ า ปากกา
เสือ้ ผ้า รองเท้า นอกจากนี้วตั ถุภาษายังอาจรวมไปถึงองค์ประกอบทีใ่ ห้ความรูส้ กึ ในเชิงรูป รส
กลิน่ สี เป็ น สีดา ให้ความรู้สกึ น่ ากลัว โศกเศร้า สีแดง ให้ความรู้สกึ คึกคัก มีพลัง สีเขียวให้

ัย
ยาล
ความรูส้ กึ สดชื่น สบายตา หรือวัตถุภาษาทีส่ ่อื ผ่านทางกลิน่ เช่น กลิน่ น้ าอบน้ าปรุง จะชวนให้

วิท
นึกถึงสิง่ ลีล้ บั วิญญาณ กลิน่ ธูป ทาให้นึกถึงพิธกี รรม เป็ นต้น

หา
3.กาลภาษา หมายถึงการแสดงออกทางภาษาทีส่ ่อื ความหมายถึงเรื่องของเวลา เช่น

างม
การยืนตรงเคารพธงชาติ เวลา 08.00 น. และเวลา 18.00 น. บางตาราก็กล่าวว่ารวมถึงเวลา

ากท
สื่อสารทีผ่ สู้ ่งสารมีการสร้างความหมายพิเศษแก่ผรู้ บั สาร (ภาคภูมิ หรรนภา, 2559, หน้า 18)
ตัวอย่างทีเ่ ห็นได้จากสือ่ สังคมออนไลน์ในปั จจุบนั เช่น การจัดช่วงเวลาส่งเสริมการขาย วันที่ 2

ตจ
เดือน 2 ปี 2022 เป็ นต้น

นุญ
4.สัมผัส ภาษา หมายถึงการแสดงออกของภาษาทาทางในลักษณะสัมผัส ใกล้ชิด
ับอ
ขณะเดียวกันการแสดงออกของภาษาดังกล่าวนี้ก็จะมีอารมณ์ความรู้สกึ เข้ามาเกี่ยวข้องด้วย
ด้ร

เช่น เมื่อเห็นเพือ่ นร้องไห้ เพือ่ นอีกคนเดินเข้ามาปลอบพร้อมโอบกอดให้กาลังใจ หรือเด็กน้อย


ไม่ไ

ทาความดีบางอย่าง ผูใ้ หญ่เห็นจึงใช้มอื ลูบศีรษะด้วยความเอ็นดู


5.ปริ ภาษา หมายถึงอวัจนภาษาที่มีน้ าเสียงมาประกอบการสื่อ ความหมาย ทาให้


ร่โด

สัมผัสได้ถงึ อารมณ์ความรูส้ กึ ทีอ่ าจจะเจือเข้ามาในน้ าเสียง เช่น การตะโกนเสียงดัง แสดงถึง


แพ

การใช้เสียงให้ผู้รบั สารได้ยนิ ชัดเจน อาจจะสื่ออารมณ์ความรู้ส ึ กที่เป็ นกลางหรือสื่ออารมณ์


เผย

โกรธฉุนเฉียว การใช้เสียงตวาด แสดงถึงการใช้น้ าเสียงในลักษณะแสดงถึงความไม่พอใจ การ


รือ

พูดด้วยน้าเสียงทีเ่ บา อาจจะหมายถึงการกล่าวถึงบุคคลที่ 3 การแสดงออกของปริภาษานี้ส่วน


ยห

ใหญ่มกั จะแสดงคู่กนั หรือตรงกันข้ามกันกับภาษาพูดก็ได้ ตัวอย่างการแสดงออกของปริภาษา


น่า

ทีส่ อดคล้องกับภาษาพูด เช่น เมื่อเห็นผูอ้ ่นื มีความสุข ผูท้ อ่ี วยพรก็กล่าวอวยพรพร้อมน้ าเสียง
์จําห

ทีเ่ ปี่ ยมด้วยความเมตตา ตัวอย่างการแสดงออกของปริภาษาทีไ่ ม่สอดคล้องกับภาษาพูด เช่น


ิมพ

การใช้น้าเสียงประชดผูอ้ ่นื ในระหว่างทีก่ ล่าวอวยพร


มพ

นอกจากนี้ปริภาษายังอาจแสดงออกผ่านทางภาษาเขียนก็ได้ เช่น การใช้ตวั อักษรขนาด


ห้า

ต่าง ๆ ในสื่อโฆษณา สื่อสิง่ พิมพ์ เช่น ข่าวทีส่ นสะเทื


ั่ อนขวัญผูค้ นในสังคม ข้อความทีพ่ าดหัว
ข่าวอาจจะใช้ตวั อักษรขนาดใหญ่ การโฆษณาสินค้า มีการใช้ตวั อักษรขนาดใหญ่และมีสสี นั

RAM 1103 5

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ชวนให้สะดุดตา หรือการใช้เครื่องอัศเจรีย์ (!) หลาย ๆ ครัง้ ในข้อความก็ส่อื ความหมายถึงการ


แสดงความตกใจมากก็ได้
6.กายภาษา หมายถึงการแสดงออกของอวัจนภาษาทีส่ ่อื สารผ่านทางภาษากาย โดย
แสดงออกผ่านทางสายตา ศีรษะ มือ ปาก รวมไปถึงอวัยวะอื่น ๆ ในร่างกาย ดังตัวอย่างเช่น
การเบิกตาเพราะตกใจกลัวหรือประหลาดใจ การพยักหน้าแสดงความเห็นด้วย การยิ้มแสดง

ัย
ยาล
ความพอใจ การโบกมืออาลาหรือทักทาย

วิท
ขณะที่ตาราบางเล่มได้แยกเนตรภาษาหรือการแสดงออกผ่านทางดวงตาออกจากกาย

หา
ภาษา เช่น ภาคภูมิ หรรนภา (2559, หน้า 18) กล่าวว่า “เนตรภาษา หมายถึง ภาษาทีเ่ กิดจาก

างม
การใช้สายตาเพื่อสื่อสารอารมณ์ ความรูส้ กึ นึกคิด ความประสงค์และทัศนะบางอย่างของผู้ส่ง

ากท
สาร เช่น การสบตา การจ้องหน้า การชาเลือง” จอมขวัญ สุทธินนท์ (2564, หน้า 14) กล่าวว่า
“เนตรภาษาเป็ นภาษาที่ส่อื สารจากดวงตาเพื่อสื่ออารมณ์ ความรู้สกึ ทัศนคติ ความต้ องการ

ตจ
จากผู้ส่งสารไปยังผู้รบั สาร เช่น โดยการจ้องมอง การมอง การเหลือบมอง การชาเลืองมอง

นุญ
การหรีต่ า หรือการถลึงตา นอกจากนี้เนตรภาษาอาจจะมีระดับการใช้สายตาเพียง 3 ระดับก็ได้
ับอ
คือการสบตา การเบิง่ ตา การเคลื่อนไหวของดวงตา (กาญจนา โชคเหรียญสุขชัย, 2550, หน้า
ด้ร

19)
ไม่ไ

ทัง้ นี้การแยกเนตรภาษาออกจากกายภาษานัน้ น่ าจะมาจากลักษณะเฉพาะของการ


ใช้อวัจนภาษาทางดวงตาเป็ นการใช้สายตาทีม่ กี ารสือ่ ความหมายหลายระดับ จึงเป็ นการสื่อถึง


ร่โด

การแสดงออกทางภาษาท่าทางนอกจากจะสื่อจากส่วนต่าง ๆ ของร่างกายแล้ว เนตรภาษาก็


แพ

อาจนับว่าเป็ นอวัจนภาษาทีส่ ามารถสือ่ สารได้อกี หัวข้อหนึ่ง โดยไม่ตอ้ งจัดรวมอยู่ในกายภาษา


เผย

ก็ได้
รือ

อนึ่ง การแสดงวัจนภาษาและอวัจนภาษานัน้ ส่วนใหญ่มกั จะมีความคล้อยตามกัน เช่น


ยห

เมื่อนักศึกษาคนหนึงต้องเดินทางไปศึกษาต่อทีต่ ่างประเทศ มีครอบครัว ญาติสนิทมิตรสหาย


น่า

มาส่งที่ส นามบิน พอนักศึกษาจะเดินเข้าประตู ส นามบินเพื่อ จะไปนัง่ รอโดยสารเครื่อ งบิน


์จําห

นั ก ศึก ษาหัน มาโบกมือ อ าลา (อวัจ นภาษา) พร้อ มกล่ า วว่ า “ไปแล้ว นะ ไว้พ บกัน ใหม่ ”
ิมพ

(วัจนภาษา) กับครอบครัว ญาติสนิทมิตรสหาย ฝ่ ายครอบครัว ญาติสนิทมิตรสหายก็โบกมือ


มพ

อาลากลับ (อวัจนภาษา) พร้อมกล่าวว่า “เดินทางโดยสวัสดิภาพ ไปดีมชี ยั รีบกลับมานะ”


ห้า

(วัจนภาษา)
แต่บางครัง้ การแสดงวัจนภาษาและอวัจนภาษาก็อาจขัดแย้งกันก็ได้ ตัวอย่างเช่น ใน
ระหว่างที่นักศึกษาก าลังยืนสนทนากับอาจารย์ นักศึกษาทาวัต ถุท่ีมีน้ าหนักตกใส่เ ท้าของ

6 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

อาจารย์ นักศึกษารีบพนมมือไหว้ (อวัจนภาษา) พร้อมรีบกล่าวว่า “อาจารย์ขา/ครับ ดิฉัน/ผม


ขอโทษอาจารย์เป็ นอย่างยิง่ ” อาจารย์แสดงสีหน้าเจ็บปวด (อวัจนภาษา) พร้อมกล่าวว่า “ไม่
เป็ นไรครับ/ค่ะ นักศึกษา” (วัจนภาษา) จากตัวอย่างดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าการแสดงอวัจน
ภาษาและวัจ นภาษาบางครัง้ ก็ไ ม่ ไ ด้มีค วามคล้อ ยตามกัน ทัง้ นี้ มีบ ริบ ทของการเ กิด ขึ้น
ระหว่างอวัจนภาษาและวัจนภาษาเป็ นเงือ่ นไขของความหมายทีข่ ดั แย้งกันด้วย

ัย
ยาล
วิท
ระดับภาษา

หา
ภาษาไทยจัดว่าเป็ นภาษาที่มีค วามรุ่มรวยค า มีทงั ้ ค ามูล ค าประสม ค าซ้อ น ฯลฯ

างม
นอกจากนี้ยงั มีวฒั นธรรมการใช้ภาษาทีไ่ ม่เหมือนภาษาชาติอ่นื กล่าวคือการใช้ภาษาของคน

ากท
ไทยนัน้ สามารถแบ่งเป็ นระดับของภาษาได้ เพื่อแสดงถึงความเป็ นชัน้ ของภาษา หรือความมี
ระเบียบของภาษา

ตจ
ค ณ า จ า ร ย์ ส า ข า วิ ช า ภ า ษ า ไ ท ย ค ณ ะ ม นุ ษ ย ศ า ส ต ร์ แ ล ะ สั ง ค ม ศ า ส ต ร์

นุญ
มหาวิทยาลัยขอนแก่ น (2551, หน้า 11) ได้กล่าวถึงความหมายของระดับภาษาว่า “ระดับ
ับอ
ภาษาเป็ นเรือ่ งของความเหมาะสมในการใช้ภาษาตามความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลทีเ่ ป็ นผู้ส่ง
ด้ร

สารและผูร้ บั สาร ตามโอกาสและกาลเทศะ เพือ่ ให้สมั ฤทธิผ์ ลสมความมุ่งหมาย”


ไม่ไ

คณาจารย์ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (2551, หน้า


42) ได้ให้คาจากัดความเกี่ยวกับคาว่าระดับภาษาว่า “ในกรณีของการส่งสารเมือ่ พูดหรือเขียน


ร่โด

ก็ต าม ผู้ใ ช้ภาษาต้อ งรู้ด้ว ยว่าผู้ฟั งหรือ ผู้อ่านคือ ใคร มีฐานะทางสังคมสูงกว่า ต า่ กว่า หรือ
แพ

เท่ากันกับเราอย่างไร มีความสนิทสนมกันหรือไม่ เพือ่ จะได้เลือกสรรถ้อยคามาใช้ให้เหมาะสม


เผย

ไม่ผดิ ระดับภาษา”
รือ

คณะกรรมการวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ฝ่ ายวิชาบูรณาการ หมวดวิชาศึกษา


ยห

ทัวไป
่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2560, หน้า 83) ได้อธิบายถึงความหมายของระดับภาษา
น่า

ว่า “ระดับภาษาหมายถึงชัน้ ของภาษาทีพ่ จิ ารณาตามลักษณะการใช้คา ประโยค สานวนภาษา”


์จําห

จากการให้นิยามค าว่าระดับ ภาษาสามารถสรุปได้ว่าถ้อ ยค าส านวนภาษาที่เ ราใช้


ิมพ

สื่อสารกันมีระดับความแตกต่างในภาษา สะท้อนผ่านมาทางการใช้คาและประโยค ทัง้ นี้ขน้ึ อยู่


มพ

กับบริบทและวัฒนธรรมการใช้ โดยจะต้องคานึงถึงความสัมพันธ์ สถานที่ กาลเทศะเข้ามา


ห้า

กาหนดให้เกิดการใช้ระดับภาษาทีแ่ ตกต่างกันด้วย

RAM 1103 7

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ดัง นั ้น เมื่อ กล่ า วถึง ระดับ ภาษา ในเอกสารนี้ จ ะกล่ า วถึง การใช้ ภ าษาในระดับ ที่
สอดคล้องกับความสัมพันธ์ สถานที่ กาลเทศะระหว่างบุคคลกับบุคคล ซึ่งสามารถแบ่งได้ 3
ระดับ คือ ภาษาพูด ภาษากึง่ แบบแผนและภาษาแบบแผน

ภาษาพูด

ัย
ยาล
ภาษาพูดหรือ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าภาษาปาก หรือ ภาษาที่ไม่เ ป็ นทางการ คือ ระดับ

วิท
ภาษาแรกทีเ่ ราสามารถสัมผัสและรับรูไ้ ด้อย่างใกล้ชดิ เนื่องจากภาษาพูดจะเป็ นระดับภาษาที่มี

หา
การแสดงความเป็ นกันเอง เป็ นภาษาทีเ่ ราใช้ในชีวติ ประจาวัน ตลอดจนแสดงถึงสถานะของผูท้ ่ี

างม
ใช้ภาษาที่มคี วามใกล้ชิดและสนิทสนมกันในระดับหนึ่ง เช่น เพื่อนสนิท พี่น้อง เป็ นต้น โดย

ากท
ปกติภาษาพูดจะเป็ นภาษาทีม่ คี วามเกลี้ยงเกลา ความเกลีย้ งเกลานี้เกิดจากการทีไ่ ม่ได้ตกแต่ง
ถ้อยคาภาษาที่ส่อื ความเป็ นทางการ คาทีป่ รากฏในภาษาพูดนอกจากเกลี้ยงเกลาแล้วจะเป็ น

ตจ
คาเรียบง่ายหรือบางครัง้ อาจมีคาทีไ่ ม่สุภาพ คาแสลง คาภาษาถิน่ เข้ามาปะปนในภาษาพูดก็ได้

นุญ
นอกจากภาษาพูดจะนิยมใช้ใ นการสื่อ สารผ่ านเสียงแล้ว ยังสื่อสารผ่ านสื่อสิ่งพิมพ์ได้ เช่น
ับอ
ภาษาสนทนาของตัวละครในวรรณกรรม ภาษาบทละคร ภาษาพาดหัวข่าวในหน้าหนังสือพิมพ์
ด้ร

หรือสือ่ ออนไลน์
ไม่ไ

ข้อสังเกตประการหนึ่งบางตาราอาจแบงภาษาพูดเป็ น 2 ระดับ คือภาษาสนทนาและ


ภาษากันเอง ซึ่งภาษาพูดทีแ่ บ่งย่อยลงไปนี้ มีจุดมุ่งหมายต้องการชี้ให้เห็นความแตกต่างของ


ร่โด

ภาษาพูดยังมีชนั ้ ของภาษาลงไปอีก เช่น ระดับภาษาสนทนา เน้นความสัมพันธ์ของผูใ้ ช้ภาษา


แพ

กับ คนที่รู้จ ัก อาจมีค าแสลงหรือ ค าเฉพาะกลุ่ ม แทรกเข้า มา และระดับ ภาษากัน เองเน้ น


เผย

ความสัมพันธ์ท่มี คี วามใกล้ชดิ สนิทสนมมาก เพราะอาจมีการใช้ภาษาในลักษณะคาไม่สุภาพ


รือ

เข้ามาปะปน ค าที่ใ ช้เ ฉพาะกลุ่ม หรือ อาจจะมีภาษาถิ่นแทรกเข้ามา (คณาจารย์ส าขาวิชา


ยห

ภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2551, หน้า 12)


น่า
์จําห

ตัวอย่างภาษาพูด เช่น
ิมพ

พี่พดู กับน้ อง
มพ
ห้า

พี่ : “ตัม้ พีจ่ ะไปซือ้ ของทีห่ า้ ง ตัม้ จะเอาอะไรทีห่ ้างไหม สบู่ ยาสีฟัน แชมพู
ตัม้ : “ไม่ละ มีหมดแล้ว ฝากซื้อโค้กมาละกัน เอ่อ อย่าไปนานล่ะ เดีย๋ วกลับมาไม่ทนั ดูซีรสี ์
เกาหลี กาลังมันส์”

8 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

เพื่อนพูดกับเพื่อน
เพือ่ น 1 : “เฮ้ย เย็นนี้ มีนดั ล้างตาที่ ’หนามบอลมอเรา ไปปล่าว”
เพือ่ น 2 : “ได้เลยพวก กาลังคันไม้คนั มืออยู่พอดี”

ัย
ยาล
วิท
ภาษาพาดหัวข่าว

หา
างม
“สามโจ๋ซงิ่ เหยียบตีนผี ชนกันระนาว เจ็บ 2 ตาย 1 ญาติเผย คนตายพูดเป็ นลาง”

ากท
“ผ้าเหลืองร้อน ร้อนจนต้องสึก เผย ทาชัวในผ้
่ าเหลืองมานาน”

ตจ
“คู่หดู โู อ้ ดาราคู่ซป้ี ้ึ ก จับมือลงทุนเปิ ดร้านกาแฟ สไตล์ชลิ ๆ ย่านนิมมานฯ เชียงใหม่”


นุญ
ภาษากึ่งแบบแผน
ับอ

ภาษากึง่ แบบแผนหรือเรียกว่าภาษากึ่งทางการ คือระดับภาษาทีม่ กี ารใช้อย่างประณีต


ด้ร
ไม่ไ

ขึน้ มาจากภาษาพูด แต่ยงั ไม่ใช่ภาษาทีใ่ ช้อย่างเป็ นแบบแผนหรือทางการ ทัง้ นี้ระดับภาษานี้จะ


เป็ นการสนทนาหรือถ่ายทอดภาษาในหน้ากระดาษตลอดจนสือ่ ออนไลน์ทม่ี คี วามเกี่ยวข้องกัน

ร่โด

ระหว่างภาษาพูดกับภาษากึง่ แบบแผน แต่กไ็ ม่ถงึ กับใช้ภาษาทีไ่ ม่สุภาพปะปนในระดับภาษานี้


แพ

นอกจากนี้แบบแผนการใช้ภาษากึ่งแบบแผนส่วนใหญ่มกั จะเน้นความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่
เผย

มีความไม่รจู้ กั คุ้นเคย หรือความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลทีม่ สี ถานภาพมากาหนดระเบียบการใช้


รือ

เช่ น อาจารย์ก ับ นัก ศึก ษา ผู้ท่ีม าติด ต่ อ กับ หน่ ว ยงาน หรือ บางครัง้ ก็เ ป็ น การใช้ภ าษาให้
ยห

เหมาะสมกับสถานทีนนั ้ ๆ ด้วย เช่น การใช้ภาษาในการประชุม การใช้ภาษาในการสัมมนา


น่า

คณะกรรมการวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ฝ่ ายวิชาบูรณาการ หมวดวิชาศึกษา


์จําห

ทัวไป
่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2560, หน้า 85) ได้อธิบายเพิม่ เติมว่า
ิมพ

ภาษากึ่งแบบแผน หมายถึง ภาษาที่มลี กั ษณะก้ากึ่งกันระหว่างภาษา


มพ

ปากกับภาษาแบบแผน คือ มีความประณีต สละสลวยมากกว่าภาษาปาก ภาษา


ห้า

กึ่งแบบแผนเหมาะสาหรับการใช้ภาษาในกรณีการสนทนาระหว่างผูท้ ไ่ี ม่คุ้นเคย


กันหรือสุภาพบุรุษสนทนากับสุ ภาพสตรี การพูดในที่ประชุม การใช้ภาษาใน
สื่อมวลชนประเภทต่าง ๆ โดยเฉพาะในการรายงานข่าวทีไ่ ม่ใช่บทความสารคดี

RAM 1103 9

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

โฆษณา ประชาสัมพันธ์ การเขียนจดหมายธุรกิจ จดหมายส่วนตัวระหว่างบุคคล


ที่ไม่คุ้นเคยกัน หรือต่างวุฒกิ นั การบรรยายหรือการพรรณนาความในหนังสือ
บันเทิงสารคดีทวไปั่

ภาษากึ่งแบบแผนจึงเหมาะที่จะใช้ในการสนทนารวมทัง้ การใช้ภาษาในสื่อ สิ่งพิมพ์

ัย
ยาล
ทัวไปที
่ ่มีเ งื่อ นไขของสถานที่ กาลเทศะและความสัมพันธ์ของบุค คลเข้ามากาหนดการใช้

วิท
ขณะเดียวกันลักษณะการใช้ภาษาระดับนี้จะมุ่งกล่าวตรงไปตรงมา ไม่นิยมใช้คาที่ดูฟ่ ุมเฟื อย

หา
หรือ ใช้ถ้อ ยค าที่มีค วามไพเราะ (คณาจารย์ส าขาวิช าภาษาไทย คณะมนุ ษ ยศาสตร์แ ละ

างม
สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น , 2551, หน้า 11) อาจจะมีเหตุผลมาจากระดับภาษากึ่ง

ากท
แบบแผนเป็ นภาษาที่มขี นั ้ ตอน มีระบบและต้องมีความระมัดระวังในการสื่อสาร แตกต่างจาก
ภาษาพูดที่สามารถใช้ได้อย่างอิสระถ้าบุคคลที่มคี วามสั มพันธ์ด้วยเป็ นบุคคลที่มคี วามสนิท

ตจ
สนมคุน้ เคย เป็ นกันเอง เรียบง่าย

นุญ
ตัวอย่างภาษากึง่ แบบแผน เช่น
ับอ
นักศึกษาพูดกับอาจารย์
ด้ร
ไม่ไ

นักศึกษา : อาจารย์สหะโรจน์ครับ วิชา RAM 1103 อาจารย์จะบรรยายวัน เวลาใดบ้างครับ


อาจารย์ : วิชา RAM 1103 ในเทอมหน้านี้ใช่ไหมครับ จะบรรยายวันพฤหัสบดี เวลา 11.10


ร่โด

ถึง 13.40 น.ครับ นักศึกษา


แพ
เผย
รือ

การประชาสัมพันธ์การจัดประชุมวิ ชาการ
ยห

คณะมนุ ษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหงร่วมกับภาคีสมาชิกการประชุมวิชาการเกาหลี


น่า

ศึก ษา-ไทยศึก ษา คือ มหาวิท ยาลัย สงขลานคริน ทร์ (ปั ต ตานี ) มหาวิท ยาลัย บู ร พา
์จําห

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จะ
ิมพ

จัดการประชุมวิชาการนานาชาติเกาหลีศกึ ษา-ไทยศึกษา ครัง้ ที่ 8 Korea – Thai Disruptive


มพ

Technology Today After Pandemic โควิด เปลี่ ย นชี ว ี - เทคโนโลยีเ ปลี่ ย นโลก ขอเชิ ญ
ห้า

อาจารย์ นักวิจยั นักวิชาการสนใจส่งบทความวิจยั หรือบทความวิชาการ ความยาว 15 หน้า


เข้าร่วมเสนอในการประชุมวิชาการนานาชาติครัง้ นี้ ในวันที่ 1 และ 2 กันยายน พ.ศ.2565
ณ มหาวิทยาลัยรามคาแหง กรุงเทพฯ

10 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ภาษาในวิ ทยานิ พนธ์ รายงานวิ จยั บทคัดย่อ


งานวิจยั เรื่อง “วัฒนธรรมความปกติใหม่ในสังคม : กรณีศกึ ษาจากเรื่องสัน้ ไทยร่วมสมัย” นี้ มุ่ง
ศึกษาและวิเคราะห์การนาเสนอวัฒนธรรมความปกติใหม่หรือ New Normal ทีป่ รากฏในสังคมไทยจาก
เรื่องสัน้ จานวน 10 เรื่อง และเรื่องสัน้ จากภาพจานวน 2 เรื่อง ในหนังสือเฉพาะกิจของนิตยสาร a day ปี
ที่ 21 ฉบับที่ 241 ประจาเดือนกันยายน พ.ศ.2563 มีช่อื เรื่องว่า สถาน ณ กาลไม่ปกติ โดยมีวตั ถุประสงค์

ัย
ยาล
การวิจยั คือ 1. เพื่อศึกษาวัฒนธรรมการดาเนินชีวติ แบบความปกติใหม่ผ่านภาพแทนจากเรื่องสัน้ และ 2.
เพื่อวิเคราะห์ทศั นคติของนักเขียนทีม่ ตี ่อวัฒนธรรมการดาเนินชีวติ แบบความปกติใหม่

วิท
ผลจากการวิจยั พบว่าวัฒนธรรมความปกติใหม่เป็ นรูปแบบและลักษณะการดาเนินชีวติ อย่าง

หา
ใหม่ทเ่ี ข้ามามีอทิ ธิพลต่อการดาเนินชีวติ ในช่วงที่เกิดการแพร่ระบาดของโรคโควิด -19 วัฒนธรรมความ

างม
ปกติใหม่มอี ยู่ทงั ้ หมด 5 ด้านคือด้านสาธารณสุข ด้านธุรกิจ ด้านการศึกษา ด้านความบันเทิงมหรสพ และ

ากท
ด้านธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ซึ่งวัฒนธรรมความปกติใหม่ทงั ้ 5 ด้านนี้เป็ นกรอบความคิดที่ครอบคลุม
ด้า นการใช้ชีวิต ของคนในสัง คม เพื่อ ให้ค นในสัง คมมีก ารปฏิบ ัติต นและใช้ชีวิต อยู่อ ย่ า งระ มัด ระวัง

ตจ
หลีกเลี่ยงจากภาวะสุ่มเสี่ยงการสัมผัสรับเชื้อโรคโควิด -19 รวมทัง้ ยังเป็ นวิถกี ารดาเนินชีวติ อย่างใหม่ท่ี

สอดรับการเปลีย่ นแปลงของสังคมยุคโลกาภิวตั น์ในอีกด้านหนึ่งด้วย
นุญ
ด้านเรื่องสัน้ ที่ศึกษา นักเขียนได้นาเสนอถึง การดาเนินชีวิตของคนในสังคมเมืองช่วงที่เกิด
ับอ

สถานการณ์การเกิดโรคระบาดโควิด-19 ผ่านภาพแทนตัวละคร เนื้อหาของเรื่องสัน้ และเรื่องเล่าจากภาพ


ด้ร

ได้น าเสนอภาพการดาเนิ น ชีวิตก่ อ นและหลัง การเกิด ขึ้น ของวัฒนธรรมความปกติใ หม่ในลักษณะที่


ไม่ไ

สอดคล้องกับกรอบความคิดข้างต้น หากแต่มกี ลวิธกี ารสร้างเรื่องเพื่อให้เห็นถึงความหลอน ความกลัว



ร่โด

ความท้อแท้สน้ิ หวัง การโหยหาและรือ้ ฟื้ นความทรงจา การถูกธรรมชาติทวงคืนความยุตธิ รรมเข้ามาเพิม่


สีสนั ให้กบั เนื้อเรื่อง นอกจากนี้การใช้ชวี ติ แบบปกติใหม่ในยุคโควิด -19 ยังสะท้อนถึงกระแสความเป็ น
แพ

สังคมทุนนิยม สังคมบริโภคนิยมรวมทัง้ สังคมโลกาภิวตั น์ทม่ี อี ทิ ธิพลต่อ การใช้ชวี ติ ของคนในสังคมเมือง


เผย

อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้และยังถูกตอกย้าด้วยระบบการสื่อสารแบบออนไลน์ท่เี ข้ามาแพร่หลายในวงการ
รือ

ธุรกิจ วงการบันเทิงมหรสพตลอดจนการติดต่อสื่อสารและการทางานจากบ้าน
ยห

ด้านทัศนะของนักเขียนทีม่ ตี ่อวัฒนธรรมความปกติใหม่ นักเขียนมีความเห็นแตกต่างจากกรอบ


น่า

ความคิดวัฒนธรรมความปกติใหม่ทถ่ี ูกกาหนดมาจากรัฐและสาธารณสุข นักเขียนมองว่าวัฒนธรรมความ


์จําห

ปกติใหม่คอื แนวคิดเรื่องการสร้างวินัย การควบคุมร่างกายของคนจากรัฐและสาธารณสุขโดยผ่านอานาจ


และวาทกรรมเรื่องการสาธารณสุข โรคภัยไข้เจ็บ อาจมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ประชาชนมีค วามเชื่องและรัฐ
ิมพ

สามารถควบคุมได้ง่ายขึน้ เพราะการใช้ระเบียบวินัยเกี่ยวกับการจัดการร่างกาย รวมไปถึงวิถกี ารดาเนิน


มพ

ชีวิต ด้า นต่า ง ๆ ที่ส่ือ ความหมายการ “หยุ ด เชื้อ เพื่อ ชาติ” กล่ อ มเกลาให้ป ระชาชนปฏิบตั ิตามดังที่
ห้า

นาเสนอผ่านภาพแทนตัวละครนัน้ ชีวติ ของคนในโลกแห่งความเป็ นจริงก็ถูกกระบวนการสร้างวินัยผ่าน


วิถีชวี ติ ปกติใหม่น้ีเข้ามามีผลต่อการดาเนินชีวติ อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้เหมือนกับตัวละครทีน่ าเสนอจาก
ทัศนะของนักเขียนเช่นกัน นอกจากนี้ทศั นะของนักเขียนทีป่ รากฏในเรื่องสัน้ ยังเสนอถึงความเหลื่อมล้า
ทางชนชัน้ ซึ่งยังคงเป็ นปั ญหาสาคัญ ขณะเดียวกันความเหลื่อมล้าทางชนชัน้ ยังถูกอธิบายด้วยปั จจัย

RAM 1103 13

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

สถานการณ์โควิด-19 ก็ยงิ่ ทาให้เป็ นปั ญหาทีน่ ักเขียนมองว่าไม่มคี วามยุตธิ รรมต่อชนชัน้ อีกทัศนะหนึ่งที่


นักเขียนได้นาเสนอผ่านเรื่องสัน้ ก็คือความคิดเกี่ยวกับวิถีการดาเนินชีวิตแบบสังคมปั จเจกบุคคลใน
ปั จจุบนั ทาให้ภาพของครอบครัวในสังคมเมืองมักเน้นตัวละครมีชวี ติ อยู่อย่างโดดเดีย่ ว ตัวละครขาดทีพ่ ง่ึ
ในตอนทีป่ ระสบปั ญหากับการอยู่ตวั คนเดียว จนอาจนาไปสู่การขัดขืนต่อกฎของสังคมหรือรุนแรงสุดคือ
การทาอัตวินิบาตกรรมซึง่ นับว่าตรงกันข้ามกับลักษณะของวัฒนธรรมความปกติใหม่ทม่ี ุ่งส่งเสริมให้คนมี

ัย
ชีวติ อยู่รอดหรือปรับตัวได้ท่ามกลางการรอความหวังทีจ่ ะให้โควิด-19 หมดไปจากสังคมโลก

ยาล
วิท
สหะโรจน์ กิตติมหาเจริญ. รายงานวิจยั ฉบับสมบูรณ์ วัฒนธรรมความปกติใหม่ในสังคมไทย

หา
: กรณีศกึ ษาจากเรื่องสัน้ ไทยร่วมสมัย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคาแหง, 2564.

างม
ากท
นอกจากนี้ถ้าเราพิจารณาตัวอย่างคาต่าง ๆ ที่แสดงถึงภาษาทัง้ 3 ระดับ จากตาราง

ตจ
ดังต่อ ไปนี้ จะเห็นว่าภาษาไทยของเรามีการจัดแบ่งความเป็ น “ชัน้ ” และ “ศักดิ”์ ของค าที่
สอดคล้องกับสถานภาพและบทบาททางสังคม บริบทและวัฒนธรรมของการใช้ภาษาด้วย

นุญ
ับอ

ตารางแสดงตัวอย่างคาบางคาในระดับภาษา 3 ระดับ
ด้ร
ย ไม่ไ

หมวดคา ภาษาพูด ภาษากึ่งแบบแผน ภาษาแบบแผน


ร่โด

คากริยา กิน แดก ยัด สวาปาม ทาน ฉัน เสวย


แพ

รับประทาน บริโภค
เผย
รือ

ตาย เดต ม่องเท่ง สิน้ ชีวติ สิน้ ใจ เสียชีวติ มรณภาพ สวรรคต


ยห

เสีย สิน้ พระชนม์ ทิวงคต


น่า

ถึงแก่อาสัญกรรม
์จําห

ถึงแก่อนิจกรรม
ิมพ

ถึงแก่กรรม สูส่ ุคติ


มพ

ราก อ้วก สารอก อาเจียน อาเจียน


ห้า

ย่าง เดิน เดิน เดิน ดาเนิน เสด็จ


พระราชดาเนิน

14 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

หมวดคา ภาษาพูด ภาษากึ่งแบบแผน ภาษาแบบแผน


คานาม หัว กบาล ศีรษะ เศียร พระเศียร
ศีรษะ
งัว วัว วัว โค

ัย
ยาล
ฟาย ควาย ควาย กระบือ

วิท
คนใช้ ขีข้ า้ แม่บา้ น คนรับใช้ เจ้าหน้าทีด่ แู ลความ

หา
สะอาด

างม
ยาม รปภ. เจ้าหน้าทีร่ กั ษาความ พนักงานรักษาความ

ากท
ปลอดภัย ปลอดภัย

า ตจ
นุญ
ระดับภาษาเป็ นการแสดงลักษณะการใช้ภาษาของคนไทยทีม่ คี วามเป็ นระบบ รวมทัง้
ับอ
แสดงให้เห็นถึงภาษามี “ชัน้ ” และมี “ศักดิ ์” ของคาบ่งบอกถึงความมีวฒ
ั นธรรมเรื่องของภาษา
ด้ร

ด้วย อาจกล่าวได้ว่าภาษาของไทยเรามีวฒ ั นธรรมเป็ นเครื่องกาหนดความแตกต่างของคาและ


ไม่ไ

การใช้คาให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์ นอกจากระดับภาษาจะแบ่งเป็ นภาษาพูด


ภาษากึ่งแบบแผนและภาษาแบบแผนแล้ว อีกนัยหนึ่งของระดับภาษายังรวมไปถึงคาราชา
ร่โด

ศัพท์และคาสุภาพด้ว ย ซึ่งเป็ นระดับภาษาที่มคี วามน่ าสนใจ เนื่องจากคนไทยเรามีก ารใช้


แพ

ภาษารวมไปถึง การใช้ ค าให้ ถู ก ต้ อ งตามระดับ ของชนชัน้ และตามควา มเหมาะสมของ


เผย

สถานการณ์ สาหรับคาราชาศัพท์และคาสุภาพนี้จะกล่าวไว้ในบทที่ 2 การใช้คา ประโยค ย่อ


รือ

หน้าและพจนานุกรม
ยห
น่า

ความหมายของการสื่อสาร
์จําห

การสื่อสารคือขัน้ ตอนหรือกระบวนการของการรับรู้ขอ้ มูลหรือข่าวสารเพื่อให้เกิดความ


ิมพ

เข้าใจทีตรงกัน การสื่อสารจะประกอบด้วยผู้ส่งสาร สาร สื่อหรือช่องทางการส่งสารและผู้รบั


มพ

สาร ทัง้ นี้การสือ่ สารมีความจาเป็ นต่อการดารงชีวติ อย่างยิง่ เพราะนอกจากจะสร้างความเข้าใจ


ห้า

เป็ นอย่างดีแล้ว ยังเป็ นการแสดงออกทางพฤติกรรมของมนุษย์ทจ่ี ะต้องมีการปะทะสังสรรค์กนั


ในสังคมด้วย จึงจะทาให้การดารงชีวติ เป็ นไปอย่างราบรื่ นและปกติสุข ดังนัน้ การสื่อสารจึง

RAM 1103 15

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ไม่ได้เป็ นเพียงแต่การสร้างความรับรูค้ วามเข้าใจ หากแต่ยงั สร้างกระบวนการทางวัฒนธรรม


ของเผ่าพันธุ์ สังคมรวมไปถึงโลกให้สบื ทอดดารงอยู่ได้ดว้ ย
การสือ่ สารมีความจาเป็ นต่อมนุษย์และทาให้มนุษย์มคี วามแตกต่างสิง่ มีชวี ติ อื่น เพราะ
มนุษย์คอื สัตว์สงั คมทีจ่ ะต้องอาศัยอยู่รวมกันเป็ นกลุ่ม มีความจาเป็ นทีต่ ้องพึง่ พาอาศัยร่วมกัน
ตลอดจนการมีปฏิสมั พันธ์กนั ทัง้ นี้มนุ ษย์มกี ารสื่อสารที่แตกต่างจากสิง่ มีชวี ติ อื่นโดยเฉพาะ

ัย
ยาล
สัตว์ตรงที่มนุ ษย์มกี ารสื่อสารที่หลากหลายรูปแบบ ไม่มขี อ้ จากัด และอาจมีวธิ กี ารสื่อสารได้

วิท
มากกว่าสัตว์ (เสาวลักษณ์ อนันตศานต์, 2557, หน้า 137) รวมไปถึงมนุ ษย์สามารถใช้ภาษา

หา
ในการสื่อสารได้โดยมีทงั ้ วัจนภาษาและอวัจนภาษา ในขณะที่สตั ว์ก็มกี ารสื่อสารแต่เป็ นการ

างม
สื่อ สารที่มีข้อ จ ากัด ไม่ ส ามารถที่จ ะสื่อ สารได้เ ท่ า กับ มนุ ษ ย์ ขณะเดีย วกัน การสื่อ สารเป็ น

ากท
วัฒนธรรมทีเ่ กิดขึน้ ระหว่างมนุษย์กบั มนุษย์ ถ้ามนุษย์มกี ารติดต่อกับสัตว์เราจะไม่เรียกว่าการ
สือ่ สาร(คณาจารย์ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2551, หน้า 3)

ตจ
ความหมายของการสื่อ สารจึ ง หมายถึ ง การที่ ม นุ ษ ย์ จ ะต้ อ งมีก ารติ ด ต่ อ หรื อ มี

นุญ
ปฏิสมั พันธ์กบั ผู้คนในครอบครัวและสังคม นับตัง้ แต่เริม่ ต้นกิจวัตรประจาวัน ทางาน เรียน
ับอ
หนังสือ ทากิจกรรม พบปะผู้คน มีการติดต่อกับผู้ค น มีการส่งข่าวสารข้ อ มูล นาเสนอและ
ด้ร

แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้ท่ตี ดิ ต่อ มีจุดประสงค์ให้รบั รู้และเข้าใจ และนาไปสู่การปฏิบตั ิ


ไม่ไ

เพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ การสื่อสารจึงมีความสาคัญอย่างยิง่ เพราะไม่เพียงแต่ทาให้การใช้


ชีวติ ของผูค้ นในสังคมดาเนินไปอย่างราบรื่น หากแต่ยงั ช่วยให้มกี ารแลกเปลีย่ นและสร้างสรรค์


ร่โด

วัฒนธรรมซึ่งกันและกันด้วย ดังทีไ่ ด้กลาวไปแล้วว่าภาษาก็คอื วัฒนธรรม ดังนัน้ ถ้าการสื่อสาร


แพ

ทัง้ ในรูป แบบวัจ นภาษาและอวัจ นภาษาก็นั บ ว่ า เป็ น การสืบ ทอดและสร้า งแบบแผนทาง


เผย

วัฒนธรรมทางภาษาด้วยเชนกัน
รือ
ยห

ความสาคัญของการสื่อสาร
น่า

ถ้าโลกนี้ขาดการสื่อ สาร ทัง้ โลก ประเทศและสังคมก็อาจจะมีค วามยุ่งเหยิงและไม่


์จําห

สามารถสือความเข้าใจถึงกันและกันได้อย่างแน่ นอน ดังนัน้ ทาไมการสื่อสารจึงมีความสาคัญ


ิมพ

ต่อชีวติ ผู้คนบนโลก ประเทศ สังคมและชีวติ ประจาวัน คาตอบคือการสื่อสารช่วยให้ผู้ค นที่


มพ

อาศัยอยู่บนโลก ประเทศและสังคมรับรู้ข่าวสารข้อมูล รับรู้ความรู้สกึ และความต้องการ การ


ห้า

สื่อสารทาให้โลก ประเทศและสังคมพัฒนาได้อย่างก้าวไกล ถ้าปราศจากการสื่อสารก็ย่อมปิ ด


โอกาสทีจ่ ะได้รบั ความรูข้ ่าวสารจากแหล่งต่าง ๆ การพัฒนาก็คงจะไม่เกิดขึ้น อนึ่งการสื่อสาร
ยังมีความสาคัญต่อการนาไปสู่ การสร้างวัฒนธรรมเพื่อให้สบื ทอดดารงอยู่ เพราะถ้าขาดการ

16 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

สื่อสารการถ่ายทอดวัฒนธรรมจากรุ่นหนึ่งไปสู่อกี รุ่นหนึ่งก็คงจะไม่เกิดขึน้ เนื่องจากมนุษย์ขาด


การเรียนรู้ ขาดการรับรูข้ ่าวสาร ขาดความเข้าใจความคิด ความรูส้ กึ ของคนในสังคม ประเทศ
และโลก ก็จะไม่เกิดการเรียนรู้ การพัฒนาและการสร้างสรรค์ สืบทอดต่อไป ทัง้ นี้ความสาคัญ
ของการสื่อสารสามารถแบ่งได้ 2 ระดับ คือความสาคัญต่อบุคลและความสาคัญต่อสังคม ดังที่
โสภณ สาทรสัมฤทธิผล ์ (2564, หน้า 3) ได้กล่าวไว้ว่า

ัย
ยาล
วิท
ความส าคัญ ต่อ บุค คล กล่ าวคือ การสื่อ สารทาให้มนุ ษ ย์ส ามารถบอก

หา
กล่ าวความต้อ งการ ความรู้ส ึกของตนเองให้ผู้อ่นื ได้รบั รู้ และในทางกลับกันก็

างม
สามารถรับรูค้ วามรูส้ กึ นึกคิดและความต้องการของผูอ้ ่นื ทาให้เกิดความเข้าใจซึ่ง

ากท
กันและกัน นอกจากนี้ การสื่อสารยังทาให้มนุ ษย์ได้รบั รู้ขอ้ มูลข่าวสารจากแหล่ง
ต่าง ๆ ทาให้มคี วามรูแ้ ละโลกทัศน์ทก่ี ว้างขวาง สามารถนามาใช้ประโยชน์ในการ

ตจ
ดาเนินชีวติ และหน้าทีก่ ารงานได้

นุญ
ความสาคัญต่อสังคม กล่าวคือมนุษย์เป็ นสิง่ มีชวี ติ ทีต่ ้องอยู่ร่วมกันเป็ น
ับอ
สังคมซึ่งการสื่อสารสามารถทาให้มนุษย์ได้เรียนรู้ พัฒนา และสืบทอดความรูแ้ ละ
ด้ร

วัฒนธรรมของตนเอง ทัง้ ยังสามารถเรียนรู้วฒ ั นธรรมของสังคมอื่นเพื่อทาความ


ไม่ไ

เข้าใจและนามาปรับปรุงตนเองได้อย่างไม่สน้ิ สุด

ร่โด

จะเห็นว่าการสื่อสารมีความจาเป็ นต่อมนุ ษย์และสังคมอย่างมาก มนุ ษย์เป็ นสัตว์สงั คม


แพ

ดังนัน้ การอยู่ร่วมกันในสังคม ประเทศและโลก มนุษย์จะอยู่อย่างสันโดษไม่ได้ ต้องพึง่ พาอาศัย


เผย

กัน และการสื่อสารก็เป็ นแนวทางหนึ่งทีจ่ ะช่วยมนุษย์อยู่รอด สามารถเรียนรู้ สร้างเผ่าพันธุ์สบื


รือ

ทอดต่อไปได้นนเอง ั่
ยห
น่า

องค์ประกอบของการสื่อสาร
์จําห

คณะกรรมการจัดท าพจนานุ ก รมศัพ ท์นิเ ทศศาสตร์ ราชบัณฑิต ยสภา กล่ าวว่าการ


ิมพ

สื่อสารตรงกับคาในภาษาอังกฤษคือ Communication หรือ “การส่งหรือการแลกเปลี่ยนสาร


มพ

ผ่านสือ่ ไปยังผูร้ บั ทัง้ โดยวัจนภาษาและอวัจนภาษา” (สานักงานราชบัณฑิตยสภา, 2563, หน้า


ห้า

24) เมื่อ พิจารณาจากความหมายที่ค ณะกรรมการจัด ทาพจนานุ ก รมศัพท์นิเ ทศศาสตร์ไ ด้


อธิบายไว้จะเห็นว่าองค์ประกอบของการสือ่ สารในทีน่ ้มี อี ยู่ 4 กระบวนการ คือ ผูส้ ง่ สาร สาร สือ่
และผูร้ บั สาร จะขาดองค์ประกอบขัน้ ตอนใดขัน้ ตอนหนึ่งไม่ได้ เพราะความสัมฤทธิ ผลของการ

RAM 1103 17

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

สือ่ สารจะไม่เกิด กระบวนการทัง้ 4 นี้เป็ นแบบแผนขององค์ประกอบการสือ่ สารทีเ่ ป็ นแบบแผน


ดังทีม่ รี ะบบและความหมายต่อไปนี้

ผู้ส่งสาร
ผูส้ ่งสาร (Sender) หมายถึงผูท้ ท่ี าหน้าทีใ่ นการส่งความคิด ส่งข้อมูล ส่งข่าวสารผ่านสือ่

ัย
ยาล
หรือ ผ่ า นช่ อ งทางมายัง ผู้ร ับ สาร เพื่อ ให้ผู้ร ับ สารรับ ทราบ เข้า ใจ น าไปสู่ก ารปฏิบัติต าม

วิท
วัตถุประสงค์ของสารที่ได้รบั จนประสบผลสาเร็จและสัมฤทธิ ผล ซึ่งกระบวนการส่งสารจะมี

หา
ลักษณะการส่งและรับสารทีส่ อดคล้องกัน กล่าวคือ ผูส้ ง่ สารได้สง่ สารมาเป็ นคาพูด (วัจนภาษา)

างม
เช่น พูดคุ ยอย่างไม่เ ป็ นทางการหรือ พูดคุ ยอย่ า งเป็ น ทางการ ผู้รบั สารจะรับสารและจะมี

ากท
ปฏิกริ ยิ าตอบสนองโดยรับฟั ง บางครัง้ อาจแสดงภาษาท่าทาง (อวัจนภาษา) ร่วมด้วย เช่น การ
พยักหน้า การส่ายหน้า

ตจ
ขณะเดียวกันผู้ร ับสารก็สามารถทาหน้ าที่เป็ นผู้ส่งสารได้เช่นกัน ถ้าผู้รบั สารเปลี่ยน

นุญ
บทบาทมาเป็ นผู้ส่งสารแทน กรณีน้ีผู้ส่งสารจะทาหน้าที่เป็ นผู้รบั สารคือหยุดรับฟั ง ทัง้ นี้ผู้ส่ง
ับอ
สารสามารถส่งสารมายังผู้รบั สารได้ทงั ้ ภาษาพูดและภาษาเขีย น ทักษะการส่งสารจะเป็ น
ด้ร

กระบวนการพูดและการเขียน ตัวอย่าง เช่น


ย ไม่ไ

เหตุการณ์จาลอง
ร่โด

อาคาร PBB ห้องเรียนกระบวนวิชา RAM 1103 นักศึกษาชัน้ ปี ท่ี 1 กาลังนัง่ ที่เก้าอี้ รอฟั ง
แพ

อาจารย์ผบู้ รรยายมาสอน เมื่ออาจารย์มาถึงได้ก้าวขึน้ ที่นงั ่ บรรยาย อาจารย์เปิ ดฉายสไลด์


เผย

การสอนพร้อมบรรยาย นักศึกษานัง่ ฟั งอย่างตัง้ ใจและจดคาบรรยายลงในสมุดหรือหนังสือ


รือ

เรียน เมื่ออาจารย์หยุดบรรยาย ถามนักศึกษาว่ามีคาถามหรือมีปัญหาเกี่ยวกับบทเรียน


ยห

หรือไม่ นักศึกษาคนหนึ่งยกมือและลุกขึ้นออกมากล่าวที่ไมโครโฟนพร้อมแนะนาตัว ก่อน


น่า

ถามคาถามเกีย่ วกับบทเรียน
์จําห

การวิ เคราะห์
ิมพ

จากเหตุการณ์จาลองนี้ จะเห็นได้ว่าในตัวอย่างกล่าวถึงบุคคลในเหตุการณ์มี 2 ฝ่ าย คือผูส้ ง่


มพ

สารและผู้รบั สาร ผู้ส่งสารคืออาจารย์ ทาหน้าที่ส่งสารคือบรรยายเนื้อหาคาสอน ส่วนผู้รบั


ห้า

สารคือนักศึกษาทาหน้าที่รบั ฟั งสารและจดบรรยาย ขณะเดียวกันอาจารย์กเ็ ปลี่ยนบทบาท


จากผูส้ ่งสารมาเป็ นผูร้ บั สาร เมื่อมีนักศึกษาในฐานะผูร้ บั สารลุกขึน้ มาถามคาถาม นักศึกษา
จึงกลายมาเป็ นผูส้ ง่ สารแทน

18 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

สาร
สาร (Message) คือ ข้อ ความที่เ ป็ นถ้อ ยค า เรื่อ งราวหรือ ข้อ มูล ที่มีใ จความส าคัญ มี
เนื้อหา บางครัง้ อาจจะเป็ นภาพ สัญลักษณ์ ท่าทาง ซึ่งผู้ส่งสารจะส่งมายังผู้รบั สาร ผู้รบั สาร
เมื่อรับสารจากสื่อหรือช่องทางต่าง ๆ ก็จะนาไปสู่การคิด การแปรความหมาย จนเกิดความ
เข้าใจ นาไปสู่ความรูค้ วามเข้าใจและปฏิบตั ติ ามหรือไม่ปฏิบตั ติ าม ตัวอย่างสาร เช่น ข้อความ

ัย
ยาล
เรื่องราวที่แสดงผ่านวัจนภาษาหรือ ภาษาพูด ภาษาเขียน หรือสารประเภทภาพ เช่น ป้ าย

วิท
จราจร ป้ ายบอกทีน่ งส
ั ่ ารอง ภาพสัญลักษณ์หา้ มสูบบุหรี่ ห้ามเดินลัดสนาม เป็ นต้น

หา
างม
สื่อและช่องทาง

ากท
สื่อ และช่อ งทาง (Media and Channel) สื่อ (Media) คือ พาหะหรือ ตัวการที่จะนาสาร
เดินทางจากผูส้ ่งสารมายังผู้รบั สาร สื่อมีทงั ้ ทีเ่ ป็ นสื่อธรรมชาติ เช่น คลื่น เสียง สื่อมนุษย์ เช่น

ตจ
บุคคลผูม้ บี ทบาทเป็ นตัวแทนของสือ่ อาจจะหมายถึงผูอ้ ่านข่าว พิธกี ร สือ่ สิง่ พิมพ์ เช่น หนังสือ

นุญ
หนั ง สือ พิม พ์ นิ ต ยสาร วารสาร สื่อ ประดิษ ฐ์ เช่ น กระป๋ องนม ถ้ ว ยกาแฟกระดาษ สื่อ
ับอ
อิเล็กทรอนิกส์ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ โทรศัพท์ คอมพิวเตอร์ ไมโครโฟน เป็ นต้น
ด้ร

ส่วนคาว่าช่องทาง (Channel) หมายถึงแหล่งหรือวิธกี ารทีท่ าหน้าทีถ่ ่ายทอดสื่อออกมา


ไม่ไ

ส่งตรงไปถึงผูร้ บั สาร ช่องทางในทีน่ ้ี เช่น หนังสือ ผ้า แผ่นไม้ ลาโพง จอฉาย เป็ นต้น

ร่โด

ผู้รบั สาร
แพ

ผู้รบั สาร (Receiver) คือผู้รบั ข้อมูล ข่าวสารที่ส่งมาจากผู้ส่งสาร ผู้รบั สารจะมีปฏิกิรยิ า


เผย

ตอบสนองเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยก็ได้กบั สารและผูส้ ง่ สาร ขณะเดียวกันเมื่อผูร้ บั สารได้รบั สาร


รือ

มาแล้ว ในระหว่างทางการสือ่ สารอาจจะไม่สมบูรณ์หรือสัมฤทธิผลก็ได้ถ้าผูร้ บั สารรับสารมาไม่


ยห

ครบกระบวนการ หรือเกิดอุปสรรคในระหว่างการรับสาร เช่น เสียงลมที่ดงั คลื่นเสียงไม่ชดั เจน


น่า

คลื่น เสียงขาด ๆ หาย ๆ หรือ อุ ปสรรคอื่น ๆ ที่จ ะกล่ าวในหัว ข้อ อุป สรรคของการสื่อ สาร
์จําห

นอกจากนี้เมื่อผู้รบั สารได้รบั สารมาก็จะทาความเข้าใจและมีการแสดงปฏิกริ ยิ าตอบสนองกับ


ิมพ

สารและผูส้ ง่ สารด้วยวัจนภาษาและอวัจนภาษา
มพ
ห้า

RAM 1103 19

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

จะแยกเป็ นอุปสรรคการสื่อสารจากภายในและอุปสรรคการสื่อสารจากภายนอกเพื่อให้เข้าใจ
อย่างเป็ นระบบ โดยอุปสรรคการสื่ อสารจากภายใน หมายถึงปั ญ หา การติดขัด ความ
ขัดข้องทีเ่ กิดจากระบบการสื่อสารภายใน อาจจะเป็ นผูส้ ่งสาร ผูร้ บั สารอยู่ในสภาพทีไ่ ม่พร้อม
หรือ มีค วามขัด ข้อ งที่เ กิด มาจากร่ า งกาย จิต ใจ ส่ว นอุปสรรคการสื่ อสารจากภายนอก
หมายถึงอุปสรรคที่เกิดจากปั ญหา ความขัดข้อง ความไม่ชดั เจนของสาร สื่อหรือช่องทาง ซึ่ง

ัย
ยาล
อาจจะได้รบั ผลกระทบมาจากดินฟ้ าอากาศ บริบทสภาพแวดล้อม การกระทาของมนุ ษย์และ

วิท
อื่น ๆ ทีท่ าให้เกิดอุปสรรคขึน้ มา

หา
างม
อุปสรรคการสื่อสารจากภายใน

ากท
อุปสรรคการสือ่ สารจากภายใน ในทีน่ ้คี อื บุคคลผูท้ ท่ี าหน้าทีส่ ง่ สารและรับสาร เราอาจจะ
เรียกว่าอุปสรรคการสือ่ สารจากบุคคลก็ได้ กล่าวคือบุคคลผูท้ ท่ี าหน้าทีใ่ นฐานะผูส้ ง่ สารก็ดี ผูร้ บั

ตจ
สารก็ดอี าจเป็ นผูท้ ท่ี าให้เกิดอุปสรรคการสื่อสารขึน้ มาได้ เช่น ผูส้ ่งสารไม่มคี วามพร้อมในการ

นุญ
ส่งสาร อาจจะเป็ นการพูดหรือการเขียน ความไม่พร้อมอาจเกิดมาจากมีเวลาเตรียมตัวอย่าง
ับอ
กระชัน้ ชิด ไม่มคี วามรูห้ รือขาดการค้นคว้าข้อมูลมาอย่างเพียงพอ หรือมีจติ ใจเป็ นทุกข์ท่เี กิด
ด้ร

จากการเผชิญสภาวะการบีบคัน้ อารมณ์ต่าง ๆ ทาให้ผู้ส่งสารเกิดความประหม่า มีความรู้ สกึ


ไม่ไ

กลัว เกิดอาการพูดไม่รู้เรื่องหรือเขียนวกไปวนมา มีทศั นคติท่ไี ม่ดกี บั ผู้รบั สาร หรือในฐานะ


ผู้รบั สารอาจจะขาดความรู้ ความเชี่ยวชาญในสารที่ได้รบั จึงไม่เข้าใจ รวมไปถึงอาจจะขาด


ร่โด

ความพร้อมในการรับสารด้านอื่น ๆ เช่น ขาดสมาธิ ไม่สนใจในสาร มีทศั นคติทไ่ี ม่ดกี บั ผูส้ ง่ สาร


แพ

เป็ นต้น
เผย
รือ

อุปสรรคการสื่อสารจากภายนอก
ยห

อุ ป สรรคการสื่อ สารจากภายนอก ส่ว นใหญ่ ม ัก เป็ น สภาพดิน ฟ้ า อากาศ บริบ ทและ


น่า

สภาพแวดล้อ ม รวมทัง้ ปั ญ หาที่เ กิดจากสาร สื่อ และช่อ งทางที่มีค วามบกพร่อ ง ทาให้การ


์จําห

สือ่ สารล้มเหลว ไม่ประสบความสาเร็จ


ิมพ
มพ

1. สภาพดิ นฟ้ าอากาศ


ห้า

โดยปกติม นุ ษ ย์เ ป็ น ผู้ท่ีส ามารถปรับ อุ ณ หภู มิข องร่ า งกายตัว เองให้อ ยู่ใ นสภาพ
อากาศต่าง ๆ ได้เป็ นอย่างดี แต่ในบางขณะด้วยสภาพภูมอิ ากาศที่มคี วามผันแปรไปตามการ
เปลี่ยนแปลงของโลกก็ย่อมทาให้เกิดอุปสรรคขึน้ กับมนุ ษย์ได้ต่าง ๆ เช่น อากาศร้อนอบอ้าว

RAM 1103 21

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

เกินไป ไม่สามารถทางานให้ส าเร็จลงได้ อากาศเย็นหรือ หนาวเกินไปทาให้อ ยากพักผ่ อ น


มากกว่าทางาน ฝนตกมีความเฉอะแฉะและมีอากาศชื้น ทาให้รู้สกึ ระคายเคืองตัว ลักษณะ
สภาพภูมอิ ากาศเช่นนี้ไม่ได้มผี ลเฉพาะต่อการดาเนินชีวติ เท่านัน้ หากแต่ยงั มีผลต่อการสื่อสาร
ด้วย กล่าวคือเมื่อผู้ส่งสารและผู้รบั สารต้องเผชิญกับสภาพภูมอิ ากาศที่กล่าวไปข้างต้น การ
สื่อสารก็ย่อมมีอุปสรรค เพราะทัง้ ผูส้ ่งสารและผูร้ บั สารไม่มคี วามพร้อมในการที่จะทาหน้าที่ส่ง

ัย
ยาล
สารและรับสารได้ ตัวอย่างเช่น ผูอ้ านวยการโรงเรียนให้โอวาทแก่นกั เรียนชัน้ มัธยมศึกษาตอน

วิท
ปลายในวันปั จฉิมนิเทศในห้องประชุมทีเ่ ครื่องปรับอากาศไม่ทางาน ผูอ้ านวยการโรงเรียนใน

หา
ฐานะผู้ส่งสารพูดอย่างตัง้ ใจ เพื่อให้ปัจฉิมโอวาทเป็ นข้อคิดที่ดีแก่นักเรียน แต่ด้วยสภาพที่

างม
อากาศร้อนจึงทาให้ผอู้ านวยกล่าวด้วยความรวดเร็ว ส่วนนักเรียนก็ฟังเข้าใจบ้าง ไม่เข้าใจบ้าง

ากท
เนื่องจากอากาศในห้องประชุมร้อน ทาให้นักเรียนนัง่ ฟั งอย่างกระสับกระส่าย นักเรียนบางคน
หยิบกระดาษหรืออุปกรณ์ทส่ี ามารถบรรเทาความร้อนได้มาช่วยผ่อนคลาย

ตจ
จากพฤติกรรมของการส่งสารและการรับสารของผูอ้ านวยการและนักเรียน จะเห็นได้ว่า

นุญ
อุปสรรคคือสภาพอากาศทีค่ ่อนข้างร้อนในห้องประชุมโดยเครื่องปรับอากาศไม่ทางาน จึงทาให้
ับอ
ผู้อานวยการในฐานะผู้ส่งสารมีความตัง้ ใจที่จะกล่าวให้โอวาทก็ต้องเผชิญอุปสรรคกับสภาพ
ด้ร

อากาศ ทาให้ไม่สามารถให้โอวาทได้เป็ นเวลานานได้ ส่วนนักเรีย่ นทีน่ งั ่ ฟั งในฐานะผูร้ บั สารก็มี


ไม่ไ

อุปสรรคการรับสารคือเผชิญกับความร้อน ทาให้ขาดสมาธิ ไม่สนใจฟั ง ดังนัน้ การสื่อสารครัง้ นี้


จึงไม่สาเร็จตามวัตถุประสงค์ทว่ี างไว้ได้ ด้วยสภาพอากาศทีเ่ ป็ นอุปสรรคการสือ่ สารนันเอง



ร่โด
แพ

2. บริ บทและสภาพแวดล้อม
เผย

อุปสรรคการสือ่ สารทีเ่ กิดจากบริบทและสภาพแวดล้อมนัน้ เกิดขึน้ จากสภาพแวดล้อม


รือ

ของผูส้ ่งสารและผูร้ บั สารไม่เอื้ออานวยในการติด ต่อรับรูข้ ่าวสาร ทัง้ นี้อุปสรรคทีเ่ กิดจากบริบท


ยห

และสภาพแวดล้อ มอาจมีลกั ษณะที่ค ล้ายกับสภาพดินฟ้ าอากาศ แต่มคี วามแตกต่างคือ ถ้า


น่า

อุปสรรคการสื่อสารทีเ่ กิดจากสภาพดินฟ้ าอากาศจะต้องสัมพันธ์กบั ร้อน หนาว เย็น ชื้น จึงจะ


์จําห

ท าให้เ กิด ความขัด ข้อ งในการสื่อ สาร แต่ ส าหรับ อุ ป สรรคการสื่อ สารที่เ กิด จากบริบ ทและ
ิมพ

สภาพแวดล้อมนัน้ ไม่ได้จากัดว่าผู้ส่งสาร ผู้รบั สารจะต้องอยู่ในสภาพดินฟ้ าอากาศที่เลวร้าย


มพ

และต้องพบกับอุปสรรคที่มาจากบริบทและสภาพแวดล้อมเสมอไป บางครัง้ ผู้ส่งสารและผูร้ บั


ห้า

สารอยู่ในสถานที่ ๆ มีสภาพอากาศปกติ แต่บริบทที่แวดล้อมทัง้ ผู้ส่งสาร ผู้รบั สารกลับทาให้


การสื่อสารไม่ปกติ เช่น คลื่นเสียงเสียดแทรกจากลาโพง เสียงดังจากการกระทาต่าง ๆ ได้แก่

22 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

การก่อสร้าง การบีบแตร เสียงเร่งเครื่องของรถยนต์ รถมอเตอร์ไซด์ ตลอดจนเสียงที่ไม่พงึ


ประสงค์ เสียงผรุสวาทด่าทอ
ตัว อย่ า งเช่ น นัก ศึก ษาสองคนก าลัง สนทนาเกี่ย วกับ วิช าที่เ รีย นในวัน นี้ ท่ า มกลาง
ห้อ งเรียนที่มีเ สียงรบกวนจากผู้อ่นื จึงทาให้การส่งและรับสารอาจจะเกิดอุปสรรคขึ้น หรือ
นักศึกษานัง่ อ่านหนังสือในหอสมุดมหาวิทยาลัยรามคาแหงที่เงียบ อากาศเย็นสบาย บังเกิด

ัย
ยาล
เสียงหนังสือตกลงมาจากชัน้ หลายเล่ ม หรือนักศึกษากาลังเป็ นผู้รบั สารจากการเป็ น ผู้อ่า น

วิท
หนังสือ ส่วนหนังสือซึ่งมีผู้เขียนเป็ นผู้ส่งสารกาลังทาหน้าที่ส่งสารหรือส่งความรู้ให้ผู้อ่านอยู่

หา
อาจจะมี นั ก ศึ ก ษาที่ อ่ า นหนั ง สื อ ด้ ว ยกั น ในโต๊ ะ ถั ด ไปพู ด คุ ย กั น หรื อ มี เ สี ย งกริ่ ง จาก

างม
โทรศัพ ท์ เ คลื่ อ นที่ ด ัง ขึ้ น มารบกวนสมาธิ เหล่ า นี้ ก็ เ ป็ นอุ ป สรรคที่ เ กิ ด จากบริ บ ทและ

ากท
สภาพแวดล้อมก่อให้เกิดอุปสรรคการสือ่ สารขึน้ ได้

ตจ
3. สาร

นุญ
สารคือเนื้อหาหรือรายละเอียด ข้อความ ข้อมูล ข่าวสารทีม่ คี วามสาคัญต่อการสื่อสาร
ับอ
เพราะถ้าผูส้ ง่ สารและผูร้ บั สารมาพบหน้ากัน แต่ไม่มสี ารเป็ นสิง่ เชื่อมประสานให้เกิดการรับสาร
ด้ร

การสื่อสารนัน้ ก็ไม่สาเร็จ สาหรับอุปสรรคที่เกิดขึ้นกับการสื่อสารกรณีสารก็คอื สารอาจจะมี


ไม่ไ

ความยาก ง่ายไม่เท่ากัน และผู้รบั สารมีขอ้ จากัดในการรับสาร เช่น มีความแตกต่างเชื้อชาติ


วัฒนธรรม การศึกษา ความเชื่อ ค่านิยม จึงอาจทาให้ผู้รบั สารเข้ าใจสารผิดไปหรือตีค วาม


ร่โด

เนื้อหาของสารไม่ตรงกับความหมายทีผสู้ ่งสารส่งมา นอกจากนี้อุปสรรคทีเ่ กิดจากสารอาจมา


แพ

จากการที่ผสู้ ่งสารขาดการลาดับสาร จึงทาให้ผรู้ บั สารเกิดความสับสนกับสารทีไ่ ด้รบั มาว่าจะ


เผย

เรียงลาดับสารอย่างไร (โสภณ สาทรสัมฤทธิผล, ์ 2564, หน้า 6) หรือบางขณะสารทีส่ ง่ มานัน้ มี


รือ

ลักษณะการใช้ภาษาทีย่ าก อาจเป็ นภาษาโบราณ ภาษาวรรณคดี เช่น นักศึกษาอ่านวรรณคดี


ยห

สมัยกรุงศรีอ ยุธ ยาตอนต้น นัก ศึก ษาพบค าว่า “ดงง” “ที่น้นน” หรือ ค าว่า “ขดานดือ ” เมื่อ
น่า

นักศึกษาไม่มคี วามรูด้ า้ นโบราณิกศัพท์ในวรรณคดีกท็ าให้เป็ นอุปสรรคอีกทางหนึ่งเช่นกัน


์จําห
ิมพ

4. สื่อและช่องทาง
มพ

สื่อและช่องทางสามารถทาให้เกิดอุปสรรคการสื่อสารได้ กล่าวคือคาว่าสื่อหมายถึง
ห้า

พาหะหรือตัวการทีจ่ ะนาสารจากผูส้ ่งสารมายังผูร้ บั สาร ถ้าสื่อมีความบกพร่องหรือไม่สามารถ


ทาหน้าทีใ่ นการนาสารมาถึงผู้รบั ได้ก็ทาให้การสื่อสารเกิดความชะงักขึ้ นได้ ตัวอย่างเช่นสื่อที่
เป็ นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ อาจารย์สอนหนังสือและใช้ไมโครโฟนเป็ นสื่อถ่ายทอดเสียง บังเอิญ

RAM 1103 23

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ไมโครโฟนคุณภาพไม่ดี ปุ่มทีเ่ สียบกับลาโพงหรือเครื่องขยายเสียงเกิดหลวม เสียงดับ ๆ ติด


ๆ หาย ๆ นักศึกษาฟั งไม่รู้เรื่อง ไม่เข้าใจเพราะเสียงที่ขาดหายเป็ นระยะ ๆ ซึ่งมาจากการที่
ไมโครโฟนไม่ดี อีกตัวอย่างหนึ่ง สื่อทีเ่ ป็ นบุคคล ได้แก่ ผูส้ ่อื ข่าวทาหน้าที่ไปสัมภาษณ์บุคคล
ออกภาคสนามเก็บข้อมูลข่าวเพื่อมานาเสนอ บังเอิญผู้ส่อื ข่าวมีความไม่พร้อมทางร่างกาย
เจ็บป่ วย ไม่สบาย ไม่ได้พกั ผ่อนอย่างเพียงพอ ทาให้การสัมภาษณ์ การติ ดตามข่าวทีค่ วรจะมี

ัย
ยาล
ความน่ าสนใจหรือรวดเร็วฉับไวก็อาจมีสมรรถภาพลดลง ผู้ชม ผู้รบั ฟั งข่าวก็จะได้รบั เนื้อหา

วิท
การสัมภาษณ์หรือเนื้อหาข่าวไม่ชดั เจน

หา
กรณีทอ่ี ุปสรรคการสื่อสารเกิดจากช่องทาง คาว่าช่องทางได้กล่าวไว้ในความหมายของ

างม
องค์ประกอบของการสือ่ สารไปแล้วว่าหมายถึง แหล่งหรือวิธกี ารทีท่ าหน้าทีถ่ ่ายทอดสือ่ ออกมา

ากท
ส่งตรงไปถึงผู้รบั สาร สารที่ผ่ านสื่อ จะน าเสนอผ่ า นช่อ งทางมายังผู้ร ับสาร ในที่น้ีถ้าสื่อ ไม่
บกพร่อง แต่ช่องทางมีความบกพร่องก็อาจทาให้เกิดอุปสรรคได้เช่นกัน ตัวอย่างเช่นการใช้

ตจ
เสียงผ่านไมโครโฟนซึ่งเป็ นสื่อเพื่อถ่ายทอดเสียงผ่านช่องทางคือลาโพง ลาโพงคือช่องทางนา

นุญ
เสียงบรรยายกระจายไปถึงนักศึกษาทีน่ งั ่ ฟั งเกิดชารุด เสียงทีอ่ อกมาแตกพร่า หรือเสียงก้องไม่
ับอ
สามารถเข้าใจค าที่พูดออกมาได้ ลักษณะนี้เรียกว่าช่องทางมีความขัดข้อ ง เพราะลาโพงมี
ด้ร

ความบกพร่องจึงทาให้เสียงที่ออกมานัน้ ไม่ชดั เจน ในอุปสรรคการสื่อสารที่เกิดจากช่องทาง


ไม่ไ

เรามักจะได้ยนิ อยู่เสมอว่า “ลาโพงไม่ด”ี “ลาโพงเสียงแตก” เป็ นต้น


อีกตัวอย่างหนึ่ง นักศึกษาสนใจอยากอ่านสารคดีเรื่องพม่าเสียเมืองของหม่อมราชวงศ์
ร่โด

คึกฤทธิ ์ ปราโมช กาลังเพลิดเพลินกับความรู้ทางประวัตศิ าสตร์เกี่ยวกับพระเจ้าสีป่อกับพระ


แพ

นางศุภยาลัต โดยมีผู้ส่งสารคือผู้เขียนหรือหม่อมราชวงศ์คกึ ฤทธิ ์ ปราโมช กาลังส่งสารคือ


เผย

เรื่องราวของพระเจ้าสีปอกับพระนางศุภยาลัตผ่านสื่อคือหนังสือ อาศัยช่องทางคือกระดาษ
รือ

นักศึกษาอ่านถึงตอนสาคัญของเรื่อง บังเอิญหน้ากระดาษต่อมาขาดไปครึ่งหน้า ทาให้การ


ยห

สือ่ สารล้มเหลว เพราะนักศึกษาไม่สามารถจะทราบต่อว่าเหตุการณ์ตอนสาคัญทีอ่ ่านค้างจนมา


น่า

หน้ากระดาษทีข่ าดไปจะมีเนื้อหาเกีย่ วกับอะไร


์จําห
ิมพ
มพ
ห้า

24 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

บรรณานุกรมบทที่ 1

ภาษาไทย
กาญจนา โชคเหรียญสุขชัย. (2550). การสือ่ สารเชิงอวัจนภาษา : รูปแบบและการใช้.
กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ัย
ยาล
คณะกรรมการวิชาภาษาไทยเพือ่ การสือ่ สาร ฝ่ ายวิชาบูรณาการ หมวดวิชาศึกษาทัวไป ่

วิท
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2560). ภาษาไทยเพือ่ การสือ่ สาร. พิมพ์ครัง้ ที่ 15.

หา
กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

างม
คณาจารย์ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. (2552). การใช้

ากท
ภาษาไทย. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. นครปฐม : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขต
พระราชวังสนามจันทร์.

ตจ
คณาจารย์ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. (2551). ภาษากับการ

นุญ
สือ่ สาร. พิมพ์ครัง้ ที่ 3. กรุงเทพฯ : บริษทั พี.เพรส.
ับอ
คณาจารย์ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ด้ร

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. (2551). ศิลปะการแสดงออกทางภาษา. พิมพ์ครัง้ ที่ 6.


ไม่ไ

มหาสารคามสานักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

คณาจารย์สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.


ร่โด

(2551). การใช้ภาษาไทย. ขอนแก่น : ขอนแก่นการพิมพ์.


แพ

จอมขวัญ สุทธินนท์. (2564). ทักษะการสือ่ สาร. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริน้ ติง้ .เฮ้าส์.


เผย

ภาคภูมิ หรรนภา. (2559). การเขียนเพือ่ การสือ่ สาร. พิมพ์ครัง้ ที่ 3. กรุงเทพฯ : อินทนิล.
รือ

ปราณี กุลละวณิชย์และคณะ. (2537). ภาษาทัศนา. พิมพ์ครัง้ ที่ 3. กรุงเทพฯ : โครงการตารา


ยห

คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
น่า

สานักงานราชบัณฑิตยสภา. (2563). พจนานุกรมศัพท์นิเทศศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสภา.


์จําห

กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสภา.
ิมพ

เสาวลักษณ์ อนันตศานต์. (2557). มนุษย์กบั การสือ่ สาร. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคาแหง.


มพ

โสภณ สาทรสัมฤทธิผล. ์ (2564). ภาษาไทยเพือ่ การสือ่ สาร. พิมพ์ครัง้ ที่ 6. กรุงเทพฯ :


ห้า

ทริปเพิล้ เอ็ดดูเคชัน.่
ภาษาอังกฤษ
Crystal, David. (2010). A little book of language. New Haven : Yale University.

RAM 1103 25

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

นอกจากนี้คาที่มสี ามพยางค์ อาจจัดว่าเป็ นสานวนไทยก็ได้ เช่น น้ า พึ่งเรือ เสือพึ่งป่ า ดังนัน้


เมื่อมีการสร้างหรือมีความงอกเงยของคามากขึน้ คาก็สามารถทาหน้าทีไ่ ด้ต่าง ๆ กัน
คาในภาษาไทยนอกจากจะแบ่งชนิดเป็ นคานาม คากริยา คาสรรพนาม คาวิเศษณ์ คา
บุพบท คาสันธาน คาอุทานแล้ว เรายังสามารถแบ่ง คาเป็ นประเภทของคาได้อกี เช่น คาซ้อน
คาประสม คาซ้า ฯลฯ รวมไปถึง การแบ่งประเภทของคาโดยดูจากระดับภาษา ดังทีก่ ล่าวไว้ใน

ัย
ยาล
บทที่ 1 เกี่ยวกับคาที่ใช้ในระดับภาษาปาก ภาษากึ่งแบบแผน ภาษาแบบแผน ซึ่งคาที่ใช้ใน

วิท
ระดับภาษานัน้ ยังสามารถสะท้อนถึงวัฒนธรรมและความคิดเกี่ยวกับคาได้ด้วย เพราะในคา

หา
ไทยนัน้ มีความผูกพันกับความคิดความเชื่อ มีการผสมผสานทางความความเชื่อ ตลอดจนมี

างม
ความหลากหลายทางวัฒนธรรม (สุวรรณา สถาอานันท์และเนื่องน้อย บุญยเนตร, 2542, หน้า

ากท
1) ดังนัน้ คาจึงมีความซับซ้อนนอกเหนือการลักษณะการใช้คาในภาษาไทยทัว ๆ ไป

ตจ
ความหมายของคา

นุญ
ในที่น้ีจะกล่าวถึงความหมายของคาอยู่ 3 ระดับ ซึ่งจะสัมพันธ์กบั การใช้ภาษาไทยใน
ับอ
การสื่อสารโดยตรงคือ คาทีม่ คี วามหมายตรง คาทีม่ คี วามหมายแฝงและคาทีต่ ้องอาศัยบริบท
ด้ร

อธิบาย ความหมายของค าทัง้ สามมีความเกี่ยวข้องกับการสื่อสารอย่างไร กล่าวคือ ในการ


ไม่ไ

สื่อสารเพื่อให้เกิดความเข้าใจนัน้ สิง่ สาคัญทีส่ ุดคือกระบวนการใช้คา เนื่องจากคาทีป่ รากฏใน


ความหมายตามรู ป ค าสามารถตีค วามได้ ท ัง้ ความหมายโดยตรง ห รือ ถ้ า จะตีค วามใน


ร่โด

ความหมายอื่น หรือ ความหมายแฝงก็ได้ เช่น ฉันเห็นดอกไม้ขาวสะอาด ค าว่าดอกไม้ค ือ


แพ

และคาว่าขาวสะอาดหมายถึงความบริสุทธิ ์ ความสะอาด ไม่มคี วามแปดเปื้ อนสกปรก แต่ถา้ จะ


เผย

ตีค วามหมายในทางความหมายแฝง ดอกไม้ อาจแทนความหมายคนหนุ่ มสาว ค าว่าขาว


รือ

สะอาดอาจจะหมายถึงความบริสุทธิสดใส ์ ดังนัน้ จึงควรศึกษาความหมายของคาเพือ่ ให้เกิดการ


ยห

สือ่ สารอย่างรับรูร้ ่วมกัน


น่า
์จําห

คาที่มีความหมายตรง
ิมพ

ค าที่มีค วามหมายตรงหมายถึง ค าที่มีก ารแสดงความหมายตรงตามรู ป ค า ไม่ ไ ด้มี


มพ

ความหมายอื่นแฝงอยู่ในคา สุนันท์ อัญชลีนุกูล (2563, หน้า 192) ได้อธิบายความหมายของ


ห้า

คาทีม่ คี วามหมายตรงเพิม่ เติมว่าคือคาทีม่ คี วามหมายหลักของคาทีใ่ ช้ส่อื สารในชีวติ ประจาวัน


นอกจากนี้สุนันท์ อัญชลีนุกูลยังกล่าวอีกว่าคาที่มคี วามหมายตรง สามารถเรียกอีกอย่างหนึ่ง
ว่ า ค าที่มีค วามหมายประจ าค าหรือ ค าที่มีค วามหมายนั ย ตรง (denotative meaning หรือ

RAM 1103 27

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

lexical meaning) เช่น คาว่า ดาว ในพจนานุ กรมฉบับราชบัณ ฑิต ยสถาน พ.ศ.2554 ได้ใ ห้
ความหมายไว้ว่า “น.สิง่ ทีเ่ ห็นเป็นดวงเล็ก ๆ มีแสงในท้องฟ้ าเวลามืด เช่น ดาวประจาเมือง ดาว
เหนือฯ” (ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 431) แต่เมื่อพูดถึงคาว่าดาวในอีกความหมายหนึ่ง
กลับไม่ใช่ความหมายประจาคาอีกต่อไป นอกจากคาว่าดาวแล้วก็ยงั มีคาอื่น ๆ อีกมากมาย
เช่น เสือ หมู กล้วย กุหลาบ นกพิราบ ฯลฯ

ัย
ยาล
วิท
คาที่มีความหมายแฝง

หา
คาที่มคี วามหมายแฝงหมายถึง คาที่เราต้องเข้าใจความความหมายที่ซ่อนไว้อยู่ในคา

างม
สุ นันท์ อัญ ชลีนุกู ล (2563, หน้ า 193) กล่ าวว่าเป็ นคาที่มี “ความหมายอีกความหมายหนึ่ง

ากท
นอกเหนือจากความหมายตรงหรือความหมายประจาคา” นันแสดงว่ ่ าคาทีม่ คี วามหมายแฝงนัน้
ความจริงก็คอื คาทีม่ คี วามหมายโดยตรงมาก่อน แต่เมื่อคา ๆ นัน้ อยู่ในบริบทแวดล้อมที่อาจทา

ตจ
ให้ต้องมีการเข้าใจความหมายอื่นทีแ่ ฝงมาในบริบทแวดล้อมด้วย ดังทีไ่ ด้ยกตัวอย่างคาว่าดาว

นุญ
กล่าวในข้างต้น ถ้ามาวิเคราะห์นอกจากดาวจะมีความหมายตรงว่าสิง่ เล็ก ๆ ทีม่ แี สงในท้องฟ้ า
ับอ
เวลามืดแล้ว ความหมายโดยแฝงดาวยังหมายถึงบุคคลผู้มชี ่อื เสียง หรือผู้ท่ไี ด้รบั การยอมรับ
ด้ร

จากสังคม เช่น ศิลปิ น ดารา บางครัง้ คาว่าดาวอาจจะมีความหมายแฝงถึงผูท้ เ่ี ป็ นทีช่ ่นื ชม ชื่น
ไม่ไ

ชอบในหมู่มวลชน เช่น ดาวมหาวิทยาลัย ดาวคณะ นอกจากคาว่าดาวแล้ว คาอื่น ๆ ทีไ่ ด้กล่าว


ไปก็มคี วามหมายแฝงเช่นเดียวกัน ซึง่ จะสรุปเป็ นตารางต่อไปนี้


ร่โด
แพ

คา ความหมายตรง ความหมายแฝง
เผย

เสือ น.ชื่ อ สัต ว์ เ ลี้ ย งลู ก ด้ ว ยนม ในวงศ์ คาว่าเสือ หมายถึงคนที่มจี ิตใจเหี้ยมโหด
รือ

Felidae รูปรางลักษณะคล้ายแมวแต่ ดุรา้ ย หรือเป็ นคนทีม่ พี ฤติกรรมที่น่ากลัว


ยห

ตัวโตกว่ามาก เป็ นสัตว์กินเนื้อ นิสยั บางครัง้ มัก น าหน้ า ชื่อ เพื่อ บอกถึง ฉายา
น่า

ค่อนข้างดุร้าย หากินเวลากลางคืน มี ความร้ า ย เช่ น เสื อ ศั ก ดิ เ์ ป็ นโจรออก


์จําห

หลายชนิด ฯ ตระเวนปล้นชาวบ้าน หรืออาจจะเป็ นคาที่


ิมพ

(ราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน, 2556, หน้ า มีหมายแฝงถึงผูช้ ายทีม่ นี ิสยั เจ้าชู้ เช่น เขา
มพ

1266) เป็ นเสือผู้หญิง หรืออาจจะหมายถึงผู้ร้าย


ห้า

ในคราบผูด้ ี เช่น เขาเป็ นเสือจาศีล เป็ นต้น

28 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

คา ความหมายตรง ความหมายแฝง
หมู น.ชื่อสัตว์เลี้ยงลู กด้ว ยนมหลายชนิด คาว่าหมู มีทงั ้ ความหมายแฝงที่หมายถึง
ในวงศ์ Suidae เป็ นสัตว์กบี คู่ ตัวอ้วน บุค ลิกลักษณะของคน และหมายถึง การ
จมูกและปากยื่นยาว ปลายจมูก บาน กระท าที่ มี ค วามราบรื่ น ไม่ มี อุ ป สรรค
ใช้สาหรับดุนดินหาอาหาร ฯ ปั ญหาใดใด เช่น เด็กชายตัม้ ทานขนมจน

ัย
ยาล
(ราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน, 2556, หน้ า ตัว เป็ น หมูแล้ว วิชา RAM 1103 ข้อ สอบ

วิท
1305) ไม่หมูอย่างที่คดิ บางครัง้ ก็มกี ารนาไปใช้

หา
เป็ น ส านวนไทยก็มี เช่ น หมูใ นอวย ซึ่ง

างม
ราชบัณฑิตยสถานให้ความหมายว่า “น.สิง่

ากท
ที่อ ยู่ใ นก ามือ ” หรือ หมูใ นเล้า ” หมายถึง
“น.สิง่ ทีอ่ ยู่ในเงือ้ มมือ”

ตจ
(ราชบัณฑิตยสถาน, 2558, หน้า 94-95)

นุญ
กล้วย น.ชื่อ ไม้ล้ม ลุ ก หลายปี ใ นสกุ ล Musa คาว่ากล้วย มีความหมาย ๆ ถึงสิง่ ของหรือ
ับอ
วงศ์ Musaceae จัดแยกออกได้เ ป็ น การกระทาอะไรก็ตามที่ได้มาอย่างง่าย ๆ
ด้ร

2 จาพวก จาพวกที่แตกหน่ อ เป็ นกอ ไม่ ต้อ งลงทุ น ลงแรงอะไรมาก เช่ น ของ
ไม่ไ

ผลสุกเนื้อนุ่ ม กินได้ มีหลายชนิดและ กล้วย ๆ ข้อสอบวิชานี้กล้วยมาก ขอให้ทา


หลายพันธุ์ เช่น กล้วยน้ าว้า กล้วยไข่ อะไร แบบกล้ว ย ๆ บางครัง้ อาจใช้เ ป็ น


ร่โด

กล้วยหอม บางชนิดผลสุกเนื้อแข็ง มัก สานวนว่าง่ายเหมือนปอกกล้วยเข้าปากก็


แพ

เผา ต้ ม หรือ เชื่ อ มกิ น เช่ น กล้ ว ย ได้ ซึ่งราชบัณฑิตยสถานให้ความหมายว่า


เผย

กล้าย กล้วยหักมุก จาพวกที่ไ ม่ แ ตก หมายถึง “ว.ง่าย, สะดวก”


รือ

หน่ อเป็ นกอ ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด ใบ (ราชบัณฑิตยสถาน, 2558, หน้า 52)


ยห

ประดับไม่ร่วง เช่น กล้วยนวล กล้วย


น่า

ผา
์จําห

(ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 74)


ิมพ
มพ

คาที่ต้องอาศัยบริ บทอธิ บาย


ห้า

นอกจากคาทีม่ คี วามหมายตรงและคาทีม่ คี วามหมายแฝงแล้ว การทีจ่ ะเข้าใจความหมาย


ของคายังต้องอาศัยข้อความหรือความหมายรอบ ๆ ของคา ๆ นัน้ เข้ามาช่วยอธิบาย เพราะคา
ไทยบางคามีลกั ษณะเป็ นคาพ้องรูปพ้องเสียง แต่ความหมายไม่เหมือนกัน ดังนัน้ ถ้าเราสื่อสาร

RAM 1103 29

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ด้วยภาษาพูด บางครัง้ ผู้รบั สารก็อาจจะไม่เข้าใจในสารที่ผสู้ ่งสารส่งมา เพราะใจของผู้รบั สาร


อาจคิดไปถึงความหมายอื่นของคา

ตัวอย่างที่ 1
เขาชอบดื่มกาแฟ

ัย
ยาล
เขาขันขานจับใจ

วิท
เขานี้สวยจริงไว้ประดับฝาบ้าน

หา
เขาสามร้อยยอดอยู่ทป่ี ระจวบคีรขี นั ธ์

างม
ากท
ตัวอย่างที่ 2
น้องใส่เสือ้ สีแดง

ตจ
แดงไปดูหนังกับดา

นุญ
ใครจะลืมข้าวแดงแกงร้อนได้
ับอ
(ประสิทธิ ์ กาพย์กลอนและคณะ, 2561, หน้า 111 และหน้า 258)
ด้ร
ไม่ไ

คาที่ก่อให้เกิ ดความคลาดเคลื่อนในการสื่อสาร

การสื่อสารที่จะทาให้ผู้ส่งสารและผูร้ บั สารประสบความสาเร็จนัน้ กระบวนการที่สาคัญ


ร่โด

ที่สุดก็คอื การสื่อสารผ่านถ้อยคาที่มคี วามชัดเจน ถ้าคาที่ผู้ส่งสารส่งมาถึงผู้รบั สารมีความไม่


แพ

ชัดเจน หรือความหมายกากวม หรือ ออกเสียงผิดคาความหมายของคาก็เปลี่ยน ก็ทาให้การ


เผย

สื่อสารเกิดความเข้าใจผิดได้ นอกจากนี้บางครัง้ การออกเสียงของคาที่ไม่ชดั เจน คลุมเครือ


รือ

อาจทาให้ผู้รบั สารเมื่อ รับสารมาแล้ว ก็เกิดการเข้าใจผิดก็ได้ ดังนัน้ ในเอกสารนี้จะกล่ าวถึง


ยห

เฉพาะ 1.คาทีม่ คี วามหมายกากวม 2.คาทีอ่ อกเสียงผิด เขียนผิด ความหมายก็เปลี่ยน 3.การ


น่า

ใช้คาฟุ่มเฟื อย เพื่อเป็ นแนวทางในการเข้าใจถึงระบบการสื่อสารว่าในการใช้คาเพื่อให้เกิดการ


์จําห

เข้าใจ รับรู้ข้อมูลข่าวสารตรงกันนัน้ ไม่ได้จากัดอยู่เพียงการใช้คาให้ถูกต้องตามไวยากรณ์


ิมพ

โครงสร้าง หากแต่อยู่ทก่ี ารรับรูผ้ ่านความหมายของคา


มพ
ห้า

คาที่มีความหมายกากวม
ผูท้ เ่ี รียนภาษาไทยย่อมจะตระหนักดีว่าการสื่อสารทุกวันนี้ บางครัง้ ก็ดาเนินไปอย่างเร่ง
รีบ การสือ่ สารผ่านภาษาผ่านถ้อยคาถ้าสือ่ สารโดยใช้คาผิดความหมาย เว้นวรรคคาผิด ขาดคา

30 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ขยายทีเ่ ข้ามาทาให้ความหมายชัดเจนขึน้ หรือมีการใช้คาในลักษณะพ้องรูปพ้องเสียงก็อาจทา


ให้เกิดความกากวมขึ้นมาได้ นอกจากนี้คากากวมยังก่อให้เกิดปั ญหาการตีความหมายได้
หลายแง่ (คณาจารย์ภาควิชาภาษาไทย คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2543,
หน้า 23) ตัวอย่างเช่น คนขับรถสองแถวไปแล้ว จากประโยคนี้เมื่ออ่านครัง้ แรกก็จะเกิดความ
สงสัยขึน้ มาอย่างทันทีเพราะเกิดความกากวมว่าหมายถึงบุคคลผูม้ อี าชีพขับรถสองแถว ได้ขบั

ัย
ยาล
รถสองแถวออกไปแล้ว หรือหมายถึงบุคคลผูม้ อี าชีพขับรถสองแถวไม่ได้อยู่ ณ สถานทีต่ รงนัน้

วิท
แล้ว หรือหมายถึงคนซึง่ ใช้แทนความหมายของสิง่ มีชวี ติ ได้ขบั รถสองแถวจากไปแล้ว ตัวอย่าง

หา
ค าก ากวมอีก บางตัว อย่ า งเช่ น นายมาแล้ว ประโยคนี้ มีค วามก ากวมเพราะค าวานายมา

างม
หมายถึงนายทีม่ คี วามหมายนายจ้างหรือผูว้ ่าจ้างเดินทางมาถึงแล้ว หรือหมายถึงบุคคลทีม่ ชี ่อื

ากท
เล่นว่านายได้เดินทางมาถึงแล้ว จะเห็นว่าคากากวมเมื่อสื่อความไม่ชดั เจนก็ย่อมทาให้การ
เข้าใจผิดและอาจนาไปสูก่ ารสือ่ สารทีล่ ม้ เหลว บกพร่องได้ในทีส่ ุด

า ตจ
นุญ
คาที่มอี อกเสียงผิด เขียนผิด ความหมายเปลี่ยน
ับอ
ปั ญ หาในการสื่อ สารที่ท าให้เ กิด ความเข้า ใจผิด นอกจากจะเกิด จากการใช้ ค าผิด
ด้ร

ความหมาย ความหมายกากวมแล้ว บางครัง้ ก็อาจมาจากการออกเสียงผิด ร ล คาควบกล้า


ไม่ไ

หรือ ลากค าเข้าความของผู้ใ ช้ภ าษาหรือ ผู้ส่อื สาร เพราะเข้า ใจว่ าค า ๆ นี้ถ้าเกี่ยวข้อ งกับ

ความหมายนี้ก็จะต้องใช้คา ๆ นี้ และในบางครัง้ ก็อาจมาจากการใช้ผดิ อักขรวิธจี งึ ทาให้การ


ร่โด

สือ่ สารคลาดเคลื่อน อย่างไรก็ดมี ขี อ้ สังเกตคือคาทีอ่ อกเสียงผิดและความหมายเปลีย่ นนัน้ ส่วน


แพ

ใหญ่มกั เกิดขึ้นกับภาษาเขียนมากกว่าภาษาพูด อาจจะเป็ นเพราะว่าส่วนหนี่งนัน้ มาจากเมื่อ


เผย

ออกเสียงผิด จึงมีการเขียนผิด และความหมายจึงเปลีย่ นไปตามรูปคาทีเ่ ขียน อีกทัง้ การสือ่ สาร


รือ

ทีเ่ ป็ นลายลักษณ์จะเห็นได้ชดั เจนกว่าการสือ่ สารทีเ่ ป็ นเสียง


ยห

ตัวอย่างคาที่ออกเสียงผิด เขียนผิด ความหมายเปลี่ยน เช่น ระหว่างคาว่า “อายุเยาว์”


น่า

กับราคา “ย่อมเยา” โดยปกติเรามักใช้คาแทนผูท้ อ่ี ่อนวัยกว่า “อายุเยาว์” ซึง่ คาว่าเยาว์คานี้ ใน


์จําห

พจนานุ กรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554 หมายถึง “ว.อ่อนวัย, รุ่นหนุ่ ม, รุ่นสาว, เช่น


ิมพ

เยาว์ว ยั วัยเยาว์ (แผลงมาจาก ยุว ) (ราชบัณ ฑิต ยสถาน, 2556, หน้ า 961) เมื่อ ออกเสีย ง
มพ

ออกมาจะออกเสียงว่า “เยา” ซึ่งมีความหมาย ๆ ถึง “ว.เบา, อ่อน, น้อย เช่น ราคาเยา, มักใช้
ห้า

เข้าคู่กบั คาย่อมเป็นย่อมเยา เช่น ราคาย่อมเยา” (ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 961)


นอกจากนี้ยงั มีอกี หลายคาซึ่งในเอกสารนี้จะยกตัวอย่างเพียงบางคามาอธิบาย เพื่อให้
เห็นว่าการสื่อสารทีเ่ กิดความคลาดเคลื่อนนัน้ บางครัง้ อาจจะไม่ได้มอี ุปสรรคมาจากผูส้ ่ง ผูร้ บั

RAM 1103 31

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

หรือสือ่ แต่อาจมาจากสารนันเอง ่ ตัวอย่างคาบางคา เช่น ราง กับ ลาง คาว่า “ราง” จะประกอบ
ร่วมกับคาว่า “เครื่อง” เป็ น “เครื่องราง” ส่วนคาว่า “ลาง” นัน้ ส่วนใหญ่จะเป็ นคาไทยคาโดด
ไม่ได้ไปเกาะเกีย่ วกับคาใด ยกเว้นจะไปเชื่อมโยงกับคา ๆ อื่น มีความหมายในทางเดียวกัน ใน
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554 อธิบายความหมายทัง้ สองคานี้ว่า “เครือ่ งราง
น.ของทีน่ บั ถือว่าป้ องกันอันตราย ยิงไม่ออก ฟั นไม่เข้า เช่น ตะกรุด ผ้ายันต์ เหล็กไหล” ส่วนคา

ัย
ยาล
ว่า “ลาง” พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554 อธิบายว่า “น.สิง่ หรือปรากฎการณ์ที ่

วิท
เชือ่ กันว่าจะบอกเหตุดเี หตุรา้ ย ฯ” (ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 271 และ 1051)

หา
ทัง้ นี้คาว่าเครื่องราง ลาง ลางสังหรณ์ตามพจนานุกรมราชบัณฑิตยสถานนี้ เมือมาใช้ใน

างม
ภาษาพูดหรือภาษาเขียน จะสังเกตได้ว่ามักใช้ผดิ เพราะเกิดจากความเข้าใจผิดในความหมาย

ากท
และลากเข้าความ อย่างเช่น เครื่องราง เราจะเข้าใจว่าเป็ นสิง่ ที่ปกป้ องคุ้มเราให้พน้ จากสิง่ ชัว่
ร้าย ก็มกั จะโยงมากับคาว่าลางที่หมายถึงการบอกเหตุดี เหตุร้าย จึงทาให้เข้าใจว่าเมื่อเป็ น

ตจ
ภาษาพูดหรือ ภาษาเขียน ต้อ งสะกดว่า เครื่อ งลาง หรือ โชคราง ไปแทน นอกจากนี้ ย ัง มี

นุญ
ตัวอย่างคาอื่น ๆ ที่เห็นว่ามีการเขียนผิดรูปคา หรือออกเสียงผิด ความหมายเปลี่ยนหรือไม่
ับอ
เปลี่ยน เช่น ซุบหน่ อ ไม้ เซ็นชื่อ ผัดไทย ผาสุ ก แมงมุม โลกาภิว ตั น์ ศีรษะ สีสนั เป็ นต้น
ด้ร

(คณาจารย์ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2558, หน้า 26-27)


ไม่ไ

คาอีกกลุ่มหนึ่งทีม่ กั จะก่อให้เกิดการสือ่ สารคลาดเคลื่อนหรือเข้าใจผิดก็คอื คาทีอ่ อกเสียง


ร ล และคาควบกล้า อันเนื่องมาจากภาษาไทยเวลาสื่อสารเราจะมีการจาแนกความแตกต่าง
ร่โด

ของคาด้วยเสียง ซึ่งจะทาให้เรารูว้ ่าคา ๆ นี้ส่อื ความหมายถึงอะไร กรณีเช่นคาว่ารางและลาง


แพ

ข้างต้น ถ้าออกเสียงผิด เขียนผิด ความหมายเปลี่ยนดังที่ได้กล่าวไว้ หรือคาว่า “เรียน” กับ


เผย

“เลียน” สังเกตได้ว่าทัง้ สองคานี้จะมีความหมายต่างกัน “เรียน” มีความหมายถึง “ก.เข้ารับ


รือ

ความรู้จากผู้สอน, รับการฝึ กฝนอบรมเพือ่ ให้เกิดความรู้ความเข้าใจหรือความชานาญ, เช่น


ยห

เรียนหนังสือ เรียนวิชาทความรู้, ฝึ กให้เกิดความรู้ความเข้าใจจนเป็ นหรือมีความชานาญ ฯ”


น่า

(ราชบัณฑิต ยสถาน, 2556, หน้า 1015) ส่วนคาว่า “เลียน” หมายถึง “ก.เอาอย่าง, ทาหรือ
์จําห

พยายามทาให้เหมือนหรือคล้ายคลึงกับแบบอย่าง ฯ” (ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 1083)


ิมพ

แต่เวลาออกเสียงนัน้ ถ้าไม่ออกตามระบบเสียง หรือสะกดคาเขียนผิด ก็จะเกิดปั ญหาขึน้ มาได้


มพ

นอกจากนี้คาควบกล้าก็อาจทาให้การสื่อสารมีความคลาดเคลื่อนได้เช่นกัน คาควบกล้า
ห้า

คือคาทีอ่ อกเสียงควบกันของเสียงพยัญชนะสองเสียง ซึ่งได้แก่ กร กล ขร ขล คร คล ตร ปร


ปล ผล พร พล ซึง่ เป็ นหน่วยเสียงควบกล้าทีม่ กั จะพบในภาษาไทย (ประสิทธิ ์ กาพย์กลอนและ
คณะ, 2561, หน้า 254) ดังนัน้ ถ้าเราออกเสียงคาควบกล้าไม่ชดั เจนก็อาจนาพาไปสู่การเขียน

32 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

เป็ นรูปคาที่ผดิ จากการออกเสียงด้วยก็ได้ ตัวอย่างที่เห็นจากการใช้ภาษาไทยในการสื่อสาร


ประจาวัน เช่น การออกเสียงคาควบกล้าของคาว่า “คู” กับ “ครู” หรือ “โปร่ง” กับ “โป่ ง” “กบ”
กับ “กลบ” “ผลัก” กับ “ผัก” เป็ นต้น ซึ่งเมื่อออกเสียงผิด ผูร้ บั สารก็อาจจะแปรความหมายเป็ น
อื่นไป เช่น “คูขา้ งบ้าน” กับ “ครูขา้ งบ้าน” การออกเสียงคาควบกล้าจึงนับว่าเป็ นอีกมุมมองหนึ่ง
ของการออกเสียงผิด เขียนผิด ความหมายก็เปลีย่ น ทาให้การสื่อสารเกิดความล้มเหลวได้อกี

ัย
ยาล
ทางหนึ่งเช่นกัน

วิท
หา
การใช้คาฟุ่ มเฟื อย

างม
ค าฟุ่ มเฟื อ ยคือ อะไร ค าฟุ่ มเฟื อ ยคือ ค าที่มีค วามหมายเดียวกันมาวางไว้ใ นประโยค

ากท
เดียวกัน ทาให้คาในประโยคเพิม่ ขึน้ อย่างไม่จาเป็ น คาฟุ่มเฟื อยแตกต่างจากคาซ้อนตรงที่คา
ซ้อนนัน้ มีลกั ษณะของการซ้อนเพือ่ ความหมายและซ้อนเพือ่ เสียง แตขณะทีค่ าฟุ่มเฟื อยไม่ได้มี

ตจ
จุดมุ่งหมายดังกล่าว แต่นามาวางไว้ใกล้กนั แล้วความหมายก็ส่อื ถึง สิง่ เดียวกัน เช่น ศพผูต้ าย

นุญ
ยังอยู่ทโ่ี รงพยาบาล รถโดยสารประจาทางชนกัน 2 คันทุกคนตายหมดไม่มใี ครรอด โจรปล้น
ับอ
ชิงทรัพย์หนีอย่างหัวซุกหัวซุน จะเห็นว่าจากตัวอย่างประโยคดังกล่าวความหมายทีป่ รากฏใน
ด้ร

ค ามีค วามหมายเดี ย วกัน ถ้ า เราตัด ค าใดค าหนึ ง ออก ความหมายก็ ย ัง คงอยู่ ไ ม่ มีก าร
ไม่ไ

เปลีย่ นแปลง

การใช้คาฟุ่มเฟื อยมีผลต่อการใช้ภาษาในการสื่อสารอย่างไรนั น้ กล่าวคือภาษาไทยใน


ร่โด

การสื่อสารเพื่อการทางานนัน้ บางครัง้ การสื่อสารย่อมต้องการความชัดเจนและความกะทัดรัด


แพ

ของข้อความที่จะใช้ส่อื สาร ดังนัน้ การใช้คาฟุ่มเฟื อยในการสื่อสารนอกจากจะทาให้ประโยคมี


เผย

ความรกรุงรังด้วยคาทีม่ คี วามหมายเดียวกันแล้ว ยังทาให้ความชัดเจนของถ้อยคาลดน้ าหนัก


รือ

ลงอีก ด้ว ย เพราะผู้รบั สารอาจจะไม่เ ข้าใจว่าผู้ส่งสารต้อ งให้น้ าหนักกับค าหลักที่สาคัญ ใน


ยห

ประโยคคือคาใด
น่า
์จําห

ประโยค
ิมพ

ประโยคคือการนาคาหลาย ๆ คามารวมกัน ให้เพื่อได้ใจความ สามารถสื่อสารให้เข้าใจ


มพ

ได้ แม้ว่าค าจะสามารถสื่อ สารให้เ ข้า ได้ แต่ถ้าเราน าค านัน้ มาประกอบสร้างเป็ นประโยค
ห้า

สมบูรณ์ ถูกต้องตามโครงสร้างไวยากรณ์กจ็ ะสือ่ ความหมายความเข้าใจได้มากยิง่ ขึน้ ปกติแล้ว


การนาคามาประกอบสร้างเป็ นประโยคนัน้ มีโครงสร้างอยู่ 4 รูปแบบคือ 1.ประธาน+กริยา
2.ประธาน+กริย า+กรรม 3.ประธาน+ส่ว นขยาย+กริย า+ส่ว นขยาย และ 4.ประธาน+ส่ว น

RAM 1103 33

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ขยาย+กริยา+ส่วนขยาย+กรรม+ส่วนขยาย ลักษณะโครงสร้างประโยคเช่นนี้อาจเรียกอีกอย่าง
หนึ่งว่าประโยคความเดียว (ประสิทธิ ์ กาพย์กลอนและคณะ, 2561, หน้า 124) ตัวอย่างเช่น

ลักษณะโครงสร้างประโยค ตัวอย่างประโยค
ประธาน+กริยา เด็ก/ยิม้

ัย
ยาล
ประธาน+กริยา+กรรม แม่/ทา/กับข้าว

วิท
ประธาน+ส่วนขยาย+กริยา+ส่วนขยาย ชายหนุ่ม/ใส่เสือ้ สีขาว/นอน/สบาย

หา
ประธาน+ส่ ว นขยาย+กริย า+ส่ ว นขยาย+ นางงาม/ใส่ชุดไทย/เดินยิ้ม /อย่างสดใส/ให้

างม
กรรม+ส่วนขยาย ผูช้ ม/ทีเ่ ฝ้ ามอง

ากท
การสื่อสารด้วยประโยคเป็ นแนวทางหนึ่งทีท่ าให้การสื่อสารสามารถขับเคลื่อนไปอย่าง

ตจ
รวดเร็ว เพราะประโยคคือการสร้างความรู้สกึ นึกคิดที่ผสู้ ่งสารต้องการให้ผรู้ บั สารสามารถรับ

นุญ
สารและตีความ เกิดความเข้าใจอย่างรวดเร็ว ตัวอย่างเช่น ถ้าเอ่ยเพียงคาว่า “น้ า” ผู้รบั สาร
ับอ
ย่อ มไม่เ ข้าใจว่า ค าว่ า “น้ า” ในที่น้ีผู้ส่งสารต้อ งการหมายถึงสิ่งใด แต่ถ้าผู้ส่งสารนาค ามา
ด้ร

ประกอบสร้างเป็ นโครงสร้างประโยคว่า “ผมขอดืมน้าเปล่า” ผูร้ บั สารก็จะเข้าใจทันที ดังนัน้ จาก


ไม่ไ

เรื่องของคามาสู่ประโยค จึงเป็ นพัฒนาการทางด้านการใช้ภาษาในการสื่อสารเพื่อนาไปสู่การ


ทางานทีป่ ระสบความสาเร็จและราบรื่น โดยในบทเรียนจะมุ่งไปทีก่ ารใช้ประโยคในการสื่อสาร


ร่โด

ที่ถูกต้องมากกว่าจะเป็ นการวิเคราะห์โครงสร้างประโยคเพียงอย่างเดียวในเชิงหลัก ภาษา


แพ

สาหรับหัวข้อที่กล่าวถึง ได้แก การใช้ประโยคให้ถูกต้องตามโครงสร้างภาษาไทย การเน้ น


เผย

น้าหนักประโยคเพือ่ สือ่ สารอารมณ์


รือ
ยห

การใช้ประโยคให้ถกู ต้องตามโครงสร้างภาษาไทย
น่า
์จําห

ภาษาไทยเป็ นภาษาที่มคี วามรุ่มรวยทัง้ ที่มาจากการสร้างคาขึน้ มาใช้ การรับคามาจาก


ภาษาต่างประเทศ ในอีกด้านหนึ่งอิทธิพลของการสื่อสารที่โยงใยไปทัวโลกท ่ าให้การสัมผัส
ิมพ

ภาษาจากต่างประเทศก็เข้ามาสูภ่ าษาไทยได้มากกว่าในสมัยอดีต ดังทีจ่ ะเห็นได้จากการใช้คา


มพ

ไทยและอังกฤษปะปนกัน นอกจากนี้อทิ ธิพลทางภาษาต่างประเทศอย่างหนึ่งทีเ่ ข้ามากระทบ


ห้า

ต่อการใช้ประโยคในภาษาไทยก็คอื ลักษณะของประโยคทีม่ สี านวนต่างประเทศ โดยมีคาสาคัญ


ที่มกั พบเห็นเป็ นประจาคือ นามาซึ่ง ได้รบั ทาการ อยู่ภายใต้ ขึ้นอยู่กบั ในอนาคตอันใกล้
ตัวอย่างประโยค เช่น

34 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

สานวนต่างประเทศ ประโยค แก้ไข


นามาซึง่ ชัยชนะในครัง้ นี้ นามาซึ่ง ความ ชัย ชนะครัง้ นี้ เ กิ ด จาก
ขาวสะอาดและบริสุทธิ ์ ความขาวสะอาดและ
บริสุทธิ ์
ได้รบั การ สมศักดิ ์ได้รบั การต้อนรับอย่างดี สมาคมมิตรภาพต้อนรับ

ัย
ยาล
ยิง่ จากสมาคมมิตรภาพ สมศักดิ ์อย่างดียงิ่

วิท
ทาการ ผู้ ร้ า ยท าการอย่ า งอุ ก อาจชิ ง ผู้ ร้ า ยอุ ก อาจชิ ง ทรัพ ย์

หา
ทรัพย์แม่คา้ ในตลาด แม่คา้ ในตลาด

างม
ผู้ร้ายชิงทรัพย์แม่ ค้า ใน

ากท
ตลาด
อยู่ภายใต้ การบริห ารงานในโรงเรีย นอยู่ การบริ ห ารงานอยู่ ใ น

ตจ
ภายใต้การนาของผู้อานวยการ การนาของผู้อานวยการ

นุญ
โรงเรียน โรงเรียน
ับอ
ขึน้ อยู่กบั การจะไปเรียนต่อ ต่างประเทศ ก า ร จ ะ ไ ป เ รี ย น ต่ อ
ด้ร

ของวัลยาขึน้ อยู่กบั การตัดสินใจ ต่ า งประเทศของวัล ยา


ไม่ไ

ของเธอ แล้วแต่การตัดสินใจของ

เธอ
ร่โด

ในอนาคตอันใกล้ ในอนาคตอันใกล้น้ีเราคงจะได้ เราคงจะได้เห็นรถไฟฟ้ า


แพ

เห็นรถไฟฟ้ าผ่านเส้นทางหลัก ผ่ า นเส้ น ทางหลั ก ของ


เผย

ของกรุงเทพฯ กรุงเทพฯ เร็ว ๆ นี้


รือ
ยห

การเน้ นน้าหนักประโยคเพื่อสื่อสารอารมณ์
น่า
์จําห

ในการสือ่ สารของคนเรานัน้ โดยเฉพาะภาษาพูดภาษาเขียน มักจะต้องมีการแสดงนัยยะ


ของความรูส้ กึ ผ่านลีลาการพูดหรือการเขียน ขณะเดียวกันภาษาพูดและภาษาเขียนนี้จะสังเกต
ิมพ

ได้วาอาจจะสื่อสารอารมณ์ได้ไม่สม่าเสมอ หรือผู้ส่งสารอาจจะคาดเดาอารมณ์ของผู้รบั สาร


มพ

ไม่ได้ โดยเฉพาะภาษาเขียนในแอปพลิเคชันไลน์ เช่น นักศึกษาพิมพ์ขอ้ ความส่งมาทางไลน์ถงึ


ห้า

อาจารย์ว่า “อาจารย์คะ พรุ่งนี้ดฉิ ันขออนุญาตลาเรียน 1 วันนะคะ” ผู้รบั สารในที่น้ีคอื อาจารย์


เมื่อเห็นข้อความดังกล่าวก็พมิ พ์ขอ้ ความตอบกลับนักศึกษาว่า “ทาไมครับ” การทีอ่ าจารย์ตอบ
กลับไปในฐานะผูส้ ่งสาร ทันทีทน่ี ักศึกษาเห็นข้อความก็ไม่สามารถรับรูว้ ่าอาจารย์มคี วามรู้สกึ

RAM 1103 35

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

อย่างไรกับข้อความที่นักศึกษาส่งไปว่า “ทาไมครับ” เพราะไม่สามารถคาดเดาว่าอาจารย์จะมี


ความรูส้ กึ อย่างไร สงสัย ไม่พอใจ หรืออารมณ์เป็ นกลาง
ดังนัน้ การให้น้าหนักประโยคหรือทีเ่ รียกว่าฐานน้ าหนักประโยคจึงเป็ นเงือ่ นไขสาคัญที่จะ
ทาให้ก ารสื่อ สารดาเนินไปอย่างราบรื่น เพราะทาให้ผู้รบั สารสามารถแปรความหมายทาง
อารมณ์ของผู้รบั สารผ่านการเน้นเสียงได้ ซึ่งปกติถ้าเป็ นภาษาพูดนัน้ ย่อมไม่มปี ั ญหา เพราะ

ัย
ยาล
เราสามารถใช้เสียงแสดงฐานน้ าหนักของประโยคได้ว่าจะให้ความสาคัญหรือให้น้ าหนักของ

วิท
เสียงอยู่ทค่ี าใด แต่ถา้ เป็ นภาษาเขียนแล้วนัน้ การทีจ่ ะสือ่ สารอารมณ์ค่อนข้างมีอุปสรรค เพราะ

หา
ภาษาเขียนไม่สามารถแสดงอารมณ์ผ่านน้ าเสียงในการพูดได้

างม
ประสิทธิ ์ กาพย์กลอนและคณะ (2561, หน้า 127) ได้กล่าวถึงฐานน้ าหนักของประโยค

ากท
ว่าสามารถแบ่งได้เป็ น 3 ตอน ได้แก่ตอนต้น ตอนกลางและตอนปลาย โดยน้ าหนัก ประโยคที่
มากที่สุดได้แก่ตอนปลายของประโยค น้ าหนักประโยคที่มนี ้ าหนักรองลงมาคือตอนต้น ส่วน

ตจ
น้ า หนัก ประโยคที่มีน้ อ ยที่สุ ด คือ ตอนกลาง นอกจากนี้ ก ารให้ค วามส าคัญ กับ น้ า หนักของ

นุญ
ประโยคไม่ว่าจะเป็ นตอนต้น ตอนกลางและตอนท้ายนัน้ ย่อมมีผลทาให้การสื่อสารสัมฤทธิ ์
ับอ
ผลได้เพราะผูร้ บั สารจะสามารถแปรความหมายได้จากการเน้นเสียงในน้ าหนัก ดังตัวอย่างเช่น
ด้ร
ไม่ไ

ประโยค ฐานน้าหนักประโยค ความหมาย


ทันทีที่นักศึกษาสอบได้เกียรติ ตอนต้น มีน้ าหนักรอง


ร่โด

นิ ยมอันดับหนึ่ ง ย่ อ มได้ร ับ ค า
แพ

ชื่ น ชมต่ า ง ๆ มากมาย สร้ า ง


เผย

ความปลาบปลืม้ ดีใจแกครอบครัว
รือ

ค ว า ม ป ล า บ ป ลื้ ม ดี ใ จ ข อ ง ตอนปลาย มีน้ าหนักมาก


ยห

ครอบครัว รวมทัง้ การได้รบั คาชื่น


น่า

ชมต่ า ง ๆ มากมาย ทั น ที ที่


์จําห

นั ก ศึ ก ษาสอบได้ เ กี ย รติ นิ ยม
ิมพ

อันดับหนึ่ ง
มพ

การได้ ร ั บ ความชื่ น ชมต่ า ง ๆ ตอนกลาง มีน้ าหนักน้อย


ห้า

มากมาย ทันที ที่นักศึกษาสอบ


ได้เกียรติ นิยมอันดับหนึ่ ง สร้าง
ความปลาบปลืม้ ดีใจแก่ครอบครัว

36 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

การศึกษา ภาคนิพนธ์ สารนิพนธ์ย่อมที่จะต้องมีพ้นื ฐานเกี่ยวกับการเขียนย่อหน้ าเพื่อ เป็ น


ความรูเ้ บือ้ งต้นในการเขียน

ลักษณะของย่อหน้ า
ดังที่ไ ด้ก ล่ าวไปแล้ว ว่าย่อ หน้ าคือ การนาประโยคหลาย ๆ ประโยคมารวมกัน จะมีก่ี

ัย
ยาล
ประโยคหรือกีบ่ รรทัดก็ตาม ถ้าในย่อหน้านัน้ มีประโยคใจความสาคัญหรือมีความคิดสาคัญก็คอื

วิท
ย่อหน้าแล้ว เพราะย่อหน้าจะต้องสื่อความหมายที่ผู้ส่งสารต้องการจะส่งไปถึงผู้รบั สารเพียง

หา
หนึ่งความคิดสาคัญเท่านัน้ การเขียนย่อหน้าในแต่ละครัง้ จะต้องเริม่ ต้นบรรทัดใหม่และเว้าเข้า

างม
ไปทางขวามือ เขียนหรือขยายความคิดในย่อหน้ าจนความคิดที่จะอธิบายมีความแจ่ ม แจ้ง

ากท
กระจ่ า ง หรือ สิ้น สุ ด ความคิด ที่จ ะบรรยาย แต่ ไ ม่ ค วรเขีย นยาวจนเกิน ครึ่ง หน้ า หรือ หนึ่ ง
หน้ากระดาษ ควรมีการซอยย่อยย่อหน้าหรือที่เรียกว่ามีการจัดแบ่งประเด็น หัวข้อ เพื่อให้มี

ตจ
ความงามตา เหมาะสม

นุญ
ข้อสาคัญเวลาเขียนย่อหน้าควรให้ย่อหน้าแต่ละย่อหน้ามีความสัมพันธ์ สอดคล้องกัน
ับอ
เช่นย่อหน้าหนึ่งเขียนอธิบายถึงอาหารประเภทไข่เจียว ย่อหน้าต่อมาจะต้องกล่าวถึงวิธกี ารทา
ด้ร

ไข่เจียว ย่อมาต่อมาต้ องกล่าวถึงหลังเสร็จสิ้นการทาไข่เจียว ไม่ควรเขียนสลับย่อหน้าหรือ


ไม่ไ

กล่าวถึงความคิดอื่นทีไ่ ม่เกีย่ วกับย่อหน้า จะทาให้ย่อหน้านัน้ เกิดความบกพร่องหรือไม่มคี วาม


เอกภาพและสัมพันธภาพ ดังตัวอย่างเช่น ย่อหน้าแรกเขียนอาหารประเภทไข่เจียว ย่อหน้า


ร่โด

ต่อมากล่าวถึงวิธกี ารทาไข่เจียวทรงเครื่อง ย่อหน้าต่อมาพูดถึงประโยชน์ของไข่ จากตัวอย่างที่


แพ

กล่าวไว้จะเห็นว่าคาที่ขดี เส้นใต้ทงั ้ สามคาแม้ผู้เขียนจะกล่าวถึง “ไข่” แต่เป็ น “ไข่” ที่มคี นละ


เผย

ความหมายกันอย่างเห็นได้ชดั เจน ดังนัน้ ย่อหน้านี้เกิดความล้มเหลวในการสื่อสารทันที เพราะ


รือ

ไม่ ท ราบจุ ด ประสงค์ข องผู้เ ขีย นว่ า ต้อ งการกล่ า วถึง อะไรกัน แน่ ร ะหว่ า งไข่เ จีย ว ไข่เ จีย ว
ยห

ทรงเครื่องและไข่ ปั ญหาทีต่ ามมาจึงเป็ นข้อบกพร่องทีเ่ กิดขึน้ ในการเขียนย่อหน้าทันที คือ การ


น่า

เขียนออกนอกเรื่องหรือมีความคิดอื่นเข้ามาแทรก บางครัง้ ผู้เขียนอาจมีความคิดสับสนไม่


์จําห

แน่ใจว่าจะเขียนอะไร ย่อหน้าทีเ่ ขียนจึงอาจมีลกั ษณะความคิดวกไปวนมาก็ได้ ตัวอย่างเช่น


ิมพ

“นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลายต่างมีจุดหมายปลายทางเมื่อสาเร็จการศึกษา หลาย


มพ

คนก็มจี ุดมุ่งหมายที่จะตามความฝั น บางคนอยากเรียนมหาวิทยาลัยต่อ จะเป็ นมหาวิทยาลัย


ห้า

ปิ ด มหาวิทยาลัยเปิ ด หรือมหาวิทยาลัย แบบตลาดวิชาก็ได้ บางคนอยากทางานช่วยเหลือพ่อ


แม่และส่งเสียให้น้อง ๆ ได้เรียนต่อ บางคนอยากไปท่องเที่ยวต่างแดน ไปผจญภัยทัวโลก ่
ความจริงนัน้ การเรีย นนับว่ า มีค วามส าคัญ ต่อ นักเรียนมาก เพราะทาให้ นัก เรีย นมีค วามรู้

38 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

สามารถนาวิชาทีเ่ รียนไปใช้ในชีวติ ประจาวันได้ นอกจากนี้ยงั รอดพ้นจากการทีจ่ ะมีผู้อืน่ มา


หลอกลวงนักเรียนได้ ดังนัน้ การเรียนมีความสาคัญต่อชีวติ นักเรียนจึงไม่ควรทิ้งการเรียนไป”
ย่อหน้าทีน่ ามากล่าวข้างต้นจะเห็นว่าผูเ้ ขียนเปิ ดเรื่องเป็ นการกล่าวถึงประโยคใจความ
สาคัญซึ่งอยู่ในตอนต้นว่า “นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลายต่างมีจุดหมายปลายทางเมื่อ
สาเร็จการศึกษา” และหลังจากนัน้ ก็กล่าวว่านักเรียนแต่ละคนไปทาอะไรหลังจากเรียนจบ แต่

ัย
ยาล
พอมาถึงเนื้อความทีก่ ล่าวว่า “ความจริงนัน้ การเรียนนับว่ามีความสาคัญต่อนักเรียนมาก...” จน

วิท
จบย่ อ หน้ า จะเห็น สื่อ ความหมายคนละใจความส าคัญ เพราะตอนท้า ยกลับ กลายพู ด ถึง

หา
ความสาคัญของการเรียน นักเรียนมัธยมศึ กษาตอนปลายไม่ควรทิ้งการเรียน นัน่ แสดงว่า

างม
ผูเ้ ขียนย่อหน้านี้เกิดความสับสน อาจจะมีความคิดอื่นเข้ามาแทรก คิดออกนอกเรือง หรือไม่รู้
ว่าจะเขียนอะไรต่อจากจุดมุ่งหมายจึงเขียนเป็ นความคิดอื่นแทน ลักษณะนี้จะทาให้ผอู้ ่านหรือ

ากท
ผูร้ บั สารเกิดความสับสนตามผูเ้ ขียนหรือผูส้ ง่ สารไปด้วย

า ตจ
นุญ
องค์ประกอบของย่อหน้ า
ับอ
จากตัว อย่างย่อ หน้ าที่ก ล่ าวไว้ข้างต้น มีล ักษณะขององค์ประกอบย่อ หน้ าปรากฏขึ้น
ด้ร

มาแล้ว องค์ประกอบย่อหน้าคือส่วนประกอบทีท่ าให้ย่อหน้านัน้ เป็ นย่อหน้าทีส่ มบูรณ์ โดยปกติ


ไม่ไ

องค์ประกอบย่อหน้าจะมีส่วนทีส่ าคัญอยู่ 2 ส่วน นัน่ ก็คอื ประโยคใจความสาคัญหรือความคิด


สาคัญกับประโยคขยายความ (คณาจารย์ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัย


ร่โด

ศิล ปากร, 2551, หน้ า 194) ประโยคใจความส าคัญ หรือ ความคิด ส าคัญ คือ ประโยคที่ มี
แพ

จุดมุ่งหมายต้อ งการให้ผู้ร ับสารรับรู้หรือ เข้าใจความหมายของย่อ หน้ า นัน้ สรุปได้ค ือ เป็ น


เผย

ประโยคทีอ่ ่านแล้วครอบคลุมเนื้อหาทัง้ หมดของย่อหน้านัน้


รือ

ส่ว นประโยคขยายความหรือ ตามที่ประสิทธิ ์ กาพย์กลอนและคณะ (2561, หน้ า 81)


ยห

กล่ าวว่าคือ ประโยคสนับ สนุ น มัก ปรากฏในตอนอภิป ราย และทาหน้ าที่น ารายละเอีย ดไป
น่า

สนับ สนุ น ประโยคใจความส าคัญ ของย่ อ หน้ า ดัง นัน้ ย่ อ หน้ า ในแต่ ล ะย่ อ หน้ า จึง มีป ระโยค
์จําห

ใจความสาคัญหรือความคิดสาคัญอยู่เพียง 1 ประโยค ส่วนทีเ่ หลือจะเป็ นประโยนคขยายความ


ิมพ

หรือประโยคสนับสนุน ทัง้ นี้ประโยคใจความสาคัญหรือความคิดสาคัญ ไม่ได้จากัดว่าจะต้องอยู่


มพ

เฉพาะตอนต้นของย่อดังตัวอย่างข้างต้นเท่านัน้ แต่ยงั มีการกระจายไปอยู่ส่วนต่าง ๆ ของย่อ


ห้า

หน้าอีกด้วย ดังทีจ่ ะอธิบายตามลาดับของย่อหน้าต่อไปนี้

RAM 1103 39

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

5. ย่อหน้ าที่ไม่ปรากฏประโยคใจความสาคัญหรือความคิ ดสาคัญ ต้องสรุปเอง


นอกจากนี้ยงั มีย่อ หน้ าบางประเภทที่ไม่ปรากฏประโยคใจความสาคัญหรือความคิด
สาคัญอะไรไว้เลย ผูอ้ ่าน ๆ ย่อหน้าแล้วต้องสรุปขึน้ เป็ นประโยคใจความสาคัญเอง บางครัง้ ย่อ
หน้าประเภทนี้สร้างความสับสนให้กบั ผูอ้ ่านเพราะไม่ทราบว่าประโยคใจความสาคัญนัน้ อยู่ส่วน
ใด บางครัง้ ต้องคาดเดาต่าง ๆ นานา ตัวอย่างเช่น จากเรื่อง “ปั นนา ล้านนา” โดย ศุภมิตร

ัย
ยาล
กิจจาพิพฒั น์

วิท
หา
หลังจากย้อนรอยยุคก่อนประวัตศิ าสตร์กนั แล้ว คราวนี้เรากลับเข้ามาชมความงามของ

างม
วัด และสถานที่ทางประวัตศิ าสตร์ในเขตอาเภอเมือง เชียงใหม่กนั บ้าง หากใครชอบอากาศ

ากท
สดใสแสงแดดสวย ๆ แล้ว บรรยากาศของเชียงใหม่หน้าประตูท่าแพเป็ นพืน้ ที่ ๆ เหมาะกับการ
นัง่ ปล่อยความคิดและดูความเคลื่อนไหวของเมือง โดยเฉพาะในเวลาเช้า ๆ รถไม่พลุกพล่าน

ตจ
มากนัก ยังคงมีสามล้อถีบปั น่ รับผู้โดยสาร จากตลาดเข้าไปในซอยเล็กซอยน้อย เสียงบาน

นุญ
เลื่อนของประตูเหล็กร้านค้าที่ทยอยเปิ ด ฝั ง่ ตรงข้ามเป็ นเกสต์เฮ้าส์ เก่าแก่ท่เี ปิ ดมานาน ร้าน
ับอ
แลกหนังสือเก่า นักท่องเทีย่ วหลายคนกาลังนัง่ ละเลียดอาหารเช้า แม้ว่าจะเป็ นช่วงเวลาเร่งรีบ
ด้ร

แต่กเ็ ป็ นจังหวะทีเ่ ร่งรีบน้อยกว่าเมืองหลวง แทบจะไม่มคี วามเครียดล่องลอยอยู่ในบรรยากาศ


ไม่ไ

มองเห็นประตูท่าแพตระหง่าน ทาบไล้ดว้ ยแสงของแดดยามสาย


(ศุภมิตร กิจจาพิพฒ
ั น์, 2555, หน้า 142-143)
ร่โด
แพ

จากย่อ หน้ าข้างต้นนี้ ไ ม่ปรากฏประโยคความคิดคิดสาคัญ หรือ ใจความสาคัญ ไว้เลย


เผย

ผูอ้ ่าน ๆ แล้วต้องประมวลความคิดสาคัญออกมาก่อนแล้วจึงจะเรียบเรียงเป็ นประโยคใจความ


รือ

สาคัญได้ ในย่อหน้านี้ถา้ จะเรียบเรียงความคิดสาคัญเป็ นประโยคจะได้ว่า “ความสุขอยู่รอบกาย


ยห

หาได้ทุกเวลาและทุกสถานที”่ ซึง่ จะครอบคลุมความหมายของย่อหน้านี้ทงั ้ หมด


น่า

การเขียนย่อหน้ามีความจาเป็ นอย่ างยิง่ ในการสื่อสารเพราะถ้าจะถ่ายทอดความคิดหรือ


์จําห

เรื่องราวต่าง ๆ ให้รบั รูก้ นั บางครัง้ การพูดอาจจะไม่สามารถสือ่ สารได้เข้าถึง เพราะอาจมีปัจจัย


ิมพ

หลายอย่างทีท่ าให้การพูดมีความบกพร่อง แต่การเขียนยังมีหลักฐานมีลายลักษณ์จงึ สามารถ


มพ

ย้อนกลับมาอ่านทบทวนได้ อนึ่ง ในชีวติ ของคนเราทัง้ การเรียน การทางาน การเขียนย่อหน้า


ห้า

เป็ นการฝึ กปฏิบตั ทิ างการสื่อสารที่นักศึกษาตลอดจนบุคคลในวัยทางานจะต้องมีการสื่อสาร


ความคิดโดยผ่านการเขียนอธิบายอยู่แล้ว โดยเฉพาะการเขียนตอบข้อสอบอัตนัย การเขียน
รายงานประกอบการศึก ษา การเขีย นบทความ หรือ การจดรายละเอีย ด การบัน ทึก เป็ น

44 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ข้อความซึ่งจะต้องอาศัยหลักการของย่อหน้าเข้ามาเป็ นแนวทางในการเขีย น ดังนัน้ ข้อควรรู้


เกีย่ วกับการเขียนย่อหน้าในหัวข้อต่อไปคือลักษณะของการเขียนย่อหน้าทีด่ จี ะต้องมีกลวิธกี าร
เขียนอย่างไร

ลักษณะของการเขียนย่อหน้ าที่ดี

ัย
ยาล
การเขียนย่อ หน้ าเพื่อ สื่อ สารให้มีค วามชัด เจน กระชับ และมีค วามสอดคล้อ งกัน มี

วิท
ความสัมพันธ์กนั จะจากัดอยู่ทค่ี าหลัก 3 คานี้ คือ เอกภาพ สัมพันธภาพและสารัตถภาพ

หา
1. เอกภาพ

างม
คาว่าเอกภาพ พจนานุ กรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554 (2556, หน้า 1431) ให้

ากท
ความหมายว่า “น.ความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน; ความสอดคล้องกลมกลืนกัน” ดังนัน้ การเขียน
ย่อหน้านัน้ จะเป็ นในย่อหน้าเดียวกันก็ดี หรือหลายย่อหน้าก็ดี จะต้องมุงไปทีป่ ระเด็นความคิด

ตจ
หลัก การเขียนประโยคภายในย่อหน้าต้องสอดคล้องกัน เป็ นเหตุเป็ นผล สนับสนุ นความคิด

นุญ
หลักและรวมไปถึงหัวข้อเรื่อง ชื่อเรื่อง ตัวอย่างจากเรื่อง “ประพาสต้น” ในสืบตานาน สาน
ับอ
ประวัติ โดย ว.วินิจฉัยกุล
ด้ร
ไม่ไ

ประพาสต้น

“ประพาสต้ น ” หมายถึง การเสด็ จ เยือ นราษฎร เป็ นการส่ ว นพระองค์ ใ นรัช สมัย
ร่โด

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั ทรงกระทาอย่างเงียบ ๆ ไม่กระโตกกระตากให้รวู้ ่า


แพ

พวกเขากาลังเข้าเฝ้ าเจ้าชีวติ เพื่อจะได้ทรงสนทนาปราศรัยทาความคุน้ เคย และล่วงรูท้ ุกข์สุข


เผย

ของราษฎรได้โดยตรง ไมผ่านข้าราชการปกครอง บางครัง้ เมื่อทรงทราบถึงความเดือ ดร้อ น


รือ

ของชาวบ้า นก็มีพ ระบรมราชโองการให้เ จ้า เมือ งรับ ไปจัด การ หรือ แม้แ ต่ ท รงเปลี่ย นตัว
ยห

ข้าราชการปกครองเสียเองก็มี ส่วนชาวบ้านเหล่านัน้ ก็มไิ ด้ทรงละเลย ในภายหลังทรงขนาน


น่า

นามพวกเขาว่า “เพื่อนต้น” และพระราชทานพระมหากรุณาธิคุ ณอย่างสม่ าเสมอจนตลอด


์จําห

รัชกาล
ิมพ

(ว.วินิจฉัยกุล, 2553, หน้า 83)


มพ
ห้า

ย่ อ หน้ า ดัง กล่ า ว ๆ ถึง ความหมายของประพาสต้ น และการเสด็จ ประพาสต้ น ใน


พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั โดยผูเ้ ขียนได้อธิบายไว้ในย่อหน้า อย่างเป็ นอันหนึ่ง
อันเดียวกันเกี่ยวกับการเสด็จประพาสต้น ไม่มคี วามคิดอื่นเข้ามาแทรกทาให้ออกนอกเรื่องไป

RAM 1103 45

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ทาให้ผู้รบั สารเมื่ออ่านแล้วเข้าใจถึงความหมายและธรรมเนียมของประพาสต้น ดังกล่ าวว่ า


หมายถึงอะไร มีความเป็ นมาอย่างไร

2. สัมพันธภาพ
สัมพันธภาพหมายถึงความเกี่ยวเนื่องสอดคล้องหรือต่อเนื่องกัน สัมพันธภาพแบ่งได้ 2

ัย
ยาล
แบบ คือสัมพันธภาพในย่อหน้าเดียวกันและสัมพันธภาพระหว่างย่อหน้า สัมพันธภาพในย่อ

วิท
หน้าเดียวกันคือมีการจัดระเบียบความคิด โดยเรียงลาดับว่าความคิดใดมาก่อนและหลัง การ

หา
เรียงลาดับความคิดในย่อหน้าสามารถเรียงลาดับตามเหตุผล ตามเวลา ตามลาดับความสาคัญ

างม
ตามทิศทาง ทัง้ นี้อาจจะมีคาเชื่อมในย่อหน้าที่ช้ใี ห้เห็นว่า ความต่อเนื่องหรือเกี่ยวเนื่องของ

ากท
ประโยคในย่อหน้า เช่น นอกจากนี้ นอกจากนัน้ กล่าวโดยสรุป ด้วยเหตุดงั กล่าว จะเห็นได้ว่า
ตัวอย่างเช่น เป็ นต้น (คณาจารย์ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร,

ตจ
2551, หน้า 198-199)

นุญ
ส่วนสัมพันธภาพระหว่างย่อหน้าคือ การเขียนย่อหน้านัน้ คงจะไม่ได้สน้ิ สุดเพียงย่อหน้า
ับอ
เดียว เพราะบางเวลาถ้าเราเขียนเขียนบทความ เขียนหนังสือ ส่วนประกอบของบทความ 1
ด้ร

เรื่อง หนังสือ 1 เล่มนัน้ ต้องอาศัยย่อหน้าหลาย ๆ ย่อหน้าเข้ามาประกอบเป็ นเรื่อง ดังนัน้ การ


ไม่ไ

เขียนย่อหน้าหลายย่อหน้านัน้ นอกจากในย่อหน้าจะต้องมีความกลมกลืน สอดคล้อง เป็ นเหตุ


เป็ นผลแล้ว เมื่อต้องเขียนอีกย่อหน้าหนึ่งเพื่อเชื่อมโยงย่อหน้าที่มมี าก่อนหน้านัน้ จึงต้องมี


ร่โด

แนวความคิดของสัมพันธภาพเข้ามาประสานการเขียนให้เกิดความราบรื่นต่อกัน ตัวอย่างจาก
แพ

เรื่อง “ต้นไม้ควรปลูก” ในสืบตานาน สานประวัติ โดย ว.วินิจฉัยกุล ซึง่ เป็ นย่อหน้าขนาดสัน้


เผย
รือ

ต้นไม้หา้ มปลูกคือ ต้นโพ ต้นไทร ต้นตาล ต้นมะกอก ต้นสาโรง ต้นมะงัว่ ต้นหวายและ


ยห

ต้นสลัดได ถือกันเคร่งครัดขนาดว่าที่ดินตรงไหนมีต้นไม้เหล่านี้ข้นึ อยู่ให้ฟันทิ้งให้หมดก่อ น


น่า

ปลูกเรือน
์จําห

ต้นโพ ต้นไทร ห้ามปลูกนัน้ พอเข้าใจ เพราะเป็ นไม้ใหญ่รากชอนไชใต้ดนิ ออกไปกว้าง


ิมพ

มาก อาจจะทาเสาเรือนทรุด หรือพังไปก็ได้ถา้ ปลูกไว้ใกล้เรือน


มพ

ต้นตาล ไม่แน่ ใจว่าทาไมห้ามปลูกในบริเวณบ้าน แต่ไม่ห้ามถ้าอยู่ตามทุ่งนา ตามไร่


ห้า

อาจจะเป็ นเพราะต้นตาลสูงชะลูดขึ้นไปมาก ถูกฟ้ าผ่าได้ง่าย จึงเกรงอันตรายกับคนในบ้านก็


เป็ นได้

46 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ต้นระกากับสลัดได ห้ามปลูกเพราะถือเคล็ดเรื่องชื่อ ระกาปลูกแล้วกลัวเจ้าของจะชอก


ช้าระกาใจ สลัดไดก็มคี าหน้าเหมือนสลัดทิง้ ไม่เป็ นมงคลอีก
ส่วนหวายไม่แน่ ใจว่าเป็ นเพราะมันเป็ นซุ้มรกเรื้อไม่น่าปลูกหรือเป็ นเพราะโบราณใช้
หวายเฆีย่ นคนเป็ นการทาโทษ จึงถือไม่ให้ปลูกใกล้บา้ น
ส่วนมะกอก สาโรง มะงัว่ จนใจแปลไม่ออกว่าไม่ดตี รงไหน มะกอกพอรูจ้ กั แต่สาโรงกับ

ัย
ยาล
มะงัวไม่
่ เคยเห็นค่ะ

วิท
(ว.วินิจฉัยกุล, 2553, หน้า 30-31)

หา
างม
ย่อหน้าข้างต้นเป็ นบทความเชิงปกิณกะทีใ่ ห้สาระความรูแ้ ก่ผอู้ ่าน ภาษาทีใ่ ช้เป็ นภาษา

ากท
กึ่งแบบแผน ดังนัน้ เมื่อไม่ใช่งานเขีย นประเภทบทความวิชาการหรือหนังสือสารคดีโดยตรง
ลักษณะการเขียนย่อหน้าจะเป็ นการเขียนแบบย่อหน้าขนาดสัน้ เพื่อให้ความสาคัญต่อประเด็น

ตจ
ความคิดแต่ละย่อหน้า ๆ

นุญ
ตัวอย่างงานเขียนอีกเรื่องที่แสดงถึงการเขียนย่อหน้าที่มสี มั พันธภาพระหว่างย่อหน้า
ับอ
และเป็ นย่อหน้าขนาดยาว คือ งานเขียนเชิงปกิณกะอย่างสารคดีเรื่องพาเที่ยววันวานกับคุณ
ด้ร

ยาย โดย ว.วินิจฉัยกุล


ย ไม่ไ

ในสารับอาหารของคุณปู่ และคุณย่า จัดอาหารอย่างมีระเบียบในแต่ละมื้อ ไม่ใช่ อยาก


ร่โด

กินอะไรก็สงกิ
ั ่ นตามใจชอบ แต่แม่ครัวจะต้องจัดอาหารแต่ละอย่างไม่ให้ซ้ากันเลย ถือเป็ นปาก
แพ

(ะ) ศิลป์ หรือศิลปะการทาครัว ระเบียบนี้คุณยายได้ยนิ มาว่าตกทอดมาจากในวังอีกทีหนึ่ง


เผย

กล่าวคือในสารับต้องมีแกงเผ็ดน้ าข้น 1 อย่าง แกงน้าใสเช่นแกงจืด 1 อย่าง มีน้าพริกกับผัก 1


รือ

อย่าง ผัดหรือยา 1 อย่าง และอาหารในแต่ละอย่างนัน้ ต้องหลากหลายไม่ซ้ากัน เช่นถ้ามีแกง


ยห

เผ็ดปลาดุกแล้ว ก็จะไม่มยี าปลาดุกฟูซ้ามาอีก ถ้ามีเนื้อวัวในอาหารจานหนึ่ง ก็จะไม่มเี นื้อวัวใน


น่า

อาหารอีกจานหนึ่ง
์จําห

กับข้าวในยุคคุณยายมักจะมียามากกว่าผัด เพราะผัดต้องใช้น้ ามันหมู คนไทยในยุคนัน้


ิมพ

ไม่ค่อยนิยมกินหมูกนั เท่าไร เห็นว่าเลีย่ น ถ้าเป็ นบ้านคนจีนจึงจะนิยมกันมากกว่า ถ้าจะเอาหมู


มพ

มาทาอาหารก็ทาเป็ นส่วนประกอบเช่นหมูสบั ใส่แกงจืด หรือปรุงรสเป็ นอย่างอื่นเช่นหมูหวาน


ห้า

หมูหวานนี้จะอร่อยมากถ้ากินเป็ นส่วนหนึ่ง ของน้ าพริกลงเรือ ตารับของเจ้าจอมม.ร.ว.


สดับในปลายรัชกาลที่ 5 ลิ้นคนไทยในสมัยโน้นชอบอาหารที่มหี ลายรสผสมกันได้กลมกล่อม

RAM 1103 47

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ถูกส่วน เช่นเปรีย้ ว เค็ม หวาน รวมกันได้พอดี ๆ ไม่เน้นไปทางใดด้านหนึ่งเป็ นพิเศษ ดังนัน้


อาหารยาซึง่ มีหลายรส จึงถูกปากคนไทยมากกว่าอาหารทีม่ รี สเดียว
(ว.วินิจฉัยกุล, 2558, หน้า 137-139)

3. สารัตภาพ

ัย
ยาล
สารัตภาพคือ การเน้นใจความสาคัญของย่อหน้าเพื่อ ชี้ให้เห็นว่าประเด็นความคิดใดมี

วิท
ความสาคัญ อาจจะปรากฏอยู่ใ นต าแหน่ งของประโยคใจความสาคัญ ซึ่งสามารถอยู่ไ ด้ท งั ้

หา
ตอนต้น ตอนท้าย โดยเฉพาะถ้าการเน้นประโยคใจความสาคัญอยู่ตอนท้าย ผูอ้ ่านจะสนใจมาก

างม
(คณาจารย์ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 2551, หน้า 200)

ากท
อาจเป็ นเพราะว่ าต าแหน่ งที่อ ยู่ต อนท้า ยจะดึงดูดความสนใจผู้อ่ า นได้ดีก ว่ าต าแหน่ ง ที่อ ยู่
ตอนต้นของย่อหน้า สิง่ ทีส่ าคัญคือข้อความทีเ่ น้นย้านัน้ จะมีน้ าหนักน่าเชื่อถือและคล้ายกับเป็ น

ตจ
การกล่าวปิ ดท้ายย่อหน้าด้วย ตัวอย่างเช่นเรื่อง “มงคล” ใน ชีวติ สอนชีวติ : ปรัชญาชีวติ โดย

นุญ
จิตรา ก่อนันทเกียรติ
ับอ
ด้ร

คนไทยคนจีนนิยมเรื่องความเป็ นมงคล อะไรที่ทาแล้วมีนัยมงคล เช่น การตัง้ ชื่อให้มี


ไม่ไ

ความหมายมงคล การไหว้เจ้าเพื่อให้เป็ นสิรมิ งคล การเตรียมของไหว้หรือของใช้ในงานพิเศษ


ให้มมี งคล เช่น ขนมไหว้ท่เี ป็ นมงคล ขนมแต่งงาน ขนมทาบุญของคนไทยที่มคี วามหมาย


ร่โด

มงคล
แพ

คนจีนนิยมอวยพรผูใ้ หญ่ในวันเกิดว่า ขอให้มอี ายุมนขวั


ั ่ ญยืน บางครัง้ ให้เป็ นตุ๊กตา “ซิว่ ”
เผย

แทนคาพูดอวยพร เพราะซิว่ มีความหมายถึงอายุทย่ี นื ยาว หน้าผากทีน่ ูนโหนกคือบุญวาสนาที่


รือ

มีมากจนปูดโปนขึ้นมา ลูกท้อเป็ นผลไม้มงคล ใครได้กนิ จะเป็ นอมตะ และนกกระเรียนที่เป็ น


ยห

นกเทพจะมีอายุยนื ถึง 1,000 ปี เรียกตุ๊กตามงคลนี้ว่า ซิว่ ท้อ มีนยั อวยพรให้มอี ายุยนื ยาว
น่า

การอวยพรเป็ นเรื่องที่ ดีงาม แต่ หลายท่ านอาจไม่ทราบว่า คาพรนี้ จะเป็ นผลก็


์จําห

ต่อเมื่อเป็ นคาอวยพรจากคนดีหรือผู้ที่ทาแต่คณ ุ ความดี และผู้รบั พรคือผู้ที่ทาดีมาโดย


ิมพ

ตลอด และยังคงทาความดีต่อไป
มพ

(จิตรา ก่อนันทเกียรติ, 2541, หน้า 101)


ห้า

ในบทเรียนนี้จงึ ต้องการให้นักศึกษามีความรูส้ งั เขปเกี่ยวกับการสื่อสารในการทางานที่


ต้องใช้ภาษาผ่านการใช้คา ประโยคและมาสูย่ ่อหน้าจึงจะสัมฤทธิผลในที
์ ส่ ุดในการสือ่ สาร

48 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

บรรณานุกรมบบทที่ 2
คณาจารย์ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. (2551). ภาษากับการ
สือ่ สาร. พิมพ์ครัง้ ที่ 3. กรุงเทพฯ : บริษทั พี.เพรส.
คณาจารย์ภาควิชาภาษาไทย คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (2543). การใช้
ภาษาไทย 1. พิมพ์ครัง้ ที่ 4. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ัย
ยาล
คณาจารย์ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

วิท
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. (2551). ศิลปะการแสดงออกทางภาษา. พิมพ์ครัง้ ที่ 6.

หา
มหาสารคามสานักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

างม
จิตรา ก่อนันทเกียรติ. (2541). ชีวติ สอนชีวติ . พิมพ์ครัง้ ที่ 5. กรุงเทพฯ : แพรวสานักพิมพ์.

ากท
จิตรา ก่อนันทเกียรติ. (2542). กรุสมบัตขิ องความสาเร็จ. กรุงเทพฯ : แพรวสานักพิมพ์.
ชลดา เรืองรักษ์ลขิ ติ . (2544). วรรณคดีอยุธยาตอนต้น : ลักษณะร่วมและอิทธิพล. กรุงเทพฯ :

ตจ
โครงการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นุญ
ประสิทธิ ์ กาพย์กลอนและคณะ. (2561). การเตรียมเพือ่ การพูดและการเขียน. พิมพ์ครัง้ ที่ 6.
ับอ
กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคาแหง.
ด้ร

เปลือ้ ง ณ นคร. (2534). สร้างกาลังใจ. พิมพ์ครัง้ ที่ 4. กรุงเทพฯ : ข้าวฟ่ าง.


ไม่ไ

ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554. พิมพ์ครัง้ ที่ 2.


กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน.
ร่โด

ราชบัณฑิตยสถาน. (2558). ภาษิต คาพังเพย สานวนไทย. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพฯ :


แพ

ราชบัณฑิตยสถาน.
เผย

วิจติ รวาทการ, หลวง. (2550). วิธที างานและสร้างอนาคต. พิมพ์ครัง้ ที่ 4. กรุงเทพฯ :


รือ

สร้างสรรค์บุ๊คส์
ยห

วินิตา ดิถยิ นต์ (ว.วินิจฉัยกุล). (2553). สืบตานาน สานประวัต.ิ กรุงเทพฯ : อักษรโสภณ.


น่า

วินิตา ดิถยิ นต์ (ว.วินิจฉัยกุล). (2558). พาเทีย่ ววันวานกับคุณยาย. กรุงเทพฯ : อักษรโสภณ.


์จําห

ศุภมิตร กิจจาพิพฒ ั น์. (2555). ปั นนา ล้านนา. เชียงใหม่ : สานักพิมพ์ศริ ปิ ั นนา.


ิมพ

สุนนั ท์ อัญชลีนุกูล. (2563). ระบบคาในภาษาไทย. พิมพ์ครัง้ ที่ 6. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์


มพ

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ห้า

สุวรรณา สถาอานันท์และเนื่องน้อย บุญณเนตร, บรรณาธิการ. (2542). คา : ร่องรอยความคิด


ความเชือ่ ไทย. พิมพ์ครัง้ ที่ 3. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

RAM 1103 49

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ทัง้ ยังแสดงถึงลักษณะของการใช้ภาษาทีส่ มั พันธ์กบั ความคิดด้วย เนื่องจากการบรรยายเนื้อหา


ของคาตอบลงสู่ส่วนนา ส่วนเนื้อเรื่อง ส่วนสรุปของคาตอบอัตนัยนัน้ จะต้องมีการถ่ายทอด
ความคิดโดยเรียงลาดับอย่างเป็ นระบบ

องค์ประกอบของการตอบข้อสอบอัตนัย

ัย
ยาล
โดยปกติแล้วข้อสอบอัตนัยมักจะเป็ นการวัดแววความรูข้ องนักศึกษาระดับอุดมศึกษา

วิท
เนื่องจากการศึกษาในระดับอุดมศึกษาจะต้องมีการวัดผลและประเมินผลด้วยการแสดงความ

หา
คิดเห็น ทัง้ นี้คณาจารย์ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (2558,

างม
หน้า 232) ได้อธิบายเกี่ยวกับการเขียนตอบข้อสอบอัตนัยว่าเป็ นการวัดผลและประเมินผลที่

ากท
น่าสนใจว่าการตอบข้อสอบอัตนัยคือการฝึกให้นักศึกษาเกิดการเรียนรูแ้ ละการคิดในระดับขัน้
สูง ซึ่งตัวอย่างการคิดระดับขัน้ สูง เช่น การคิดวิเคราะห์ การคิดแก้ปัญหา การคิดสร้างสรรค์

ตจ
และการคิด สัง เคราะห์ กระบวนการคิด ดัง กล่ า วแสดงให้เ ห็น ถึง วิธีก ารแสวงหาความรู้

นุญ
ระดับอุดมศึกษาที่ต้องอาศัยทักษะการฟั ง การพูด การอ่านและการเขียนจากการนัง่ ฟั งค า
ับอ
บรรยายและโต้ตอบแสดงความคิดเห็นกับอาจารย์ผู้บรรยาย เก็บเกี่ยวความรู้จากการจดค า
ด้ร

บรรยายและไปสืบค้นข้อมูลอ่านเพิม่ เติมจากหนังสือหรือสือ่ อินเทอร์เน็ต


ย ไม่ไ

1. ส่วนนา
ร่โด

ส่วนนาหรือบทนาหมายถึงการเกริน่ นาก่อนการเข้าสู่การตอบข้อสอบ ส่วนนามักเป็ น


แพ

ข้อความที่อธิบายนาเรื่องของคาตอบ โดยผู้ตอบข้อสอบอาจจะชี้ถงึ ภาพรวมของคาตอบหรือ


เผย

ชี้น าถึง ประเด็น ที่จ ะเขีย นตอบอย่ า งกว้า ง ๆ ตัว อย่ า งเช่ น ค าถาม ๆ ถึง ตัว ละครหญิงใน
รือ

วรรณคดีไทยตัวละครใดทีน่ ักศึกษามีความเห็นใจมากทีส่ ุด ระหว่างวันทอง โมรา กากี ก่อนที่


ยห

ผูต้ อบจะเลือกตอบตัวละครใดตัวละครหนึ่ง ผูต้ อบจะต้องกล่าวถึงภูมหิ ลังของตัวละครหญิงใน


น่า

วรรณคดีไทย ทาไมตัวละครหญิงจึงมีความสาคัญกับวรรณคดีแล้วค่อย ๆ นาเข้าสูก่ ารทีจ่ ะต้อง


์จําห

วิเคราะห์ตวั ละครหญิงทีม่ ปี ั ญหาในคาตอบส่วนของเนื้อเรื่องเป็ นประเด็น ๆ ต่อไป


ิมพ
มพ

2. ส่วนเนื้ อเรื่อง
ห้า

เนื้อเรื่องคือส่วนสาคัญหรือเป็ นประเด็นหลักของคาตอบของข้อสอบอัตนัย เพราะเป็ น


การอธิบายความรู้ท่ีไ ด้จากการประมวลความคิดของผู้ต อบที่มีต่อ ค าถามนัน้ ๆ การเรียบ
เรียงคาตอบในส่วนเนื้อเรื่องผู้ตอบจะต้องมีความชัดเจน มีการประมวลความรู้อย่างมีระบบ

RAM 1103 51

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ขัน้ ตอน มีก ารแสดงความคิดเห็นของผู้ต อบ เพื่อ สนับสนุ นค าตอบให้หนักแน่ น น่ าเชื่อ ถือ


สาหรับการเขียนตอบเนื้อเรื่องของคาตอบ ผูต้ อบสามารถจัดแบ่งเป็ นย่อหน้า ๆ ได้ โดยในแต่
ละย่อหน้าจะต้องมีความคิดสาคัญเพื่อชี้ว่าคาตอบในย่อหน้านี้ต้องการกล่าวถึงอะไร ทัง้ นี้การ
เขียนตอบข้อสอบอัตนัยในส่วนเนื้อเรื่อง ไม่มกี ารจากัดว่าจะมีย่อหน้ากีย่ ่อหน้า ผูต้ อบสามารถ
เขียนอธิบายได้จนกว่าจะสิ้นสุ ดประเด็นของคาตอบ ข้อ ควรระวังคือ อย่าเขียนอธิบายยาว

ัย
ยาล
เกินไปโดยไม่มสี าระสาคัญหรือปราศจากความรูท้ เ่ี กีย่ วข้องกับคาตอบ

วิท
หา
3. ส่วนสรุป

างม
ส่วนสรุปคือส่วนปิ ดท้ายหรือปิ ดเรื่องของคาตอบ การปิ ดท้ายหรือปิ ดเรืองมักจะเป็ น

ากท
การกล่าวสรุปเนื้อหาหรือประเด็นที่ผู้ตอบกล่าวในลักษณะภาพรวม บางครัง้ การสรุปก็มกี าร
แสดงความคิดเห็นของผู้ตอบแทรกในระหว่างการสรุปภาพรวมของคาตอบก็ได้ เพื่อแสดง

ตจ
น้าหนักทีห่ นักแน่นของคาตอบ

นุญ
ับอ
ลักษณะของข้อสอบอัตนัย
ด้ร

ลักษณะของข้อสอบอัตนัยตามที่ปรากฏในการสอบทัวไป ่ จะมีอยู่ 2 ลักษณะ คือ การ


ไม่ไ

ตอบข้อสอบอัตนัยแบบข้อความสัน้ หรือการเขียนคาตอบแบบประโยค และการเขียนคาตอบ


แบบข้อความหรืออาจจะเรียกว่าการเขียนคาตอบแบบย่อหน้าก็ได้ เพราะการเขียนคาตอบ
ร่โด

แบบข้อความ จะต้องประมวลความรู้ กลันกรองความคิ


่ ด วิเคราะห์ความคิด จากนัน้ จึงเรียบ
แพ

เรียงความคิดเป็ นข้อความมากกวาหนึ่งย่อหน้าขึ้นไป ซึ่งการเขียนประโยคตอบคาถามนี้จะ


เผย

เป็ นการเขียนประโยคสัน้ กระชับและมีคาสาคัญซึง่ เป็ นคาตอบอยู่ในประโยค ตัวอย่างเช่น


รือ
ยห
น่า

จงเขียนคาตอบเป็ นประโยคข้อความสัน้ ๆ ในคาถามต่อไปนี้


์จําห

1.นักศึกษาคิดว่าทักษะการใช้ภาษาไทยฟั ง พูด อ่าน เขียน ทักษะใดสาคัญทีส่ ุด เพราะอะไร


ิมพ

ตอบ การอ่ า น เพราะการอ่ า นจะท าให้มีค วามรู้แ ละจะน าไปสู่ก ารเขีย นเพื่อ ถ่ า ยทอด
มพ

ความคิด
ห้า

2.จงอธิบายว่าหลักการของ “ค.ว.ย.” คืออะไร มีอะไรบ้าง

52 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ตอบ หลักการ ค.ว.ย.คือแนวทางแสวงหาข้อเท็จจริงอย่างเป็ นกระบวนการ มีขนั ้ ตอนคือ


คิด วิเคราะห์และแยกแยะ
3.จากวรรณคดีไทยเรื่องสังข์ทอง เหตุการณ์ท่พี ระสังข์แปลงกายเป็ นเจ้าเงาะ กวีต้องการ
สอดแทรกคุณธรรมเรื่องอะไร

ัย
ยาล
ตอบ กวีตอ้ งการสอดแทรกคุณธรรมเรื่องความดีตดั สินทีค่ วามประพฤติ ไม่ใช่หน้าตา

วิท
หา
ส่วนการเขียนคาตอบแบบข้อความยาวหรือย่อหน้านัน้ จะมีรายละเอียดที่เพิม่ เติมจาก

างม
การเขียนคาตอบแบบประโยค เนื่องจากการเขียนตอบข้อสอบอัตนัยแบบข้อความหรือแบบย่อ

ากท
หน้าจะต้องประมวลความรู้ วิเคราะห์ความคิดและเรียบเรียงความคิด จากนัน้ จึงเรียบเรียงคา
ตอบแบบข้อความเป็ นย่อหน้า ๆ ตามลาดับความคิด ตัวอย่างเช่น

า ตจ
นุญ
นั ก ศึ ก ษาคิ ด ว่ า วรรณกรรมเรื่ อ ง “สี่ แ ผ่ น ดิ น ” สะท้ อ นข้ อ คิ ด เกี่ ย วกับ การใช้ ชี วิต
ับอ
อย่างไร จงอธิ บาย
ด้ร
ไม่ไ

ตอบ

วรรณกรรมเรื่องสีแ่ ผ่นดินเป็ นบทประพันธ์ของหม่อมราชวงศ์คกึ ฤทธิ ์ ปราโมช เป็ น


ร่โด

วรรณกรรมอิงประวัตศิ าสตร์สมัยรัชกาลที่ 5 จนถึงรัชกาลที่ 8 สะท้อนเรื่องราวชีวติ ของคน


แพ

ไทยโดยผ่านภาพของตัวละครชาววังทีม่ ชี ่อื ว่าแม่พลอย โดยมีตวั ละครตัวอื่นเป็ นผูม้ บี ทบาท


เผย

ในการดาเนินเรื่องด้วย เช่น พ่อเปรม แม่ชอ้ ย พ่อเพิม่ คุณอุ่น คุณป้ าสาย นางพิศ หรือตัว
รือ

ละครรุ่นลูกคืออ้น อัน้ อ๊อด ประไพ เป็ นต้น วรรณกรรมเรื่องนี้นอกจากเป็ นวรรณกรรมอิง


ยห

ประวัตศิ าสตร์คอื มีฉากและข้อมูลทางประวัตศิ าสตร์ถ่ายทอดอยู่ในเนื้อเรื่องแล้ว ผูเ้ ขียนยัง


น่า

ได้นาเสนอภาพของชีวติ คนไทยรวมทัง้ มีการสอดแทรกข้อคิดทีส่ าคัญอีกด้วย


์จําห

ข้อคิดที่ได้จากการอ่านวรรณกรรมเรื่องสี่แผ่นดินมีหลายประเด็นดังที่ผู้ตอบจะนามา
ิมพ

กล่าวอย่างสังเขป
มพ
ห้า

1.ข้อคิดด้านการเป็ นคนดีพระคุม้ ครอง จะเห็นว่าในวรรณกรรมเรื่องนี้แม่พลอยเป็ นตัว


ละครทีม่ คี วามดีอยู่ในตัวเอง ตอนแรกแม่พลอยถูกคุณอุ่นแสดงความรังเกียจ แต่แม่พลอยก็
ไม่เคยแสดงอาการกิรยิ าที่ไม่ดี ต่อมาแม่พลอยแต่งงานก็ได้แต่งงานกับผู้ชายที่ดอี ย่างพ่อ
เปรม ชีวติ อยู่อย่างมีความสุข และด้วยความดีของแม่พลอยก็ทาให้คุณอุ่นสานึกผิดมาขอ

RAM 1103 53

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

พึง่ พาแม่พลอย แม้ว่าแม่พลอยจะต้องพบกับเรื่องต่าง ๆ ทีม่ ผี ลต่อจิตใจ แต่ความเป็ นคนดี


ของแม่พลอยก็ทาให้มผี ทู้ ร่ี กั และปรารถนาดีกบั แม่พลอยมากมาย
2.ข้อคิดด้านการไม่ยดึ มันถื
่ อมัน่ รู้จกั ปล่อยวาง ในวรรณกรรมเรื่องนี้จะเห็นว่าผู้เขียน
ได้สอดแทรกทัศนคติเกีย่ วกับแนวคิดเรื่องทุกขัง อนิจจัง อนัตตาไว้ในการดาเนินชีวติ ของตัว

ัย
ละครด้วย เช่น แม่ชอ้ ย แม่ชอ้ ยเป็ นเพื่อนชาววังกับแม่พลอย มีนิสยั สนุกสนานร่าเริง ผูอ้ ่าน

ยาล
จะรู้สกึ มีความเพลิดเพลินเวลาได้อ่านวรรณกรรมและพบกับพฤติกรรมของแม่ช้อย แต่ใน

วิท
แผ่นดินที่ 4 แม่ชอ้ ยกลับเป็ นผูร้ จู้ กั การปล่อยวางและไม่ยดึ ติดอะไรกับชีวติ ทีม่ ขี ้ึนและลง แม่

หา
ช้อยรู้จกั ความสุ ขที่เกิดขึ้นกับชีวติ ประโยคหนึ่งที่แม่ช้อ ยกล่ าวกับแม่พลอยจนทาให้แม่

างม
พลอยระลึกขึ้นได้นัน้ คือตอนที่บ้านของแม่พลอยที่ใช้ชวี ติ อยู่กบั พ่อเปรมและลูก ๆ ประสบ

ากท
กับเหตุการณ์ท่รี ุนแรงคือระเบิดลง แม่พลอยจึงมาขออยู่กบั แม่ช้อยในวังก่อนที่จะไปอยู่ ท่ี
คลองบางหลวง แม่พลอยได้พูดกับแม่ชอ้ ยเกี่ยวกับสภาพความเงียบเหงาในตาหนักและใน

า ตจ
วังว่าแม่ชอ้ ยทนอยู่ได้อย่างไร แต่แม่ชอ้ ยกลับเตือนสติแม่พลอยว่าแม่พลอยไปใช้ชวี ติ ไปทา
นุญ
อะไรต่าง ๆ มากมายข้างนอก ขณะทีแ่ ม่ชอ้ ยยังคงอยู่ทเ่ี ดิมจึงได้คุน้ เคยกับสภาพของความ
ับอ
เงียบเหงาในตาหนักและในวัง แต่ตอนนี้แม่พลอยก็มาอยู่กบั แม่ช้อยในตาหนักที่เคยอาศัย
ด้ร

ด้วยกันตอนเด็ก แม่ชอ้ ยจึงเตือนสติแม่พลอยว่าทัง้ ตัวเองและแม่พลอยต่างมีอะไรทีแ่ ตกต่าง


ไม่ไ

กันบ้างในปั จจุบนั

ร่โด

นอกจากนี้สงิ่ ที่ ม.ร.ว.คึกฤทธิ ์ ปราโมชได้สะท้อนถึงความเป็ นทุกขัง อนิจจัง อนัตตา


แพ

โดยผ่านมุมมองของนักเขียนเองนัน้ ยังผ่านการเล่าสภาพของพระบรมมหาราชวังที่เต็มไป
เผย

ด้วยความทรุดโทรม เสียงแหบแห้งและไอของโขลนหรือชาววังที่ยงั อาศัยอยู่ ผูเ้ ขียนมีการ


รือ

เปรียบความทรุดโทรมของวังว่าคล้ายกับโครงกระดูกของสัตว์ขนาดใหญ่ และนาเสนอผ่าน
ยห

ภาพของแม่พลอยเดินดูพระรูปของเจ้านายบนตาหนัก เจ้านายแต่ละพระองค์ต่างไม่รบั รูถ้ งึ


น่า

การเปลีย่ นแปลงครัง้ ยิง่ ใหญ่ การเล่าเรื่องตรงนี้ของผู้แต่งทาให้ผอู้ ่านเข้าใจถึงแนวคิดเรื่อง


์จําห

การรูจ้ กั ปล่อยวางเพือ่ เข้าใจความเป็ นชีวติ มากขึน้


ิมพ
มพ

จากตัวอย่างการเขียนตอบข้อสอบอัตนัยแบบข้อความ จะเห็นว่าคาถามนัน้ เป็ นการให้


ห้า

ผู้เรียนฝึ กวิเคราะห์ตวั บทวรรณกรรมที่อ่าน โดยมีแนวคาถาม ๆ ว่าหลังจากอ่านวรรณกรรม


เรื่องนี้จบลง ข้อคิดทีไ่ ด้จากการอ่านวรรณกรรมเรื่องนี้มอี ะไรบ้างและสาระเป็ นอย่างไร ดังนัน้
การที่จะตอบคาถามข้อสอบแบบนี้นักศึกษาจะต้องมีการเตรียมตัวให้พ ร้อม เริม่ ต้นจากการ
อ่ า นวรรณกรรมเรื่อ งสี่แ ผ่ น ดิน จนจบสมบู ร ณ์ ก่ อ นเข้า ห้อ งสอบ จากนัน้ เมื่อ ได้ร ับ ข้อ สอบ

54 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

นักศึกษาจะต้องอ่านคาถามข้อสอบให้เข้าใจก่อนจะประมวลความรูต้ ่าง ๆ ทีเ่ ตรียมตัวสอบ มี


การคิด วิเ คราะห์ค วามรู้เ พื่อ ให้ต อบตรงค าถาม จากนัน้ เรีย บเรีย งความรู้สู่ค วามคิด เป็ น
ประเด็นๆ และถ่ายทอดเป็ นคาตอบตามประเด็นทีว่ างไว้อย่างเป็ นระบบและเป็ นข้อความแต่ละ
ย่อหน้า
ทัง้ นี้แนวคาถามที่เรามักจะพบในการเขียนตอบข้อสอบอัตนัยนัน้ ส่วนใหญ่ท่พี บใน

ัย
ยาล
คาถามของข้อสอบอัตนัย คือ จงอธิบาย จงอภิปราย จงวิเคราะห์ จงเปรียบเทียบ จงวิจารณ์

วิท
1.จงอธิ บาย หมายถึงการให้รายละเอียดอย่างชัดเจน มีการวิเคราะห์ขอ้ มูลและแสดง

หา
ความรูใ้ นการตอบอย่างกระจ่างแจ้ง บางครัง้ อาจมีภาพเข้ามาประกอบการอธิบายคาตอบด้ว

างม
2.จงอภิ ปราย หมายถึงการแสดงความคิดเห็นของผูต้ อบโดยจะต้องมีการแยกประเด็น

ากท
ที่จะเขียนตอบให้มคี วามชัดเจน จากนัน้ ผู้ตอบจะต้องแสดงความเห็นในแต่ละประเด็นอย่าง
กระจ่ า งแจ้ ง มี เ หตุ ผ ลมาประกอบค าตอบ ทัง้ นี้ ค าว่ า อภิ ป ราย ในพจนานุ ก รมฉบั บ

ตจ
ราชบัณฑิตยสถาน 2554 (2556, หน้า 1,374) ให้ความหมายว่า ก.พูดชีแ้ จงแสดงความคิดเห็น

นุญ
3.จงวิ เคราะห์ หมายถึงการพิจารณาและแยกข้อมูลในการตอบออกเป็ นส่วน ๆ ตอบ
ับอ
ตามประเด็นทีไ่ ด้แยกไว้ ในทีน่ ้ีจะเห็นว่ามีลกั ษณะทีค่ ล้ายกับจงอภิปราย แต่แนวการตอบของ
ด้ร

จงอภิปราย ผู้ตอบจะต้องแสดงความคิดเห็นประกอบร่วมด้วย แต่ในขณะที่คาถามที่มีแนว


ไม่ไ

คาถามจงวิเคราะห์ ส่วนใหญ่จะให้แยกแยะ

4.จงเปรียบเที ยบ หมายถึงการตอบคาถามโดยมีการเปรียบเทียบให้ เห็นถึงความ


ร่โด

แตกต่างหรือความเหมือนกันของสิง่ ทีคาถามต้องการจะให้เปรียบ
แพ

5.จงวิ จารณ์ หมายถึงการตอบข้อสอบโดยผูต้ อบจะต้องแสดงความคิดเห็นเชิงตัดสิน


เผย

และประเมินคุณค่าจากความรูแ้ ละข้อมูลทีป่ ระกอบในการตอบ อย่างไรก็ดลี กั ษณะคาถามทีว่ ่า


รือ

จงวิจารณ์อาจจะนึกไปถึงคาถามทีถ่ ามในเชิงการแสดงความคิดเห็น ตัดสิน ประเมินค่าคุณค่า


ยห

ทางวรรณคดี ในความเป็ นจริงแล้ว แนวค าถามจงวิจารณ์อ าจจะใช้ใ นค าถามที่มุ่งให้ต ัดสิน


น่า

ประเมินคุณค่าเชิงสังคม วัฒนธรรมหรือความรูด้ า้ นอื่นทีเ่ กี่ยวข้องก็ได้


์จําห

การใช้ภาษาในการตอบข้อสอบอัตนัยส่วนใหญ่เป็ นภาษาแบบแผนหรือภาษากึ่งแบบ
ิมพ

แผน ไม่นิยมใช้ภาษาพูดในการเขียนตอบ ทัง้ นี้ในระดับของภาษานัน้ ภาษาพูดจะเป็ นภาษาที่


มพ

แสดงให้เห็นถึงความเป็ นกันเอง ความสะดวกสบายและความไม่ประณีตของภาษาทีจ่ ะต้องมา


ห้า

จากการเรียบเรียงถ่ายทอดความคิดทีก่ ลันกรอง่ ต่างจากการใช้ภาษาในการเขียนตอบข้อสอบ


อัต นัยจะมีล ัก ษณะตรงกันข้ามคือต้อ งแสดงถึงการวิเ คราะห์ ความมีเ หตุมีผ ลและความรู้ท่ี
ผูต้ อบได้เตรียมความพร้อมมาแล้วจากการทบทวนบทเรียนหรือการอ่านข้อมูล ระดับภาษาที่

RAM 1103 55

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ควรใช้ต อบข้อ สอบจึงต้อ งเป็ นภาษากึ่งแบบแผนหรือ ภาษาแบบแผน (ดูเ นื้อ หาในบทที่ 1


ภาษากับการสือ่ สารเพิม่ เติม)

การเขียนข้อความและจดหมายเพื่อติ ดต่อกิ จธุระ


การเขียนข้อความเพื่อติดต่อกิจธุระเป็ นลักษณะการใช้ภาษาเพื่อวัตถุประสงค์ในการ

ัย
ยาล
สื่อสารกับผูค้ นในสังคมหรือการไปติดต่อทากิจธุระกับหน่วยงานเอกชนหรือสถานทีร่ าชการใน

วิท
บางแห่งทีต่ ้องอาศัยข้อความเชิงการเขียนเพื่อสือ่ สารความต้องการของผูส้ ง่ สารไปยังผูร้ บั สาร

หา
ดัง ที่อ รอุ ร า มุ ส ิก สาร (2559, หน้ า 122) ได้อ ธิบ ายถึง การเขีย นข้อ ความติด ต่ อ กิจ ธุ ร ะว่ า

างม
“การเขียนข้อความติดต่อกิจธุระหมายถึงการเขียนข้อความเป็ นลายลักษณ์อกั ษร ซึง่ มีเนื้อหา

ากท
เกีย่ วกับงาน ธุรกิจ หน้าที ่ สิง่ ทีต่ ้องปฏิบตั ิ ซึง่ อาจเป็ นการติดต่อ ระหวางบุค คล หน่ ว ยงาน
ราชการ หน่วยงานเอกชน หรือระหว่างหน่วยงานราชการกับหน่วยงานเอกชน”

ตจ
ส่วนใหญ่การเขียนข้อความเพื่อติดต่อกิจธุระนัน้ จะมีทงั ้ การเขียนข้อความขนาดสัน้

นุญ
หรือที่เรียกว่าโน้ตย่อและขนาดยาวหรือเรียกว่าบันทึกข้อความทีเป็ นกิจจะลักษณะ โดยการ
ับอ
เขียนข้อความประเภทหลังมักใช้ในหน่วยงานเอกชนและราชการ ทัง้ นี้การเขียนข้อความเพื่อ
ด้ร

ติดต่อกิจธุระอาจหมายรวมถึงการเขียนบันทึกย่อเรื่อง ซึ่งเป็ นการจดสาระสาคัญ ของเรื่อ ง


ไม่ไ

รวมทัง้ สรุปย่อเรื่องสาคัญเพื่อ นาเสนอผู้ท่ตี ้องพิจารณา และอีกประเภทหนึ่งคือการบัน ทึก


รายงาน หรือการเขียนรายงานเกี่ยวกับเรืองที่ได้รบั มอบหมายให้ไปปฏิบตั ิ ติดตาม และมา


ร่โด

น าเสนอต่ อ ผู้ บัง คับ บัญ ชา (อรอุ ร า มุ ส ิก สาร, 2559, หน้ า 132-133) ส าหรับ ในเอกสาร
แพ

ประกอบการสอนนี้จะกล่ าวถึงการเขียนข้อ ความขนาดสัน้ หรือโน้ ตย่อ เพื่อเป็ นแนวทางให้


เผย

นักศึกษาได้ใช้เมื่อเวลาทีจ่ ะต้องเขียนถึงอาจารย์หรือผูใ้ หญ่ในกรณีทอ่ี าจารย์ หรือผูใ้ หญ่ไม่ได้


รือ

อยู่ในสถานทีแ่ ห่งนัน้ และนักศึกษาจาเป็ นต้องเขียนบันทึกข้อความเพือ่ บอกเล่าเหตุหรือความ


ยห

จาเป็ นทีต่ อ้ งเข้าพบ


น่า
์จําห

การเขียนข้อความขนาดสัน้
ิมพ

การเขียนข้อความขนาดสัน้ หรือทีเ่ รียกว่าโน้ตย่อเป็ นการเขียนข้อความเพื่อสื่อสารไป


มพ

ยังผู้รบั สาร โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อ แจ้งความประสงค์ท่ผี ู้ส่งสารต้องการมาพบผู้รบั สารด้ว ย


ห้า

จุดประสงค์อะไร เช่น ปรึกษา รับคาชี้แนะ ติดต่อกิจธุระอื่น ๆ ทัง้ นี้การเขียนข้อความเพื่อ


ติดต่อดังกล่าวอาจเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าการเขียนบันทึกในการติดต่อปฏิบตั งิ านและในราชการ
เพราะหมายรวมถึงบันทึกของนักศึกษาถึงอาจารย์ผสู้ อนด้วย (สถาบันภาษาไทย, 2561, หน้า

56 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

122) นอกจากนี้ความหมายในเชิงการเขียนบันทึกข้อความ จะเป็ นการเขียนข้อความสัน้ ๆ


เพื่อแจ้งข่าวสาร ติดต่องานแบบกึ่งทางการหรือไม่เป็ นทางการก็ได้ และอาจจะมีรูปแบบการ
เขียนที่กาหนดหรือไม่กาหนดรูปแบบการเขียนก็ได้ (นวภรณ์ อุ่นเรือน, 2560, หน้า 220) ใน
เอกสารนี้จะใช้ว่าการเขียนข้อความขนาดสัน้ แทนการเขียนบันทึกในการติดต่อปฏิบตั งิ านและ
ในราชการตามในหนังสือบรรทัดฐานภาษาไทย เล่ม 5 กระบวนการคิดและการเขียนร้อยแก้ว

ัย
ยาล
ได้นิยามไว้ เนื่องจากการเขียนข้อความขนาดสัน้ อาจจะไม่ได้หมายถึงนักศึกษาเขียนข้อความ

วิท
ถึงอาจารย์เท่านัน้ แต่อาจจะหมายถึงการเขียนข้อความขนาดสัน้ เพือ่ สาหรับติดต่อกิจอื่นด้วย

หา
ลัก ษณะของภาษาที่ใ ช้ในการเขียนข้อความขนาดสัน้ จะเป็ นข้อความที่ส นั ้ กระชับ

างม
กะทัดรัด สามารถสื่อ สารถึง ความต้อ งการของผู้ส่งสารมายังผู้ร ับสารอย่ า งตรงไปตรงมา

ากท
นอกจากนี้ควรใช้ถ้อยคาที่สุภาพ ระดับภาษามาตรฐาน เหมาะสมกับสถานะผู้ท่รี บั ข้อความ
ด้วย ตัวอย่างการเขียนข้อความขนาดสัน้ มีดงั นี้

า ตจ
นุญ
การเขียนข้อความขนาดสัน้ ถึงอาจารย์
ับอ
เรียน อาจารย์สหะโรจน์
ด้ร
ไม่ไ

ดิฉันนางสาวมีนา มานี รหัสนักศึกษา 6511122233 นักศึกษาสาขาวิชาภาษาไทย


คณะมนุษยศาสตร์ จะมาขอพบอาจารย์เพื่อปรึกษาวิชาวรรณกรรมปั จจุบนั ในวันจันทร์ท่จี ะ

ร่โด

ถึงนี้ตามเวลาทีอ่ าจารย์กาหนดไว้ให้นกั ศึกษาเข้าพบ


แพ

ขอแสดงความเคารพเป็ นอย่างสูง
เผย

นางสาวมีนา มานี
รือ
ยห
น่า

การเขียนข้อความบันทึกทางโทรศัพท์
์จําห

ถึง จุ๊บแจง
ิมพ
มพ

มีเจ้าหน้าทีจ่ ากสานักทะเบียนฯ โทรมาหา บอกว่าพุธนี้ให้จุ๊บแจงเข้าไปทีส่ านักทะเบียน


ฯ รับเอกสารทีข่ อไว้ดว้ ย เพราะว่าได้แล้ว พอดีจุ๊บแจงไม่อยู่ พีเ่ ลยจดข้อความไว้ให้
ห้า

จากพีจ่ บิ๊ จิบ๊

RAM 1103 57

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ปั จจุบนั นี้แม้การติดต่อสื่อสารจะมีความรวดเร็วฉับไวมากยิง่ ขึน้ เนื่องจากการสื่อสารได้


ก้าวข้ามสู่โลกที่ไร้พรมแดนของการสื่อสาร ซึ่งการสื่อสารในปั จจุบนั จะต้องตอบสนองความ
ทัน สมัย เพื่อ ให้ส อดคล้อ งกับ วิถีก ารด าเนิ น ชีว ิต ของผู้ค นในสัง คมไทย ดัง ที่มี ก ารสื่อ สาร
ออนไลน์เกิดขึน้ ในโลกการสือ่ สาร เช่น การเขียนจดหมายไปรษณียอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ การสนทนา
ผ่านทางแอฟพลิเคชันไลน์ หากแต่การสื่อสารแบบออนไลน์ก็ต้องอาศัยอุปกรณ์บางประเภท

ัย
ยาล
เพื่อเชื่อมโยงให้เข้าถึงกันและกันได้ ถ้าอุปกรณ์บางประเภทชารุด เสียหายหรือมีสภาพไม่

วิท
พร้อมใช้งาน เช่น ไฟดับ พลังงานสารองหมด การสื่อสารออนไลน์ก็จะไม่สมั ฤทธิผล ์ แต่การ

หา
เขียนด้วยข้อความลงในกระดาษนัน้ ยังคงอยู่ ดังนัน้ ความรูเ้ กีย่ วกับเรื่องของการเขียนจดหมาย

างม
จึงยังมีความสาคัญในปั จจุบนั

ากท
การเขียนจดหมาย

ตจ
จดหมายคือช่องทางการสื่อสารอย่างหนึ่งที่มมี าช้านานแล้ ว ในสมัยอดีตนัน้ เรามีการ

นุญ
สื่อสารอยู่ไม่ก่ปี ระเภท เช่น จดหมาย โทรเลข โทรศัพท์ (บ้าน) หรือโทรศัพท์สาธารณะ ต่อมา
ับอ
จึง มีก ารสื่อ สารผ่ า นเครื่อ งมือ การสื่อ สารที่เ รีย กว่ า โฟนลิง ค์แ ละแพคลิง ค์ และขยายมาสู่
ด้ร

โทรศัพท์เคลื่อนที่ การสื่อสารในแต่ละระบบนัน้ มีจุดมุ่งหมายอย่างเดี ยวกันคือต้องการให้ผู้รบั


ไม่ไ

สารเข้าใจ รับรูแ้ ละปฏิบตั ติ ามสารทีผ่ สู้ ่งสารได้สง่ มา อย่างไรก็ตามแม้การสื่อสารในปั จจุบนั จะ


มีก ารเปลี่ยนแปลงตามยุค โลกาภิว ตั น์ หรือ ยุค ที่การสื่อ สารไร้พรมแดน แต่การสื่อ สารบาง


ร่โด

ประเภทอาจจะยังต้องมีอยู่เพราะบางครัง้ การสื่อสารที่มคี วามทันสมัย ก็อาจเกิดอุปสรรคการ


แพ

สือ่ สารขึน้ ได้ระหว่างทาการสือ่ สาร เช่น การส่งจดหมายไปรษณียอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ ถ้าไฟดับหรือ


เผย

ไฟสารองหมด ผูส้ ง่ อยู่ในจุดอับสัญญาณ


รือ

การเขีย นจดหมายสามารถแบ่ ง ออกเป็ น จดหมายเพื่อ กิจ ธุ ร ะ จดหมายสมัค รงาน


ยห

จดหมายราชการ ในเอกสารนี้จะพูดถึงจดหมาย 2 ประเภทคือจดหมายเพื่อกิจธุระ จดหมาย


น่า

สมัครงานเพือ่ ให้สอดคล้องการนาไปใช้ในชีวติ ประจาวันต่อไปได้


์จําห
ิมพ

จดหมายเพื่อกิ จธุระ
มพ

อรอุรา มุสกิ สาร (2559, หน้า 123) กล่าวถึงการเขียนจดหมายเพื่อกิจธุระว่ามีอยู่ 2


ห้า

รูปแบบ คือ จดหมายกิจธุ ระแบบเต็มรูปแบบ ได้แก่ จดหมายที่มีรูปแบบตามหนังสือ ของ


ราชการภายนอก โดยมีการดัดแปลงรายละเอียดให้สอดคล้องกับหน่ วยงาน รวมทัง้ มีการใช้

58 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ภาษาในระดับแบบแผน ส่วนจดหมายเพือ่ กิจธุระอีกแบบหนึ่งคือจดหมายกิจธุระไม่เต็มรูปแบบ


มีลกั ษณะคล้ายกับจดหมายส่วนตัว มีการใช้ภาษากึง่ แบบแผนหรือแบบแผน
จดหมายกิจธุระแบบเต็มรูปแบบมักเป็ นจดหมายในการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้เขียน
จดหมายกับ บุ ค คล ห้า งหุ้น ส่ว น ร้า นค้า หรือ องค์ก ร เนื้ อ หาของจดหมายจะประกอบด้ว ย
จุดประสงค์ในการติดต่อ เช่น นักศึกษาอาจจะขอลาอาจารย์ท่ปี รึกษาหรืออาจารย์ประจาวิชา

ัย
ยาล
เพื่อไปทาธุระกับครอบครัว โดยนักศึก ษาจะต้องแจ้งถึงเหตุผลทีต่ อ้ งลากิจ วันและเวลาทีล่ ากิจ

วิท
ตลอดจนวันและเวลาทีน่ ักศึกษาจะกลับมาเข้าเรียนปกติ หรือถ้าเป็ นจดหมายในการติดต่อซื้อ

หา
สิน ค้า หรือ ขอทราบรายละเอีย ดของสิน ค้า ที่เ ราต้อ งการกับ ร้า นค้า ก็มีล ัก ษณะคล้า ยกับ

างม
จดหมายลากิจประการหนึ่งคือแจ้งจุดประสงค์ในการเขียนจดหมาย โดยผูเ้ ขียนจดหมายจะต้อง

ากท
แสดงความประสงค์ว่าต้องการติดต่อกับร้านค้าเพื่อต้องการสินค้าหรืออยากทราบรายละเอียด
ของสินค้าชนิดใด รายละเอียดอื่น ๆ ที่จาเป็ น เช่น ลักษณะสินค้า จานวนสินค้า ชนิดและ

ตจ
ประเภท บางครัง้ ผู้ส งซื
ั ่ ้อ สินค้าอาจได้เ ห็นสินค้าผ่ านทางเว็บไซต์ของร้า นค้า แต่ต้อ งการ

นุญ
สอบถามข้อมูลเพิม่ เติมก็มี
ับอ
ด้ร

จดหมายสมัครงาน
ไม่ไ

ปั จจุบนั แม้การสมัครงานจะไม่ค่อยได้ใช้รูปแบบการติดต่อสารแบบจดหมายสมัครงาน

อีกต่อไปแล้ว เพราะยุคสมัยที่เปลี่ยนไปผู้สมัครงานสามารถกรอกแบบประวัตสิ ่วนบุคคลเพื่อ


ร่โด

สมัครงานผ่านระบบออนไลน์ หรือสงจดหมายสมัครงานผ่านทางไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์ได้


แพ

แต่กอ็ ย่าลืมว่าในการสมัครงานในระบบออนไลน์ อาจจะต้องมีจดหมายนาเพื่อเป็ นการแนะนา


เผย

ผู้ส มัค ร ขณะเดียวกันการสมัค รงานในระบบออนไลน์ นัน้ นักศึกษาอาจต้อ งพิมพ์จดหมาย


รือ

แนะนาตัวเองเพื่อแนบไปพร้อมกับใบสมัครหรือข้อมูล รายละเอียดส่ วนตัว การพิมพ์จดหมาย


ยห

สมัครงานก็ตอ้ งอาศัยการร่างจดหมายด้วย ซึง่ เป็ นจุดประสงค์หลักของการอธิบายหัวข้อนี้


น่า

จดหมายสมัครงานเป็ นเสมือนหน้าต่างบานแรกของผู้สมัครที่เข้ามาทักทายนายจ้าง
์จําห

เพราะการส่ ง จดหมายถึง นายจ้า งนั น่ ก็ แ สดงว่ า ผู้ส มัค รมีค วามสนใจในบริษัท ห้า งร้ า น
ิมพ

หน่ ว ยงาน องค์ก ร รวมทัง้ ต าแหน่ งหน้ า ที่ ๆ เปิ ดรับสมัค ร และผู้เ ขียนจดหมายก็มีค วาม
มพ

ประสงค์ท่จี ะร่วมงานกับทางนายจ้างแล้วนัน่ เอง นอกจากนี้โสภณ สาทรสัมฤทธิผ์ ล (2564,


ห้า

หน้า 120) ได้กล่าวไว้ว่า “จดหมายสมัครงานมีลกั ษณะคล้ายการโฆษณา ดังนัน้ จึงต้องเขียนให้


น่ าสนใจและดึงดูดความสนใจจากนายจ้างหรือผู้รบั สมัครงานได้ ” ดังนัน้ การเขียนจดหมาย

RAM 1103 59

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

สมัครงานจึงเป็ นสิง่ จาเป็ นอย่างยิง่ สาหรับผูท้ ส่ี มัครงานครัง้ แรก ในบทเรียนนี้จงึ จะขอกล่าวถึง
ลักษณะและรูปแบบของจดหมายสมัครงานดังนี้
ลักษณะของจดหมายสมัครงาน จะประกอบด้วยกระดาษสีขาวสะอาด ไม่มลี วดลายใด
ใดหรือ ไม่มีเ ส้น บรรทัด และไม่ใ ช้ก ระดาษที่มีต ราหน่ ว ยงาน องค์กรด้ว ย ปกติเ วลาเขีย น
จดหมายสมัค รงานนั ้น ส่ ว นใหญ่ ม ัก จะเป็ นการพิม พ์ ผ่ า นโปรแกรม ไมโครซอฟต์ เวิร์ ด

ัย
ยาล
(Microsoft Word) อยู่แล้ว ดังนัน้ จึงไม่น่าจะมีปัญหาในการพิมพ์ แต่มขี อ้ ควรระวังคืออย่าใช้

วิท
ตัวอักษรทีม่ ลี กั ษณะสะดุดตามากเกินไป ควรใช้ตวั อักษรและขนาดทีไ่ ด้รบั ความนิยม ยกเว้น

หา
แต่บางหน่ วยงานหรือองค์กรให้ผสู้ มัครงานเขียนจดหมายด้วยลายมือ ถ้าเป็ นเช่นนัน้ ผู้สมัคร

างม
ต้องเขียนด้วยลายมือทีบ่ รรจง ไม่มรี อยขีดฆ่า ระมัดระวังเรื่องการสะกดคา รวมไปถึงการสะกด

ากท
ชื่อนายจ้างหรือผูร้ บั สมัครงาน ชื่อองค์กร หน่วยงานให้ถูกต้อง ต้องท่องจาไว้ว่าจดหมายสมัคร
งานคือหน้าต่างบานแรกทีผ่ สู้ มัครงานจะได้สร้างความประทับใจให้กบั นายจ้างหรือผู้รบั สมัคร

ตจ
การใช้ภาษาและการสะกดคาจึงนับว่าเป็ นสิง่ ทีเ่ ป็ นข้อควรพึงระวัง

นุญ
รูปแบบของจดหมายสมัครงานมีอยู่ 2 รูปแบบ ดังที่คณะกรรมการวิชาภาษาไทยเพื่อ
ับอ
การสื่อสาร ฝ่ ายวิชาบูรณาการ หมวดวิชาศึกษาทัวไป ่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2560, หน้า
ด้ร

224) กล่าวว่า “จดหมายสมัครงานแบบรวมประวัตสิ ่วนตัว เป็ นจดหมายทีเ่ ขียนประวัตสิ ่วนตัว


ไม่ไ

(Resume) รวมไว้ในจดหมายสมัครงาน (Application Letter)” รูปแบบของจดหมายนี้เหมาะกับ


ผูส้ มัครทีย่ งั ไม่มปี ระสบการณ์การทางาน กับอีกรูปแบบหนึ่งคือ “จดหมายสมัครงานแบบแยก


ร่โด

ประวัตสิ ว่ นตัว เป็นจดหมายสมัครงานทีม่ ปี ระวัตสิ ว่ นตัว (Resume) แนบไปพร้อมกับจดหมาย


แพ

นา (Covering Letter)” รูปแบบของจดหมายนี้เหมาะกับผู้สมัครที่มปี ระสบการณ์การทางาน


เผย

แล้ว
รือ

ด้านเนื้อหาในจดหมายสมัครงาน ส่วนใหญ่แล้วจะเป็ นการกล่าวถึงการทราบข่าวการ


ยห

รับสมัคร รายละเอียดเกี่ยวกับผูส้ มัคร เช่น ชื่อ นามสกุล สถานภาพ การศึกษา ประสบการณ์


น่า

การฝึ กงาน ความสามารถพิเศษ ถ้าเป็ นเพศชายควรระบุด้วยว่าได้ผ่านการเกณฑ์ทหารมา


์จําห

เรียบร้อย ความเห็นของบุคคลที่จะรับรองความประพฤติของผู้สมัคร เช่น อาจารย์ท่ปี รึกษา


ิมพ

อดีตนายจ้าง นอกเหนือจากนี้อาจจะเป็ นเนื้อความทีเ่ กีย่ วกับความสนใจของผูส้ มัครว่าทาไมจึง


มพ

สนใจในตาแหน่งทีเ่ ปิ ดรับสมัคร มีความรูแ้ ละประสบการณ์ทเ่ี กีย่ วข้องกับตาแหน่งทีส่ มัครด้วย


ห้า

หรือไม่อย่างไร ข้อทีน่ ่าสังเกตในการเขียนจดหมายสมัครงานคือผูส้ มัครจะต้องให้ความสาคัญ


ต่อหน่วยงานหรือองค์กรทีส่ มัครด้วย เพราะนันแสดงว่ ่ าผูส้ มัครมีความสนใจทีอ่ ยากจะร่วมงาน
ซึ่งการแสดงคุ ณ ลัก ษณะดังกล่ าวจะสนับสนุ นให้น ายจ้างหรือ ผู้รบั สมัค รให้ค วามสนใจต่ อ

60 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ผู้สมัคร การเขียนเนื้อหาจะต้องมีการใช้ภาษาที่สุภาพ มีการใช้สรรพนามในจดหมายว่าผม


กระผม ดิฉัน ส่วนนายจ้างหรือผู้รบั สมัครให้ใช้คาแทนว่าท่าน บริษทั หน่วยงาน องค์กรนัน้ ๆ
แทน
ข้อควรระวังของการเขียนจดหมายสมัครงาน ผูส้ มัครอย่าใช้ภาษาในลักษณะทีโ่ ฆษณา
ชวนเชื่อหรือกล่าวเกินความเป็ นจริง ตลอดจนอวดอ้างคุณสมบัตขิ องตนเอง ดังเช่น “ถ้าบริษทั

ัย
ยาล
...ไม่รบั ผมเข้าทางาน ท่านจะต้องมีความเสียใจอย่างสุดซึ้ง ” หรือ “ผมมีความสามารถในการ

วิท
ทางานทีไ่ ด้รบั มอบหมายเสร็จทันในเวลา 20 นาที” การกล่าวเกินความจริง แม้จะดูเหมือนว่า

หา
เป็ นการแสดงถึงความกระตือรือร้นและความปรารถนาที่จะให้นายจ้างหรือผู้รบั สมัครเห็นถึง

างม
ความตัง้ ใจ แต่ภาษาที่ใช้ก็ส่อื ให้เห็นถึงการชี้นาให้บริษทั หน่ วยงาน องค์กรจะต้องเชื่อตาม

ากท
ถ้อยคาทีผ่ สู้ มัครเขียนมาซึ่งอาจทาให้เกิดภาพลบต่อผูส้ มัครงานได้อย่างทันที อีกทัง้ อย่าเขียน
ข้อความมาในลักษณะการขอความเห็นใจอันเนื่องมาจากปั ญหาส่วนตัว อย่ากล่าวถึงความไม่ดี

ตจ
ของอดีตหัวหน้าและสถานทีท่ างานเก่า เพราะเราอาจไม่ทราบวาทัง้ ทีท่ างานใหม่และทีท่ างาน

นุญ
เก่าอาจรู้จกั สนิทสนมกันหรือไม่ รวมไปถึงถ้ามีการระบุเงินเดือนในจดหมายสมัครงานก็ควร
ับอ
ศึกษาถึงอัตราและขัน้ เงินเดือนทีค่ วรได้รบั ให้เหมาะสม
ด้ร
ย ไม่ไ
ร่โด
แพ
เผย
รือ
ยห
น่า
์จําห
ิมพ
มพ
ห้า

RAM 1103 61

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

การเขียนประวัติย่อ
ประวัตยิ ่อหรือในภาษาอังกฤษเรียกว่า Resume ในการรับรูท้ วไปมั ั ่ กเข้าใจว่าเป็ นการ
เขียนอธิบายบอกเล่าถึงประวัติและผลงานที่ผู้เขียนประวัติเคยมีประสบการณ์เกี่ยวกับ การ
ทางานมาก่ อ น การเขียนประวัติย่อเป็ นวิธีการนาเสนอความเป็ นตัวตนในอีกลักษณะหนึ่ง
เพือ่ ให้ผวู้ ่าจ้างได้รจู้ กั ล่วงหน้าก่อนทีจ่ ะมีการเรียกสัมภาษณ์อ ย่างเป็ นทางการต่อไป

ัย
ยาล
แต่โดยความเป็ นจริงการเขีย นประวัติย่อ เป็ นการเขีย นแนะน าตัว เองเพื่อ น าไปใช้

วิท
ประโยชน์ในชีวติ ประจาวันทัว่ ๆ ไป ทัง้ การสมัครงาน การสมัครขอทุนหรือการสมัครแข่งขัน

หา
ในทักษะต่าง ๆ (อรอุรา มุสกิ สาร, 2559, หน้า 178) รวมทัง้ อาจจะหมายรวมถึงการสมัครเรียน

างม
ต่อด้วยก็ได้ ดังนัน้ การเขียนประวัติย่อ จึงไม่ได้หมายถึงแต่การแนะนาตัวเองเพือใช้ใ นการ

ากท
สมัครงานเท่านัน้ หากแต่ยงั รวมไปถึงการแนะนาตัวเองต่อกิจกรรมต่าง ๆ ทีจ่ ะต้องมีการบอก
เล่าความเป็ นตัวตนแก่ผทู้ เ่ี ราจะต้องแนะนาให้รจู้ กั ตัวตนของเราได้ทราบ

า ตจ
นุญ
ลักษณะของประวัติย่อ
ับอ
การเขียนประวัตยิ ่อคือการเปิ ดเผยประวัตสิ ่วนตัวให้กบั บุคคลหรือหน่วยงานทีเ่ จ้าของ
ด้ร

ประวัติย่อ ต้อ งมีส่ว นสัมพันธ์ ดังนัน้ ลักษณะของการเขียนประวัติย่อ จึงต้อ งมีค วามชัดเจน


ไม่ไ

ข้อ ความสัน้ กระชับ ไม่ ก ล่ า วถึง คุ ณ สมบัติเ กิน ความสามารถของตนเอง และควรบอกถึง


ความสามารถพิเศษที่ผเู้ ขียนประวัตยิ ่อมีความถนัดด้วย ทัง้ นี้อาจจะไม่เกี่ยวข้องกับหน้าทีก่ าร


ร่โด

งานหรือตาแหน่ งที่ผู้เขียนประวัตยิ ่อจะต้องนาเสนอให้ผู้ท่ตี ้องอ่านประวัตยิ ่อของตนเองก็ได้


แพ

เช่น นายสมคิดมาสมัครงานเป็ นพนักงานทีบ่ ริษทั แห่งหนึ่ง นายสมคิดกล่าวไว้ในประวัตยิ ่อว่า


เผย

มีความสามารถพิเศษคือสามารถเล่นดนตรีได้ทุกชนิด ทัง้ นี้ความสามารถในการเล่นดนตรีทุก


รือ

ชนิดของนายสนุกอาจไม่เกี่ยวข้องตาแหน่งพนักงานบริษทั ทีส่ มัคร แต่อาจเป็ นความภาคภูมใิ จ


ยห

ของนายสนุกทีต่ อ้ งการกล่าวถึงความสามารถพิเศษทีต่ นเองมี


น่า
์จําห

องค์ประกอบของประวัติย่อ
ิมพ

ในการเขียนประวัตยิ ่อให้ดนี นั ้ จะต้องมีองค์ประกอบของประวัตยิ ่อทีส่ าคัญคือ


มพ

1. ข้ อ มู ล ส่ ว นตัว ที่ จ าเป็ น ผู้เ ขีย นประวัติย่ อ จะต้อ งให้ร ายละเอีย ดเกี่ย วกับ ชื่อ
ห้า

นามสกุล วันเดือนปี เกิด เชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา รายละเอียดเกี่ยวกับสถานทีส่ ะดวกในการ


ติดต่อกลับ ไปรษณียอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ (E-Mail) หมายเลขโทรศัพท์ ไอดีไลน์ (Line)

RAM 1103 63

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

2.ประวัติการศึ กษา การเขีย นประวัติก ารศึก ษาต้อ งดูใ ห้เ หมาะสมกับ กิจ กรรมที่
ผูเ้ ขียนประวัตยิ ่อมีความเกี่ยวข้อง เช่น นายนึกคิดสมัครเข้าทางานในตาแหน่งช่างเครื่อง นาย
นึก คิดจะต้อ งเขียนประวัติก ารศึก ษาว่าสาเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูง หรืออาจรวมถึงระดับอุดมศึกษาถ้านายนึกคิดสาเร็จการศึกษาใน
ระดับดังกล่าว ทัง้ นี้ไม่จาเป็ นต้องกล่าวถึงการศึกษาตัง้ แต่ระดับชัน้ ประถมศึกษา มัธยมศึกษา

ัย
ยาล
3.ประสบการณ์ ก ารท างาน ประสบการณ์ ก ารท างานหรือ ประสบการณ์ ก ารท า

วิท
กิจกรรมเป็ นส่วนหนึ่งของประวัตยิ ่อทีจ่ ะสามารถนาเสนอให้เห็นถึงภาพลักษณ์การทางานหรือ

หา
การเป็ นนักกิจกรรมของผูเ้ ขียนประวัตยิ ่อได้ ทัง้ นี้ผทู้ ม่ี ปี ระสบการณ์การทางานมาก่อนเมื่อมา

างม
สมัค รงานในต าแหน่ งที่เ ปิ ด รับสมัค ร มีการเขียนเล่ า ประวัติก ารท างานอาจทาให้นายจ้า ง

ากท
พิจารณาเป็ นพิเศษ แต่บางครัง้ การทางานหลายแห่งก็อาจเป็ นข้อเสียของผูเ้ ขียนประวัตยิ ่อได้
แม้ว่าจะต้องเปลีย่ นแปลงสถานทีท่ างานเพราะมีเหตุมาจากยังไม่ได้รบั การบรรจุ หรืออาจเป็ น

ตจ
งานช่วงเวลาสัน้ ๆ ดังนัน้ จึงควรเขียนถึงการทางานเฉพาะทีส่ าคัญ ๆ เท่านัน้

นุญ
4.ประสบการณ์ การทากิ จกรรม การมีประสบการณ์การทากิจกรรมก็ทาให้ผู้เขียน
ับอ
ประวัตยิ ่อได้มโี อกาสแสดงถึงความมีศกั ยภาพของตนเองสมัยเรียน ย่อมทาให้ผมู้ สี ่วนร่วมใน
ด้ร

การพิจารณาประวัตยิ ่ออาจให้ความสาคัญในลาดับแรก เนื่องมาจากการเป็ นนักกิจกรรมหรือ


ไม่ไ

การทากิจกรรมเป็ นการฝึกให้ผเู้ ขียนประวัตยิ ่อมีโอกาสทีจ่ ะเรียนรูก้ ารทางานร่วมกับผูอ้ ่นื การ


มีมิต รไมตรีต ลอดจนการมีมนุ ษ ยสัมพันธ์ เหล่ านี้ทาให้ผู้พิจารณาประวัติย่อ ได้รู้จกั ตัว ตน


ร่โด

เจ้าของประวัตยิ ่อได้มากขึน้ อีกทางหนึ่ง


แพ

5.งานอดิ เรก ผูเ้ ขียนประวัตยิ ่ออาจมีความรูค้ วามสามารถและความถนัดทางด้านอื่น


เผย

นอกเหนือจากความรู้ทางวิชาชีพ งานอดิเรกในที่น้ีอาจเป็ นกิจกรรมที่ผู้เขียนประวัตยิ ่อ สนใจ


รือ

และสามารถทาได้ดี เช่น นางสาวพุดซ้อนเป็ นอาจารย์สอนวิชาภาษาไทยประจาทีโ่ รงเรียนแห่ง


ยห

หนึ่ง มีงานอดิเรกคือสะสมแสตมป์ ทีห่ ายาก


น่า

6.รางวัล รางวัลคือสิง่ ทีส่ นับสนุนให้เห็นถึงศักยภาพของผูเ้ ขียนประวัตยิ ่อว่านอกจาก


์จําห

ผูเ้ ขียนประวัตยิ ่อจะมีความรูท้ างสายวิชาการหรือวิชาชีพแล้ว การได้รบั รางวัลจากการแข่งขัน


ิมพ

หรือการประกวดก็เป็ นเครื่องหมายรับรองว่าผูเ้ ขียนประวัตยิ ่อมีคุณสมบัตมิ คี วามโดดเด่น และ


มพ

มีความสามารถพิเศษ ควรที่ผู้พจิ ารณาจะส่งเสริมหรือพิจารณาให้การสนับสนุ นด้านใดด้าน


ห้า

หนึ่งต่อไป

64 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคาแหงที่ให้ไว้เกี่ยวกับความหมายของคาว่าดุษฎีนิพนธ์
วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระว่า

เป็ น รายงานการศึก ษาวิจ ัย ภายใต้ ค าแนะน าของอาจารย์ท่ีป รึก ษา


นับเป็ นเอกสารทางวิชาการทีเ่ ขียนขึ้นจากการศึกษาในเรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่าง

ัย
ยาล
ละเอียดกว้างขวางและลึกซึ้งเป็ นไปอย่างมีระบบตามระเบียบวิธีวจิ ยั และมี

วิท
คุ ณ ภาพสูง ทัง้ ทางด้า นข้อ มูล ข้อ เท็จ จริง เนื้ อ หา การใช้ภ าษา และการ

หา
นาเสนอ

างม
(สันทนา สุธาดารัตน์ บ.ก., 2561 หน้า 1)

ากท
แต่สาหรับรายงานนัน้ แม้จะมีความหมายคล้ายกันกับวิทยานิพนธ์ ดังทีน่ วภรณ์ อุ่นเรือน

ตจ
(2560, หน้า 305) ได้สรุปสาระสาคัญของการเขียนรายงานวิชาการไว้ว่า “รายงานวิชาการเป็ น

นุญ
ผลจากการศึก ษาค้นคว้าเรือ่ งใดเรือ่ งหนึ ง่ อย่ างมีร ะบบและมีหลัก ฐานอ้างอิง ” หากความ
ับอ
แตกต่างน่าจะอยู่ตรงทีร่ ายงานวิชาการในระดับทีผ่ เู้ รียนต้องเรียบเรียงนัน้ เป็ นส่วนประกอบใน
ด้ร

วิชาทีน่ กั ศึกษาลงทะเบียนเรียน และเป็ นการศึกษาทีเ่ ปิ ดกว้างให้นักศึกษาสามารถเลือกศึกษา


ไม่ไ

ได้อย่างอิสระ โดยอาจจะมาขอคาแนะนาปรึกษาจากอาจารย์ผู้สอนในรายวิชา หัวข้อที่เลือก


ศึกษาไม่จาเป็ นต้องมีความลึกซึ้งเกินไป ยกเว้นเสียแต่ถ้าเป็ นรายงานก่อนสาเร็จการศึกษา


ร่โด

ระดับ ปริญ ญาบัณ ฑิต ที่เ ราเรีย กว่ า ภาคนิ พ นธ์ ห รือ สารนิ พ นธ์ ก็จ ะต้อ งมีแ นวทางปฏิบัติ
แพ

เหมือนกับการทาวิทยานิพนธ์
เผย

ในเอกสารนี้จะกล่ าวถึงรายละเอียดเกี่ยวกับการเขียนรายงานวิชาการเพื่อประกอบ
รือ

การศึกษาในการเรียนของนักศึกษา เพือ่ ให้นกั ศึกษามีแนวทางและความรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกับ


ยห

การทารายงานในขัน้ สูง นันก็


่ คอื ภาคนิพนธ์หรือสารนิพนธ์ และวิทยานิพนธ์ต่อไป
น่า
์จําห

องค์ประกอบของรายงานเพื่อประกอบการศึกษา
ิมพ

ในการเขียนรายงานเพื่อ ประกอบการศึกษานัน้ จะมีองค์ประกอบอยู่ทงั ้ หมด 3 ส่วน


มพ

ได้แก่ ส่วนนา ส่วนเนื้อเรื่อง ส่วนสรุป บางตาราก็ใช้ว่าส่วนประกอบตอนต้น ส่วนประกอบเนื้อ


ห้า

เรื่องและส่วนประกอบตอนท้าย (นวภรณ์ อุ่นเรือน, 2560, หน้า 307) ทัง้ นี้ในเอกสารนี้จะใช้ทงั ้


สองแบบ เพือ่ ให้นกั ศึกษาได้เข้าใจอย่างชัดเจนมากขึน้

66 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

1. ส่วนนาหรือส่วนประกอบตอนต้น จะประกอบด้วย
1.1 ปกนอก จะประกอบด้วยชื่อหัวข้อรายงาน รายชื่อผูจ้ ดั ทาหรือคณะผูจ้ ดั ทาในกรณี
ที่ได้รบั มอบหมายการทารายงานเป็ นกลุ่ม รายชื่อวิชาที่รายงานฉบับนี้เป็ นส่วนหนึ่งของวิชา
ดังกล่าว คณะและมหาวิทยาลัยที่ผู้จดั ทารายงานได้สงั กัด ภาคการศึกษา ปี การศึกษา ส่วน
ใหญ่มกั จะปรากฏเป็ นข้อความทีว่ ่า “รายงานนี้เป็ นส่วนหนึง่ ของวิชาวรรณกรรมปั จจุบนั คณะ

ัย
ยาล
มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง ภาคการศึกษาที ่ 2 ปีการศึกษา 2565” เป็ นต้น

วิท
1.2 ใบรองปก เป็ นกระดาษเปล่าหน้าว่าง ถัดจากปกนอกเข้ามา ไม่ตอ้ งมีลวดลายหรือ

หา
สีสนั แต่งแต้ม หรือมีขอ้ ความใดใดปรากฏ

างม
1.3 คานา คือส่วนที่ผู้จดั ทาหรือคณะผู้จดั ทาจะกล่าวถึงวัตถุประสงค์ของการจัดทา

ากท
รายงาน และคาขอบคุณอาจารย์ประจาวิชาหรือผู้มสี ่ว นเกี่ยวข้องที่ทาให้รายงานสาเร็จไป
ด้วยดี

ตจ
1.4 สารบัญ คือการบอกรายละเอียดของเนื้อหาทัง้ หมดในรายงานที่จดั ทา โดยจะมี

นุญ
การเรียงลาดับตามหัวข้อใหญ่และหัวข้อเล็กหรือหัวข้อย่อย เพือ่ ให้รายละเอียด หรือในบางครัง้
ับอ
อาจไม่ตอ้ งมีหวั ข้อเล็กหรือหัวข้อย่อยก็ได้ แต่ตอ้ งมีหมายเลขหน้ากากับอยู่ทุกหัวข้อ เพือ่ บอก
ด้ร

ว่าแต่ละหัวข้ออยู่ในหน้าใด ทัง้ นี้ไม่ตอ้ งมีหวั ข้อเล็กหรือหัวข้อย่อยมากเกินไป แต่ตอ้ งให้หวั ข้อ


ไม่ไ

แต่ ล ะหัว ข้อ มีค วามสัม พัน ธ์ก ัน เพื่อ ให้เ นื้ อ เรื่อ งของรายงานต่ อ เนื่ อ ง ไม่ ส ลับ วกไปวนมา

(คณาจารย์ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549,


ร่โด

หน้ า 7) ขณะเดีย วกัน ถ้ า เป็ นรายงานที่มีข นาดสัน้ อาจไม่ ต้ อ งมีห น้ า สารบัญ บอกก็ ไ ด้
แพ

(คณาจารย์ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2551, หน้า 229)


เผย

เนื่องจากอาจจะเป็ นการให้รายละเอียดที่มากเกินไป นอกจากนี้การจัดทารายงาน ปกติจะมี


รือ

เพียงหน้าสารบัญบอกหัวข้อและประเด็นของรายงาน แต่ในรายงานบางเล่มอาจมีการแทรก
ยห

ตาราง แผนภูมเิ พื่อประกอบหรือเสริมความชัดเจนของเนื้อเรื่องรายงาน ก็ อาจจะต้องมีหน้า


น่า

สารบัญเพิม่ ขึน้ เราจะกาหนดคาเรียกหน้าสารบัญเหล่านี้ว่าสารบัญตาราง สารบัญแผนภูมิ


์จําห

2 ส่วนเนื้ อเรื่องหรือส่วนประกอบเนื้ อเรื่อง ประกอบด้วย


ิมพ

2.1 บทนา คือส่วนนาของการจัดทารายงาน ซึง่ มักจะกล่าวถึงความเป็ นของการจัดทา


มพ

รายงานหัวข้อหรือประเด็นทีท่ า บทนาจะมีขนาดความยาวไม่เกิน 1-2 หน้า ไม่ควรมากกว่านัน้


ห้า

เพราะเป็ น รายงานไม่ ใ ช่ ภาคนิพ นธ์ห รือ สารนิ พ นธ์ท่ีต้อ งมีร ายละเอียดหรือ ขัน้ ตอนที่เ กิน
ขอบเขตความหมายของคาว่ารายงาน มีลลี าการเขียนที่กระชับ ชัดเจน บอกกล่าวถึงหัวข้อ
ประเด็นทีผ่ จู้ ดั ทาสนใจและจะเรียบเรียงเป็ นรายงานตรงไปตรงมา

RAM 1103 67

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

2.2 เนื้อเรื่อง คือรายละเอียดทีเ่ กิดจากการศึกษาค้นคว้าของผู้จดั ทาหรือคณะผู้จดั ทา


โดยมีก ารเรียบเรียงเป็ นหัวข้อตามโครงเรื่อ งที่วางไว้ และมีการอ้า งอิงตามระบบที่ถูกต้อง
ปั จจุบนั ระบบการอ้างอิงมักจะใช้ระบบ APA ในการเรียบเรียงเนื้อเรื่องของรายงานนัน้ ผู้จดั ทา
จะต้องเข้าใจหัวข้อหรือประเด็นที่จะทา หลังจากนัน้ จึงมีการวางโครงเรื่องของรายงานเป็ น
หัวข้อ ๆ โดยจะต้องมีเอกภาพและสัมพันธภาพ มีความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันและสอดคล้อง

ัย
ยาล
กัน

วิท
2.3 สรุป คือส่วนตอนท้ายของรายงาน เป็ นการกล่าวสรุปถึงผลของการศึกษาค้นคว้า

หา
และเรียบเรียงเป็ นรายงานว่าสิง่ ทีผ่ ู้จดั ทาหรือคณะผู้จดั ทาค้นคว้าและเรียบเรียงมา ได้ความรู้

างม
และคาตอบจากการศึกษาค้นคว้าอย่างไรบ้าง ส่วนใหญ่นอกจากจะสรุปผลแล้วจะต้องมีการ

ากท
อภิปรายผลและข้อเสนอแนะให้ผู้จดั ทารายงานท่านอื่นสนใจ จะได้ศึกษาตามข้อเสนอแนะ
ต่อไป

ตจ
3. ส่วนสรุปหรือส่วนประกอบตอนท้ าย คือ ส่ว นท้ายของรายงานที่จดั ทา มักจะมี

นุญ
องค์ประกอบย่อย 3 หัวข้อ คือบรรณานุ กรม ภาคผนวกและดัชนี บรรณานุ กรมคือรายการ
ับอ
หนังสือตลอดจนข้อมูลออนไลน์ท่ผี ู้จดั ทาได้ไปค้นคว้าเพือมาเป็ นข้อมูลในการจัดทารายงาน
ด้ร

ภาคผนวกคือ รายละเอีย ดเพิ่ม เติม ที่ผู้ จ ัด ท าต้ อ งการเสริม ความรู้ ห รือ เสริม ข้อ มู ล ที่อ ยู่
ไม่ไ

นอกเหนือจากในรายงานจะกล่าวถึงครอบคลุมได้ และดัชนีคอื การรวบรวมคาสาคัญหรือคาที่


ใช้บ่อย ๆ ในรายงานใส่ไว้ในตอนท้ายของรายงานเพือ่ ผูส้ นใจจะสนใจคาใดคาหนึ่ง สามารถไป


ร่โด

อ่านทบทวนอีกครัง้ ในรายงาน
แพ
เผย

กระบวนการทารายงานเพื่อประกอบการศึกษา
รือ

หลังจากที่รู้จกั ลักษณะและรูปแบบของรายงานเพื่อประกอบการศึกษาแล้ว รายงานจะ


ยห

สาเร็จเป็ นรูปเล่มดังข้างต้นนัน้ จะต้องมีกระบวนการในการจัดทา นับตัง้ การเลือกหัวข้อเรื่อง


น่า

การเขียนโครงเรื่องรายงาน การเขียนรายการอ้างอิงและบรรณานุกรม
์จําห
ิมพ

1. การเลือกหัวข้อเรื่อง
มพ

หัวข้อเรื่องหรือประเด็นในการศึกษาคือหัวใจสาคัญของการจัดทารายงาน กล่าวคือถ้ า
ห้า

นักศึกษาไม่มหี วั ข้อเรื่องหรือประเด็นในการศึกษา นักศึกษาก็จะไม่สามารถทีจ่ ะไปสืบค้นข้อมูล


เพื่อนามาอ่านและเรียบเรียงเป็ นโครงเรื่องของการทารายงานต่อไปได้ หัวข้อเรื่องนัน้ เกิดมา
จากความสงสัย ความสนใจของนักศึกษาที่มตี ่อเรื่องราว เหตุการณ์ บางขณะหัวข้อเรื่องนัน้

68 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

อาจจะเกิดมาจากการอ่านมาก รูม้ าก จึงทาให้นกั ศึกษามีประเด็นหรือมีขอ้ สงสัยใคร่อยากจะได้


คาตอบ ประสิทธิ ์ กาพย์กลอนและคณะ (2557, หน้า 3) ได้กล่าวไว้ว่าเราสามารถเลือกหัวข้อ
เรื่องได้จากหลายทิศทาง เช่น การฟั ง การสังเกต การคิดและประสบการณ์ตรง แต่ประสิทธิ ์
กาพย์กลอนและคณะก็ส รุ ปไว้ว่ าหัว ข้อ เรื่อ งส่ว นใหญ่ ม ัก จะมาจากการอ่า นหนังสือ ต่ าง ๆ
เช่นกัน อย่างไรก็ดกี ารอ่านหนังสือเพื่อให้ได้หวั ข้อเรื่องหรือประเด็น รวมไปถึงการตัดสินใจว่า

ัย
ยาล
จะอ่ า นหนั ง สือ เล่ ม นี้ ต่ อ ไปอีก ดีห รือ ไม่ นั น้ อาจจะต้ อ งอาศัย องค์ก ารอ่ า นโดยส ารวจจาก

วิท
โครงสร้างของหนังสือเพื่อกระตุ้นความสนใจด้วย คือ สารวจหน้าชื่อเรื่องและคานาของหนังสือ

หา
สารวจสารบัญ สารวจดัชนี สารวจคาชมที่ใ บหุ้มปกหนังสือ อ่านบทที่เป็ นหัวใจสาคัญ ของ

างม
หนังสือ และเปิ ดอ่านบางหน้าและอ่านสรุปหน้าท้ายเพือ่ เข้าใจสาระสาคัญ (ปรีชา ช้างขวัญยืน,

ากท
2525, หน้า 76-77)
การเลือกหัวข้อเรื่องจะต้องพิจารณาให้เหมาะสมกับขนาดความยาวของจานวนหน้ า

ตจ
รายงานด้วย ดังทีก่ ล่าวไปแล้วว่าการจัดทารายงานควรมีความยาวประมาณ 15-20 หน้า พิมพ์

นุญ
ในกระดาษสีขาวไม่มเี ส้นหรือเขียนด้วยลายมืออ่านง่ายในกระดาษรายงาน การกาหนดจานวน
ับอ
หน้าของรายงานมีผลต่อการเลือกหัวข้อเรื่อง ถ้าหัวข้อเรื่องกว้างก็อาจจะจัดทาได้ไม่เสร็จตาม
ด้ร

เวลา เช่น ตัวอย่างหัวข้อเรื่อง “เที่ยวประเทศไทย” “เที่ยวภาคเหนือ” และ “เที่ยวเชียงใหม่”


ไม่ไ

หรือตัวอย่างหัวข้อ “ขนมไทย” “ขนมสมัยอยุธยา” “ขนมทีท่ าจากไข่” ทัง้ สองตัวอย่าง จะสังเกต


ได้ ว่ า หัว ข้ อ ท้ า ยสุ ด น่ า จะเหมาะสมกั บ การจัด ท ารายงานขนาด 15-20 หน้ า พร้ อ มมี
ร่โด

ภาพประกอบ ถ้าเป็ นสองหัวข้อแรกอาจจะจัดทารายงานเกิน 15-20 หน้าขึน้ ไปอย่างแน่ นอน


แพ

เพราะหัวข้อเรื่องกว้างเกินไป
เผย
รือ

2. การเขียนโครงเรื่องรายงาน
ยห

โครงเรื่องคือการเขียนรายการความคิดหรือใจความสาคัญของเรื่องอย่างเป็ นระบบ ต้อง


น่า

พิจารณาว่าจะกล่าวถึงเนื้อหาและประเด็นอะไรบ้าง มีการเรียงลาดับรายการความคิดก่อนและ
์จําห

หลังให้มีเ อกภาพ สัมพันธภาพและสารัต ถภาพ โครงเรื่อ งจึงเป็ นกรอบความคิด ที่จ ะช่ ว ย


ิมพ

กาหนดทิศทางของรายงานให้เป็ นไปตามจุดมุ่งหมายที่เราวางไว้ในตอนต้นว่าจะศึกษาอะไร
มพ

และได้ประโยชน์อะไรจากการศึกษา สายใจ ทองเนียม (2560, หน้า 182) ได้กล่าวถึงการเขียน


ห้า

โครงเรื่องทีด่ จี ะต้องมีหวั ข้อทีจ่ าเป็ นและครอบคลุมชื่อเรื่อง ทุกหัวข้อต้องมีความสอดคล้องเป็ น


เอกภาพและสัมพันธ์กนั สามารถหาข้อเท็จจริงมาอ้างอิงได้และเป็ นประโยชน์นาไปใช้ได้

RAM 1103 69

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

โครงเรื่องจะต้องประกอบด้วยหัวข้อใหญ่ หัวข้อรอง หัวข้อย่อย มีการใช้คาหรือข้อความ


สัน้ ๆ กาหนดเป็ นประเด็นนาเสนอ และใช้ระบบตัวเลขในการเรียงลาดับหัวข้อ (คณาจารย์
ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549, หน้า 6) ใน
ตาราบางเล่มกล่าวว่านอกจากตัวเลขแล้วยังสามารถใช้ตวั เลขสลับกับตัวอักษรได้ แต่มขี อ้ ควร
ระวังคือถ้าใช้รูปแบบใดแล้วต้องใช้รูปแบบนัน้ ตลอดทัง้ โครงเรื่อง อย่าใช้ปะปนกัน (ประสิทธิ ์

ัย
ยาล
กาพย์กลอนและคณะ, 2557, หน้า 41) ลักษณะการเขียนโครงเรื่องนัน้ ถ้าเป็ นหัวข้อใหญ่จะอยู่

วิท
ชิดติดริมขอบ หัวข้อรองก็จะต้องเขียนย่อหน้าเข้ามาเว้าเข้ามาทางขวามือ และถ้ามีหวั ข้อย่อย

หา
ก็จะต้องย่อหน้าเข้ามาอีก อย่าให้ตรงกับหัวข้อรอง และการเขียนคาหรือข้อความกากับหัวข้อก็

างม
ต้องเว้าเข้ามาทางขวามือ
ตัวอย่างการเขียนโครงเรื่อง

ากท
ตัวละครชายในวรรณคดีไทยสมัยรัตนโกสิ นทร์

ตจ
1. บทนา

นุญ
2. ความหมายและความสาคัญของตัวละครชาย
ับอ
2.1 ความหมายของตัวละครชาย
ด้ร

2.1.1 บทบาทสมมติ
ไม่ไ

2.1.2 ภาพจินตนาการ

2.2 ความสาคัญของตัวละครชาย
ร่โด

2.2.1 ผูม้ บี ทบาทสาคัญ


แพ

2.2.2 ผูด้ าเนินเรื่อง


เผย

3. ตัวละครชายในวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์
รือ

3.1 ขุนแผน
ยห

3.2 พระอภัยมณี
น่า

3.3 อิเหนา
์จําห

3.4 ไกรทอง
ิมพ

3.5 ระเด่นลันได
มพ

3.6 คาวี
ห้า

3.7 พระสังข์
3.8 พระเวสสันดร
4. สรุป

70 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ข้อควรระวังการเขียนโครงเรื่อ งคือไม่ควรแบ่งหัว ข้อย่อ ยมากเกินไป เพราะจะทาให้


ประเด็นหลักทีจ่ ะศึกษาไม่ชดั เจน รวมทัง้ หลักในการเขียนโครงเรื่องหัวข้อย่อย จะมีหวั ข้อย่อย
เท่าไหร่ก็ตามจะต้องขยายหัวข้อรอง และหัวข้อรองจะมีก่หี วั ข้อรองก็จะต้องสนับสนุ นหัวข้อ
เรื่องหรือประเด็นทีท่ ารายงาน กล่าวได้ว่าโครงเรื่องทัง้ โครงเรื่องจะต้องสัมพันธ์กนั และมีความ
สอดคล้องกัน

ัย
ยาล
วิท
การเขียนรายการอ้างอิ งและบรรณานุกรม

หา
รายการอ้างอิงคือข้อมูล รายละเอียดเกีย่ วกับสิง่ ทีผ่ จู้ ดั ทารายงานไปสืบค้น ค้นคว้าเพือ่

างม
มาประกอบการอ้างความน่ าเชื่อถือหรืออ้างหลักฐานเพื่อสนับสนุ นการวิเคราะห์ในรายงาน

ากท
รายการอ้างอิงมีทงั ้ ข้อมูลที่เป็ นปฐมภูมแิ ละทุตยิ ภูมิ ข้อมูลที่เป็ นปฐมภูมิ เช่น จารึก ใบลาน
สมุ ด ไทย ใบจุ้ ม ใบบอก ข้อ มู ล ที่เ ป็ นทุ ติย ภู มิ เช่ น หนั ง สือ สื่อ วีดิท ัศ น์ เว็บ ไซต์ แถบ

ตจ
บันทึกเสียง เป็ นต้น

นุญ
การเขียนรายการอ้างอิงมีอยู่หลายวิธี เช่น การอ้างอิงแบบเชิงอรรถ การอ้างอิงแบบ
ับอ
ระบบนาม-ปี การอ้างอิงแบบเชิงอรรถเป็ นการเขียนรายการอ้างอิงทีม่ คี วามละเอียดเพราะต้อง
ด้ร

ระบุพมิ พลักษณ์ท่คี รบถ้วน เช่น ชื่อนามสกุลผู้แต่ง ชื่อหนังสือ (ชื่อหนั งสือจะทาสัญลักษณ์


ไม่ไ

พิเศษ เช่น ตัวเอน ตัวทึบหรือขีดเส้นใต้ก็ได้) เมืองที่พมิ พ์หรือสถานที่พมิ พ์ สานักพิมพ์ ปี ท่ี


พิมพ์ หน้าที่อ้างอิง แต่ไม่ต้องใส่รายละเอียดพิเศษของหนังสือเล่มดังกล่าวไว้ท้ายการอ้างอิง


ร่โด

แต่ควรนาไปใส่ไว้ในหน้าบรรณานุ กรม รายละเอียดพิเศษของหนังสือ คือเป็ นหนังสือจัดพิมพ์


แพ

ขึน้ เฉพาะกิจ หรือพิมพ์ในโอกาสต่าง ๆ เช่น งานมงคล งานเกษียณอายุราชการ งานอวมงคล


เผย

เป็ นต้น
รือ
ยห

ตัวอย่างการเขียนรายการอ้างอิ งแบบเชิ งอรรถ


น่า

สหะโรจน์ กิตติมหาเจริญ. สยาม เยนเติลแมน. กรุงเทพฯ : มติชน, 2563, หน้า 4.


์จําห
ิมพ

การอ้างอิงแบบระบบนาม-ปี คือการอ้างอิงทีม่ รี ายละเอียดเพียงชื่อนามสกุลผูแ้ ต่ง ตาม


มพ

ด้วยจุลภาค ระบุปี พ.ศ.ทีพ่ มิ พ์หนังสือ และหมายเลขหน้าเท่านัน้ โดยข้อความทัง้ หมดจะต้อง


ห้า

อยู่ในวงเล็บ

RAM 1103 71

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ตัวอย่างการเขียนรายการอ้างอิ งแบบระบบนาม-ปี แบบที่ 1 แบบทัวไป



(สหะโรจน์ กิตติมหาเจริญ, 2563 : 4)

ตัวอย่างการเขียนรายการอ้างอิ งแบบระบบนาม-ปี แบบที่ 2


แบบมหาวิ ทยาลัยรามคาแหง

ัย
ยาล
(สหะโรจน์ กิตติมหาเจริญ, 2563, หน้า 4)

วิท
หา
ตัวอย่างการเขียนรายการอ้างอิ งแบบระบบนาม-ปี แบบที่ 3

างม
สหะโรจน์ กิต ติม หาเจริญ (2563 : 4) ได้ก ล่ า วถึง ความหมายสุ ภ าพบุ รุ ษ ไว้ว่ า “ค าว่ า

ากท
‘สุภาพบุรุษ’ ก็คอื ความเป็ นชาย (Masculinity) รูปแบบหนึ่งทีส่ งั คมประกอบสร้างขึน้ และรับรู้
ในฐานะความเป็ นชายแบบใหม่ทพ่ี ยายามรือ้ ถอนความเป็ นชายแบบชายเป็ นใหญ่”

า ตจ
นุญ
การเขียนรายการอ้างอิงแบบทีไ่ ด้รบั ความนิยมมากทีส่ ุดก็คอื การเขียนอ้างอิงแบบระบบ
ับอ
นาม-ปี เนื่องจากมีความสะดวกในการใส่ขอ้ มูลอ้างอิง ไม่ต้องกังวลเกีย่ วกับการใส่รายละเอียด
ด้ร

บางประการให้มคี วามยุ่งยาก
ย ไม่ไ
ร่โด

การเขียนบรรณานุกรม
แพ

การเขีย นบรรณานุ ก รมหรือ การเขีย นรายละเอีย ดเกี่ย วกับ ทรัพ ยากรสารสนเทศที่


เผย

เกี่ยวข้องกับการศึกษาค้นคว้าในรายงานของเรา ส่วนใหญ่จะเป็ นรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับ


หนัง สือ งานวิจ ัย บทความวิจ ัย บทความวิช าการ วิท ยานิ พ นธ์ หรือ สารสนเทศอื่น เช่ น
รือ
ยห

เว็บไซต์ วีดทิ ศั น์ ทัง้ นี้การเขียนบรรณานุกรมถ้าข้อมูลมีทงั ้ ทีเ่ ป็ นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ


น่า

ก็ใ ห้เ ริ่มที่รายการข้อ มูล ของภาษาไทยก่อนแล้ว ตามด้วยรายการข้อ มูล ภาษาอังกฤษ โดย


์จําห

จะต้อ งมีก ารเรีย งล าดับ ตามพยัญ ชนะและสระ คล้า ยคลึง กับ การเรีย งค าในพจนานุ ก รม
รายละเอียดของการเขียนบรรณานุกรม จะบอกสาระสาคัญของหนังสือเล่มนัน้ ๆ ได้แก่ ชื่อผู้
ิมพ

แต่ ง ปี ที่พ ิม พ์ ชื่อ เรื่อ ง เมือ งที่พ ิม พ์ ห รือ สถานที่พ ิม พ์ ส านั ก พิม พ์ บา งครัง้ การเขี ย น
มพ

บรรณานุ กรมก็อ าจเขียนปี ท่พี ิมพ์อ ยู่หลังสานักพิมพ์ก็ได้ และถ้าหนังสือเล่มนัน้ มีการพิมพ์


ห้า

มากกว่าหนึ่งครัง้ เป็ นต้นไป ก็จะต้องใส่รายละเอียดเกีย่ วกับจานวนครัง้ ทีต่ พี มิ พ์ดว้ ย โดยจะอยู่


หลังปี ทพ่ี มิ พ์ ตัวอย่างเช่น

72 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

สหะโรจน์ กิต ติมหาเจริญ . (2564). วรรณกรรมปั จจุบัน (S). พิมพ์ค รัง้ ที่ 3. กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคาแหง.

ในกรณี ท่ีห นั ง สือ เล่ ม นั ้น เป็ นหนั ง สือ รวมบทความ จะมีก ารเขีย นรายละเอีย ดเกี่ย วกับ
บรรณานุกรมดังนี้

ัย
ยาล
สหะโรจน์ กิตติมหาเจริญ. (2556). “นางยี่เกชาย สิง่ ชารุดในยุครัฐนิยม : เรื่องเล่าชีวติ นาง

วิท
ยีเ่ กชายผ่านวรรณกรรม.” ใน นฤพนธ์ ด้วงวิเศษและปี เตอร์ เอ.แจ็คสัน , บรรณาธิการ. เพศ

หา
หลากเฉดสี : พหุวฒ ั นธรรมทางเพศในสังคมไทย, 152-175. กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยา

างม
สิรนิ ธร (องค์การมหาชน).

ากท
บทความทีล่ งพิมพ์ในวารสารวิชาการ จะมีการเขียนรายละเอียดเกีย่ วกับบรรณานุกรมดังนี้

ตจ
สหะโรจน์ กิตติมหาเจริญ. 2564. “ศัตรูท่มี องไม่เห็น พ.ศ.2480-2488 : ความเจ็บป่ วยของ

นุญ
ประชาชนในวรรณกรรมไทย.” วารสารมนุ ษ ยศาสตร์ ฉบับบัณฑิต ศึกษา มหาวิทยาลัย
ับอ
รามคาแหง ปี ท่ี 10, ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม) : 114-131.
ด้ร
ไม่ไ

บทความวิจารณ์หนังสือลงพิมพ์ในวารสาร จะมีการเขียนรายละเอียดเกี่ยวกับบรรณานุ กรม


ดังนี้
ร่โด

สหะโรจน์ กิตติมหาเจริญ. 2561. วิจารณ์เรื่อง คนในนิทาน, โดย กร ศิรวิ ฒ


ั โณ. ภาษาและ
แพ

หนังสือ 49 : 99-124.
เผย
รือ

วิทยานิพนธ์ จะมีการเขียนรายละเอียดเกีย่ วกับบรรณานุกรมดังนี้


ยห

สหะโรจน์ กิตติมหาเจริญ. 2545. “แนวคิดเรื่องปั ญญาในอรรถกถาชาดก.” วิทยานิพนธ์


น่า
์จําห

ปริญญามหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.


ิมพ

ในเอกสารนี้ขอกล่าวถึงตัวอย่างการเขียนบรรณานุ กรมพอสังเขปเพื่อให้เป็ นแนวใน


มพ

การศึกษา ซึ่งความจริงแล้วยังมีรายละเอียดอื่นอีกมากเกี่ยวกับการเขียนบรรณานุกรม เพราะ


ห้า

ยังมีขอ้ มูลเกี่ยวกับการสืบค้นสารสนเทศอื่น ๆ ทีป่ ั จจุบนั มีการนามาใช้เป็ นข้อมูลในการสืบค้น


โดยเฉพาะข้อมูลออนไลน์ เป็ นต้น

RAM 1103 73

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

บรรณานุกรมบทที่ 3
คณาจารย์ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2549).
การค้นคว้าและการเขียนรายงาน. พิมพ์ครัง้ ที่ 7. กรุงเทพฯ : โครงการเผยแพร่ผลงาน
ทางวิชาการคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
คณาจารย์ภาควิชาภาษาไทย คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (2543). การใช้

ัย
ยาล
ภาษาไทย 1. พิมพ์ครัง้ ที่ 4. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วิท
คณาจารย์ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. (2551). ภาษากับการ

หา
สือ่ สาร. พิมพ์ครัง้ ที่ 3. กรุงเทพฯ : บริษทั พี.เพรส.

างม
คณาจารย์ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. (2558). ภาษาไทย

ากท
เพือ่ การสือ่ สาร. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. นครปฐม : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร.
คู่มอื การจัดทาดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์และการศึกษาอิสระ. (2561). กรุงเทพฯ :

ตจ
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคาแหง.

นุญ
นวภรณ์ อุ่นเรือน. (2560). ภาษาไทยเพือ่ สือ่ สารในงานอาชีพ. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชัน.่
ับอ
ประสิทธิ ์ กาพย์กลอนและคณะ. (2561). การเตรียมเพือ่ การพูดและการเขียน. พิมพ์ครัง้ ที่ 6.
ด้ร

กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคาแหง.
ไม่ไ

ปรีชา ช้างขวัญยืน. (2525). ศิลปะการฟั ง การอ่าน. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์วชิ าการ.


ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554. พิมพ์ครัง้ ที่ 2.


ร่โด

กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน.
แพ

สถาบันภาษาไทย. (2561). บรรทัดฐานภาษาไทย เล่ม 5 : กระบวนการคิดและการเขียนร้อย


เผย

แก้ว. กรุงเทพฯ : สถาบันภาษาไทย สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงาน


รือ

คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ


ยห

สายใจ ทองเนียม. (2560). ภาษาไทยเพือ่ การสือ่ สาร. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชัน.่


น่า

โสภณ สาทรสัมฤทธิผล. ์ (2564). ภาษาไทยเพือ่ การสือ่ สาร. พิมพ์ครัง้ ที่ 6. กรุงเทพฯ :


์จําห

ทริปเพิล้ เอ็ดดูเคชัน.่
ิมพ

อรอุรา มุสกิ สาร. (2559). ภาษาไทยพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชัน.่


มพ
ห้า

74 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ปั จจุบนั บางคาเป็ นส่วนหนึ่งของคาประสม บางคาเลิกใช้ บางคาไม่ปรากฏในภาษากลาง แต่


ไปปรากฏในภาษาถิน่ เป็ นต้น
ภาษาไทยสมัยอยุธยา อาจกาหนดอายุได้ตงั ้ แต่สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีท่ี 1 จนถึง
สมัยพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยู่หวั ลัก ษณะสาคัญของภาษาไทยในช่วงเวลานี้ มัก
ปรากฏคายืมจากภาษาบาลี สันสกฤต และเขมรเป็ นอย่างมาก

ัย
ยาล
ภาษาไทยสมัยรัตนโกสินทร์ กาหนดอายุได้ตงั ้ แต่สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า

วิท
เจ้าอยู่หวั ซึ่งภาษาไทยในช่วงเวลาดังกล่าวเริม่ ปรากฏคายืมจากภาษาตะวันตก เนืองจาก

หา
ในช่วงเวลานัน้ อารยธรรมตะวันตกได้เข้ามามีอทิ ธิพลต่อสังคมและวัฒนธรรมไทย ในปั จจุบนั

างม
คายืมจากภาษาตะวันตกโดยเฉพาะภาษาอังกฤษใช้ในการสือ่ สารในวงกว้าง หากไม่เข้าใจก็ทา

ากท
ให้การสื่อสารเป็ นไปได้ยากลาบาก สะท้อนให้เห็นถึงปฏิสมั พันธ์ระหว่างสังคมและวัฒนธรรม
ไทยกับสังคมและวัฒนธรรมอื่น ๆ

า ตจ
นุญ
ลักษณะสาคัญของภาษาไทย
ับอ
เนื่องจากภาษาไทยมาตรฐานในปั จจุบนั เป็ นภาษาทีพ่ ฒ
ั นามาอย่างต่อเนื่องจนเกือบที่
ด้ร

ขีดสุด โดยคนไทยได้สร้างคาศัพท์ข้นึ มามากมายเพือการสื่อสารในแขนงต่าง ๆ เช่น คาศัพท์


ไม่ไ

ทางวิชาการ กฎหมาย เศรษฐกิจ สังคม การศึกษา เป็ นต้น ทัง้ นี้ ปั จจัยด้านทีต่ งั ้ ของประเทศ

ไทยยังมีผลต่อการติดต่อกับชนชาติอ่นื ๆ ได้สะดวก จึงปรากฏคายืมจากภาษาอื่น ๆ เป็ น


ร่โด

จานวนมาก เช่น บาลี-สันสกฤต เขมร จีน อังกฤษ


แพ

ลักษณะสาคัญของภาษาไทยสามารถพิจารณาเป็ นประเด็นต่าง ๆ ได้ ดังนี้ (ธวัช ปุณ


เผย

โณทก, 2553, หน้า 3-10)


รือ
ยห

1. คาภาษาไทยเป็ นคาโดด
น่า

ลัก ษณะดัง กล่ า วเป็ นลัก ษณะของการออกเสีย งพยางค์ เ ดีย วแล้ ว ค าเหล่ า นั ้น มี
์จําห

ความหมาย สือ่ สารเข้าใจได้ เช่น ล้ม ลุก คลุก คลาน ฯลฯ อย่างไรก็ตาม ภาษาพูดของไทยใน
ิมพ

ปั จจุบนั หลายคามีมากกว่าพยางค์เดียว แสดงให้เห็นว่าอาจเป็ นคายืมจากภาษาอื่น ๆ ส่วนคา


มพ

ไทยดัง้ เดิมนัน้ พิจารณาจากคาพืน้ ฐาน โดยนักภาษาศาสตร์กาหนดคาพืน้ ฐานไว้ดงั นี้


ห้า

1) คาทีใ่ ช้เรียกเครือญาติ เช่น พ่อ แม่ พี่ น้อง ลุง ป้ า น้า อา ปู่ ย่า ตา ยาย ส่วนคาว่า
น้องสาว น้องชาย ลูกสาว ลูกสะใภ้ ลูกเขย จัดเป็ นคาประสม ถือเปนวิธกี ารสร้างคา เพื่อเพิม่

76 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

คาศัพท์ตามหลักไวยากรณ์ของภาษาคาโดด ซึ่งคาทีใ่ ช้เรียกชื่อเครือญาติน้ี ภาษาไทยถิน่ ต่าง


ๆ ก็ใช้คาตรงกับภาษาไทยมาตรฐาน ทัง้ ภาษาถิ่นใต้ ถิน่ เหนือ ถิน่ อีสาน รวมทัง้ ภาษาไทย
นอกประเทศ เช่น ไทยใหญ่ ไทยเขิน ไทยยอง ไทยลือ้ เป็ นต้น
2) คาทีใ่ ช้เรียกจานวนนับ เช่น หนึ่ง สอง สาม...สิบ ร้อย พัน หมื่น แสน ล้าน กือ (ร้อย

ัย
ล้านในคาถิน่ เหนือ, อีสาน) ตื้อ (พันล้านในคาถิน่ เหนือ, อีสาน) ติว่ (หมื่นล้านในคาถิน่ อีสาน)

ยาล
นอกจากนี้ ในภาษาไทยถิน่ เหนือ อีสาน และภาษาลาว ยังเรียกลาดับลูกชายว่า อ้าย ยี่ สาม

วิท
หา
ไส งัว่ ลก... และเรียกลาดับลูกสาวว่า เอย อี่ อาม ไอ่ อัว้ อก...เป็ นต้น

างม
3) คาที่ใช้เป็ นสรรพนามในการสื่อสารระหว่างบุคคล คาที่ใช้แทนตัวผู้พูด ผู้ฟัง และ

ากท
บุคคลที่ 3 ในภาษาไทยมาตรฐานและภาษาไทยถิน่ อื่น ๆ รวมทัง้ ภาษาไทยนอกประเทศจะใช้
สรรพนามคล้ายกัน คาเหล่านี้เป็ นคาพยางค์เดียว หรือหากเป็ นคา 2-3 พยางค์ ก็เป็ นการ

า ตจ
ประสมคา เช่น อ้าย อี กู มึง ตู สู เจ้า ข้าเจ้า เป็ นต้น ส่วนคาสรรพนามในภาษาไทยมาตรฐาน
นุญ
ได้พฒ ั นาจนมีคาสรรพนามมากขึน้ โดยนาคาโดดมาประสมกัน แสดงถึงความนอบน้อม ความ
ับอ
ด้ร

เคารพ เช่น ข้าพระพุทธเจ้า กระผม กระหม่อม ใต้เท้า ฯลฯ


ไม่ไ

4) คาที่ใช้เป็ นกริยาสามัญ คือคากริย าทัวไปที่ใช้พูด มักเป็ นคาโดด หากเป็ นภาษา


เขียนหรือภาษาราชการ มักใช้คายืมจากภาษาบาลี-สันสกฤตเพื่อให้เกิดความสละสลวยมาก
ร่โด

ขึน้ คากริยาสามัญนี้จะใช้ตรงกับคาภาษาถิน่ อื่น ๆ แต่อาจออกเสียงเพีย้ นไปบ้างตามลักษณะ


แพ
เผย

ทัวไปของภาษาถิ
่ น่
รือ

5) คาที่ใช้เรียกชือธรรมชาติทวไปั ่ คาเรียกชื่อธรรมชาติในภาษาไทยทัง้ ภาษาไทย


ยห

มาตรฐานและภาษาไทยถิน่ มักเป็ นคาพยางค์เดียว ส่วนใหญ่ใช้คาทีเ่ หมือนกัน แต่ออกเสียง


น่า

เพีย้ นกันไปบ้างตามลักษณะทัวไปของภาษาถิ
่ น่
์จําห
ิมพ

2. ภาษาไทยไม่เ ปลี่ยนแปลงรูปค าเพื่อบอกเพศ พจน์ กาล การก วาจกเมื่อ อยู่ใน


มพ

ประโยค
ห้า

ลักษณะดังกล่าวถือเป็ นลักษณะสาคัญของภาษาคาโดด (เช่นเดียวกับภาษาจีน) ส่วน


ภาษาบาลี-สันสกฤตและภาษาอังกฤษ ต้องเปลีย่ นแปลงรูปคาเพื่อแสดงเพศ พจน์ กาล การก
วาจก เมื่ออยู่ในประโยค ทัง้ นี้ กลุ่มภาษาที่มวี ภิ ตั ปั จจัยดังกล่าวต้องเปลี่ยนแปลงคาศัพท์ให้

RAM 1103 77

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ตรงกับหน้าทีท่ ่จี ะอยู่ในประโยคนัน้ ๆ ส่ วนคากริยาของไทย เมื่ออยู่ในประโยคไม่ต้องเปลี่ยน


รูปเพือ่ บอกกาล ว่าเป็ นปั จจุบนั อดีต หรืออนาคต แต่เราสามารถใช้คาอื่น ๆ มาช่วยเพือ่ แสดง
กาลได้ เช่น เพิง่ วิง่ เสร็จ กาลังจะไปวิง่
การบอกพจน์ในภาษาไทย ไม่เปลีย่ นแปลงรูปคาเพือ่ บอกจานวนเหมือนภาษาอังกฤษ

ัย
แต่จะมีคาช่วยอื่น ๆ มาประกอบคานามว่ามีจานวนมาก เช่น ช้างสองเชือก ช้างหลายโขลง

ยาล
กระทิงฝูงใหญ่ ฯลฯ และเมื่อ เป็ นประธานของประโยคก็ไ ม่จ าเป็ นต้อ งเปลี่ย นรูปค าทัง้ ทัง้

วิท
หา
ประธานและกริยาของประโยคเพือ่ แสดงว่าเป็ นพหูพจน์หรือเอกพจน์อกี ด้วย

างม
ส่ว นการกและวาจก เป็ นการเปลี่ยนแปลงรูปค าที่เ ป็ น ประธานหรือ เป็ นกรรมของ

ากท
ประโยค ซึ่งต้องสัมพันธ์กบั คาที่ทาหน้าที่เป็ นกริยาของประโยคด้วย ซึ่งในภาษาไทยไม่ต้อง
เปลี่ยนแปลงรูปคาศัพท์ใด ๆ เพื่อบอกว่าคานี้เป็ นประธานหรือกรรม แต่ภาษาไทยจะใช้วธิ ี

า ตจ
เรียงค าในประโยคแทนการเปลี่ย นแปลงรูปศัพท์เ พื่อ บอกการกดังกล่ าว โดยรูปแบบขอ ง
นุญ
ประโยคในภาษาไทย ประธานจะวางไว้หน้าประโยค และอยู่หน้าคากริยาเสมอ และคาที่ทา
ับอ
ด้ร

หน้าที่เป็ นกรรมจะต้องวางอยู่หลังคากริยาเสมอ ยกเว้นบางประโยคที่ว างกลับกันระหว่ าง


ไม่ไ

ประธานและกรรมได้ หากคากริยานัน้ มีคาว่า “ถูก” มาประกอบเป็ นกริยานุเคราะห์


3. ภาษาไทยสร้างคาศัพท์ขน้ึ ใหม่โดยวิธปี ระสมคา


ร่โด

การสร้างคาศัพท์เพิม่ นัน้ มีสาเหตุจากความจาเป็ นทีต่ อ้ งมีคาเพิม่ เติมเมื่อสังคมมนุษย์มี


แพ
เผย

พัฒนาการในด้านต่าง ๆ การส้รางคาโดยวิธปี ระสมคา คือการนาคามูลทีใ่ ช้กนั ทัวไปมารวมกั ่ น


รือ

จนเกิดคาใหม่ มีความหมายใหม่ ส่วนใหญ่แล้วคามูลเหล่านัน้ จะแสดงลักษณะสัณฐานหรือ เค้า


ยห

ความหมายหรือความหมายโดยนัยของคาประสมที่เกิดขึ้นใหม่ มีความหมายใหม่ เช่น ลวด


น่า

หนาม ปื นพก ไม้หนีบ ช้อนแกง หอมแขก เสาอากาศ ฯลฯ


์จําห

อย่างไรก็ตาม คาศัพท์บญ ั ญัตจิ านวนมากไม่ใช้คาพื้นฐาน แต่มกั สร้างขึ้นใหม่จากผูร้ ู้


ิมพ

หรือผูเ้ ชีย่ วชาญที่นิยมใช้คาบาลี-สันสกฤตที่นามาใช้ในภาษาไทยอยู่ก่อนแล้วมาสร้างเป็ นคา


มพ

ใหม่ เ พื่อ ใช้เ รีย กชื่อ สิ่ง ประดิษ ฐ์ใ หม่ หรือ ศัพ ท์ท างวิช าการ เช่ น ญาณวิท ยา อภิป รัช ญา
ห้า

กลศาสตร์ ปฏิวตั ิ อธิการบดี อัตลักษณ์ วัฒนธรรม มโนทัศน์ คติชน อนามัย ฯลฯ ซึ่งค าที่
ยกตัวอย่างข้างต้น ไม่ใช่คาประสมตามระบบการสร้างคาแบบภาษาคาโดด เพราะคาที่นามา

78 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

รวมกันเป็ นคาภาษาบาลี-สันสกฤต และใช้ไวยากรณ์บาลี-สันสกฤต คือการสร้างคาโดยวิธี


สมาสและสนธิ ซึง่ ถือเป็ นการเปลีย่ นแปลงของภาษาไทยรูปแบบหนึ่ง
วิธกี ารสร้างคาใหม่ มีหลากหลายวิธี ดังนี้
1) ค าประสม คือ การนาค ามูล สองค าขึ้นไปมาประสมกันเพื่อ ให้เ กิดเป็ นค าใหม่ มี

ัย
ความหมายใหม่ คาประสมนี้เป็ นการสร้างคา และพัฒนาคาศัพท์ภาษาไทยมากทีส่ ุด เช่น แม่

ยาล
ซือ้ พริกหวาน เหล้าต๊อก บัวลอย รองเท้า ถุงมือ หาเรื่อง ฯลฯ

วิท
หา
2) คาซ้อน คือการนาคามูลมาประสมกัน เพียงแต่คามูลนัน้ มีความหมายใกล้เคียงหรือ

างม
เหมือนกัน จึงเรียกว่าคาซ้อน เมื่อนาคามูลที่มคี วามหมายใกล้เคียงหรือเหมือนกันมาประสม

ากท
กันแล้ว ต้องเกิดคาใหม่ท่มี คี วามหมายใหม่ จึงจะเป็ นการสร้างคาศัพท์ เช่น ตัดสิน ต้มตุ๋ น
ดูดดื่ม ขมขืน่ เย็นชา เยือกเย็น ถากถาง ฯลฯ

า ตจ
ทัง้ นี้ มีคาซ้อนอีกกลุ่มหนึ่งทีค่ วามหมายยังใกล้เคียงกับคามูลเดิม เพียงแต่เน้นให้หนัก
นุญ
แน่นขึน้ เช่น เร่าร้อน โยกย้าย ขัดแย้ง มืดมน เลวร้าย ดีงาม เลิศเลอ ชุกชุม ทิม่ แทง ฯลฯ
ับอ
ด้ร

3) คาคู่และคาซ้า คือการสร้างคาของภาษาไทยอีกแบบหนึ่ง เป็ นการเพิม่ คาศัพท์ใน


ไม่ไ

ภาษาไทย ซึ่งคาคู่น้ี หากอยู่อสิ ระโดด ๆ มักไม่คอยแสดงความหมาย แต่หากนามาคู่กนั ก็จะ


สื่อความหมายได้ เช่น โมเม จี๊ดจ๊าด วอแว กุ๊กกิ๊ก ยุบยับ อ้อแอ้ ฯลฯ ส่วนคาซ้า คือการซ้า
ร่โด

เสียงเพือ่ แสดงความเด่นขึน้ หรือบางครัง้ แสดงความหมายหย่อ นลง เช่น เบา ๆ เน้น ๆ เร็ว ๆ


แพ
เผย

มัว่ ๆ มึน ๆ ฯลฯ


รือ

4. ภาษาไทยใช้ระดับเสียงเปลีย่ นความหมายของคา
ยห

ภาษาตระกู ล อื่น ๆ เช่น ตระกูล อินโดยูโรเปี ยน จะไม่ใ ช้ว ิธีการเปลี่ยนระดับ เสีย ง


น่า

วรรณยุกต์เพื่อแปรความหมายของคาเหมือนภาษาไทยและภาษาจีน ซึ่งออกเสียงวรรณยุกต์
์จําห

เปลี่ย นไปความหมายจะเปลี่ย นทัน ที เช่ น กู กู่ กู้ ฉะนัน้ การเปลี่ย นเสีย งวรรณยุ ก ต์แ ล้ว
ิมพ

ความหมายเปลีย่ นนี้ จึงเป็ นลักษณะเด่นของภาษาไทย


มพ
ห้า

RAM 1103 79

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

พัฒนาการอักษรไทย
ก่อนกาเนิดอาณาจักรสุโขทัย กลุ่มคนไทยคงอยู่ตามบริเวณพื้นที่ต่าง ๆ ในประเทศ
ไทย โดยอยู่ปะปนกับกลุ่มชนชาติอ่นื ๆ เช่น มอญ เขมร ที่มอี ทิ ธิพลอยู่ในภูมภิ าคนี้ จนราว
พุทธศตวรรษที่ 16 กลุ่มคนไทยคงเริม่ มีความสาคัญ เพราะในภาพสลักนูนต่าที่ปราสาทนคร
วัด ปรากฏกองทัพสยามทีช่ ่วยกองทัพเขมรรบกับกองทัพจามปาด้วย

ัย
ยาล
เมื่อจักรวรรดิเขมรเริ่มเสื่อ มอ านาจลงในช่ วงพุทธศตวรรษที่ 18 กลุ่มคนไทยได้ต งั ้

วิท
บ้านเมืองขึน้ บริเวณพืน้ ทีต่ ่าง ๆ ของประเทศไทย กลุ่มบ้านเมืองเหล่านี้ ได้นาวัฒนธรรมมอญ

หา
และเขมรเข้ามาปรับใช้กบั วิถชี วี ติ ของตน รวมถึงอาณาจักรสุโขทัยที่นักวิชาการส่วนใหญ่เชื่อ

างม
ว่าอักษรไทยเกิดขึ้นครัง้ แรกในสมัยพ่อขุนรามคาแหง โดยสันนิษฐานกันว่าพ่อขุนรามคาแหง

ากท
นาเอาตัวอักษรมอญโบราณกับตัวอักษรขอมโบราณมาประยุกต์ร่วมกันจนเกิดเป็ นลายสือไทย
ลักษณะสาคัญของลายสือไทย มีดงั นี้ (จุไรรัตน์ ลักษณะศิร,ิ 2551, หน้า 85-87)

ตจ
1. พยัญชนะ พ่อขุนรามคาแหงทรงประดิษฐ์พยัญชนะไว้จานวน 39 ตัว ดังนี้

นุญ
ับอ
ด้ร
ย ไม่ไ
ร่โด
แพ
เผย
รือ
ยห
น่า
์จําห
ิมพ
มพ
ห้า

80 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

4. เครื่อ งหมาย เครื่อ งหมายที่พ บเป็ น เครื่อ งหมายแทนสระ มีจ านวน 2 รูป คือ
เครื่องหมายฝนทอง และเครื่องหมายนิคหิต ส่วนเครื่องหมายประกอบการเขียนพบ 2 รูปคือ
เครื่องหมายขึน้ ต้นข้อความ และเครื่องหมายคันข้ ่ อความ
5. ตัวเลข พบ 6 ตัว คือ 1 2 4 5 7 0 ไม่พบ 4 ตัว คือ 3 6 8 9
ในส่วนของอักขรวิธขี องลายสือไทย มีรายละเอียดดังนี้ (จุไรรัตน์ ลักษณะศิร,ิ 2551,

ัย
ยาล
หน้า 97-102)

วิท
1. พยัญ ชนะและสระวางอยู่บนบรรทัดเดียวกัน และมีขนาดเท่ากัน ต่างกับอักษร

หา
ต้น แบบคือ มอญโบราณและขอมโบราณที่ว างสระไว้ร อบพยัญ ชนะคือ ข้า งหน้ า ข้า งหลัง

างม
ข้างบน และข้างล่าง ฉะนัน้ สระของลายสือไทยจึงวางอยู่ขา้ งหน้าและข้างหลังพยัญชนะเท่านัน้

ากท
2. เนื่องจากพยัญชนะทุกตัวอยู่ในบรรทัดเดียวกัน จึงไม่ปรากฏพยัญชนะตัวเชิงและ
การเขียนพยัญชนะซ้อนแบบอักษรมอญโบราณและอักษรขอมโบราณ

ตจ
3. การใช้สระ แทบทัง้ หมดของสระในลายสือไทยคือสระจม โดยมีตาแหน่งการวางต่าง

นุญ
ๆ คือ
ับอ
- สระอิ อี อื อุ อู เอ แอ ใอ ไอ โอ วางไว้ขา้ งหน้าพยัญชนะ ซึง่ สระอืนนั ้ ไม่ปรากฏการ
ด้ร

เขียน อ เคียงตามรูปแบบปั จจุบนั


ไม่ไ

- สระอะ อา ออ อัว วางไว้ขา้ งหลังพยัญชนะ โดยสระอะปรากฏอยู่เพียงคาเดียวคือคา


ว่าพระ ส่วนสระอัว หากไม่มตี วั สะกด ใช้พยัญชนะ ว สองตัว ตัวหนึ่งเป็ นไม้หนั อากาศ อีกตัว
ร่โด

เป็ นตัวสะกด แต่หากมีตวั สะกด ใช้ ว ตัวเดียว


แพ

- สระอา วางไว้ได้ทงั ้ ข้างบนและข้างหลังพยัญชนะ


เผย

ส่วนสระลอยนัน้ มีเพียงตัวเดียวคือสระอี นอกจากนี้ ยังมีกฎเกณฑ์เกี่ยวกับสระเอีย


รือ

เอือ เออ ออ เอา อีกเล็กน้อย


ยห

4. การใช้พยัญชนะ
น่า

1) พยัญชนะต้นและสระเขียนชิดติดกัน
์จําห

2) ตัวสะกดเขียนแยกออกไปค่อนข้างชัดเจน
ิมพ

3) อักษรควบกล้า เส้นหลังของพยัญชนะตัวแรกกับเส้นหน้าของพยัญชนะตัว
มพ

ทีส่ องเขียนชิดติดกัน
ห้า

4) อักษรนา เส้นหลังของพยัญชนะตัวแรกกับเส้นหน้าของพยัญชนะตัวทีส่ อง
เขียนชิดติดกัน

82 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

5. การใช้เครื่องหมาย
1) ไม่ปรากฏการใช้ไม้หนั อากาศ ดังนัน้ คาทีร่ ะสมด้วยสระอะ มีตวั สะกดจะใช้
พยัญชนะตัวสะกดนัน้ สองตัวแทน โดยเขียนชิดติดกัน
2) เครื่องหมายวรรณยุกต์มี 2 รูป คือ วรรณยุกต์เอกและวรรณยุกต์โท จะวาง
ไว้บนพยัญชนะต้น แต่ถ้าพยัญชนะต้นเป็ นพยัญชนะควบกล้าหรืออักษรนามักวางวรรณยุกต์

ัย
ยาล
ไว้ทพ่ี ยัญชนะตัวแรก

วิท
ต่อมาในสมัยของพระมหาธรรมราชาที่ 1 (พญาลิไทย) ลักษณะของอักขรวิธมี คี วาม

หา
แตกต่างจากสมัยพ่อขุนรามคาแหง เนื่องจากหันกลับไปใช้อกั ขรวิธแี บบขอม โดยอักษรในสมัย

างม
พญาลิไ ทยได้แ พร่ไ ปยังอาณาจัก รอื่น ๆ และมีพฒ ั นาการจนเป็ นรูปแบบของตนเอง โดย

ากท
ลักษณะสาคัญของอักษรในสมัยพญาลิไทย มีดงั นี้ (จุไรรัตน์ ลักษณะศิร,ิ 2551, หน้า 108-
111)

ตจ
1. พยัญชนะ มีจานวน 40 ตัว ไม่ปรากฏตัว ฑ ฒ ฬ และ ฮ แต่พบตัว ฌ ทีเ่ พิม่ ขึน้ มา

นุญ
จากสมัยพ่อขุนรามคาแหง ทัง้ นี้ ได้ยกเลิกการเขียนพยัญชนะสองตัวติดกันทัง้ อักษรควบกล้า
ับอ
และอักษรนา และยกเลิกการเขียนตัวสะกดห่างจากสระหรือพยัญชนะต้น
ด้ร

2. สระ มีจานวน 25 ตัว เพิม่ ขึน้ จากเดิมอีก 4 ตัว คือ ฤ ฤา ฦ และฦา และปรากฏสระ
ไม่ไ

อือทีเ่ ป็ นสระลอย นอกเหนือจากสระอี สระส่วนใหญ่ยงั เขียนชิดกับพยัญชนะ



ร่โด

3. วรรณยุกต์ ยังคงปรากฏวรรณยุกต์เอกและวรรณยุกต์โทเช่นเดิม
แพ

4. เริม่ ปรากฏการใช้ไม้หนั อากาศเป็ นครัง้ แรก


เผย

หลังจากสมัยพญาลิไทย มีพยัญชนะเพิม่ ขึ้นอีก 2 ตัวคือ ฒ และ ฬ ส่วนสระมีเพิม่ อีก


รือ

2 รูปคือสระอึ และสระเอาะ และรูปแบบของอักษรไทยสุโขทัย ได้ส่งไปยังอาณาจักรล้านนาอีก


ยห
น่า

ด้วย ตัง้ แต่สมัยพ่อขุนรามค าแหง ที่ทรงเป็ นพันธมิต รกับพญางาเมือ งแห่งกลุ่ มแคว้นแพร่


์จําห

พะเยา น่าน และพญามังรายแห่งอาณาจักรล้านนา ซึ่งอาณาจักรสุโขทัยกับอาณาจักนล้านนา


ิมพ

มีความสัมพันธ์ทแ่ี น่ นแฟ้ นยิง่ ขึน้ ในสมัยพญาลิไทย นอกจากเหนือจากทีต่ วั อักษรไทยสุโขทัย


มพ

แพร่หลายในอาณาจักรล้านนาแล้ว ตัวอักษรธรรมล้านนาที่ได้รบั อิทธิพลจากตัวอักษรมอญ


ห้า

โบราณก็ ป รากฏในอาณาจัก รสุ โ ขทัย อีก ด้ ว ย แต่ ไ ม่ ไ ด้ ร ับ ความนิ ย มนั ก ในเวลาต่ อ มา


วัฒนธรรมล้านนาได้พฒ ั นาอักษรไทยสุโขทัยจนเป็ นอักษรฝักขาม และอักษรไทยนิเทศ

RAM 1103 83

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ในส่ว นของดินแดนภาคกลางและภาคใต้ของประเทศไทย ก็ได้รบั อิทธิพลจากตัว


อักษรไทยสุโขทัย และพัฒนาเป็ นรูปแบบของตนเองในภายหลัง โดยเฉพาะอาณาจักรอยุธยา
และรัตโกสินทร์ทไ่ี ด้พฒ
ั นาตัวอักษรไทยมาจนเป็ นรูปแบบทีใ่ ช้กนั ในปั จจุบนั

อักษรไทยอยุธยา

ัย
ยาล
สมเด็จ พระรามาธิบ ดีท่ี 1 ทรงสถาปนากรุ ง ศรีอ ยุ ธ ยาขึ้น ในปี พ.ศ. 1893 ซึ่ง มี

วิท
ความสัมพันธ์ทางการเมืองกับสุโขทัยและล้านนา ซึ่งสุโขทัยได้ถูกผนวกเข้าเป็ นส่วนหนึ่งของ

หา
อยุธยาในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถในปี พ.ศ. 2006 (จุไรรัตน์ ลักษณะศิร,ิ 2551, หน้า

างม
135) ด้วยความสัมพันธ์ดงั กล่าว จึงเกิดการถ่ายโอนวัฒนธรรมของสุโขทัย รวมถึงรูปแบบการ

ากท
ใช้ตวั อักษรอีกด้วย โดยพัฒนาการของตัวอักษรในสมัยอยุธยา มีรายละเอียดดังนี้

ตจ
ตัวอักษรและอักขรวิ ธีในสมัยอยุธยาตอนต้น

นุญ
1. จานวนตัวอักษรในสมัยอยุธยาตอนต้น ทัง้ พยัญชนะและสระยังคงเหมือนกับอักษร
ับอ
สมัยสุโขทัย แต่พบการใช้เครื่องหมายไม้ยมกขึน้ เป็ นครัง้ แรก
ด้ร

2. การใช้อกั ษรขอมและอักขรวิธแี บบขอมเขียนแทรกในคาไทย การบันทึกอั กษรไทย


ไม่ไ

ในสมัยอยุธยาตอนต้นพบการใช้อกั ษรและอักขรวิธขี อมในคาไทยในลักษณะต่าง ๆ คือพบทีใ่ ช้


เขียนทัง้ ค า ใช้เ ชิง ร เขียนอัก ษรควบ และใช้อ ักษรขอมบางตัว แทรกในพยางค์หรือ ในค า


ร่โด

ภาษาไทย
แพ

3. การใช้วรรณยุกต์ ยังคงมี 2 รูปเช่นเดียวกับสมัยสุโขทัยคือไม้เอกและไม้โท อย่างไร


เผย

ก็ตาม ไม่ปรากฏหลักเกณฑ์การใช้ทแ่ี น่นอน


รือ

4. การใช้เครื่องหมาย ในสมัยอยุธยาตอนต้น พบการใช้เครื่องหมายแทนสระ 2 ตัว คือ


ยห

ไม้ห ัน อากาศ และเครื่อ งหมายฝนทอง เครื่อ งหมายแทนพยัญ ชนะ 1 ตัว คือ นิ ค หิต และ
น่า

เครื่องหมายประกอบการเขียน 1 ตัวคือเครื่องหมายไม้ยมก
์จําห

เครื่อ งหมายไม้ห ัน อากาศในสมัย อยุ ธ ยาตอนต้น พบทัง้ การวางไม้ห ัน อากาศบน


ิมพ

พยัญชนะและตัวสะกด ร่วมกับการใช้พยัญชนะตัวสะกดสองตัวแทนการใช้เครื่องหมายนี้ปะปน
มพ

อยู่เช่นเดียวกับสมัยสุโขทัย
ห้า

เครื่องหมายฝนทอง พบการใช้น้อยมาก โดยใช้กากับคาทีม่ เี สียงสระออ


เครื่องหมายนิคหิต ในสมัยอยุธยาตอนต้นนั น้ ใช้แทนพยัญชนะ ม ในคาทีม่ เี สียงสระ
โอเช่นเดียวกับสมัยสุโขทัย

RAM 1103 87

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ตัวอักษรและอักขรวิ ธีในสมัยอยุธยาตอนกลาง
สมัยอยุธยาตอนกลางตัง้ แต่สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีท่ี 2 ถึงสมัยสมเด็จพระนารายณ์
มหาราช ถือว่าเป็ นช่วงเวลาที่มคี วามยาวนาน ทาให้พฒ ั นาการต่าง ๆ เป็ นไปอย่างต่อเนื่อง
รวมถึงภาษาและการเขียน เริม่ ปรากฏการบันทึกลงในกระดาษฝรัง่ รวมถึงการจารึกลงบนวัสดุ
เนื้อแข็ง สมุดไทย และใบลาน โดยการบันทึกลงบนกระดาษ มักบันทึกในเรื่องการค้าขายหรือ

ัย
ยาล
หนังสือราชการ แต่หลักฐานส่วนใหญ่อยู่ในต่างประเทศ โดยเฉพาะอังกฤษกับฝรังเศส ่

วิท
จานวนตัวอักษรในสมัยอยุธยาตอนกลางยังคงเท่าเดิมกับสมัยอยุธยาตอนต้น แต่มี

หา
เครื่องหมายแทนสระ 2 รูปคือเครื่องหมายไม้ไต่คู้ และเครื่องหมายฟั นหนู โดยอักษรในสมัย

างม
อยุธยาตอนกลางปรากฏอยู่ 2 รูปแบบ คืออักษรแบบธรรมดาทีส่ บื เนื่องต่อมาจากสมัยอยุธยา

ากท
ตอนต้น กับอักษรไทยย่อ เป็ นตัวอักษรที่ประยุกต์จากตัวอักษรแบบธรรมดาให้ประณีตบรรจง
มากขึ้น สันนิษ ฐานว่าได้แ บบมาจากอักษรขอมบรรจงที่ใ ช้ค วบคู่กับตัว อักษรไทยในสมัย

ตจ
สุโขทัย โดยอักษรไทยย่อพบครัง้ แรกในสมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม และนิยมใช้อย่างมากใน

นุญ
สมัยสมเด็จพระนารายณ์ ตัวอักษรไทยย่อมักบันทึกเรื่องราวทีเ่ ป็ นทางการและศาสนา
ับอ
อักขรวิธใี นสมัยอยุธยาตอนกลางมีความใกล้เคียงกับอักขรวิธใี นสมัยอยุธยาตอนต้น
ด้ร

ปรากฏความแตกต่างอยู่บา้ ง เช่น
ไม่ไ

- การใช้พยัญชนะตัวเดียวทาหน้าที่เป็ นทัง้ ตัวสะกดของคาหน้าและเป็ นพยัญชนะต้น


ของคาหลัง
ร่โด

- คาทีใ่ ช้สระอิ อี อือ จะมีพยัญชนะกากับในคาพยางค์เปิ ด เช่น บาญชีย


แพ

- คาทีใ่ ช้สระ อิ อึ สมัยอยุธยาตอนกลาง ใช้รปู อี อือ ตามลาดับ บางคาใช้ปะปนกันทัง้


เผย

สองรูป เช่น วีหาร (วิหาร) สีนค้า (สินค้า) ยีนดี (ยินดี) จีง (จึง)
รือ

- คาทีใ่ ช้สระเอือ ใช้รูปเอีอ และเออี ส่วนสระเอีย ใช้รูปเอีย และเอิย และมักวางสระอิ


ยห

หรืออีไว้ท่ี ย สระเอิ ใช้รปู เอี


น่า

- คาทีป่ ระสมสระใอและไป มีพยัญชนะ ย กากับ ส่วนคาทีใ่ ช้ไอและอัย จะใช้ใอ ส่วนคา


์จําห

ทีใ่ ช้สระใอ จะใช้สระไอ เช่น สุกโขใทย (สุโขทัย) ใมตรี (ไมตรี)


ิมพ

- คาทีใ่ ช้สระออ ทีม่ ี ร สะกด จะปรากฏตัว อ เช่น ณคอร (นคร)


มพ

- การใช้วรรณยุกต์ในสมัยอยุธยาตอนกลาง ปรากฏอยู่ 2 รูปคือไม้เอกกับไม้โท แต่ยงั


ห้า

ไม่มรี ะเบียบการใช้ท่แี น่ นอน เช่น หมืน (หมื่น) ตองปื น (ต้องปื น) นักหน้า (นักหนา) ถ้าใช้
วรรณยุกต์เพือ่ กากับคา มักวางวรรณยุกต์ไว้ในตาแหน่งเหมือนปั จจุบนั เช่น ถ้า ป่ า แต่เป็ นคา

88 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ตัวอักษรและอักขรวิ ธีในสมัยอยุธยาตอนปลาย-สมัยธนบุรี
ตัง้ แต่สมัยพระเพทราชาจนถึงสมัยสมเด็จพระที่นัง่ สุริยาศน์ อมรินทร์ ถือเป็ นช่วงที่
อยุธยาเริม่ เสื่อมถอยลงเป็ นลาดับจากปั จจัยต่าง ๆ ในด้านเอกสาร ก็ถูกทาลายไปมากจาก
สงคราม ทาให้หลักฐานในการศึกษาตัวอักษรและอักขรวิธเี หลือน้อย อย่างไรก็ตาม ในสมัย
ธนบุรกี ป็ รากฏการฟื้ นฟูดา้ นอักษรศาสตร์ทส่ี บื เนื่องมาตัง้ แต่สมัยอยุธยาตอนปลาย

ัย
ยาล
จานวนตัวอักษรในสมัยอยุธยาตอนปลาย-สมัยธนบุรี เพิม่ มาจากสมัยอยุธยาตอนกลาง

วิท
2 ตัว คือ ฑ และ ฮ ถือว่ามีพยัญชนะครบ 44 ตัว ส่วนสระเพิม่ ขึน้ จากสมัยอยุธยาตอนกลาง 5

หา
ตัว คือ สระเอะ เอียะ เอือะ อัวะ และเออะ ถือว่ ามีสระครบ 32 ตัว โดยการใช้พยัญชนะในสมัย

างม
อยุธยาตอนปลาย ปรากฏการใช้ตวั เชิงซึง่ อักขรวิธแี บบขอมปนร่วมอยู่ดว้ ย

ากท
สาหรับวรรณยุกต์ในสมัยอยุธ ยาตอนปลาย ปรากฏครบทัง้ 4 รูปคือ ไม้เอก ไม้โท
ไม้ตรี และไม้จตั วา ทัง้ นี้ ในการศึกษาทางวิชาการยังมีขอ้ ถกเถียงว่าไม้ตรีกบั ไม้จ ั ตวาเกิดขึ้น

ตจ
ในช่วงเวลาใด บางทัศนะเห็นว่าเกิดขึน้ ในสมัยอยุธยาตอนปลาย บางทัศนะเห็นว่าเพิง่ ปรากฏ

นุญ
ขึน้ ในสมัยธนบุรี และเริม่ ปรากฏการใช้เครื่องหมายทัณฑฆาต (การันต์) เป็ นครัง้ แรก
ับอ
รู ป แบบอัก ษรในสมัย อยุ ธ ยาตอนปลาย-สมัย ธนบุ รี ยัง คงปรากฏอยู่ 2 แบบ
ด้ร

เช่นเดียวกับสมัยอยุธ ยาตอนกลางคืออักษรแบบธรรมดากับอักษรไทยย่อ ซึ่งมีอ ักขรวิธีท่ี


ไม่ไ

ใกล้เคียงกับสมัยอยุธยาตอนกลาง แต่เริม่ มีขอ้ แตกต่างทีใ่ กล้เคียงกับอักขรวิธใี นปั จจุบนั มาก


ขึน้ โดยเฉพาะการวางรูปสระ ส่วนวรรณยุกต์ยงั คงใช้อย่างไม่เคร่งครัดเหมือนกับสมัยอยุธยา


ร่โด

ตอนกลาง
แพ

ทัง้ นี้ การใช้เครื่องหมายทัณฑฆาตในสมัยอยุธยาตอนปลาย-สมัยธนบุรี มักใช้กากับ


เผย

บนพยัญชนะที่เป็ นตัวสะกด โดยลักษณะดังกล่าวนี้จะใช้ต่อเนื่องไปจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์


รือ

ตอนต้น
ยห
น่า

อักษรและอักขรวิ ธีในสมัยรัตนโกสิ นทร์ตอนต้น


์จําห

เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราช ได้ปราบดาภิเษกขึน้ ครองราชย์


ิมพ

เป็ นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จกั รีเมื่อปี พ.ศ. 2325 ทรงทานุ บารุงบ้านเมืองให้เหมือนกับครัง้


มพ

สมัยอยุธยาในด้านต่าง ๆ รวมถึงด้านอักษรศาสตร์ดว้ ย ทรงให้นักปราชญ์ราชบัณฑิตรวบรวม


ห้า

ชาระเอกสารเมื่อสมัยอยุธยาให้สมบูรณ์ รวมถึงการสร้างเอกสารแขนงต่าง ๆ ขึน้ ใหม่ดว้ ย และ


พัฒนาการดังกล่าวได้ต่อเนื่องไปจนถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยู่หวั

90 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

หลังจากสมัยพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยู่หวั รูปแบบของอักษรไทยไม่ได้มกี าร


พัฒ นาต่ อ ไปเนื่ อ งจากระบบการพิ ม พ์ รวมถึ ง การเขี ย นหนั ง สื อ ด้ ว ยลายมื อ ในสมั ย
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั ก็ยงั คงรูปแบบเดียวกับสมัยพระบาทสมเด็จพระนัง่
เกล้าเจ้าอยู่หวั อย่างไรก็ตาม ในช่วงเวลาต่อมา ได้เกิดอักษรเฉพาะแบบขึน้ ซึง่ เป็ นอักษรทีผ่ ู้รู้
พยายามประดิษฐ์ข้นึ เพื่อใช้ในหมู่คณะ หรือใช้ใ นทางราชการ แต่ไม่ได้รบั ความนิยม จนใน

ัย
ยาล
ทีส่ ุดก็เสือ่ มหายไป อักษรเฉพาะแบบมี 3 ชนิดคือ (ธวัช ปุณโณทก, 2553, หน้า 249-253)

วิท
1. อักษรอริยกะ เป็ นอักษรที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั ทรงประดิษฐ์ขน้ึ

หา
เพื่อใช้เขียนภาษาบาลีในกลุ่มพระสงฆ์ธรรมยุตกิ นิกาย รูปสัณฐานของตัวอักษรมีเค้าอักษร

างม
โรมัน (กลับหน้ากลับหลังอักษรโรมัน หรือใช้เส้นประดิษฐ์เพิม่ เติมอักษรโรมัน) อักษรอริยกะมี

ากท
พยัญชนะ 33 ตัว สระ 8 ตัว จึงใช้เขียนได้แต่ภาษาบาลีเท่านัน้ ไม่สามารถใช้เขียนภาษาไทย
ได้เพราะเสียงพยัญชนะและสระไม่ครบ

ตจ
อักขรวิธี เขียนสระไว้บรรทัดเดียวกันกับพยัญชนะ ดังนี้

นุญ
- สระวางไว้หลังพยัญชนะต้น
ับอ
- ถ้าเสียงสระอยู่หน้าคาใช้สระเขียนได้
ด้ร

- หากพยัญชนะไม่มสี ระตามหลังแสดงว่าเป็ นตัวสะกด


ไม่ไ

- หากคาใดเป็ นเสียงนิคหิต จะใช้ทงั ้ สระอะ และตามด้วยนิคหิต


2. อักขรวิธแี บบใหม่ เป็ นอักษรทีพ่ ระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หวั ทรงเห็นว่า


ร่โด

อักษรไทยมีอกั ขรวิธสี บั สน ทาให้ชาวต่างชาติเรียนรูไ้ ด้ลาบาก เพราะสระวางไว้รอบพยัญชนะ


แพ

ต้นไม่เป็ นระบบ และเสียงสระทีเ่ ป็ นสระประสมกันนัน้ ไม่ตรงเสียง นอกจากนี้ อักษรไทยมีการ


เผย

เขียนกันเป็ นพืดทาให้อ่านลาบาก โดยเฉพาะพยัญชนะทีไ่ ม่มสี ระกากับ ออกเสียงเป็ น อะ บ้าง


รือ

ออ บ้าง โอะลดรูปบ้าง ซึ่งไม่มกี ฎเกณฑ์แน่ นอน พระองค์จึงทรงคิดค้นดัดแปลงอักษรไทย


ยห

โดยเฉพาะอักขรวิธี ให้วางสระไว้หลังพยัญชนะต้นบนบรรทัดเดียวกันทุกตัว ฉะนัน้ จึงต้อง


น่า

ออกแบบรูปสระใหม่เพื่อให้มสี ัณฐานเหมาะกับการวางไว้บนบรรทัด ส่วนตัวพยัญชนะและ


์จําห

วรรณยุกต์นนั ้ คงรูปเดิม โดยสระทีป่ รับปรุงใหม่ มีทงั ้ สิน้ 24 รูป ใช้สระเดิม 5 รูป คือ อ ฤ ฤา ฦ
ิมพ

ฦา คิดใหม่เพิม่ อีก 19 ตัว คือ อะ อา อิ อี อึ อือ อุ อู เอ แอ ไอ โอ เอา อา อัว เอีย เอือ เออ
มพ

และ เอาะ
ห้า

อักขรวิธขี องอักขรวิธแี บบใหม่ มีรายละเอียดดังนี้


- ใช้พยัญชนะ วรรณยุกต์ เหมือนเดิมทุกตัว
- สระเปลีย่ นรูปใหม่ ให้วางไว้หลังพยัญชนะต้นบรรทัดเดียวกัน

92 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

- ให้เขียนวรรคเป็ นคา ๆ ไม่เขียนติดต่อกันเป็ นพืดเหมือนเดิม


อย่างไรก็ตาม อักขรวิธใี หม่ท่พี ระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หวั ทรงคิดขึ้นนัน้
ไม่ได้รบั ความนิยมจากประชาชนทัวไป ่ จึงใช้แค่ในวงผู้ใกล้ชดิ และข้าราชบริพารเท่านัน้ เมื่อ
พระองค์เสด็จสวรรคต ก็ไม่มผี ใู้ ดใช้ตกั อักษรรูปแบบนี้อกี
3. อักษรสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็ นการเปลี่ย นรูปแบบด้านอักขรวิธเี ท่านัน้

ัย
ยาล
และประกาศใช้เ พียงแค่ 2 ปี คือ พ.ศ. 2485-2487 จุดประสงค์ของการเปลี่ยนอักขรวิธีใ น

วิท
ช่ ว งเวลานี้ เ นื่ อ งจากจอมพล ป. เห็น ว่ า อัก ขรวิธีแ ต่ เ ดิม นั น้ ยากแก่ ก ารอ่ า นเขีย น โดยมี

หา
หลักเกณฑ์ดงั นี้

างม
- พยัญชนะให้ตดั ออก 13 ตัว จาก 44 ตัว จึงเหลือเพียง 31 ตัว โดยตัวทีต่ ดั ออกคือ ฃ

ากท
ฅ ฆ ฌ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ศ ษ ฬ เนื่องจากเสียงซ้ากับตัวอักษรอื่น ลดความสับสนในการใช้คา
- สระให้ตดั ออก 5 ตัว จาก 34 ตัว เนื่องจากเสียงซ้ากับสระอื่น ๆ ตัวทีต่ ดั ออกคือ ใ ฤ

ตจ
ฤา ฦ ฦา

นุญ
- อักขรวิธี ปรับปรุงให้อ่านเขียนง่ายขึน้ ยกเลิกการเขียนซับซ้อน โดยเฉพาะคาทีเ่ ป็ น
ับอ
ภาษาบาลี-สันสกฤตเพือ่ ให้เขียนคาได้งา่ ยขึน้ เช่น วัธนธัม สมควน ภาสาไทย เป็ นต้น
ด้ร

จากเนื้อหาพัฒนาการของภาษาไทยดังกล่าว จะเห็นได้ว่ามีปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลให้


ไม่ไ

เกิดการเปลี่ย นแปลงด้า นภาษาและอักขรวิธี เช่น การติดต่อ และรับวัฒ นธรรมจากสัง ค ม


ภายนอก การปกครอง สภาพเศรษฐกิจ คติความเชื่อทางศาสนา ฯลฯ และการเปลี่ยนแปลง


ร่โด

ทางภาษาและอักขรวิธกี ย็ งั มีการเปลีย่ นแปลงแม้ในช่วงเวลาปั จจุบนั ก็ตาม


แพ
เผย
รือ
ยห
น่า
์จําห
ิมพ
มพ
ห้า

RAM 1103 93

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

3. หนังสือ ประทับตรา คือ หนังสือ ที่ใ ช้ประทับตราแทนการลงชื่อ ของหัว หน้ า ส่ว น


ราชการระดับกรมขึ้นไป โดยให้หวั หน้าส่วนราชการระดับกอง หรือผู้ท่ไี ด้รบั มอบหมายจาก
หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึน้ ไปเป็ นผูร้ บั ผิดชอบ ลงชื่อย่อกากับตรา ใช้กระดาษตราครุฑ
หนังสือประทับตราให้ใช้ได้ทงั ้ ระหว่างส่วนราชการกับส่วนราชการ และระหว่างส่วน

ัย
ราชการกับบุคคลภายนอก เฉพาะกรณีทไ่ี ม่เป็ นเรื่องสาคัญ ได้แก่

ยาล
1) การขอรายละเอียดเพิม่ เติม

วิท
หา
2) การส่งหนังสือ สิง่ ของ เอกสาร หรือบรรณสาร

างม
3) การตอบรับทราบทีไ่ ม่เกี่ยวกับราชการสาคัญหรือการเงิน

ากท
4) การแจ้งผลงานทีไ่ ด้ดาเนินงานไปแล้วให้สว่ นราชการทีเ่ กีย่ วข้องทราบ
5) การเตือนเรื่องทีค่ า้ ง

า ตจ
6) เรื่องทีห่ วั หน้าส่วนราชการระดับกรมขึน้ ไปกาหนดโดยทาเป็ นคาสังให้
่ ใช้
นุญ
หนังสือประทับตรา
ับอ
ด้ร
ย ไม่ไ
ร่โด
แพ
เผย
รือ
ยห
น่า
์จําห
ิมพ
มพ
ห้า

RAM 1103 97

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

6. หนังสือทีเ่ จ้าหน้าทีท่ าขึน้ หรือรับไว้เป็ นหลักฐานในราชการ คือหนังสือทีห่ น่วยงาน


อื่นใดนอกเหนือจากส่วนราชการ มีมาถึงส่วนราชการ และส่วนราชการรับไว้เป็ นหลักฐาน มี 4
ชนิด ได้แก่
1) หนังสือรับรอง หมายถึงหนังสือทีส่ ่วนราชการออกให้ เพื่อรับรองแก่บุคคล

ัย
นิตบิ ุคคล หรือหน่วยงานใด ๆ เพื่อวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่งให้ปรากฏแก่บุคคลทัวไปไม่ ่

ยาล
จาเพาะเจาะจง ใช้กระดาษตราครุฑ

วิท
หา
2) รายงานการประชุ ม หมายถึง การบัน ทึก ความคิด เห็น ของผู้ม าประชุม

างม
ผูเ้ ข้าร่วมประชุม และมติของทีป่ ระชุมไว้เป็ นหลักฐาน

ากท
3) บันทึก หมายถึงข้อความที่ผู้ใต้บงั คับบัญชา หรือผู้บงั คับบัญชาสังการแก่

ผูใ้ ต้บงั คับบัญชา หรือข้อความทีเ่ จ้าหน้าที่ หรือหน่วยงานระดับต่ากว่าส่วนราชการระดับกรม

า ตจ
ติดต่อกันในการปฏิบตั ริ าชการ โดยปกติให้ใชกระดาษบันทึกข้อความ
นุญ
4) หนัง สือ อื่น หมายถึง หนัง สือ หรือ เอกสารใด ๆ ที่เ กิด ขึ้น เนื่ อ งจากการ
ับอ
ด้ร

ปฏิบัติง านของเจ้า หน้ า ที่ เพื่อ เป็ น หลัก ฐานในทางราชการ รวมถึง ภาพถ่ า ย ฟิ ล์ม แถบ
ไม่ไ

บันทึกเสียง (เทป) แถบบันทึกภาพ (วิดโี อ) หรือหนังสือของบุคคลภายนอก ทีย่ ่นื ต่อเจ้าหน้าที่


และเจ้าหน้าที่ได้รบั เข้าทะเบียนรับหนังสือทางราชการแล้ว มีรูปแบบตามที่กระทรวง ทบวง


ร่โด

กรม จะกาหนดขึ้นใช้ตามความเหมาะสม เว้นแต่มแี บบตามกฎหมาย เฉพาะเรื่องให้ทาตาม


แพ
เผย

แบบ เช่น โฉนด แผนที่ สัญญา หลักฐานการสืบสวนและสอบสวน และคาร้อง เป็ นต้น


รือ

ชัน้ ความเร็วของหนังสือราชการ
ยห

หนังสือที่ต้องปฏิบตั ใิ ห้เร็วกว่าปกติ เป็ นหนังสือที่ต้องจัดส่งแลพดาเนินการทางสาร


น่า

บรรณด้วยความรวดเร็วเป็ นพิเศษ แบ่งเป็ น 3 ประเภทคือ


์จําห

1. ด่วนทีส่ ุด ให้เจ้าหน้าทีป่ ฏิบตั ใิ นทันทีทไ่ี ด้รบั หนังสือนัน้


ิมพ

2. ด่วนมาก ให้เจ้าหน้าทีป่ ฏิบตั โิ ดยเร็ว


มพ

3. ด่วน ให้เจ้าหน้าทีป่ ฏิบตั เิ ร็วกว่าปกติเท่าทีจ่ ะทาได้


ห้า

RAM 1103 105

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ชัน้ ความลับ
ชัน้ ความลับของข้อมูลข่าวสารลับ แบ่งออกเป็ น 3 ชัน้ คือ
1. ลับที่สุด (Top Secret) คือข้อมูลข่าวสารลับที่หากเปิ ดเผยทัง้ หมดหรือบางส่วนจะ
ก่อให้เกิดความเสียหายต่อรัฐอย่างร้ายแรงทีส่ ุด

ัย
ยาล
2. ลับ มาก (Secret) คือ ข้อ มู ล ข่ า วสารลับ ที่ห ากเปิ ด เผยทัง้ หมดหรือ บางส่ ว นจะ
ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รฐั อย่างร้ายแรง

วิท
หา
3. ลับ (Confidential) คือ ข้อ มูล ข่า วสารลับ ที่ห ากเปิ ด เผยทัง้ หมดหรือ บางส่ ว นจะ

างม
ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รฐั

ากท
การจัดทาสาเนาหนังสือราชการ

ตจ
การจัดทาสาเนาหนังสือ ราชการ โดยปกติจะจัดทาสาเนาคู่ฉบับเก็บไว้ท่ตี ้นเรื่อง 1


ฉบับ และสาเนาเก็บไว้ท่หี น่ วยงานสารบรรณกลาง 1 ฉบับ หากกรณที่ต้องการแจ้งให้ส่วน
นุญ
ราชการอื่นทีเ่ กีย่ วข้องทราบ ให้สง่ สาเนาให้ทราบ โดยทาเป็ นหนังสือประทับตรา
ับอ
ด้ร

สาเนาคู่ฉบับ ให้ผลู้ งชื่อลงลายมือชื่อหรือลายมือชื่อย่อ และให้ผู้ร่าง ผูพ้ มิ พ์และผูต้ รวจ


ไม่ไ

ลงลายมือชื่อหรือลายมือชื่อย่อไว้ทข่ี า้ งท้ายขอบล่างด้านขวาของหนังสือ

สาเนา ให้มคี ารับรองว่าสาเนาถูกต้อง โดยให้ขา้ ราชการพลเรือน หรือพนักงานส่วน


ร่โด

ท้อ งถิ่นประเภทวิชาการระดับปฏิบัติการ หรือ ประเภททัวไประดั ่ บชานาญงานขึ้นไป หรือ


แพ
เผย

เจ้าหน้าทีข่ องรัฐอื่นทีเ่ ทียบเท่า หรือพนักงานราชการซึง่ เป็ นเจ้าของเรื่องทีท่ าสาเนาหนังสือนัน้


รือ

ลงลายมือชื่อรับรองพร้อมทัง้ ลงชื่อตัวบรรจง ตาแหน่ง และวัน เดือน ปี ทร่ี บั รอง ไว้ทข่ี อบล่าง


ยห

ของหนังสือ
น่า

สาเนาอิเล็กทรอนิกส์หนังสือที่หน่ วยงานสารบรรณกลางได้ส่งหนังสือด้วยระบบสาร
์จําห

บรรณอิเล็กทรอนิกส์แล้ว ให้ถอื ว่าเป็ นการเก็บสาเนาหนังสือไว้ในระบบอิเล็กทรอนิกส์โดยไม่


ิมพ

ต้องเก็บเป็ นเอกสารอีก
มพ

หนังสือเวียน
ห้า

หนังสือเวียนคือหนังสือทีม่ ถี งึ ผูร้ บั เป็ นจานวนมาก มีเนื้อหาอย่างเดียวกัน ให้เพิม่ รหัส


ตัวพยัญชนะ ว หน้าเลขทะเบียนหนังสือส่ง โดยกาหนดเป็ นเลขทีห่ นังสือเวียนโดยเฉพาะ เริม่

106 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ตัง้ แต่เ ลข 1 เรียงเป็ นล าดับไปจนถึงสิ้น ปี ปฏิทิน หรือ ใช้เ ลขที่ของหนังสือ ทัวไปตามแบบ



หนังสือภายนอกอย่างใดอย่างหนึ่ง
การเก็บรักษาหนังสือ
การเก็บหนังสือ มีรปู แบบต่าง ๆ ดังนี้

ัย
ยาล
- การเก็บ ระหว่ า งปฏิบัติ คือ การเก็บ หนั ง สือ ที่ป ฏิบัติย ัง ไม่ เ สร็จ ให้อ ยู่ ใ นความ
รับ ผิด ชอบของเจ้า ของเรื่อ ง โดยให้ก าหนดวิธีก ารเก็บ ให้เ หมาะสมตามขัน้ ตอนของการ

วิท
หา
ปฏิบตั งิ าน

างม
- การเก็บเมื่อปฏิบตั เิ สร็จแล้ว คือการเก็บหนังสือทีป่ ฏิบตั เิ สร็จเรียบร้อยแล้ว

ากท
- การเก็บไว้เพือ่ ใช้ในการตรวจสอบ คือการเก็บหนังสือทีป่ ฏิบตั เิ สร็จเรียบร้อยแล้ว แต่

ตจ
จาเป็ นจะต้องใช้ตรวจสอบเป็ นประจา ไม่สะดวกส่งไปเก็บยังหน่ วยเก็บของส่วนราชการ ให้


เจ้าของเรื่องเก็บเป็ นเอกเทศ โดยแต่งตัง้ เจ้าหน้าทีข่ น้ึ รับผิดชอบก็ได้ เมื่อไม่มคี วามจาเป็ นต้อง
นุญ
ใช้ตรวจสอบแล้ว ให้จดั ส่งหนังสือนัน้ ไปยังหน่วยเก็บของส่วนราชการ
ับอ
ด้ร

อายุการเก็บหนังสือ โดยปกติให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่า 10 ปี เว้นแต่หนังสือดังต่อไปนี้


ไม่ไ

1) หนังสือทีต่ ้องสงวนเป็ นความลับ ให้ปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ระเบียบว่าด้วยการรักษา


ความปลอดภัยแห่งชาติหรือระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ
ร่โด

2) หนังสือทีเ่ ป็ นหลักฐานทางอรรถคดี สานวนของศาลหรือของพนักงานสอบสวนหรือ


แพ
เผย

หนังสืออื่นใดทีไ่ ด้มกี ฎหมายหรือระเบียบแบบแผนกาหนดไว้เป็ นพิเศษแล้ว การเก็บให้เป็ นไป


รือ

ตามกฎหมายและระเบียบแบบแผนด้วยการนัน้
ยห

3) หนั ง สือ ทีมีคุ ณ ค่ า ทางประวัติศ าสตร์ทุ ก สาขาวิช า และมีคุ ณ ค่ า ต่ อ การศึก ษา


น่า

ค้นคว้าวิจยั ให้เก็บไว้เป็ นหลักฐานสาคัญทางประวัตศิ าสตร์ของชาติตลอดไป หรือตามทีส่ านัก


์จําห

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากรกาหนด
ิมพ

4) หนังสือที่ได้ปฏิบตั งิ านเสร็จสิ้นแล้ว และเป็ นคู่สาเนาที่มตี ้นเรื่องจะค้นได้จากทีอ่ ่นื


มพ

ให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่า 5 ปี
ห้า

5) หนังสือทีเ่ ป็ นเรื่องธรรมดาสามัญ และเกิดขึน้ ประจา เมื่อดาเนินการแล้วเสร็จให้เก็บ


ไว้ไม่น้อยกว่า 1 ปี

RAM 1103 107

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

6) หนังสือหรือเอกสารเกี่ยวกับการรับเงิน การจ่ายเงิน หรือการก่อหนี้ผูกพัน ทาง


การเงินทีไ่ ม่เป็ นหลักฐานแห่งการก่อเปลีย่ นแปลง โอน สงวน หรือระงับ ซึง่ สิทธิในทางการเงิน
รวมถึงหนังสือหรือเอกสารเกี่ยวกับการรับเงิน การจ่ายเงิน หรือการก่อหนี้ผกู พันทางการเงินที่
ไม่มคี วามจาเป็ นในการใช้เป็ นหลักฐานแห่งการก่อเปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ

ัย
ในทางการเงิน เพราะได้มหี นังสือหรือเอกสารอื่นทีส่ ามารถนามาใช้อา้ งอิงหรือทดแทนหนังสื อ

ยาล
หรือเอกสารดังกล่าวแล้ว เมื่อสานักงานการตรวจเงินแผ่นดินตรวจสอบแล้วไม่มปี ั ญหา และไม่

วิท
หา
มีความจาเป็ นต้องใช้ประกอบการตรวจสอบหรือเพื่อการใด ๆ อีก ให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่า 5 ปี

างม
ส่วนหนังสือเกี่ยวกับการเงิน ซึ่งเห็นว่าไม่มคี วามจาเป็ นต้องเก็บไว้ถงึ 10 ปี หรือ 5 ปี แล้ว แต่

ากท
กรณี ให้ทาความตกลงกับกระทรวงการคลัง
ส่วนหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ไม่มอี ายุการเก็บหนังสือ โดยปกติให้เก็บไว้ตลอดไป เว้น

า ตจ
แต่กรณีจาเป็ นต้องเพิม่ พืน้ ทีจ่ ดั เก็บในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์หรือมีเหตุผลความจาเป็ น
นุญ
อื่นใด หากจะทาลายหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หัวหน้าส่วนราชการต้องมีคาสังให้ ่ ทาลายเฉพาะ
ับอ
ด้ร

หนังสือ ที่เ ก็บมาเกิน 20 ปี และได้ส่งให้สานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิล ปากรแล้ว


ไม่ไ

วิธกี ารทาลายคือลบออกจากระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์และให้ลบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ท่ี

เก็บไว้เป็ นเวลานานทีส่ ุดย้อนขึน้ มา


ร่โด

การจัดส่งหนังสือจัดเก็บที่กองจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิ ลปากร


แพ
เผย

ทุกปี ปฏิทนิ ให้ส่วนราชการจัดส่งหนังสือที่มอี ายุครบ 20 ปี นับจากวันที่ได้จดั ทาขึ้นที่


รือ

เก็บไว้ ณ ส่วนราชการใด พร้อมทัง้ ส่งบัญชีสง่ มอบหนังสือครบ 20 ปี ให้สานักหอจดหมายเหตุ


ยห

แห่งชาติ กรมศิลปากร ภายในวันที่ 31 มกราคมของปี ถดั ไป เว้นแต่หนังสือดังต่อไปนี้


น่า

1) หนังสือทีต่ ้องสงวนเป็ นความลับให้ปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ระเบียบว่าด้วยการรักษา


์จําห

ความปลอดภัยแห่งชาติ หรือระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ
ิมพ

2) หนังสือที่มกี ฎหมาย ข้อบังคับ หรือระเบียบที่ออกใช้เป็ นการทัวไปก


่ าหนดไว้เป็ น
มพ

อย่างอื่น
ห้า

3) หนังสือที่ส่วนราชการมีความจาเป็ นต้องเก็บไว้ท่สี ่วนราชการนัน้ ให้จดั ทาบัญชี


หนังสือครบ 20 ปี ทข่ี อเก็บเอง ส่งมอบให้สานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร
งานสารบรรณอิ เล็กทรอนิ กส์

108 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2564 หมวด 5


กาหนดให้ส่วนราชการจัดระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์เพื่อปฏิบตั งิ านสารบรรณ หรืออย่าง
น้อย ต้องมีทอ่ี ยู่ไปรษณียอ์ เิ ล็กทรอนิกส์กลาง (E-mail) เพือ่ ใช้รบั -ส่งหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของ
ส่วนราชการนัน้

ัย
การติดต่อราชการให้ดาเนินการด้วยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์เป็ นหลัก เว้นแต่

ยาล
กรณีเป็ นข้อมูลข่าวสารลับ ชัน้ ลับทีส่ ุด ตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับองทางราชการ

วิท
หา
หรือเป็ นความลับของราชการชัน้ ลับที่สุดตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรักษา

างม
ความปลอดภัยแห่งชาติ หรือมีเหตุจาเป็ นอื่นใดที่ไม่สามารถดาเนินการด้วยระบบสารบรรณ

ากท
อิเล็กทรอนิกส์ได้
ในกรณีทต่ี ดิ ต่อราชการด้วยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ให้ผสู้ ง่ ตรวจสอบผลการส่ง

า ตจ
ทุกครัง้ และให้ผรู้ บั แจ้งตอบรับเพื่อยืนยันว่าหนังสือได้จดั ส่งไปยังผูร้ บั แล้ว หากได้รบั การตอบ
นุญ
รับแล้ว ส่วนราชการผูส้ ง่ ไม่ตอ้ งจัดส่งหนังสือเป็ นเอกสารตามไปอีก
ับอ
ด้ร

การส่ ง ข้ อ ความทางเครื่ อ งมื อ สื่ อ สารต่ า ง ๆ เช่ น โทรศั พ ท์ วิ ท ยุ ส่ื อ สาร


ไม่ไ

วิทยุกระจายเสียง รวมถึงสื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) ให้ผรู้ บั ปฏิบตั เิ ช่นเดียวกับการรับ


หนังสือ ในกรณีท่จี าเป็ นต้องยืนยันเป็ นหนังสือ ให้ทาหนังสือยืนยันตามไปทันที ทัง้ นี้ หาก


ร่โด

ข้อความที่ส่งผ่านตามช่องทางดังกล่าวข้างต้นไม่มหี ลักฐานปรากฏชัดแจ้ง ให้ผู้ส่งและผู้รบั


แพ
เผย

บันทึกข้อความไว้เป็ นหลักฐาน ซึง่ การส่งหรือจัดเก็บข้อความ ด้วยวิธกี ารทางอิเล็กทรอนิกส์ไว้


รือ

ในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ให้ถอื ว่าบันทึกข้อความไว้เป็ นหลักฐานแล้ว


ยห

กรณีจดั ทาบันทึกในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ หรือพิมพ์ข้อความในไปรษณีย์


น่า

อิเล็กทรอนิกส์ หรือระบบสื่อสารอื่น ๆ ที่มกี ารยืนยันตัวตน จะพิมพ์ช่อื ผู้บนั ทึกแทนการลง


์จําห

ลายมือชื่อก็ได้ และจะไม่ลงวัน เดือน ปี ที่บนั ทึกก็ได้หากระบบบันทึกวัน เดือน ปี ไว้แล้ว ใน


ิมพ

ส่วนของการบันทึกข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ สามารถบันทึกได้ลงในสื่อกลางบันทึกข้อมูลทีเ่ ป็ นสื่อ


มพ

ใด ๆ ได้ดว้ ยอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ เช่น CD-ROM, Flash Drive รวมทัง้ พืน้ ทีส่ ว่ นราชการ
ห้า

ใช้เพือ่ การจัดเก็บข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ดว้ ย เช่น Cloud Computing

RAM 1103 109

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ทะเบียนหนังสืออิ เล็กทรอนิ กส์


ให้ส่วนราชการจัดให้มีทะเบียนหนังสือ รับ ทะเบียนหนังสือส่ง บัญชีหนังสือส่งเก็บ
ทะเบียนหนังสือเก็บ บัญชีสง่ มอบหนังสือครบ 20 ปี บัญชีหนังสือครบ 20 ปี ทข่ี อเก็บเอง บัญชี
ฝากหนัง สือ และบัญ ชีห นัง สือ ขอท าลายในรูป แบบอิเ ล็ก ทรอนิ ก ส์ โดยกรอกรายละเอียด

ัย
ยาล
เช่นเดียวกับทะเบียนหรือบัญชีในรูปแบบเอกสาร ซึง่ ทะเบียนหรือบัญชีอเิ ล็กทรอนิกส์ จะอยู่ใน
ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์หรือจัดทาด้วยโปรแกรมต่าง ๆ เช่น Microsoft Excel, Google

วิท
หา
Sheets, Apple Numbers ฯลฯ เมื่อ มีทะเบียนหรือ บัญ ชีรูปแบบอิเ ล็กทรอนิกส์แล้ว ไม่ต้อ ง

างม
จัดทาทะเบียนหรือบัญชีใดเป็ นเอกสารอีก

ากท
การรับหรือส่งหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ให้ลงเวลาที่ปรากฏในระบบว่าส่วนราชการได้รบั

ตจ
หรือได้ส่งหนังสือไว้ในทะเบียนหนังสือรับหรือทะเบียนหนังสือส่ง แล้วแต่กรณี ไว้เพื่อเป็ น


หลักฐานทางราชการด้วย หากหนังสือที่ส่งทาง E-mail แล้วแตไม่สาเร็จ ให้ลงวันและเวลาที่
นุญ
ปรากฏในระบบว่าได้จดั ส่งครัง้ แรกเป็ นวันและเวลาทีไ่ ด้สง่ หนังสือ
ับอ
ด้ร

หนังสือที่จดั ทาขึ้นและหน่ วยงานสารบรรณกลางได้ส่งหนังสือด้วยระบบสารบรรณ


ไม่ไ

อิเล็กทรอนิกส์แล้ว ให้ถอื ว่าการเก็บสาเนาหนังสือไว้ในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ท่สี ่งนัน้


เป็ นการเก็บสาเนาไว้ทห่ี น่วยงานสารบรรณกลางแล้ว โดยไม่ตอ้ งเก็บเป็ นเอกสารอีก รวมถึงให้


ร่โด

สารองข้อมูลไว้อย่างน้อยอีก 1 แห่ง ตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารทีห่ วั หน้าส่วนราชการกาหนด


แพ
เผย

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ท่เี ก็บไว้ในการสารองข้อมูล และที่ส่งให้สานักหอจดมหายเหตุ


รือ

แห่งชาติ กรมศิลปากร ให้อยู่ในรูปแบบมาตรฐาน เช่น PDF ความละเอียดไม่น้อยกว่า 150 dpi


ยห

และให้ตงั ้ ชื่อไฟล์ตามหลักเกณฑ์ทก่ี าหนด


น่า

การพัฒนาระบบสารบรรณอิ เล็กทรอนิ กส์


์จําห

การพัฒนาระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ของส่ว นราชการ หรือประสบปั ญ หาทาง


ิมพ

เทคนิคในการปฏิบตั ิงานสารบรรณด้วยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ หรือในการเชื่อมโยง


มพ

ข้อ มูล หรือ ระบบกับ ส่ว นราชการและหน่ ว ยงานอื่น ให้ข อรับ การสนับ สนุ น หรือ ขอความ
ห้า

ช่วยเหลือจากสานักงานพัฒนารัฐบาลดิจทิ ลั (องค์ กรมหาชน) หรือสานักงานพัฒนาธุรกรรม


ทางอิเล็กทรอนิกส์ได้

110 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

- กลุ่มภาษามอญ-เขมร ถือเป็ นภาษาทีป่ ะปนอยู่ในภาษาไทยปั จจุบนั


- กลุ่มภาษาจีน -ทิเบต ได้แก่ภาษาจีนแขนงต่าง ๆ และภาษาพม่า รวมถึงภาษาของ
ชาวเขาอีกหลายเผ่า
- กลุ่มภาษาออสโตรนีเชียน ได้แก่ภาษามลายู ภาษาของกลุ่มชาวเล (มอแกน มอเกลน
และอูรกั ลาโว้ย)

ัย
ยาล
สาหรับภาษาที่ได้กล่าวมานี้ แม้ว่าในปั จจุบนั จะยังคงปรากฏการใช้ภาษาเหล่านี้อยู่ใน

วิท
กลุ่มชาติพนั ธุต์ ่าง ๆ แต่สงั คมไทยมีภาษาราชการอยู่เพียงภาษาเดียวคือภาษาไทย ผูค้ นทีเข้า

หา
เรียนการศึกษาในระบบจึงใช้ภาษาไทยเป็ นหลัก ทาให้กลุ่มทีใ่ ช้ภาษาอื่นค่อย ๆ ลดจานวนลง

างม
ยกเว้น กลุ่ ม ภาษามลายูท่ีย ัง คงใช้กัน มากในภาคใต้ (สตู ล ยะลา ปั ต ตานี นราธิว าส และ

ากท
บางส่วนของสงขลา) โดยเฉพาะผูท้ น่ี ับถือศาสนาอิสลาม ทัง้ นี้ ผูค้ นในอาเซียนทีเ่ ข้ามาทางาน
ในพืน้ ทีป่ ระเทศไทย สามารถใช้ภาษาเดิมของตนควบคู่กบั การใช้ภาษาไทยในการสื่อสารอย่าง

ตจ
ง่าย แต่คนไทยโดยส่วนใหญ่ใช้ได้เพียงแค่ภาษาไทยในการสื่อสาร ซึ่งอาจทาให้เกิดปั ญหาใน

นุญ
การทาความเข้าใจ อันอาจก่อให้เกิดปั ญหาเมื่อทางานร่วมกันได้ นอกจากนี้ แม้จะเป็ นภาษาใน
ับอ
ตระกูลเดียวกัน เช่น กลุ่มภาษามอญ-เขมร ที่ใช้กนั ในกลุ่มชาติพนั ธุ์มอญและกลุ่มชาติพนั ธุ์
ด้ร

เขมร แต่กไ็ ม่สามารถสือ่ สารกันได้ กระทังในกลุ


่ ่มชาติพนั ธุเ์ ดียวกัน แต่ย่อยออกเป็ นหลายกลุ่ม
ไม่ไ

ก็มภี าษาแยกย่อยออกไปอีกจนหลายครัง้ ไม่สามารถสือ่ สารกันได้


ความหลากหลายของภาษาถิ่ น
ร่โด

ผูค้ นในสังคมไทยโดยส่วนใหญใช้ภาษาไทยในการติดต่อสื่อสารกัน มีภาษาถิน่ กรุงเทพ


แพ

ทีถ่ ูกใช้เป็ นภาษามาตรฐานในการติดต่อสื่อสารโดยทัวไป ่ ทัง้ นี้ ยังมีภาษาถิน่ อื่น ๆ ทีส่ ามารถ


เผย

แบ่งอย่างง่ายตามภูมภิ าค ประกอบด้วยภาษาถิน่ เหนือ ภาษาถิน่ อีสาน ภาษาถิน่ กลาง และ


รือ

ภาษาถิน่ ใต้ แต่ละถิน่ มักมีคา สาเนียง และสานวนทีต่ ่างกันออกไป ตัวอย่างคาในภาษาถิน่ ต่าง


ยห

ๆ มีดงั นี้
น่า

ภาษาถิน่ เหนือ เช่น แอ๊บข้าว (กล่องข้าว) ยม (เหีย่ ว,สลด) ป้ าก (ทัพพี) หนังปอง (แคบ
์จําห

ควาย)
ิมพ

ภาษาถิ่นอีส าน เช่น เว่าพื้น (นินทา) ห่าว (ตื่นตัว ) ปลาคอ (ปลาช่อ น) งึด (แปลก
มพ

ประหลาด)
ห้า

ภาษาถิ่นกลาง เช่น โพล้เพล้ (เวลาใกล้ค่า) สารวย (รักสวยรักงาม มักใช้กบั ผู้ชาย)


สาทับ (ย้า) กาซาบ (ซึมเข้าไป)
ภาษาถิน่ ใต้ เช่น ลิว (ขว้าง) รุน (เข็น) แตงจีน (แตงโม) วุน้ ดา (เฉาก๊วย)

RAM 1103 113

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ในการรับรูข้ องคนทัวไป
่ มักเข้าใจว่าภาษาถิน่ เหนือมักใช้กนั ในภาคเหนือ เช่น เชียงใหม่
เชียงราย พะเยา ลาพูน น่าน ภาคอีสาน เช่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด มุกดาหาร อุ บลราชธานี
ภาคกลาง (รวมทัง้ ภาคตะวันออกและภาคตะวันตก) เช่น สุพรรณบุรี ชัยนาท ตาก ชลบุรี
ตราด และภาคใต้ เช่น สตูล สงขลา กระบี่ ตรัง สุราษฎร์ธานี เป็ นต้น อย่างไรก็ตาม ในแต่ละ
ภูมภิ าคก็มสี าเนียงและคาทีแ่ ยกย่อยแตกต่างกันออกไปอีก รวมถึงบางพืน้ ทีท่ ม่ี กี ลุ่มคนหลาย

ัย
ยาล
กลุ่มอาศัยอยู่ เช่น นครราชสีมา ที่ปรากฏทัง้ ภาษาถิ่นกลางโคราชและภาษาถิน่ อีสาน หรือ

วิท
ฉะเชิงเทรา ทีป่ รากฏกลุ่มชาติพนั ธุ์ลาวโซ่ง ก็จะใช้ภาษาลาวโซ่งทีใ่ กล้เคียงกับภาษาถินอีสาน

หา
เป็ นต้น และในปั จจุบันภาษาถิ่นต่าง ๆ ได้ปรากฏอยู่ใ นการใช้ศพั ท์ของวัยรุ่นอีกด้วย เช่น

างม
เอาหล่าว (ภาษาถิน่ ใต้) อิหยังวะ (ภาษาถิน่ อีสาน) เป็ นต้น

ากท
ความหลากหลายของการใช้ภาษา

ตจ
การหลากคา

นุญ
การหลากคาคือการใช้คาทีม่ คี วามหมายอย่างเดียวกันแต่มรี ูปศัพท์ต่างกัน การหลากคา
ับอ
เป็ นสิง่ ที่แสดงคาที่มมี ากมายในภาษาไทย และยังแสดงถึงศิลปะการใช้ภาษา โดยมากแล้ว
ด้ร

การหลากค ามัก เชื่อ มโยงกับ ระดับ ความเป็ น ทางการของการใช้ภ าษา รวมถึง กาลเทศะ
ไม่ไ

ตัวอย่างเช่น

มันบึง่ รถเครื่องไปหาเมีย
ร่โด

เขาขีร่ ถจักรยานยนต์ไปหาภรรยาอย่างรวดเร็ว
แพ

หรือ
เผย

หมาตัวนัน้ งับขาหล่อน
รือ

สุนขั ตัวนัน้ กัดเข้าทีข่ าของเธอ


ยห

การหลากคาช่วยสร้างความน่ าสนใจในการสื่อสาร และทาให้ผู้ใช้ภาษาเลือกคาให้ตรง


น่า

กับความต้องการได้อย่างอิสระ เช่น จีบ เต๊าะ เกีย้ ว หลี แอ๊ว เป็ นต้น


์จําห

การแปรภาษา
ิมพ

ภาษาเป็ นส่วนหนึ่งของพฤติกรรมมนุษย์ การใช้ภาษานัน้ มีความหลากหลายเป็ นอย่าง


มพ

มาก แม้ภาษาจะมีหลักเกณฑ์ แต่ผู้คนมีความหลากหลายทัง้ ความเชื่อ เพศ สภาพแวดล้อม


ห้า

ค่านิยม ฯลฯ การใช้ภาษาจึงต่างกัน แต่ยงั คงหลักไวยากรณ์ไว้ได้เช่นเดิม


ภาษาไทยถือ เป็ นภาษาหลัก ที่ใ ช้ ใ นสัง คมไทย ผู้ ใ ช้ ส ามารถปรับ เปลี่ ย นได้ ต าม
วัตถุประสงค์ โดยมีปัจจัยต่าง ๆ ดังต่อไปนี้

114 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

- วัย ความต่างของการใช้ภาษาที่เกิดจากวัยทาให้เกิดความหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็ น


เสียง คา ข้อความ หรือสานวน วัยเด็กมักสือ่ สารเป็ นคา เช่น กิน ไป เล่น ส่วนวัยรุ่นมักสื่อสาร
เป็ นข้อความขนาดสัน้ เน้นความรวดเร็ว เช่น ดีคบั ทาไร กินดิ ในผูใ้ หญ่มกั สือ่ สารด้วยประโยค
ที่สมบูรณ์ มีส่วนขยาย เช่น ไปเดินเล่นเสาชิงช้าด้วยกันมัย้ คะ หรือช่วงนี้โควิดระบาดหนัก
รักษาสุขภาพด้วยนะครับ การแปรภาษาทีน่ ่าพิจารณาคือการแปรภาษาของกลุ่มวัยรุ่น ทีน่ ิยม

ัย
ยาล
ใช้คาสแลง เน้นทีค่ วามหมายมากกว่าความสมบูรณ์ทางไวยากรณ์ เช่น หัวจะปวด ขอให้พระ

วิท
ทาโทษอย่างหนัก ชิตงั เมโป้ ง บางคามีความหมายเฉพาะกลุ่ม เช่น ตีป้อม ตัวแทงค์ ฮีล (กลุ่ม

หา
ผู้เล่นเกมออนไลน์) ผู้ส่อื สารในวัยหรือกลุ่มเดียวกันจึงจะเข้าใจความหมาย ลักษณะดังกล่าว

างม
แปรตามวัย คาสแลงเป็ นภาษาที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เกิดขึ้นและเลิก ใช้ในช่วงเวลาไม่

ากท
นานนัก แต่บางคาก็ยงั คงใช้อ ยู่ในปั จจุบัน เช่น เก๊ก หมายถึง วางท่า (มักใช้กบั ผู้ชาย) เก๋
หมายถึง ดี น่าชม ทีโ่ หล่ หมายถึง ตาแหน่งรัง้ ท้าย

ตจ
- เพศ เป็ นปั จจัยหนึ่งทีท่ าให้ภาษาต่างกัน ซึ่งในปั จจุบนั มีความหลากหลายทางเพศใน

นุญ
สังคมเป็ นอย่างมาก การใช้ภ าษาก็เกิดความหลากหลายตามมาด้วยเช่นกัน ในอดีตเพศเป็ น
ับอ
ตัวกาหนดว่าจะต้องใช้คาแบบใด เช่น เพศชายต้องแทนตัวเองว่าผม ส่วนเพศหญิงแทนตัวเอง
ด้ร

ว่าหนู แต่ในปั จจุบนั การใช้คาเหล่านี้ไม่เคร่งครัดหากไม่ได้เป็ นภาษาทีเ่ ป็ นทางการ เช่น เพศ


ไม่ไ

หญิงสามารถใช้ผมเป็ นคาเรียกแทนตัวเองได้ หรือกะเทยสามารถใช้หนูเป็ นคาเรียกแทนตัวเอง


ได้ เป็ นต้น


ร่โด

- สถานภาพบุคคล สังคมไทยเป็ นสังคมทีม่ ผี คู้ นหลากหลายระดับ หลากหลายอาชีพ ซึง่


แพ

มีผลต่อการแปรภาษา เช่น
เผย

พรุ่งนี้กูตดิ งานตอนบ่ายว่ะ แวะไปหามึงไม่ได้ละ


รือ

พรุ่งนี้ผมมีงานตอนบ่าย คงแวะไปหาคุณไม่ได้แล้ว
ยห

พรุ่งนี้ผมติดภารกิจเวลาบ่ายโมงตรง คงไม่สามารถไปพบคุณได้แล้ว
น่า

จากตัวอย่างข้างต้น จะเห็นได้ว่าระดับการใช้ภาษานัน้ ขึ้นอยู่กบั สถานะของผู้ท่สี ่อื สาร


์จําห

ด้วย ในข้อความแรก สถานภาพของทัง้ ผูส้ ่งสารและผู้รบั สารอยู่ในระดับเดียวกันและสนิทกัน


ิมพ

หรือผูส้ ่งสารอาจเป็ นรุ่นพีท่ ส่ี นิทกับผูร้ บั สารทีเ่ ป็ นรุ่นน้อง ในส่วนของข้อความที่ 2 สถานภาพ


มพ

ของผู้ส่ ง สารและผู้ร ับ สารมีค วามใกล้เ คีย งกัน และมีค วามกึ่ง ทางการ และข้อ ความที่ 3
ห้า

สถานภาพของผู้ส่งสารและผู้ร ับสารมีค วามสัม พันธ์อ ย่ างเป็ น ทางการ การสื่อ สารจึง เป็ น


ทางการด้วย

RAM 1103 115

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ความสัมพันธ์ของภาษากับสังคมและวัฒนธรรมไทย
เนื่ อ งจากภาษาเป็ น ส่ว นหนึ่ ง วิถีชีว ิต และยัง เป็ น เครื่อ งมือ ที่ส าคัญ ในการถ่ า ยทอด
ความคิดของมนุษย์อกี ด้วย การศึกษาภาษาจึงเป็ นการทาความเข้าใจความคิดของคนไทยใน
แง่มุมต่าง ๆ ดังนี้
ภาษาสะท้อนคติ ความเชื่อ

ัย
ยาล
คติความเชื่อ ถือเป็ นสิ่งที่ผ่านกระบวนการคิดของมนุ ษ ย์ท่อี ยู่บนพื้นฐานของเหตุผ ล

วิท
หรือไม่กไ็ ด้ และเป็ นสิง่ ทีใ่ ช้เพื่อการดาเนินชีวติ ของมนุษย์ตามเหตุปัจจัยต่าง ๆ โดยคติความ

หา
เชื่อปรากฏอยู่ใ นทุก มิติของวิถีชีว ิต เช่น การประกอบอาชีพ ศาสนา ครอบครัว เศรษฐกิจ

างม
การเมืองการปกครอง เป็ นต้น อย่างในส่วนของความเชื่อทางศาสนา ทีค่ นไทยมีความเชื่อเรื่อง

ากท
ผีค่อนข้างเหนียวแน่และชัดเจน โดยเชื่อว่าผีสามารถบันดาลคุณโทษให้กบั ผูค้ นได้ และสะท้อน
ผ่านทางการใช้ภาษาด้วย ยกตัวอย่างการใช้สานวน เช่น

ตจ
คนดีผคี ุม้

นุญ
ผีซ้าด้าพลอย
ับอ
ผีถงึ ป่ าช้า
ด้ร

ผีเห็นผี
ไม่ไ

ฯลฯ

นอกจากนี้ ยังปรากฏคาทีใ่ ช้เรียกผีในภูมภิ าคต่าง ๆ เช่น ผีโพง ผีหลังกลวง ผีตาแฮก ผี


ร่โด

โขมด ผีปอบ เป็ นต้น ต่อ มาเมื่อ สังคมไทยได้รบั คติค วามเชื่อ จากอินเดีย โดยเฉพาะพุทธ
แพ

ศาสนา ซึง่ สังคมไทยได้ใช้พุทธศาสนาเป็ นเครื่องมือในการควบคุมพฤติกรรมของผูค้ นในสังคม


เผย

ปรากฏอยู่ในรูปแบบของวรรณกรรม เช่น ไตรภูมพิ ระร่วง พระมาลัยคาหลวง พระเวสสันดร


รือ

ชาดก เนื้อหาในวรรณกรรมดังกล่าวเน้นเรื่องบุญ -บาป และเรื่องกฎแห่งกรรม ที่เชื่อว่าหาก


ยห

กระท าความดี ก็จ ะได้ร ับ ผลที่ดีต ามมา แต่ ถ้ า หากกระท าชัว่ ก็จ ะได้ร ับ ผลร้ า ยตามมา
น่า

ตัวอย่างเช่น ในไตรภูมพิ ระร่วง ได้กล่าวไว้ว่าหากหญิงใดทาแท้ง หรือบุคคลใดเป็ นธุระจัดให้


์จําห

เกิดการทาแท้ง เมื่อตายไปแล้ว จะต้องกลายเป็ นเปรตกินลูกตนเอง โดยมีร่างกายเน่ าเปื่ อย


ิมพ

เช้าคลอดลูก 7 คน เย็นอีก 7 คน แล้วเปรตนัน้ ก็ต้องกินลูกตนเอง วนไปอย่างนี้จนกว่าจะสิ้น


มพ

กรรม ส่วนในเรื่องพระมาลัยคาหลวง พระมาลัยได้สงสอนประชาชนให้ ั่ ทาแต่บุญ เพื่อที่จะได้


ห้า

เกิดทันยุคพระศรีอาริยท์ ถ่ี อื ว่าเป็ นยุคทีม่ แี ต่ความสงบสุข เป็ นต้น ซึง่ คติความเชื่อเหล่านี้ยงั คง


ดารงอยู่ใ นสังคมและวัฒนธรรมไทยมาจนถึงปั จจุบัน และคติค วามเชื่อดังกล่าวเหล่านี้ ยัง
ถ่ายทอดผ่านภาษาในช่องทางต่าง ๆ มากมาย ไม่ว่ าจะเป็ นข่าว วรรณกรรมปั จจุบนั หรือ

116 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

มะเกลือ มะตูม ส้มป่ อย ส้มซ่า ดองดึง หรือพันธุ์สตั ว์ ได้แก่ ตะโขง อ้น ตะเข็บ เพลี้ย กระทิ ง
เขียด รวมถึงสานวนสุภาษิตในภาษาไทยอีกด้วย เช่น
หมาเห่าใบตองแห้ง
ช้างตายทัง้ ตัวเอาใบบัวมาปิ ดไม่มดิ
ฆ่าควายอย่าเสียดายพริก

ัย
ยาล
รักวัวให้ผกู รักลูกให้ตี

วิท
ฝากเนื้อไว้กบั เสือ

หา
ฯลฯ

างม
วิถชี วี ติ ของคนไทยยังมีความผูกพันเกี่ยวกับน้ าเป็ นอย่างมาก เนื่องจากสังคมไทยเป็ น

ากท
สังคมเกษตรกรรม น้ าจึงเป็ นปั จจัยหลักทีท่ าให้ผลผลิตทางการเกษตรสมบูรณ์ และในน้ ามีผล
ต่อการดารงชีวติ ไม่ว่าจะเป็ นที่อยู่อาศัย การคมนาคม ภาษาไทยจึงสะท้อนวิถีชีวติ การอยู่

ตจ
ร่วมกับน้าของคนไทย โดยมีตวั อย่างดังนี้

นุญ
ฝนตกไม่ทวฟ้ ั่ า
ับอ
ฝนแปดแดดสี่
ด้ร

น้าท่วมทุ่ง ผักบุง้ โหรงเหรง


ไม่ไ

น้ามาปลากินมด น้าลดมดกินปลา

น้าขึน้ ให้รบี ตัก


ร่โด

น้าลดตอผุด
แพ

ฯลฯ
เผย

ทัง้ นี้ สังคมไทยในปั จจุบนั มีหลายส่วนที่พฒ


ั นาเป็ นสังคมเมืองที่มวี ถิ ชี ีวติ หลากหลาย
รือ

และมีวถิ ชี วี ติ ตามแนวทางบริโภคนิยม จึงเกิดสานวน คาคมขึน้ ใหม่ ๆ เช่น


ยห

สุขใดไม่เท่าล้วงกระเป๋ าแล้วเจอตังค์
น่า

สายเปย์เซมาทางนี้
์จําห

พันห้าพีว่ ่าไง
ิมพ

เสียเป็ นแสน แขนไม่ได้ดม


มพ

ทางานผิดที่ สิบปี กไ็ ม่เจริญ


ห้า

ฯลฯ

118 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

เมือง ซึ่งมีภาษาเฉพาะกลุ่มทางสังคมนัน้ ๆ ไม่ว่าจะเป็ นกลุ่มอาชีพ กลุ่มความสนใจร่วมกัน


เช่น
ตามซัพหนูได้ในโอนลีแ่ ฟนนะคะ
กด Subscribe ให้ช่องยูทปู ของเราด้วยนะครับ
มึงได้ฟอลทวิตน้องคนเสือ้ ชมพูนนมั
ั ่ ย้

ัย
ยาล
ฯลฯ

วิท
ในปั จจุบนั การสื่อสารโดยมากมักผ่านการพิมพ์ผ่านช่องทางต่าง ๆ ในสื่อออนไลน์ ซึ่ง

หา
เกิดรูปแบบของภาษาใหม่ ๆ ตามบริบทต่าง ๆ กัน หรือเกิดจากข้อผิดพลาดระหว่างพิมพ์ แต่

างม
ทัง้ ผู้รบั สารและผู้ส่งสารเข้าใจร่วมกันได้ เช่น เมพขิง ๆ (เทพจริง ๆ) ลาก่อย (ลาก่อน) หรือ

ากท
การใช้ภาษาในรูปแบบของการเปลีย่ นเสียงหรือกร่อนคาเพื่อให้การสนทนานัน้ ไม่เป็ นทางการ
จนเกินไป เช่น

ตจ
เกินปุยมุย้ (เกินไปมัย้ )

นุญ
เยิฟ ๆ (เลิฟ ๆ)
ับอ
ตุย (ตาย)
ด้ร

นุด (มนุษย์)
ไม่ไ

สูข่ ติ (ตาย)

ถถถ (555)
ร่โด

เผือก (เสือก)
แพ

ฯลฯ
เผย
รือ
ยห
น่า
์จําห
ิมพ
มพ
ห้า

120 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

สังคมไทยยังให้ความสาคัญในเรื่องการใช้คาสรรพนามเรียกผูอ้ ่นื ด้วย เช่น หากเรียกผูท้ ม่ี อี ายุ


มากกว่า ก็จะไม่ใช้คาว่าน้อง และเมื่อนาคาสรรพนามเหล่านี้มาเข้ารูปประโยค มักพบว่าคา
เหล่านี้ได้สะท้อนให้เห็นว่าผูอ้ าวุโสมีประสบการณ์มาก่อนผูท้ ม่ี อี ายุน้อยกว่า เช่น
อย่าหาว่าพีส่ อนเลยนะ
เดินตามหลังผูใ้ หญ่ หมาไม่กดั

ัย
ยาล
อาบน้าร้อนมาก่อน

วิท
ฯลฯ

หา
แต่ก็ปรากฏสานวนหรือกลุ่มคาที่บ่งบอกถึงผู้อาวุโสที่ไม่ได้ทาประโยชน์ใด ๆ เช่น แก่

างม
กะโหลกกะลา ทัง้ นี้ ยังมีคาสรรพนามที่ใช้เรียกกันอย่างเป็ นทางการ เช่น คุณ ท่าน กระผม

ากท
ดิฉนั ซึง่ แม้จะให้ความรูส้ กึ ทีเ่ ป็ นทางการ แต่กห็ ่างเหินซึง่ ขัดกับลักษณะนิสยั ของคนไทยทีช่ อบ
ความเป็ นกันเอง

ตจ
ในปั จจุบนั รูปแบบความสัมพันธ์ของผูค้ นในสังคมไทยมีหลากหลาย ทัง้ ในรูปแบบของ

นุญ
คู่รกั ครอบครัว แต่ท่ามกลางสังคมที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว รวมถึงโลกทัศน์และวิถีชีวติ
ับอ
ของผูค้ นทีม่ คี วามหลากหลาย ทาให้ความสัมพันธ์มที งั ้ แง่บวกและแง่ลบ และปรากฏออกมาใน
ด้ร

รูปแบบของการใช้ภาษา เช่น
ไม่ไ

ครอบครัวไม่ใช่เซฟโซน

ป้ าข้างบ้านไม่หยุดเผือกเรื่องของเราเสียที
ร่โด

นกบ่อยจนจะเป็ นพญานกแล้ว
แพ

น้องคนนัน้ ได้ผเู้ ป็ นสายฝอ โชคดีจริง ๆ


เผย

รอเมียพีต่ ายแล้วไลน์มาหาหนู
รือ

สเปคหนูหรอคะ ชอบผูช้ ายนิสยั รวยค่ะ


ยห

ฯลฯ
น่า
์จําห
ิมพ
มพ
ห้า

RAM 1103 123

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ความรู้ ความสามารถ รูจ้ กั ใช้ถ้อยคาเหมาะกับบุคคลและสถานที่ ก็นับเป็ นบันไดขัน้ แรกของ


การสมาคม และเป็ นแนวทางไปสูค่ วามสาเร็จได้ (ลักษณา 2536, 1-2)
ดร.สวนิต ยมาภัย และถิรนันท์ อนวัชศิรวิ งศ์ ได้ให้คาจากัดความไว้ว่า การพูดทีด่ ี คือ
การใช้ถ้อยคา น้ าเสียง รวมทัง้ กิรยิ าอาการอย่างมีประสิทธิภาพและถูกต้องตามมารยาทและ
ประเพณีนิยมของสังคมเพื่อถ่ ายทอดความคิด ความรู้ ความรู้สกึ และความต้องการที่เ ป็ น

ัย
ยาล
คุ ณ ประโยชน์ ใ ห้ผู้ฟั ง รับ รู้แ ละเกิดการตอบสนองสัมฤทธิผ์ ลตรงตามจุด มุ่ งหมายของผู้พูด

วิท
(สวนิต และถิรนันท์ 2547, 1)

หา
กล่าวโดยสรุป การพูดจึงเป็ นรูปแบบหนึ่งในการสื่อสารทีผ่ พู้ ูดใช้เพื่อถ่ายทอดสารไปสู่

างม
ผู้ฟังตามความประสงค์ของตน ซึ่งอาจประกอบด้วยถ้อยคา รวมทัง้ บุคลิกและกิรยิ าอาการที่

ากท
ชวนให้ตดิ ตาม การพูดจึงเป็ นทัง้ ศิลป์ และศาสตร์ ทีเ่ ป็ นศิลป์ เพราะเป็ นวิชาทีต่ ้องมีการศึกษา
เล่ า เรีย น จะต้อ งหมัน่ ฝึ ก ฝนจนเกิด ความช านาญและมีค วามมัน่ ใจ สามารถพูด ได้อ ย่ า ง

ตจ
คล่องแคล่ว เป็ นไปดังใจคิ ่ ด ในส่วนที่เป็ นศาสตร์เพราะการพูดที่ดีนัน้ ย่อ มประกอบไปด้ว ย

นุญ
หลัก เกณฑ์แ ละวิธีก ารต่ า ง ๆ ที่ต้ อ งยึด ถือ เป็ น แนวทางเพื่อ น ามาปฏิบัติ ผู้พู ด จะต้ อ งมี
ับอ
วัตถุประสงค์ในการพูดทีแ่ น่ชดั มีการใช้ถ้อยคา น้ าเสียงและกิรยิ ามารยาททีเ่ หมาะสมกับวาระ
ด้ร

และโอกาสในการพูด รวมทัง้ สอดคล้องกับสภาพของวัฒนธรรมนัน้ ๆ นอกจากนี้ผพู้ ูดยังต้องมี


ไม่ไ

ความจริงใจและความรับผิดชอบต่อการพูดของตน

ร่โด

วัตถุประสงค์ของวิ ชาการพูด
แพ

วัตถุประสงค์ของวิชาการพูดจะมีอยู่ดว้ ยกัน 5 ประการ คือ


เผย

1. เพื่อ ให้ส ามารถส่ง สารไปสู่ ผู้ฟั ง ได้อ ย่ า งมีป ระสิท ธิภ าพ หากการ
รือ

สื่อสารด้วยการพูดสัมฤทธิผล ์ ย่อมทาให้ผู้พูดและผู้ฟังเกิดความเข้าใจที่ถูกต้อง
ยห

ตรงกัน ซึง่ นับเป็ นคุณสมบัตทิ ส่ี าคัญในการอยู่ร่วมกันของคนในสังคม


น่า

2. เพื่อ ฝึ ก ฝนทัก ษะในการแสดงความคิด เห็ น ท าให้ มีค วามกล้ า


์จําห

แสดงออก รู้จกั ใช้เหตุผลประกอบการพูด รู้จกั เลือกสรรคาให้เหมาะสมกับวาระ


ิมพ

และโอกาสในการพูด
มพ

3. เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์ การพูดดี มีประโยชน์ น่าฟั ง ย่อมทาให้ผพู้ ูด


ห้า

เป็ นที่รกั และมีมติ รมาก นอกจากนี้การพูดที่ดยี งั มีส่วนช่วยคลี่คลายปั ญหาความ


ขัดแย้งต่าง ๆ ได้อกี ด้วย

126 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

4. เพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ การฝึกฝนการพูด จะช่วยให้ผพู้ ูดรูจ้ กั วางตัวดี


ขึ้น มีกิรยิ าท่าทางไม่เคอะเขิน มีความเชื่อมัน่ มีความกระตือ รือร้น ถือเป็ นการ
ช่วยส่งเสริมบุคลิกภาพของผูพ้ ดู
5. เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะของการเป็ นผูน้ า เพราะผูน้ าต้องอาศัยการ
พูดเพื่อให้คนอื่นปฏิบตั ติ าม ผู้นาที่มีทกั ษะในการพูดย่อมพูดได้น่าเชื่อถือ ทาให้

ัย
ยาล
ผูฟ้ ั งเกิดความเลื่อมใส ศรัทธา

วิท
หา
ความสาคัญของการพูด

างม
การพูดเป็ นเรื่องของการสือ่ ความหมายซึ่งกันและกันในสังคม จึงนับว่ามีอทิ ธิพล และมี

ากท
ความสาคัญต่อชีวติ ประจาวันเป็ นอย่างมาก โดยในที่น้ีจะขอยกความสาคัญของการพูด มา

ตจ
ชีแ้ จงพอเป็ นสังเขปดังนี้


1. การพูดก่อให้เกิดความเข้าใจง่ายกวาสือสารประเภทอื่น เพราะการ
นุญ
พูดต้องใช้น้ าเสียง กิรยิ าท่าทาง ถ้อยคา ตลอดจนสีหน้าแววตาของผูพ้ ูดประกอบ
ับอ
ซึง่ จะช่วยให้ผฟู้ ั งเข้าใจสารของผูพ้ ดู ได้งา่ ยกว่าการอ่านเพียงอย่างเดียว
ด้ร

2. การพูดเป็ นเครื่องมือของการสมาคม ช่วยส่ งเสริมให้เกิดความสาเร็จ


ไม่ไ

ในชีวติ อาชีพ และหน้าที่การงาน การพูดจึงถือเป็ นทักษะในการเข้าสังคมอย่าง



ร่โด

หนึ่ง อีกทัง้ ยังเป็ นบันไดขัน้ แรกในการสมาคมที่ช่ว ยสนับสนุ นให้กิจการส าเร็จ


แพ

ลุล่วงไปด้วยดี
เผย

3. การพูดก่อให้เกิดความเข้าใจที่ดีต่อกัน การพูดเป็ นการสื่อสารสอง


ทาง สามารถใช้แลกเปลี่ยนทัศนะคติต่อกันระหว่างผูพ้ ูดและผูฟ้ ั ง จึงเป็ นเครื่องที่
รือ
ยห

ช่วยส่งเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างบุคคลในสังคม
น่า

4. การพูดช่วยปลอบประโลมใจ ให้คนมีทุกข์คลายทุกข์ คนท้อแท้เกิด


์จําห

กาลังใจ นอกจากนี้บางครัง้ หากผูท้ เ่ี ป็ นทุกข์ได้พดู ระบายออกมาก็ช่วยทาให้ความ


ทุกข์ในใจคลายลงได้อกี ด้วย
ิมพ
มพ
ห้า

RAM 1103 127

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ระดับของการสื่อสารด้วยการพูด
การพูดถือเป็ นกระบวนการในการสื่อสารของมนุษย์ ซึ่งหากไม่นับรวมการสื่อสารกับ
ตนเองแล้ว การสื่อสารของมนุ ษย์อาจแบ่งได้เป็ น 4 ประเภทใหญ่ ๆ คือ การสื่อสารระหว่าง
บุคคล การสือ่ สารในกลุ่ม การสือ่ สารในทีช่ ุมชน และการสือ่ สารมวลชน การสือ่ สารโดยการพูด
ของมนุ ษย์จงึ สามารถแบ่งเป็ น 4 ประเภท เช่นเดียวกัน ดังนี้ (สวนิต และถิรนันท์ 2547, 12-

ัย
ยาล
14)

วิท
1. การพูดระหว่างบุคคล

หา
การพูดระหว่างบุค คลเป็ นการพูดขัน้ พื้น ฐานที่สุ ดของสังคมมนุ ษ ย์ไ ม่ว่า จะมีฐ านะ

างม
อาชีพ หรือหน้าที่การงานอย่างไรก็ตาม จาเป็ นต้องใช้การพูดในระดับนี้อยู่ตลอดเวลา เริม่

ากท
ตัง้ แต่การทักทาย การถามสารทุกข์สุขดิบ การสนทนา ไปจนถึงการถกเถียง การปรึกษาหารือ

ตจ
ลักษณะสาคัญของการพูดระหว่างบุค คลคือ ไม่มขี ้อจากัดว่าแต่ละช่ว งของการพูด

จะต้องใช้เวลามากน้อยเท่าไร ขึ้นอยู่กบั กาลเทศะและความเหมาะสม อาจใช้เวลาเพียง 4-5
นุญ
นาที หรือในบางโอกาสอาจใช้เวลาถึงหนึ่งชัวโมงหรื
่ อนานกว่านัน้ ก็มี
ับอ
ด้ร

การพูดระหว่างบุค คลเป็ นปั จ จัยส าคัญ ที่สุ ด ของการสร้า งมนุ ษ ยสัมพันธ์ และช่ว ย
ไม่ไ

กระชับความสัมพันธ์ทม่ี อี ยู่แล้วให้แน่นแฟ้ นมากขึน้ คนทีไ่ ม่เคยรูจ้ กั กันมาก่อนก็จะรูจ้ กั กันมาก


ขึน้ คนทีร่ จู้ กั มาก่อนก็จะยิง่ คุน้ เคยกันมากขึน้


ร่โด

2. การพูดในกลุ่ม
แพ

การพูดในกลุ่มเป็ นการพูดที่มบี ุคคลเข้าร่วมพูดกันตัง้ แต่ 3 คนขึน้ ไป จานวนบุคคลที่


เผย

พูดในกลุ่มจะสูงสุดเท่าใดยากที่จะก าหนดได้ ขึ้นอยู่กบั โอกาส สถานที่ และเครื่องอานาวย


รือ

ความสะดวกทีท่ าให้การพูดจากันของบุคคลกลุ่มนัน้ ดาเนินไปได้


ยห
น่า

การพูดในกลุ่มนี้อาจเรียกอีกอย่างว่า การอภิปรายกลุ่ม มักเป็ นการพูดจากันในเชิง


์จําห

ปรึกษาหารือ เพือ่ หาทางแก้ปัญหาร่วมกัน บางทีกม็ กี ารโต้แย้ง ถกเถียงกันบ้าง แต่บางทีกเ็ ป็ น


เพียงการแลกเปลีย่ นความรู้ ความคิด และประสบการณ์ของกันและกัน ทุกคนทีร่ ่วมอยู่ในกลุ่ม
ิมพ

ผลัดเปลี่ยนกันเป็ นผู้พูดและผู้ฟัง อาจะมีประธานของกลุ่มหรือไม่มกี ็ได้ บุคคลที่รวมตัวเป็ น


มพ

กลุ่ มและพูดจากันนี้ อาจรวมตัว กันอย่างเป็ นทางการ เช่น เป็ นคณะกรรมการที่ได้รบั การ


ห้า

แต่งตัง้ หรืออาจรวมตัวกันอย่างไม่เป็ นทางการก็ได้ เช่น บุคคลที่นัง่ อยู่โต๊ะเดียวกันจับกลุ่ ม


พูดจากัน เป็ นต้น

128 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

การพูดในระดับนี้ พบเห็นได้ทวไปในสถานศึ
ั่ กษา ในปั จจุบนั มักนิยมใช้วธิ ใี ห้นักเรียน
นักศึกษา อภิปรายกลุ่มเป็ นประจา ในหน่วยงานและองค์กรต่าง ๆ ก็ใช้การอภิปรายกลุ่มเป็ น
วิธกี ารปรึกษางาน แก้ปัญหาร่วมกัน และวางแผนร่วมกันอยู่เสมอ
3. การพูดในทีช่ ุมนุมชน

ัย
การพูดในระดับนี้เป็ นการพูดหน้าทีป่ ระชุม อาจเป็ นเพียงคนเดียวหรืออาจร่วมคณะกับ

ยาล
คนอื่นก็ได้ พูดกับกลุ่มผู้ฟังที่มจี านวนมาก จานวนผู้ฟังจะมากน้อยเพียงไรขึ้นอยู่กบั โอกาส

วิท
กาละเทศะ และเงือ่ นไขต่าง ๆ ถ้ามีคนฟั งจานวนมากก็จาเป็ นต้องใช้เครื่องขยายเสียงชวย การ

หา
พูดในทีช่ ุมนุมแบ่งได้ชดั เจนว่า ใครเป็ นผูพ้ ดู หลัก และใครเป็ นผูฟ้ ั ง

างม
ลักษณะสาคัญของการพูดในที่ชุมนุ มชนก็คอื ผู้พูดเป็ นฝ่ ายตระเตรียมเรื่องที่จะพูด

ากท
ด้ว ยความมุ่งหมายอันแน่ ชดั ว่ าต้อ งการให้เ หตุผ ลอย่ างไรแก่ผู้ฟั ง อาจจะเป็ นการพูด เพื่อ

ตจ
ถ่ายทอดความรู้ ความคิดทีม่ สี ารประโยชน์แก้ผฟู้ ั ง หรือโน้มน้าวใจกลุ่มผูฟ้ ั งให้คล้อยตาม หรือ


ปฏิบตั ิตามสิง่ ที่ผู้พูดชี้แนะ หรือก่อให้เกิดความสนุ กสนานแก่บรรดาผู้ ฟังอย่างใดอย่างหนึ่ง
นุญ
การพูดในทีช่ ุมนุมชนนัน้ เมื่อจบลงแล้วอาจเปิ ดโอกาสให้ผฟู้ ั งซักถามเพิม่ เติม ช่วงเวลาในการ
ับอ

พูดกาหนดไว้ค่อนข้างแน่นอน
ด้ร
ไม่ไ

กิจกรรมการพูดในที่ชุมนุ มชนมีให้เห็นอยู่ทวไป
ั ่ เช่น การปาฐกถา การอภิปรายในที่

สาธารณะ การโฆษณาหาเสียง การปราศรัย การกล่าวต้ อนรับ การบรรยายสรุป การชี้แจงต่อ


ร่โด

ทีป่ ระชุม และการพูดในโอกาสพิเศษต่าง ๆ ต่อหน้าทีป่ ระชุม


แพ

4. การพูดทางสือ่ สารมวลชน
เผย

การพูดทางสื่อ สารมวลชนที่ใช้มากที่สุ ด คือ การพูดทางโทรทัศ น์ บุค คลที่พูดทาง


รือ

สื่อสารมวลชนแบ่งได้เป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ ประเภทแรก ได้แก่ผทู้ ม่ี อี าชีพ เป็ นผูป้ ระกาศ
ยห

และผู้จดั รายการซึ่งพูดอยู่เป็ นประจา บุคคลเหล่านี้ถอื ว่าประกอบวิชาชีพโดยตรง ประเภทที่


น่า

สอง ได้แก่ผู้ท่ไี ด้รบั เชิญให้มาพูดในรายการต่าง ๆ เป็ นครัง้ คราว บุคคลในวงการต่าง ๆ มี


์จําห

โอกาสได้รบั เชิญให้ไปปรากฏตัวทางโทรทัศน์อยู่เนือง ๆ เนื้อหาของการพูดทางสือ่ สารมวลชน


ิมพ

มักจะเป็ นการให้ข่าวสารให้ความรู้ ให้ขอ้ คิด ให้ความบันเทิง และการโฆษณาสินค้าและการ


มพ

บริการต่าง ๆ
ห้า

การพูดทางสื่อสารมวลชนแตกต่างจากการพูดระดับอื่น ๆ ที่กล่าวมาในข้อที่สาคัญ
ที่สุด คือ สามารถพูดให้คนฟั งจานวนมากซึ่งกระจายกันอยู่ทุกทิศทางรับฟั งพร้อมกันได้ใน

RAM 1103 129

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

เวลาเดียวกัน แต่การพูดทางสื่อสารมวลชนนัน้ ผูพ้ ูดไม่สามารถสังเกตปฏิกริ ยิ าตอบสนองจาก


ผูฟ้ ั งพร้อมกันได้ในขณะทีพ่ ดู
ประเภทของการพูด
ประเภทของการพูดสามารถจาแนกได้ตามวิธกี ารพูดทัง้ หมด 4 ประเภท คือ การพูด
โดยฉับพลัน การพูดโดยมีการเตรียมตัวล่วงหน้า การพูดโดยการท่องจา และการพูดโดยอ่าน

ัย
ยาล
จากต้นฉบับ (ลักษณา 2536, 59-62)

วิท
1. การพูดโดยฉับพลัน (Impromtu Speech) หรือการพูดโดยไม่ มีก าร

หา
เตรียมการล่วงหน้า การพูดชนิดนี้เป็ นการพูดแบบปั จจุบนั ทันด่วนไม่มกี ารเตรียม

างม
ตัว มาก่ อ น ผู้พูดจาเป็ นต้อ งอาศัยปฏิภาณไหวพริบ ประสบการณ์ และความรู้

ากท
ความชานาญในการพูด หรือ โต้ต อบในเวลาอัน รวดเร็ว จึงมักมีผู้เ รียกการพูด
ประเภทนี้ว่า การพูดแบบกลอนสดบ้าง การพูดแบบกระทันหันบ้าง การพูดโดย

ตจ
ฉับพลันนี้มกั จะเป็ นการพูดสัน้ ๆ เช่น การกล่าวอวยพร การกล่าวตอบขอบคุณ

นุญ
การพูดในงานรื่นเริง งานสังสรรค์ การตอบปั ญหาบางประการ การแสดงความ
ับอ
คิดเห็นหรือให้ขอ้ คิดเล็ก ๆ น้อย ๆ เพือ่ แก้ปัญหาบางประการ
ด้ร

สาหรับผูท้ ย่ี งั ไม่มปี ระสบการณ์มากนัก การพูดลักษณะนี้อาจจะสร้างความตื่นเต้นใน


ไม่ไ

การพูดให้แก่ผพู้ ดู บ้างไม่มากก็น้อยเมื่อถูกเชิญให้พดู ดังนัน้ ขณะทีล่ ุกจากทีน่ งและเดิ


ั่ นออกไป

ยังเวทีผพู้ ูดสามารถใช้เวลาในช่วงนัน้ คิดและเรียบเรียงคาพูดว่าจะพูดอย่างไรดีเพื่อให้การพูด


ร่โด

เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
แพ

2. การพู ด โดยมีก ารเตรีย มตัว ล่ ว งหน้ า (Extemporaneous Speech)


เผย

การพูดลักษณะนี้ผพู้ ูดจะพูดจากความเข้าใจเนื้อหาทีต่ ้องการถ่ายทอดให้แก่ผู้ฟัง


รือ

ผู้พูดจะต้อ งศึกษาค้นคว้าและมีการเตรียมตัวล่ วงหน้ ามาเป็ นอย่างดี ทาความ


ยห

เข้าใจในเนื้อหาทีจ่ ะพูดอย่างถ่องแท้ มีการจดหัวข้อทีส่ าคัญ ๆ มาดู เพือ่ ช่วยเตือน


น่า

ความจา ในขณะทีพ่ ูดก็ขยายความออกไปตามต้องการ วิธนี ้ีเป็ นวิธที เ่ี หมาะที่สุด


์จําห

กับการพูดในแทบทุกโอกาสและเป็ นที่นิยมใช้กนั มาก เพราะทาให้ผู้พูดไม่สบั สน


ิมพ

มีการเรียงลาดับเรื่องว่าจะพูดอะไรก่อนหลัง ไม่ทาให้การพูดวกวนและยังทาให้ไม่
มพ

เคร่งเครียดนัก รวมทัง้ ยังสามารถเพิม่ เติมตัวอย่างในขณะทีส่ งั เกตเห็นว่าผู้ฟังไม่


ห้า

เข้าใจ หรืออาจใช้โสตทัศนูปกรณ์ท่เี หมาะสมประกอบการพูดให้เข้าใจได้ชดั เจน


ยิง่ ขึ้น การพูดวิธีน้ีผู้พูดจะมีความมันใจในตนเองมากเพราะได้
่ มกี ารเตรีย มตัว

130 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ล่วงหน้าไว้เป็ นอย่างดีแ ล้ว ลักษณะของการพูดชนิดนี้ได้แก่ การบรรยาย การ


อภิปราย เป็ นต้น
ในการเตรีย มหัว ข้อ หรือ จดบัน ทึก ข้อ ความส าคัญ ๆ เพื่อ ใช้ใ นขณะที่พู ด อยู่ นั ้น
นอกจากจะมีประโยชน์เพื่อช่วยเตือนความทรงจาและกันการสับสนแล้ว ยังช่วยให้ไม่พูดเกิน
เวลาในแต่ละหัว ข้ออีกด้ว ย รวมทัง้ ยังทาให้ผู้ พูดได้ใ ช้การพิจารณาไตร่ต รองโดยรอบคอบ

ัย
ยาล
ตลอดการพูดว่าเนื้อหาสาระของเรื่องเป็ นอย่างไร มีการจัดลาดับก่อนหลังอย่างไร การขึ้นต้น

วิท
และลงท้ายเป็ นอย่างไร ซึง่ ถือได้ว่าเป็ นสิง่ สาคัญทีช่ ่วยให้ผพู้ ดู ประสบความสาเร็จในการพูด

หา
3. การพูดโดยท่องจา (Memorized Speech) ลักษณะของการพูดชนิดนี้

างม
เป็ น การพูด จากความจ า มีล ัก ษณะคล้า ยคลึง กับ การพูด โดยมีก ารเตรีย มตัว

ากท
ล่วงหน้ามาก่อน มักใช้พูดในโอกาสต่าง ๆ เช่น การกล่าวต้อนรับ การกล่าวอาลา
การรับมอบตาแหน่ ง เป็ นต้น การพูดลักษณะนี้จะต้องมีเตรียมตัวและฝึ กซ้อมมา

ตจ
เป็ นอย่างดี ผูพ้ ูดจะต้องจดจาทุกอย่างให้ได้อย่างแม่นยา มิฉะนัน้ จะทาให้การพูด

นุญ
สับสนหรือหลงลืมเนื้อหาได้
ับอ
การพูดโดยวิธกี ารท่องจานี้อาจก่อให้เกิดผลเสียได้ เพราะเป็ นการพูดทีผ่ พู้ ูดมักจะพูด
ด้ร

ไปเรื่อย ๆ ไม่เป็ นธรรมชาติ ลักษณะเป็ นการพูดที่เกิดจากความจาทุกคาพูด จึงมีผลทาให้


ไม่ไ

ระดับของเสียงจะเรียบ ไม่มีน้ าหนักของเสียงหนักเบา หรือ เสียงเน้ นที่ค วรจะเป็ นไปตาม


ธรรมชาติ ทาให้ขาดความมีชวี ติ ชีวาของเสียง สาเหตุเกิดจากจากการทีผ่ พู้ ูดพยายามรีบพูดให้


ร่โด

จบ เพราะเกรงว่าอาจจะหลงลืมข้อความตอนใดตอนหนึ่งไป ซึง่ ถ้าเกิดลืมตอนใดตอนหนึ่งก็จะ


แพ

ทาให้เกิดการพูดตะกุกตะกัก ไขว้เขว สับสน และเป็ นการพูดที่มกั จะขาดความยืดหยุ่น ด้วย


เผย

เหตุน้กี ารพูดโดยการท่องจาจึงเป็ นการพูดทีป่ ระสบความสาเร็จได้ยาก


รือ

4. การพู ด โดยอ่ า นจากต้ น ฉบั บ (Manuscripted Speech) การพู ด


ยห

ลัก ษณะนี้ เ ป็ น อ่ า นจากร่ า งหรือ ต้ น ฉบับ ที่จ ะเตรีย มไว้ล่ ว งหน้ า โดยไม่ มีก าร
น่า

เปลียนแปลงข้อความแต่อย่างใด และผู้พูดก็ไ ม่จาเป็ นต้องคิดหาถ้อยคาใดมาใช้


์จําห

นิยมใช้ในการพูดที่ต้องการความระมัดระวังเกี่ยวกับการใช้ถ้อยคาแต่ละค าเป็ น
ิมพ

พิเศษโดยเฉพาะในโอกาสที่เป็ นพิธกี าร เช่น กระแสพระราชดารัสของพระบาท


มพ

สมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ในพระราชพิธตี ่าง ๆ คาปราศรัยของบุคคลสาคัญ คากล่าวใน


ห้า

พิธเี ปิ ดและปิ ดการประชุม คาแถลงการณ์ของรัฐบาล เป็ นต้น การพูดลักษณะนี้ผู้


พู ด จะต้ อ งมีก ารซัก ซ้ อ มการอ่ า นต้ น ฉบับ มาเป็ น อย่ า งดีเ พื่อ ป้ อ งกัน การอ่ า น
ผิดพลาด และเพื่อให้ทราบว่าที่ใดควรเน้น ที่ใดควรเว้นวรรค อ่านออกเสียงให้

RAM 1103 131

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ถูกต้อง มีน้ าเสียงเป็ นธรรมชาติ นอกจากนี้ ผู้อ่านควรทาความเข้าใจในเนื้อหา


สาระจนสามารถจดจาข้อความได้บา้ งเพือ่ ทีจ่ ะได้เงยหน้าขึน้ สบตากับผูฟ้ ั งเป็ นครัง้
คราวโดยไม่ให้การอ่านขาดตอน

คุณสมบัติของนักพูดที่ดี

ัย
ยาล
นักพูดที่ดี จาเป็ นจะต้องพัฒนาพื้นฐานของตนเองให้มี คุณสมบัตทิ ่สี าคัญเบื้องต้น 5

วิท
ประการดังนี้ (ทินวัฒน์ 2525, 20-22)

หา
1. เป็ นนักฟั งทีด่ ี นักพูดไม่ใช่ฝึกพูดอย่างเดียว ต้องฝึกฟั งด้วย ต้องรูว้ ่า

างม
เมื่อไรควรพูดและเมื่อไรควรฟั ง การฟั งผูอ้ ่นื พูดทาให้เราได้รบั ความรูเ้ พิม่ ขึน้ หรือ

ากท
อย่างน้อยก็ได้ทบทวนความรู้เดิมทีเ่ รามีอยู่แล้ว ข้อสาคัญคือถ้าเลือกฟั งในสิง่ ที่มี
ประโยชน์กจ็ ะทาให้เพิม่ คุณค่าให้แก่ตวั เองมากขึน้

ตจ
2. ศึกษาหาความรู้อยู่เสมอ นักพูดต้องศึกษาหาความรู้อยู่ตลอดเวลา

นุญ
ความรูท้ ว่ี ่านี้นอกจากจะได้จากการฟั ง การสนทนาวิสาสะกับผูร้ ตู้ ่าง ๆ รวมถึงการ
ับอ
ฟั งข่าวแล้ว ความรู้ท่ีไ ด้จากการอ่า นก็สาคัญ การอ่านเป็ นวิธีต ักตวงความรู้ท่ี
ด้ร

รวดเร็ว และรวบรัดทีส่ ุด นักพูดต้องรักการอ่าน หาไม่แล้วการพูดจะวนอยู่ทเ่ี ดิมไม่


ไม่ไ

ไปไหน พอพูดซ้ามากๆ ก็จะเกิดความเบื่อตัวเอง เมื่อผูพ้ ดู เบื่อตัวเองก็จะไม่มผี ฟู้ ั ง


คนไหนอยากฟั ง
ร่โด

3. ยอมรับฟั งค าวิจารณ์ นักพูดต้อ งยอมรับฟั งค าวิพากษ์ว ิจารณ์ จาก


แพ

ผู้อ่นื ต้องต้อนรับทัง้ คาติและชม ไม่ใช่หลงใหลได้ปลื้มอยู่กบั คาสรรเสริญเยินยอ


เผย

เพียงอย่างเดียว คาชมไม่ให้อะไรมากไปกว่า ยาหอมชโลมใจ มีความสุขเพียงชัว่


รือ

ครู่ยาม ประเดีย๋ วเดียวก็ลมื คาติต่างหากทีใ่ ห้ขอ้ คิดกับเรา ไม่ว่าจะเป็ นคาติเพือ่ ก่อ


ยห

หรือคาติเพื่อทาลาย พึงตัง้ สติให้มนคง ั ่ น้อมรับคาวิพากษ์วจิ ารณ์เหล่านั ้น นามา


น่า

พิจารณาหาข้อเท็จจริง สิง่ ใดเป็ นคาติเพื่อสร้างสรรค์ ขอให้เรารีบนามาปรับปรุง


์จําห

แก้ไ ขตัว เอง สิ่งใดเป็ นค าติเชิงทาลายก็อ ย่ากังวลใจให้มากนัก แต่อ ย่างน้ อ ยก็


ิมพ

ขอให้ตงั ้ อยู่ในความไม่ประมาท ถ้าเขาไม่ตเิ รา เราจะรูถ้ งึ ข้อบกพร่องของตนเองได้


มพ

อย่างไร
ห้า

4. เป็ นตัวของตัวเอง นัก พูดต้องเป็ นตัวของตัวเอง อย่าเลียนแบบใคร


งานเลียนแบบเป็ นงานที่ไร้เกียรติ ไม่สร้างสรรค์ ไม่ทาความเจริญให้แก่โลก และ
ไม่ทาความภาคภูมิใ จให้แก่ตวั เอง เราจะเป็ นยอดในสิ่งนัน้ ไม่ได้ ถ้าเราเอาแต่

132 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

เลียนแบบคนอื่นเพียงอย่างเดียว เพราะในทีส่ ุดเราจะพ่ายแพ้คน ๆ หนึ่ง คือคนที่


เราเลียนแบบเขา ถ้าท่านมีบุคคลใดเป็ นตัวอย่างของการพูดที่ดี ขอให้จดจาเอา
บางอย่างของเขามาลองปฏิบตั ดิ ู อย่าเลียนแบบเขาทัง้ หมด จงเป็ นตัวของตัวเอง
ได้ของดีจากใครมา ได้ค วามรู้ข้อ คิดดี ๆ จากใคร ถ้าทาได้ค วรเอ่ยนามเขาให้
ปรากฏ นอกจากท่านจะได้แสดงมารยาทอันงดงามแล้ว ท่านยังถ่ายทอดสิง่ ต่าง ๆ

ัย
ยาล
เหล่านัน้ ได้อย่างเต็มปากเต็มคา ไม่เคอะเขินอีกด้วย ผิดกันอย่างมากกับการที่ตี

วิท
ขลุมให้ผฟู้ ั งเข้าใจว่าเป็ นของตนเอง

หา
5. มีความสุขในการถ่ายทอดความรู้ให้ผู้อ่นื นักพูดต้องมีความสุ ขและ

างม
ความพอใจที่จะกล่าวทอดความรู้ให้กบั ผู้ฟัง คนที่หวงความรู้ นอกจากทาให้โลก

ากท
ไม่เจริญแล้ว ก็ยงั ทาให้ตวั เองไม่เจริญอีกด้วย เพราะถ้าเราปิ ดบังไม่ยอมถ่ายทอด
หรือ ถ่ ายทอดไม่ห มด เก็บไว้หากินวันหลัง ทานองนี้ เราก็จะไม่ ขวนขวายหา

ตจ
ความรู้ใหม่ในที่สุด ความรู้เราก็เท่าเดิม นักพูดที่ดตี ้องพอใจที่จะถ่ายทอดความรู้

นุญ
ให้จบสิน้ ตามทีผ่ ฟู้ ั งกาหนด นอกเสียจากเวลาหรือเงือ่ นไขอย่างอื่นบังคับ เมื่อหมด
ับอ
เวลาแล้วก็แสวงหาสิง่ ใหม่ ทุกครัง้ ทีม่ โี อกาสพูดขอให้ถอื เป็ นโอกาสดีทเ่ี ราจะได้ทา
ด้ร

ประโยชน์เป็ นเกียรติยศทีผ่ ฟู้ ั งหยิบยื่นให้เรา ความคิดเช่นนี้เป็ นความสุขทีม่ องไม่


ไม่ไ

เห็น เป็ นความภูมใิ จที่ซ่อนเร้น ซึ่งจะบันดาลให้การพูดเป็ นประกายเฉิดฉาย มี


พลัง มีศรัทธา และมีหวั ใจทุ่มเทกับการพูดทุกครัง้


ร่โด

มารยาทในการพูด
แพ

1. ผูพ้ ดู ต้องพูดให้สอดคล้องกับเนื้อหาทีจ่ ะพูด ไม่พดู เรื่องส่วนตัวหากไม่


เผย

มีใครสักถาม และควรลาดับเนื้อหาในการพูดมาเป็ นอย่างดี


รือ

2. ผูพ้ ูดต้องให้เกียรติผฟู้ ั ง ไม่แสดงความอวดรู้ ไม่กล่าวโทษ หรือแสดง


ยห
น่า

อาการดูถูก เยาะเย้ยถากถางผูฟ้ ั ง
์จําห

3. ผู้พูดที่ดคี วรมีความอ่อนน้อมถ่อมตน เปิ ดใจรับฟั งความคิดเห็นของ


ผูอ้ ่นื
ิมพ

4. ผูพ้ ูดต้องไม่กล่าวร้ายกระทบกระเทียบใคร หรือพูดอะไรทีส่ ร้างความ


มพ

เสียหายให้กบั บุคคลอื่น
ห้า

5. ผูพ้ ดู ต้องมีจริยธรรม มีความรับผิดชอบต่อการพูดของตนเอง


6. ผูพ้ ูดต้องสารวมกิรยิ ามารยาทและวาจา รูจ้ กั ควบคุมน้ าเสียง อารมณ์
และอากัปกิรยิ าให้อยู่ในสภาพทีอ่ ่อนโยน สุภาพเรียบร้อยอยู่ตลอดเวลา

RAM 1103 133

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

7. ผูพ้ ดู ควรแต่งกายสุภาพเรียบร้อย เหมาะสมกับกาละเทศะ


8. ผู้พูด ต้อ งมีค วามตรงต่ อ เวลา และรู้จ ัก รัก ษาเวลาให้เ หมาะสมกับ
เนื้อหาทีพ่ ดู

การฟัง

ัย
ยาล
เมื่ อ พู ด ถึ ง การพู ด สิ่ ง ที่ จ ะขาดไม่ ไ ด้ ก็ ค ื อ การฟั ง โดยทัว่ ไปการพู ด ย่ อ มต้ อ ง

วิท
ประกอบด้ว ยบุค คลสองฝ่ ายคือ ผู้พูดและผู้ฟั ง การฟั งจึงถือ เป็ นส่ว นประกอบสาคัญ ในการ

หา
สื่อ สารด้ว ยการพูด การสื่อ สารด้ว ยการพูด จะประสบความส าเร็ จ ไม่ ไ ด้ห ากขาดผู้ฟั ง ที่ดี

างม
นอกจากนี้ในการสื่อสารสองทาง เช่น การสนทนา หรือการอภิปรายกลุ่ม ผู้พูดก็จาเป็ นต้อง

ากท
เป็ นผู้ฟั งที่ดีด้ว ยเพื่อให้การพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นสาเร็จลุ ล่ว ง ก่อ ให้เ กิดความใจ
ระหว่างกันและกัน

า ตจ
นุญ
ความหมายของการฟัง
ับอ
การฟั งคือกระบวนรับสารจากแหล่ งกาเนิดเสียง ซึ่งอาจจะเป็ นการได้ยินจากผู้พูด
ด้ร

โดยตรง หรือจากอุปกรณ์ให้กาเนิดเสียงอื่น ๆ หรือจากเสียงในธรรมชาติ โดยต้องอาศัยทัง้


ไม่ไ

ความสามารถทางร่างกายและจิตใจของมนุษย์ ทางร่างกายนัน้ หมายถึงผูฟ้ ั งจะต้องไม่มคี วาม


บกพร่องทางการได้ยนิ หากบุคคลใดบกพร่องทางการได้ยนิ ก็จะกลายเป็ นอุปสรรคในการฟั ง


ร่โด

ส่วนทางจิตใจนัน้ เนื่องจากกระบวนการของการสื่อสารประกอบด้วยการได้ยนิ การตีความ


แพ

การเข้าใจ และการตอบสนอง จิตใจจึงมีส่วนเกี่ยวข้องทัง้ ในขัน้ ของการตีความและการเข้าใจ


เผย

กล่าวกันว่า การฟั งเป็ นตัวการในการกระตุ้นให้มมี นุษย์มปี ฏิกริ ยิ าตอบสนอง (response) และ


รือ

ส่งสารไปยังแหล่งกาเนิด (source/speaker) ความสามารถทางร่างกายและจิตใจของมนุษย์จงึ


ยห

เป็ นส่วนประกอบสาคัญทีท่ าให้กระบวนการฟั งสมบูรณ์


น่า
์จําห

วัตถุประสงค์ของการฟัง
ิมพ

ดังได้ก ล่ าวไปแล้วว่าการฟั งถือได้ว่าเป็ นตัวการในการกระตุ้นให้ม นุ ษ ย์มีปฏิกิริยา


มพ

ตอบสนอง และส่งสารกลับไปยังแหล่งกาเนิด โดยทัวไปการฟั ่ งจึงมีวตั ถุประสงค์กว้าง ๆ 3


ห้า

ประการคือ

134 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

1. ฟั งเพื่อความสนุ กสนานเพลิดเพลิน ได้แก่การฟั งเรื่องราวที่สนุ ก ๆ


เรื่องเบาสมอง ฯลฯ ผลจากการฟั งประเภทนี้คอื เป็ นการผ่อนคลายความตึงเครียด
2. การฟั งเพื่อให้ได้ความรู้ ได้แก่ การฟั งเรื่องที่มลี กั ษณะเป็ นวิชาการ
และข่าวสารทีเ่ ป็ นประโยชน์ เป็ นการฟั งทีม่ ุ่งผลในการสร้างความเข้าใจและจดจา
สาระสาคัญต่าง ๆ

ัย
ยาล
3. การฟั งเพื่อวิพากษ์วจิ ารณ์ เป็ นการฟั งที่ก่อให้เกิดวิจารณญาณแก่

วิท
ผู้ฟังเป็ นสาคัญ ผู้ฟังจะต้องใช้ความคิดและการตัดสินใจเลือกในสิง่ ที่ควรเชื่ อและ

หา
ปฏิเสธในสิง่ ทีไ่ ม่เห็นด้วย

างม
ากท
ความสาคัญของการฟัง
ในชีวติ ประจาวันนัน้ เราจะต้องเป็ นผูฟ้ ั งในหลากหลายสถานการณ์ การมีทกั ษะการฟั ง

ตจ
ทีด่ ใี นสถานการณ์ต่าง ๆ จึงมีความสาคัญและก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตวั เอง โดยสามารถสรุป

นุญ
ได้ดงั นี้
ับอ
1. การฟั งทาให้ได้รบั สาระความรูท้ เ่ี ป็ นประโยชน์ ช่วยให้ผฟู้ ั งรับรูค้ วาม
ด้ร

เป็ นไปของโลก มีค วามคิด กว้ า งไกล สามารถปรับ ตัว ทัน ต่ อ เหตุ ก ารณ์ ท่ี
ไม่ไ

เปลีย่ นแปลงอยู่ตลอดเวลา อีกทัง้ ยังช่วยให้รเู้ ท่าทันคนอื่น


2. การฟั งเป็ นการเปิ ดโลก ช่วยให้เป็ นคนใจกว้าง รู้จกั ยอมรับฟั งความ


ร่โด

คิดเห็นหรือวัฒนธรรมทีแ่ ตกต่าง ทาให้เป็ นคนทีม่ เี หตุมผี ล


แพ

3. การฟั งเป็ นการเพิม่ พูนประสบการณ์ โดยเฉพาะหากฟั งยังอย่างตัง้ ใจ


เผย

และนาไปใคร่ครวญ คิดวิเคราะห์ดว้ ยเหตุผล ก็จะช่วยเสริมสร้างความมันใจให้ ่ แก่


รือ

ตนเอง
ยห

4. การฟั งเพื่อความบันเทิง ช่วยให้ผฟู้ ั งได้พกั ผ่อนหย่อนใจ ถือเป็ นส่วน


น่า

หนึงของคุณภาพชีวติ
์จําห

5. การตัง้ ใจฟั งทาให้ได้ช่อื ว่าเป็ นผูม้ มี ารยาทในการสนทนา การรูจ้ กั ฟั ง


ิมพ

ผูอ้ ่นื ทาให้ได้รบั ความนิยมชมชอบ เป็ นการสร้างมนุษยสัมพันธ์


มพ
ห้า

ลักษณะของการฟังที่ดี
ส าหรับ ผู้ฟั ง ที่เ ป็ น ผู้ ร ับ สารจากผู้พู ด การฟั ง เป็ น พฤติก รรมที่จ ะต้อ งมีก ารฝึ ก ฝน
ปรับปรุงทักษะ การฟั งสาคัญเท่า ๆ กับการพูด ถ้าผูฟ้ ั งรูจ้ กั ฟั งแล้วการฟั งก็จะมีประโยชน์เป็ น

RAM 1103 135

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

อย่างมาก แต่ถา้ ไม่รจู้ กั การฟั งก็จะไม่ได้รบั ผลอะไรเลย ฉะนัน้ การทีจ่ ะเป็ นนักฟั งทีด่ ไี ด้นัน้ ย่อม
ต้องมีการฝึกฝนเพือ่ พัฒนาทักษะการฟั งอยู่เสมอ โดยลักษณะการฟั งทีด่ มี ดี งั นี้
1. เตรีย มตัว ให้พ ร้อ มทัง้ กายและจิต ใจที่จ ะฟั ง จึง จะท าให้ก ารฟั ง ได้
ประโยชน์อย่างเต็มที่
2. ปรับปรุงทัศนคติของตนเองโดยการสารวจว่าตนเองมีปัญหาในการ

ัย
ยาล
ฟั ง ด้า นใดบ้า ง การจะเป็ น นัก ฟั ง ที่ดีไ ด้นั น้ จะต้ อ งตัง้ ใจฟั ง และพยายามขจัด

วิท
อุปสรรคต่าง ๆ ทีจ่ ะเป็ นเครื่องกีดขวางการรับฟั ง

หา
3. เลือกตาแหน่งทีน่ งั ่ ให้เหมาะสม สามารถได้ยนิ เสียงผูพ้ ูดชัดเจน และ

างม
มองเห็นหน้าของผูพ้ ูด การเลือกตาแหน่งทีน่ งั ่ ฟั งมีความสัมพันธ์กบั ประสิทธิภาพ

ากท
ของการฟั งเพราะการฟั งได้ไม่ชดั เจน จับความได้ไม่หมด หรือมองไม่เห็นหน้าผู้
พูดก็สามารถทาให้ผฟู้ ั งหมดสมาธิในการฟั งได้

ตจ
4. ฟั งด้วยความอดทนและมีวจิ ารณญาณ โดยธรรมชาติคนเรานัน้ มักจะ

นุญ
มีพฤติกรรมชอบพูดมากกว่าฟั ง แต่ในขณะเดียวกัน มนุษย์เราก็ควรจะรับฟั งความ
ับอ
คิดเห็นของผูอ้ ่นื บ้าง ในกรณีเช่นนี้ ผูฟ้ ั งควรจะมีความอดทนทีจ่ ะรับฟั งการพูดของ
ด้ร

ผูอ้ ่นื และใช้วจิ ารณญาณอย่างสุขมุ รอบคอบเพือ่ ประเมินความหมายของผูพ้ ดู


ไม่ไ

5. ฟั งด้ว ยความตัง้ ใจ ในการฟั งที่ดีผู้ฟั งจะต้อ งมีส มาธิใ นการฟั ง ตัด


ความกังวลต่าง ๆ ออกไป และตัง้ ใจรับฟั งการพูดของผูพ้ ูดเพื่อให้จบั ประเด็นและ


ร่โด

สาระสาคัญของเรื่องให้ได้ เมื่อมีความตัง้ ใจและเกิดความสนใจ ผู้ฟังก็จะได้รบั


แพ

ประโยชน์จากการฟั งนัน้
เผย

6. ฟั งด้วยความคิด ประเมินผล และวิจารณ์ ในกระบวนการพูด ผู้พูด


รือ

ควรได้คดิ และไตร่ตรองความคิดต่าง ๆ เหล่านัน้ ก่อนแล้วจึงพูด แต่ในกระบวนการ


ยห

ฟั ง ผู้ฟั งควรจะได้ใ ช้ห ลักการฟั งเสียก่อ น แล้ว จึงนาไปคิดไตร่ต รองหาเหตุผล


น่า

เพื่อให้เข้าใจสาระทีผ่ พู้ ูดได้ทาการสื่อสารมา โดยทัวไปแล้ ่ ว ในขณะทีก่ าลังฟั งอยู่


์จําห

ผูฟ้ ั งมักจะไม่เข้าใจการพูดได้ทนั ทีเนื่องจากมีเวลาให้คดิ น้อยเพราะต้องใช้เวลาใน


ิมพ

การติดตามคาพูด ดังนัน้ การฟั งแล้วคิด นาไปค้นคว้า ซักถาม หาเหตุผล ย่อม


มพ

ก่อให้เกิดปั ญญาและความรู้
ห้า

136 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

มารยาทในการฟัง
1. ผูฟ้ ั งควรฟั งด้วยความตัง้ ใจตลอดเรื่องราว เพื่อให้จบั ประเด็น
ต่าง ๆ ได้อย่างครบถ้วนและชัดเจน
2. ผู้ฟังควรมีทศั นคติท่ดี ตี ่อผู้พูด เปิ ดใจยอมรับ และใคร่ครวญ
อย่างถีถ่ ว้ นเพือ่ ทาความเข้าใจในสิง่ ทีผ่ พู้ ดู ต้องการนาเสนอโดยไม่มอี คติ

ัย
ยาล
3. หากมีขอ้ สงสัยหรือข้อโต้แย้ง ผูฟ้ ั งควรรอให้ผพู้ ูดพูดจบ หรือ

วิท
เปิ ดโอกาสให้ซกั ถาม ไม่ควรพูดขัดขณะทีผ่ พู้ ดู กาลังพูด

หา
4. หากผูฟ้ ั งฟั งแล้วเกรงว่าจะจับใจความได้ไม่หมด ให้ใช้การจด

างม
บันทึกช่วยเพือ่ ไม่ให้พลาดเนื้อหาทีค่ วามสาคัญทีผ่ พู้ ดู ต้องการนาเสนอ

ากท
5. ผู้ ฟั งคว รให้ เ กี ย รติ ผู้ พู ด คว รแสดงให้ เ ห็ น ถึ ง คว าม
กระตื อ รื อ ร้ น ในการฟั งด้ ว ยการเงยหน้ า มองผู้ พู ด ไม่ ค วรก้ ม หน้ า กด

ตจ
โทรศัพ ท์มือ ถือ คุ ยกัน หรือ ส่งเสียงรบกวน ในขณะที่ผู้พูดกาลังพูดในห้อ ง

นุญ
ประชุม
ับอ
6. ผูฟ้ ั งควรรักษามารยาทโดยรวมของสังคมทีพ่ งึ ปฏิบตั ิ ไม่ออก
ด้ร

นอกสถานทีห่ รือห้องประชุมโดยไม่จาเป็ นเพราะถือเป็ นการไม่ให้เกียรติผพู้ ดู


ย ไม่ไ
ร่โด
แพ
เผย
รือ
ยห
น่า
์จําห
ิมพ
มพ
ห้า

RAM 1103 137

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

3. การพูดจรรโลงใจ (Entertaining Speech) หรือการพูดเพื่อความบันเทิง เป็ นการ


พูดทีใ่ ช้ได้ในหลายโอกาสที่มกี ารพบปะสังสรรค์ เช่น การพูดในงานชุมนุ มสโมสรหรือสมาคม
ต่าง ๆ งานรื่นเริง การพูดหลังอาหาร เรื่องเกีย่ วกับสถานทีท่ ่องเทีย่ วต่าง ๆ หรือประสบการณ์
ที่น่าสนใจ เป็ นต้น การพูดชนิดนี้ก็เพื่อให้ ความบันเทิง และให้ผู้ฟังเกิดความรู้สกึ สนุ กสนาน
ผ่อนคลายความตึงเครียดจากสถานการณ์ต่าง ๆ ทีป่ ระสบพบเจอในชีวติ ประจาวัน นอกจากนี้

ัย
ยาล
ยังช่วยให้ผู้ฟังได้รบั ประโยชน์จากเนื้อหาของเรื่องราวที่ได้รบั ฟั งอีกด้วย การพูดชนิดนี้ ผู้พูด

วิท
ต้องรูจ้ กั รักษาเวลาในการพูด ไม่ควรพูดนานเกินไป พูดให้ตรงประเด็นและมีเนื้อหาทีเ่ หมาะสม

หา
คือมีมุกตลกหรืออารมณ์ขนั สอดแทรกได้ แต่ตอ้ งไม่ใช่เรื่องหยาบโลน หรือสร้างความเสือ่ มเสีย

างม
ทางศีลธรรม

ากท
การวิ เคราะห์ผ้ฟู ัง

ตจ
ในกระบวนการสือ่ สารด้วยการพูดนัน้ ผูฟ้ ั งถือเป็ นองค์ประกอบสาคัญประการหนึ่ง ซึ่ง

นุญ
ผูพ้ ูดต้องคานึงถึง การวิเคราะห์ผฟู้ ั งจึงถือเป็ นปั จจัยสาคัญประการหนึ่งทีจ่ ะช่วยให้การพูดนัน้
ับอ
ประสบความสาเร็จด้วยดี ทัง้ นี้การวิเคราะห์ผฟู้ ั งประกอบด้วย
ด้ร

1. อายุของผูฟ้ ั ง ผูฟ้ ั งทีม่ อี ายุต่างกัน ยอมมีความรูส้ กึ นึกคิด ความสนใจ รวมถึงความ


ไม่ไ

เข้าใจในเรื่องประสบการณ์ทแ่ี ตกต่างกันไป ฉะนัน้ ผูพ้ ูดจึงควรนามาพิจารณา เพื่อให้เข้าใจว่า


การพูดกับผูฟ้ ั งแต่ละวัยนัน้ ควรใช้วธิ กี ารพูดอย่างไร


ร่โด

1.1 วัยเด็ก เป็ นวัยทีม่ ลี กั ษณะซุกซน ไม่ อยู่นิ่ง ไม่มคี วามตัง้ ใจในการฟั งเรื่องได้นาน
แพ

ๆ เบื่อ ง่าย ชอบแต่เ รื่อ งสนุ ก สนาน ตื่นเต้น อยากรู้อ ยากเห็น ชอบการรับประทาน มีพ้ืน
เผย

ฐานความรู้ ความสนใจ และประสบการณ์น้อย ดังนัน้ การสื่อสารกับวัยเด็กจึงควรใช้ภาษาที่


รือ

ง่ายกว่าการสื่อสารกับผูใ้ หญ่ และต้องไม่พูดนานจนเกิ นไป เรื่องทีพ่ ูดให้วยั เด็กฟั งจึงควรเป็ น


ยห

เรื่องสนุ กสนาน เร้าอารมณ์ สร้างความตื่นเต้น น้ าเสียงในการพูดจะต้องแสดงความตื่นเต้น


น่า

สนุกสนาน แฝงด้วยมุกตลก
์จําห

1.2 วัยรุ่น เป็ นวัยทีค่ ดิ ว่าตนเองเป็ นผูใ้ หญ่แล้ว ไม่ชอบให้ใครมาทากับตนแบบเด็ก ๆ


ิมพ

วัยนี้จึงเป็ นวัยที่มคี วามคิดและพฤติกรรมอยู่ระหว่างเด็กกับผู้ใหญ่ มีความคิดแบบเสรีนิยม


มพ

มากกว่าคนที่มีอ ายุมาก มีค วามใจร้อ น สาเหตุเ พราะเพิ่งผ่ านพ้นวัยเด็กมาจึงยังไม่เ ข้าใจ


ห้า

เหตุ ก ารณ์ บ างอย่ า ง ขาดประสบการณ์ และยัง ไม่ ต้ อ งมีค วามรับ ผิด ชอบใด ๆ และอาจ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตามอิทธิพ ลของสิง่ รอบตัวได้ง่า ย วัยนี้จึงเป็ นวัยที่อ ยากได้รบั การ
ยอมรับ อยากทดลองสิง่ ใหม่ ๆ ชอบชีวติ โลดโผน ตื่นเต้น ครึกครืน้ ดังนัน้ การพูดกับผูฟ้ ั งกลุ่ม

RAM 1103 139

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

นี้จึงควรคานึงถึงจิตวิทยาวัยรุ่นให้มาก ไม่ควรพูดแบบดูถูกทานองว่าผู้ฟังอายุน้อยกว่าจึงรู้
น้อย แต่ควรให้ยกย่องเกียรติและปฏิบตั กิ บั ผูฟ้ ั งกลุ่มนี้เหมือนเป็ นผูใ้ หญ่
1.3 วัย กลางคน เป็ น วัย ที่ก าลัง สร้า งเนื้ อ สร้า งตัว มีจุ ด มุ่ ง หมายในอาชีพ การงาน
พยายามทีส่ ร้างฐานะของตนเอง รักความก้าวหน้า มุ่งมันที ่ จ่ ะสร้างชื่อเสียง ยึดมันในความคิ
่ ด
และอุดมคติของตนเอง มีความคิดและประสบการณ์กว้างขวาง การพูดกับคนวัยกลางคนนี้ ผู้

ัย
ยาล
พูด จะต้อ งมีก ารเตรีย มตัว ที่ดี ใช้ค าพูด ที่เ หมาะสม กระชับ มีเ หตุ มีผ ล มีค วามหนัก แน่ น

วิท
น่าเชื่อถือ สามารถทีจ่ ะโน้มน้าวให้ผฟู้ ั งคล้ายตามความคิดเห็นของผูพ้ ดู ได้

หา
1.4 วัยชรา เป็ นวัยทีผ่ ่านชีวติ มามาก มีประสบการณ์สูง ชอบหาสิง่ ยึดเหนี่ยวจิตใจ มี

างม
ความคิดแบบอนุ ร กั ษ์นิยม เชื่อในสิง่ ที่ปฏิบตั ิได้จริง มีความระแวดระวัง สาเหตุท่เี ป็ นเช่นนี้

ากท
เนื่องจากผูส้ ูงอายุผ่านชีวติ มามาก โอกาสทีจ่ ะโน้มน้าวให้เปลีย่ นความคิดความเชื่อจะน้อยลง
เพราะมักจะยึดติดกับความเชื่อเดิม ดังนัน้ การพูดกับคนในวัยนี้จงึ ควรพูดเกี่ยวกับเรื่องความ

ตจ
ปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สนิ การรักษาพยาบาล สวัสดิภาพทางครอบครัวและจิตใจ เป็ นต้น

นุญ
2. เพศของผู้ฟัง เพศหญิงกับเพศชายนัน้ มีความสนใจ ทัศนคติ ตลอดจนรสนิยมไม่
ับอ
เหมือนกัน เพศหญิงส่วนใหญ่มกั จะสนใจในเรื่องความสวยงาม การดูแลตัวเอง หรือแฟชัน่
ด้ร

ส่วนเพศชายส่วนใหญ่จะสนใจเรื่องหนัก ๆ เช่น เรื่องของเครื่องยนต์กลไก เรื่องของซอฟต์แวร์


ไม่ไ

และฮาร์ดแวร์ เรื่อ งของงานช่าง หรือ การกีฬ า ก่อ นการพูดผู้พูดควรศึกษาว่าสัดส่ว นผู้ฟัง


ระหว่างเพศหญิงและเพศชายเป็ นอย่างไร เพือ่ ปรับการพูดให้เหมาะสมตามกลุ่มผูฟ้ ั ง


ร่โด

3. การศึก ษา เป็ น ปั จ จัย ส าคัญ อีก ประการหนึ่ ง ที่มีผ ลต่ อ ผู้ฟั ง การที่ผู้ฟั ง มีร ะดับ
แพ

การศึก ษาต่ า งกัน สาขาวิช าต่ า งกัน ฯลฯ ย่ อ มมีอิท ธิพ ลต่ อ ความรู้ส ึก นึ ก คิด อุ ม การณ์
เผย

ประสบการณ์ และความต้องการทีแ่ ตกต่างกัน ดังนัน้ ผูพ้ ูดจะต้องพิจารณาพื้นฐานการศึกของ


รือ

ผูฟ้ ั งด้วยว่าอยู่ในระดับใด ถ้ากลุ่มผูฟ้ ั งมีการศึกษาน้อย ผูพ้ ูดก็จะต้องทาการสื่อสารด้วยภาษา


ยห

ง่าย ๆ เพื่อให้ผฟู้ ั งสามารถจับความได้ แต่ถ้าผูฟ้ ั งมีการศึกษาสูงก็ควรจะต้องปรับการใช้คาให้


น่า

พูดให้มเี หตุมผี ล หรือใช้ศพั ท์ทส่ี งู ขึน้


์จําห

4. ความเชื่อและศาสนา การนับถือศาสนา ความเชื่อ และวัฒนธรรม เป็ นสิง่ ทีค่ นเรา


ิมพ

ยึดถือมาตัง้ แต่อดีต ในระยะแรก เด็กจะได้รบั อิทธิพลของศาสนา ความเชื่อ และวัฒนธรรมต่าง


มพ

ๆ ของสังคมที่ต นอาศัยอยู่จากพ่อ แม่ ผ่ านทางการอบรมสังสอนและปลู ่ กฝั งด้านความคิด


ห้า

ต่อเมื่อถึงวัยสมควรก็จะได้รบั การสังสอนจากโรงเรี
่ ยน รวมถึงการดาเนินชีวติ ของบุคคลนัน้ ๆ
สิง่ เหล่านี้จงึ เป็ นสิง่ ทีส่ บื ทอดทางวัฒนธรรม มีอทิ ธิพลต่อความรูส้ กึ นึกคิด ทัศนคติ ค่านิยม ทา
ให้บุคคลมีพฤติกรรมแตกต่างกันไป ดังนัน้ ผูพ้ ูดจะต้องใช้ความระมัดระวังอย่าพูดในทานองดู

140 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

หมิน่ เหยียดหยาม หรือไม่เห็นด้วยกับความเชื่อต่าง ๆ เหล่านัน้ ซึ่งอาจก่อให้เกิดความไม่


พอใจ หรือความขัดแย้ง และทาให้การพูดไม่ประสบความสาเร็จ
5. อาชีพ ผูฟ้ ั งทีม่ อี าชีพ และภูมหิ ลังทีแ่ ตกต่างกันของผูฟ้ ั งจะมีความสนใจทีแ่ ตกต่าง
กัน เช่น ผู้ท่มี อี าชีพทานาย่อมมีความสนใจเกี่ยวกับเรื่องการทานา การค้าข้าว การะประกัน
ราคาข้าว เป็ นต้น เป็ นต้น ผูพ้ ูดจึงควรศึกษาอาชีพของกลุ่มผูฟ้ ั งเพื่อเตรียมเรื่องให้สอดคล้ อง

ัย
ยาล
กับความสนใจของกลุ่มผูฟ้ ั ง

วิท
6. จานวนของผูฟ้ ั ง ผูพ้ ูดควรศึกษามาล่วงหน้าว่ากลุ่มผูฟ้ ั งจะมีจานวนมากน้อยเท่าใด

หา
ถ้ามีจานวนมาก ควรเตรียมวิธพี ูดให้ตรงตามรูปแบบพิธกี าร เตรียมคาขึ้นต้นให้ถูกต้องตาม

างม
แบบแผนเพือ่ ให้เกียรติแก่ผฟู้ ั ง โครงสร้างการพูดควรประกอบด้วย คานา เนื้อ หา และการสรุป

ากท
ทีไ่ ด้สดั ส่วนพอเหมาะ เรียงลาดับให้เป็ นระเบียบ ไม่สบั สน ควรเตรียมร่างทีจ่ ะพูดให้เรียบร้อย
พึงระลึกไว้ว่า ยิง่ มีผฟู้ ั งกลุ่มใหญ่เท่าใด โอกาสทีจ่ ะเข้าใจสับสนยิง่ เกิดขึน้ ได้งา่ ยเท่านัน้

ตจ
นอกจากนี้ บางครัง้ ถ้ามีผู้ฟังกลุ่มใหญ่ ผู้พูดจะต้องเตรียมอุปกรณ์ประกอบการพูด ผู้

นุญ
พูดควรทดสอบอุปกรณ์ประกอบการพูด เช่น โสตทัศนูปกรณ์ต่าง ๆ ว่าใช้งานได้ดี และผูฟ้ ั งทัง้
ับอ
กลุ่มสามารถมองเห็นได้ทวกั ั ่ นจริง ๆ แต่หากกลุ่มผูฟ้ ั งมีขนาดเล็กก็ต้องใช้วธิ พี ูดแตกต่างจาก
ด้ร

กลุ่มผูฟ้ ั งขนาดใหญ่ อาจไม่ตอ้ งรักษาบรรยากาศทีเ่ ป็ นพิธกี ารให้มากนัก ใช้วธิ กี ารพูดคุยอย่าง


ไม่ไ

เป็ นกันเอง

ร่โด

การวิ เคราะห์สถานการณ์ในการพูด
แพ

ในการเตรียมตัว เพื่อ การพูดนัน้ นอกเหนือ จากการวิเ คราะห์ผู้ฟั งแล้ว ผู้พูดยังควร


เผย

วิเคราะห์สถานการณ์ในการพูดด้วย ดังนี้
รือ

1. สถานที่ ผู้พูดควรศึก ษาสถานที่ท่ีจะไปพูดก่อ นว่าเป็ นสถานที่แบบใด เป็ นห้อ ง


ยห

ขนาดใหญ่หรือขนาดเล็ก มีเครื่องขยายเสียง หรือโสตทัศนูปกรณ์ใดบ้าง มีแสงสีแบบใด ต้อง


น่า

พูดบนพืน้ เวที หรือพืน้ ห้อง การทีผ่ พู้ ดู รูจ้ กั สถานทีท่ ต่ี นจะไปพูด จะช่วยให้เลือกการแต่งกายที่
์จําห

เหมาะสมตามกาละเทศะ อีกทัง้ ยังช่วยให้สามารถเลือกโทนสีของชุดที่เข้ากับแสงและสีของ


ิมพ

สถานที่ นอกจากนี้หากผู้พูดที่มคี วามคุ้นเคยกับสถานที่ย่อมสามารถปรับการพูดให้เข้ากับ


มพ

บรรยากาศของสถานทีน่ นั ้ ๆ ได้อกี ด้วย


ห้า

2. เวลา ผูพ้ ูดต้องวิเคราะห์ว่าจะพูดในช่วงเวลาใด และจะใช้เวลาพูดนานแค่ไหน การ


วิเคราะห์ช่วงเวลาทีพ่ ูดจะช่วยให้ผพู้ ูดทราบความสนใจของผูฟ้ ั ง ตัวอย่างเช่น หากพูดในช่วง
เช้า ผูฟ้ ั งจะมีความสนใจมาก เพราะยังกระปรีก่ ระเปร่า หากพูดหลังอาหารกลางวัน ผูฟ้ ั งจะง่วง

RAM 1103 141

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

นอน ยิง่ ถ้าห้องทีพ่ ูดนัน้ ไม่ได้ตดิ เครื่องปรับอากาศ ก็จะร้อนอบอ้าว ในกรณีน้ีผพู้ ูดไม่ควรพูด


ยืดเยื้อ เพราะจะทาให้ผู้ฟังเกิดความเบื่อหน่ าย และควรจะเตรียมเรื่องเบา ๆ หรือสอดแทรก
อารมณ์ขนั เพือ่ ช่วยผ่อนคลายความง่วงของผูฟ้ ั ง นอกจากนี้เวลาทีใ่ ช้ในการพูดก็มคี วามสาคัญ
แม้จะเป็ นหัวข้อเดียวกัน แต่การพูดทีใ่ ช้ความยาว ครึง่ ชัวโมง
่ หนึ่งชัวโมง
่ และสองชัวโมง
่ ย่อม
ต้องเตรียมตัวมาต่างกัน

ัย
ยาล
3. โอกาส การพูดในแต่ละโอกาสไม่เหมือนกัน เช่น การพูดอวยพรเนื่องในงานมงคล

วิท
สมรส การพูดเนื่องในโอกาสเข้ารับตาแหน่งใหม่ การพูดอวยพรเนื่องในวันคล้ายวันเกิด การ

หา
กล่าวสุนทรพจน์ การกล่าวคาปราศรัย เป็ นต้น ผูพ้ ดู จะต้องรูจ้ กั วิธกี ารพูดและการใช้ถอ้ ยคาให้

างม
เหมาะสมกับการพูดในแต่ละโอกาส ดังจะกล่าวถึงในบทต่อไป

ากท
การเตรียมเรื่อง

ตจ
การเตรียมเรื่องเริม่ จากการเลือกหัวข้อเรื่องทีจ่ ะพูด จากนัน้ จึงวางโครงเรื่อง เพื่อให้ผู้

นุญ
พูดนาเสนอเนื้อได้อย่างเป็ นขัน้ เป็ นตอน ไม่สบั สนวกวน โดยโครงเรื่องนัน้ จะประกอบด้วยการ
ับอ
ปฏิสนั ถารกับผูฟ้ ั ง คานา เนื้อเรื่อง และสรุป
ด้ร

การเลือกเรื่อง
ไม่ไ

ในการเลือกเรื่องผูพ้ ดู ควรพิจารณาองค์ประกอบต่าง ๆ ดังนี้


1. เลือกเรื่องให้เหมาะสมกับกลุ่ มผู้ฟัง ผู้พูดควรจะเลือกเรื่องที่พูดให้ต รงกับความ


ร่โด

สนใจและคุณลักษณะของกลุ่มผูฟ้ ั ง อาทิ อายุ เพศ การศึกษา และอาชีพ ฯลฯ ดังได้กล่าวไป


แพ

แล้ว
เผย

2. เลือกเรื่องให้เหมาะสมกับสถานการณ์ในการพูด ผู้พูดควรเลือกเรื่อ งให้เหมาะสม


รือ

กับโอกาส ช่วงเวลา และสถานที่ เช่น ผู้พูดจะพูดในโอกาสอะไร ผู้พูดมีเวลาในการพูดเท่าไร


ยห

หรือ ต้อ งพูดในสถานที่เ ช่นไร นอกจากนี้ผู้พูดก็ค วรเลือ กเรื่องให้เ หมาะสมกับสถานการณ์


น่า

ปั จจุบนั หากผูพ้ ดู มีความรูเ้ ท่าทันต่อเหตุการณ์รอบตัวในขณะนัน้ และเลือกเรื่องพูดได้สมั พันธ์


์จําห

กับเหตุการณ์ ก็จะช่วยให้ผฟู้ ั งสนใจและพอใจทีจ่ ะฟั งยิง่ ขึน้


ิมพ

3. เลือกเรื่องให้เหมาะสมกับตัวผูพ้ ูด นอกจากเลือกเรื่องให้เหมาะกับกลุ่มผูฟ้ ั งแล้ว ผู้


มพ

พูดควรเลือกหัวข้อทีต่ วั เองสนใจและถนัดด้วย โดยเฉพาะสาหรับผูท้ เ่ี ริม่ พูดใหม่ ๆ เพือ่ ให้ผพู้ ดู


ห้า

มีค วามเชื่อ มัน่ ในตัว เอง และไม่ เ กิด ความประหม่ า ในขณะที่พูด ซึ่ง จะช่ ว ยให้ก ารพู ด นั น้
น่าเชื่อถือยิง่ ขึน้

142 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

นอกจากนี้ผู้ท่จี ะเป็ นนักพูดที่ดคี วรศึกษาหาข้อมูลเพื่อเตรียมให้พร้อมอยู่เสมอ โดย


อาจจะศึก ษาค้น คว้า จากหนั ง สือ ประเภทต่ า ง ๆ รวมทัง้ จากการสนทนาและสัม ภาษณ์
ผูเ้ ชีย่ วชาญ นอกจากนี้ยงั สามารถนาเอาประสบการณ์ตรงมาใช้ประกอบการพูดได้อกี ด้วย โดย
ประสบการณ์ตรงนัน้ อาจจะเป็ นสิง่ ที่ผู้พูดได้ประสบพบเห็นจากการท่องเที่ยว หรือจากงาน
อดิเรกของตัวผูพ้ ดู เอง

ัย
ยาล
วิท
การปฏิ สนั ถารกับผู้ฟัง

หา
ในการพูดนัน้ ผูพ้ ูดจะต้องกล่าวคาทักทายหรือปฏิสนั ถารกับผูฟ้ ั งก่อนที่จะกล่าวถึงเนื้อ

างม
เรื่องทีเ่ ตรียมมา โดยคาทักทายหรือปฏิสนั ถารนัน้ แบ่งเป็ น 2 ประเภทคือ (เสนาะ 2537, 18-

ากท
19)
1. คาปฏิสนั ถารที่เป็ นทางการ จะใช้กบั งานพิธี เช่น งานศาสนพิธี งานวางศิลาฤกษ์

ตจ
งานแจกวุฒบิ ตั ร คากล่าวเปิ ดงาน ฯลฯ จะใช้เรียกเฉพาะตาแหน่ ง เช่น “ท่านผู้อานวยการ

นุญ
คณาจารย์ และท่านผูม้ เี กียรติทงั ้ หลาย” เมื่อกล่าวคาปฏิสนั ถารจบแล้วจึงตามด้วยประโยคว่า
ับอ
“ข้าพเจ้ารูส้ กึ เป็ นเกียรติอย่างยิง่ ทีไ่ ด้มาพูดในวันนี้”
ด้ร

2. คาปฏิสนั ถารทีไ่ ม่เป็ นทางการ เช่น การประชุมภายในหน่วยงาน อภิปราย ปราศรัย


ไม่ไ

คากล่าวของนักการเมือง คาปฏิสนั ถารจะมีคาแสดงความรูส้ กึ เช่น คาว่า “เคารพ นับถือ ทีร่ กั


ฯลฯ” อยู่ดว้ ย เช่น “สวัสดีท่านผูฟ้ ั งทีเ่ คารพทุกท่าน” “สวัสดีพ่ีน้องชาวบ้านทีร่ กั ทัง้ หลาย” เมื่อ
ร่โด

กล่าวคาปฏิสนั ถารจบแล้วจึงตามด้วยประโยคว่า ผม กระผม หรือดิฉนั รูส้ กึ เป็ นเกียรติอย่างยิง่


แพ

ทีไ่ ด้มาพูดในวันนี้ ส่วนสรรพนามใช้แทนผูฟ้ ั ง ต้องใช้เป็ นคายกย่องให้เกียรติ หรือแสดงความ


เผย

เป็ นฝ่ ายเดียวกับผูพ้ ดู เช่น ท่าน พีน่ ้อง พวกเรา คุณ เพือ่ น ฯลฯ
รือ
ยห

คานา
น่า

คานาถือเป็ นจุดยุทธศาสตร์ทส่ี าคัญในการนาผูฟ้ ั งเข้าสูเ่ นื้อเรื่อง หากเริม่ ต้นดีกจ็ ะช่วย


์จําห

ให้เกิดความศรัทธาและดึงความสนใจของผู้ฟัง ทัง้ นี้คานาที่ดคี วรจะต้องรวบรัด ตรงประเด็น


ิมพ

เร้าอารมณ์ และชวนให้ผฟู้ ั งสนใจติดตาม


มพ

1. หลักการสร้างคานา ต่อไปนี้เป็ นตัวอย่างการขึน้ ต้นทีช่ ่วยดึงดูดความสนใจของผูฟ้ ั ง


ห้า

ซึง่ มีให้เลือกหลายวิธี ได้แก่


1.1 ขึ้นต้นแบบพาดหัว ข่าว ใช้ว ิธีเ ดียวกับการพาดหัว ข่าวหนังสือ พิมพ์เ พื่อดึงดูด
ความสนใจของผูอ้ ่าน โดยเอาผลมาพูดก่อนแล้วจึงอธิบายเหตุทหี ลัง

RAM 1103 143

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

1.2 ขึน้ ต้นด้วยการตัง้ คาถาม การตัง้ คาถามแปลก ๆ ชวนคิด ถือเป็ นอีกแนวทางหนึ่ง


ที่ช่วยดึงดูดความสนใจให้ผู้ฟังเข้ามามีส่วนร่วมในการพูด ด้วยคาถามนัน้ ต้องเกี่ยวข้องกับ
เนื้อหาสาระทีจ่ ะดาเนินต่อไปในเนื้อเรื่อง
1.3 ขึ้นต้นด้ว ยการทาให้ผู้ฟั งสงสัย การขึ้นต้นด้ว ยวิธีน้ีแตกต่างจากวิธีต งั ้ ค าถาม
เนื่องจากมิได้ใช้ประโยคคาถาม แต่ใช้ประโยคทีฟ่ ั งแล้วเกิดความสงสัยอยากติดตามต่อไป

ัย
ยาล
1.4 ขึ้นต้นด้วยการอ้างบทกวีหรือวาทะของผู้มชี ่อื เสียง บทกวีหรือวาทะที่ยกมานัน้

วิท
จะต้องเป็ นที่รู้จกั กันดีอยู่แล้ว เมื่อผูฟ้ ั งได้ยนิ ก็จะเกิดความสนใจใคร่รวู้ ่าข้อความที่ยกมานัน้ มี

หา
ความเกีย่ วข้องกับเนื้อหาทีจ่ ะพูดต่อไปอย่างไร

างม
1.5 ขึน้ ต้นให้สนุกสนาน ผูพ้ ูดอาจใช้ปฏิภาณไหวพริบ ยกเหตุการณ์บางอย่างในห้อง

ากท
ประชุมขึน้ มาทาให้ผฟู้ ั งเกิดอารมณ์ขนั หรือบางครัง้ อาจเตรียมเรื่องราวมาเล่าโดยเฉพาะ เพื่อ
ช่วยสร้างบรรยากาศและความเป็ นกันเองอย่างรวดเร็ว

ตจ
2. ข้อบกพร่องในการใช้คานา นอกจากคานาจะมีหลักในการขึน้ ต้นแล้ว ก็ยงั มีขอ้ ควร

นุญ
ระวังทีผ่ พู้ ดู ควรหลีกเลีย่ ง ได้แก่
ับอ
2.1 อย่าออกตัว เช่น การออกตัวว่าเตรียมตัวมาพูดไม่พร้อม หรือเป็ นผูร้ นู้ ้อยเพราะ
ด้ร

การออกตัวจะทาให้ผู้ฟังหมดความสนใจในตัวผู้พูด ทาให้ผู้ฟังรู้สกึ ว่าตนไม่มคี ่าควรแก่การ


ไม่ไ

เตรียมตัวของผูพ้ ดู หรือผูพ้ ดู ไม่เต็มใจมาพูด ซึง่ ถือเป็ นการไม่ให้เกียรติผเู้ ชิญอีกด้วย


2.2 อย่าขออภัย เช่น การกล่าวขอโทษว่าการพูดในวันนี้อาจมีความผิดพลาดเล็ก ๆ


ร่โด

น้อย ๆ ซึ่งคล้ายคลึงกับการออกตัว คือทาให้ผู้ฟังขาดความเชื่อมันในตั ่ วผู้พูด การกล่าวขอ


แพ

โทษจึงไม่มคี วามจาเป็ น และไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ใด ๆ ต่อการพูด


เผย

2.3 อย่าถ่อมตัว การถ่อมตัวเพียงเล็กน้อยอาจทาให้ผพู้ ูดดูเป็ นคนนอบน้อม แต่หาก


รือ

ถ่อมตัวมากเกินไป จะทาให้ฟังดูน่าราคาญ และทาให้ความศรัทธาในตัวผูพ้ ดู ลดลง


ยห

2.4 อย่าอ้อมค้อม การพูดอ้อมค้อมจะเบีย่ งเบนความสนใจผูฟ้ ั งจากเนื้อหาสาระทีเ่ ป็ น


น่า

จุดมุ่งหมายของการพูด ทาให้ผฟู้ ั งเกิดความสับสน ผูพ้ ดู จึงไม่ควรเสียเวลาพูดอ้อมค้อมในส่วน


์จําห

ทีเ่ ป็ นคานา แต่ควรรีบเข้าประเด็น


ิมพ
มพ

เนื้ อเรื่อง
ห้า

เนื้อเรื่องเปรียบเสมือนหัวใจของเรื่องที่จะพูด ซึ่งมีความสาคัญพอ ๆ กับคานาและ


บทสรุป เมื่อผูพ้ ดู วางโครงเรื่องแล้ว ก็สามารถจัดลาดับเนื้อหาเพือ่ ให้การดาเนินเรื่องมีระเบียบ

144 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

นอกจากนี้ยงั สามารถใช้การขยายความ ช่วยให้เนื้อหามีความหมายชัดเจนต่อเนื่อง ช่วยให้


การพูดน่าสนใจยิง่ ขึน้
1. การดาเนินเรื่อง มีแนวทางต่าง ๆ ดังนี้
1.1 การดาเนินเรื่องตามลาดับเวลา เช่น การเล่าโดยเรียงลาดับเหตุการณ์ตาม วัน
เดือน ปี การดาเนินเรื่องวิธนี ้ีง่ายต่อการจดจาและการลาดับเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ เหมาะสาหรับ

ัย
ยาล
การพูดถึงเหตุการณ์ทางประวัตศิ าสตร์

วิท
1.2 การดาเนินเรื่องตามลาดับสถานที่ หมายถึงการพูดโดยลาดับจากจุดใกล้ตวั ไปยัง

หา
จุดไกลตัว หรือจากทิศเหนือไปทิศใต้ วิธนี ้เี หมาะสาหรับการพูดนาเทีย่ ว การบรรยายเกี่ยวกับ

างม
สถานที่ หรือการให้ความรูท้ างภูมศิ าสตร์

ากท
1.3 การดาเนินเรื่องโดยแบ่งเนื้อเรื่องออกเป็ นหมวดหมู่ เป็ นการพูดโดยแบ่งหัวข้อ
ออกเป็ นหมวดหมู่ซ่งึ อาจจะมีทงั ้ หัวข้อใหญ่และหัวข้อย่อย การพูดเช่นนี้จะช่วยให้ผู้ฟังจดจา

ตจ
เนื้อหาได้งา่ ย ไม่สบั สน เหมาะสาหรับการบรรยายโดยทัวไป ่

นุญ
1.4 การดาเนินเรื่องตามเหตุและผล หมายถึงการลาดับเนื้อเรื่องด้วยเล่าจากสาเหตุ
ับอ
ไปสู่ผลลัพธ์ หรืออาจจะยกผลขึน้ มาก่อนแล้วดาเนิ นเรื่องกลับไปสู่เหตุทท่ี าให้เกิดผลนัน้ มักใช้
ด้ร

ในการพูดอภิปรายโต้วาที และการพูดชักจูงใจ
ไม่ไ

1.5 การดาเนินเรื่องแบบแก้ไขปั ญหาตามหลักวิทยาศาสตร์ หมายถึงการลาดับเนื้อ


เรื่องโดยยกปั ญหาขึ้นกล่าวก่อน แล้วดาเนินเรื่องไปสู่วธิ กี ารแก้ปัญหาตามหลักวิทยาศาสตร์


ร่โด

ซึ่งได้แ ก่ ก ารกล่ า วถึงสภาพของปั ญ หา สาเหตุของปั ญ หา และวิธีการแก้ไขปั ญ หา เหมาะ


แพ

สาหรับการพูดเชิงวิชาการ หรือการรายงานผลการวิจยั
เผย
รือ

2. การขยายความ มีแนวทางต่าง ๆ ดังนี้ (ประสงค์ 2528, 94-96)


ยห

2.1 การขยายความโดยให้นิ ย ามหรือ ค าจ ากัด ความ เช่ น หากพูด เรื่อ งเกี่ย วกับ
น่า

ปรากฏการณ์โลกร้อนก็ขยายความโดยการให้นิยาม หรือความหมายของปรากฏการณ์ โลก


์จําห

ร้อนให้ชดั เจน
ิมพ

2.2 การขยายความโดยการยกตัวอย่าง การพูดในแต่ละตอน หากมีการยกตัวอย่าง


มพ

ประกอบจะช่วยให้ผฟู้ ั งเข้าใจเรื่องได้ชดั เจนและจาง่ายขึน้ หลักสาคัญคือการยกตัวอย่างจะต้อง


ห้า

ตรงกับเนื้อเรื่อง เป็ นตัวอย่างง่าย ๆ เหมาะสมกับกลุ่ มผู้ฟังและเหมาะสมกับบุคลิกภาพของผู้


พูด

RAM 1103 145

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

2.3 การขยายความโดยการยกหลักฐานอ้างอิง หลักฐานอ้างอิงนัน้ อาจนามาจาก


งานวิจยั ตารา สถิตจิ ากหน่ วยงาน หรือบทความจากหนังสือพิมพ์หรือวารสารต่าง ๆ ซึ่งจะ
ช่วยให้การพูดมีน้าหนักน่าเชื่อถือ หลักสาคัญคือควรบอกทีม่ าของข้อความทีน่ ามาอ้างอิงด้วย
2.4 การขยายความโดยการเปรียบเทียบ การเปรียบเทียบจะช่วยให้ผฟู้ ั งเข้าใจเนื้อหา
ชัดเจนขึ้น อาจทาได้โดยการอุปมาอุปไมย เช่น หากมนุ ษย์ไม่มไี ฟฟ้ าใช้ก็เปรียบเสมือนต้อง

ัย
ยาล
กลับไปใช้ชวี ติ แบบยุคหิน เป็ นต้น

วิท
2.5 การขยายความโดยการเล่าเรื่อง เป็ นการเล่าเรื่องเพื่อเป็ นแนวเทียบสาหรับให้

หา
ผู้ฟังคิดเอาเอง โดยผู้พูดไม่ต้องอธิบายให้เห็นว่าเกี่ยวข้องกับเรื่องที่พูดอย่างไร เรื่องที่นามา

างม
เล่าอาจเป็ นนิทาน หรือเรื่องทีแ่ ต่งขึน้ ก็ได้ มักใช้ในการพูดทีม่ ุ่งให้แง่คดิ แก่ผฟู้ ั ง

ากท
2.6 การขยายความโดยการตัง้ คาถาม เป็ นการตัง้ คาถามเพือ่ กระตุ้นให้ผฟู้ ั งสนใจและ
ติดตามเรื่องทีพ่ ดู โดยผูพ้ ดู ไม่ได้ตอ้ งการการคาตอบจริง ๆ จากผูฟ้ ั ง

ตจ
2.7 การขยายความโดยการใช้โสตทัศ นู ปกรณ์ ต่าง ๆ การใช้โสตทัศ นู ปกรณ์ เช่น

นุญ
รูปภาพ แผนภูมิ ภาพเลื่อน ตัวอย่างของจริง แบบจาลอง ภาพยนตร์ ฯลฯ ประกอบการพูด
ับอ
นอกจากจะเป็ นการประหยัดเวลาแล้ว ยังช่วยให้เกิดความกระจ่างในเนื้อหา ทาให้ผฟู้ ั งเข้าใจ
ด้ร

และจดจาได้ง่ายขึน้ แต่มขี อ้ ควรระวังว่าต้องไม่ใช้โสตทัศนูปกรณ์มากเกินไปจนทาให้ผฟู้ ั งขาด


ไม่ไ

ความสนใจในเนื้อหาสาระของผูพ้ ดู

ร่โด

สรุป
แพ

การสรุปจบนัน้ มีความสาคัญไม่น้อยไปกว่ าส่วนอื่น หากผู้พูดสรุปจบได้ดี ย่อมทาให้


เผย

ผูฟ้ ั งเกิดความประทับใจ และนาเนื้อหาทีไ่ ด้ฟังกลับไปคิดต่อ ตรงกันข้ามหากผูพ้ ดู สรุปจบได้ไม่


รือ

ดี ก็อาจจะทาให้การพูดที่ทาผ่านมาทัง้ หมดด้อยราคาลง ผู้พูดจึงควรใส่ใจกับการสรุป โดย


ยห

หลักการสรุปจบทีด่ ไี ด้แก่ (ทิณวัฒน์ 2526, 56-57)


น่า

1 การสรุปจบแบบสรุปความ ย่อเรื่องทีบ่ รรยายมาทัง้ หมดให้เป็ นหัวข้อสัน้ ๆ เพื่อให้


์จําห

ผูฟ้ ั งเข้าใจและจดจาได้งา่ ย
ิมพ

2. การสรุปจบแบบฝากให้ไปคิด ในบางหัวข้อทีไ่ ม่ควรให้คาตอบชัดเจนตายตัวลงไป


มพ

ผูพ้ ดู อาจทิง้ ท้ายไว้เป็ นคาถาม ให้ผฟู้ ั งกลับไปคิดต่อเอง


ห้า

3. การสรุปจบด้วยการยกคาคม สุภาษิต หรือบทกวี การสรุปจบด้วยการยกถ้อยคาที่


เป็ น ร้อ ยกรอง หรือ วาทะของบุ ค คลส าคัญ ที่เ กี่ย วข้อ งกับ เนื้ อ หาที่พูด ไปย่ อ มสร้า งความ
ประทับใจแก่ผฟู้ ั ง

146 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

4. การสรุปจบแบบชักชวนเรียกร้อง เป็ นการพูดด้วยประโยคสัน้ ๆ 2-3 ประโยคที่


จัดเรียงกันไว้อย่างดี เพือ่ ชักชวนให้ผฟู้ ั งคล้อยตาม นิยมใช้ในการพูดเพือ่ จูงใจ

การพัฒนาทักษะการพูด
เพื่อให้การพูดสัมฤทธิผล์ ผู้พูดจะต้องสามารถถ่ายทอดความรู้สกึ นึกคิดของตนไปยัง

ัย
ยาล
ผูฟ้ ั ง เพื่อให้เกิดความรูค้ วามเข้าใจ หรือเพื่อเกิดความเชื่อถือและปฏิบตั ติ าม อย่างไรก็ดี การ

วิท
สื่อสารด้วยการพูดนัน้ จาเป็ นต้องใช้ภาษา ซึ่งภาษาที่ใช้ในการสื่อสารด้วยการพูดนัน้ ยังแบ่ง

หา
ออกเป็ น 2 ประเภทคือวัจนภาษาและอวัจนภาษา (ลักษณา 2536, 23-24)

างม
ากท
ภาษาในการพูด
1. วัจนภาษา (Verbal Communication) คือการสื่อสารโดยใช้ภาษาพูดหรือถ้อยคา

ตจ
ตามหลักวิชาการพูดแล้วผูพ้ ูดจะต้องรูจ้ กั ใช้ภาษาพูดซึ่งจะต้องมีการตระเตรียมและกลันกรอง ่

นุญ
เนื้อหาสาระทีเ่ หมาะสมเพือ่ นาเสนอต่อผูฟ้ ั ง
ับอ
2. อวัจนภาษา (Nonverbal Communication) คือการสื่อสารที่ไม่ใช้ถ้อยคา แต่เป็ น
ด้ร

การสื่อสารด้วยกิรยิ าอาการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นพร้อม ๆ กับการใช้ถ้อยคาของผูพ้ ูด สิง่ ที่เกิดขึน้


ไม่ไ

พร้อม ๆ กับการใช้ถอ้ ยคานัน้ อาจจะเกิดโดยเจตนาของผูพ้ ดู หรืออาจจะเป็ นการกระทาโดยไม่


รูส้ กึ ตัวของผูพ้ ดู ก็ได้ อวัจนภาษาทีเ่ กิดพร้อม ๆ กับการพูดมีดงั นี้


ร่โด

2.1 ปริภาษา (Paralanguage) หมายถึง เสียงทีเ่ กิดขึน้ พร้อม ๆ กับการใช้ถ้อยคา ใน


แพ

การสื่อสารด้วยการพูด เสียงมีความสาคัญในการสื่อความหมายให้ผฟู้ ั งรับรู้ถงึ ความรู้สกึ และ


เผย

อารมณ์ ของผูพ้ ดู ทีม่ ไี ปยังผูฟ้ ั ง เช่นการเปล่งเสียงพูดด้วยเสียงสูงต่า เสียงหนักเบา เป็ นต้น


รือ

2.2 เนตรภาษา (Oculesics) หมายถึงการใช้สายตาของผู้พูดในขณะที่ทาการสื่อสาร


ยห

ไปยังผูฟ้ ั ง การทอดสายตาหรือการสบของผูพ้ ูดในขณะทีท่ าการสื่อสารไปยังผูฟ้ ั งนัน้ จะทาให้


น่า

ผูฟ้ ั งรูว้ ่าผูพ้ ูดกาลังทาการสื่อสารอยู่กบั ตน ซึ่งจะก่อให้เกิดความสนใจและตัง้ ใจฟั งเนื้ อหาสาระ


์จําห

ต่าง ๆ ตามไปด้วย
ิมพ

2.3 อาการภาษา (Kinesics) นอกจากจะทาการสื่อสารด้วยการพูดแล้ว ผู้พูดก็มกั จะ


มพ

แสดงกิรยิ าท่าทางประกอบการพูดด้วย เช่น การเคลื่อนไหวร่างกาย การแสดงออกทางสีหน้า


ห้า

การเคลื่อนไหวของมือ ท่วงท่าอาการ การสัมผัส เป็ นต้น อาการภาษาที่ผู้พูดกระทาอย่ าง


เหมาะสม มีชีวติ ชีวา กลมกลืนกับบุคลิกของตัวผู้พูดและเนื้อหาสาระที่พูดนัน้ จะช่วยสร้าง
ความประทับใจและความน่าเชื่อถือให้แก่ผพู้ ดู

RAM 1103 147

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

สมรรถภาพในการพูด
สมรรถภาพในการพูดเป็ นผลรวมของ ความรูแ้ ละประสบการณ์ ทักษะในการพูดและ
การคิด และความมันใจในตั ่ ว เองของผู้พูด การพัฒนาสมรรถภาพในการพูดจึงจาเป็ นต้อ ง
พัฒนาคุณสมบัตทิ งั ้ 3 ประการดังกล่าว โดยวิธกี ารพัฒนานัน้ ควรจะมีขนั ้ มีตอนและเป็ นไปตาม
หลักวิชาเพือ่ ให้เกิดประสิทธิภาพ (สวนิตและถิรนันท์ 2547, 27)

ัย
ยาล
1. การสะสมความรูแ้ ละประสบการณ์

วิท
การจะมีความรู้ค วามเข้าใจในสิง่ ที่พูดอย่างทะลุ ปรุโปร่งนัน้ ผู้พูดจาเป็ นต้อ งสังสม่

หา
ความรู้และประสบการณ์ ซึ่งต้องใช้เวลายาวนาน จากการอ่าน การฟั ง การสังเกต และการ

างม
กระทาด้วยตนเอง

ากท
1.1 การอ่าน การอ่านเป็ นช่องทางสาคัญและรวดเร็วทีส่ ุดทางหนึ่งทีจ่ ะทา
ให้เราได้รบั ความรู้ ข้อมูล ข้อเท็จจริง ข้อคิด ข้อแนะนา และคาสอนทีม่ คี ุณค่าต่าง

ตจ
ๆ ที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ แหล่งที่รวมหนังสือสาหรับการอ่านแหล่งใหญ่

นุญ
ทีส่ ุดแห่งหนึ่งก็คอื ห้องสมุด ซึง่ แยกประเภทหมวดหมู่ของหนังสือไว้ ทาให้ง่ายต่อ
ับอ
การค้นคว้า อย่างไรก็ดีในปั จจุบัน เรายังสามารถเข้าถึง ข้อ มูลต่าง ๆ ผ่านทาง
ด้ร

อิน เทอร์เ น็ ต ซึ่ง มีค วามสะดวกรวดเร็ว แต่ ผู้ค้น คว้า ต้อ งมีว ิจ ารณญาณในการ
ไม่ไ

แยกแยะว่าแหล่งข้อมูลใดบ้างทีถ่ ูกต้องแม่นยา สามารถเชื่อถือได้


1.2 การฟั ง หมายถึงการรับรู้ความหมายจากเสียงพูดที่ได้ยนิ อาทิ การ


ร่โด

ฟั ง จากการสนทนา การประชุ ม อภิป ราย การฟั ง จากสื่อ อิ เ ล็ก ทรอนิ ก ส์ เช่ น


แพ

โทรทัศน์ ภาพยนตร์ เทปบันทึกเสียง หรือคอมพิวเตอร์ ในชีวติ ประจาวันมนุ ษย์


เผย

เราจะได้รบั ข้อมูลจากการฟั งมากกว่าการอ่าน ความรูท้ วั ่ ๆ ไปทีม่ อี ยู่ในสมองของ


รือ

เรามักจะได้มาจากการฟั ง ส่วนความรู้ท่มี เี นื้อหาเป็ นระบบซับซ้อนนัน้ จะได้จาก


ยห

การอ่านหนังสือ หากมีคาอธิบายประกอบจะช่วยให้อ่านได้เข้าใจง่ายขึน้ ฉะนัน้ ใน


น่า

การถ่ายทอดวิชาการแขนงต่าง ๆ ของสถาบันการศึกษา จึงต้องอาศัยการรับรูจ้ าก


์จําห

การอ่านและการฟั งควบคู่กนั ไป
ิมพ

1.3 การสังเกต การสังเกตเป็ นวิธกี ารสาคัญทีจ่ ะทาให้พบความจริงต่าง ๆ


มพ

ทีอ่ ยู่รอบตัวเรา โดยสามารถทาได้ทงั ้ ทางตา หู จมูก ลิน้ กาย และใจ การสังเกตที่


ห้า

เป็ นทักษะที่ต้องฝึกอยู่เสมอ ๆ วิธที ่จี ะช่วยขยายขอบเขตของการสังเกตให้กว้าง


ยิง่ ขึ้นคือต้องไม่จากัดตัวเองอยู่ในสิง่ แวดล้อมเดิม ๆ ต้องพยายามเปิ ดหูเ ปิ ดตา
เช่นการเดินทางออกไปสัมผัสกับผูค้ นและสถานทีต่ ่าง ๆ เมื่อเราได้มโี อกาสสังเกต

148 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

สิง่ ใดก็ตามควรนาเอาความรู้เดิมที่มอี ยู่มาเปรียบเทียบกับความจริงที่ปรากฏว่า


ตรงกันหรือ ไม่เ พียงไร ในกรณีท่ีไม่ต รงกันก็ไม่ค วรด่ว นสรุปว่าความรู้เ ดิม นัน้
ผิดพลาด อาจเป็ นเพราะการสังเกตของเราไม่แหลมคมพอ หรือช่วงเวลาในการ
สังเกตของเรายังไม่นานพอก็เป็ นได้ ด้วยวิธนี ้จี ะช่วยเพิม่ พูนความรูค้ วามเข้าใจใน
สิง่ นัน้ ให้แน่นแฟ้ นยิง่ ขึน้

ัย
ยาล
1.4 การลงมือกระทา หมายถึงการลงมือปฏิบตั ดิ ้วยตนเอง ซึ่งเป็ นอีกวิธี

วิท
หนึ่งที่จะทาให้ได้ความรู้ท่หี นักแน่ นแม่นยา แต่ทงั ้ นี้ต้องทาโดยรู้จกั ใช้ความคิด

หา
พิจารณา จับขัน้ ตอนให้ได้และสามารถอธิบายได้ว่าสิ่งที่ตนกระทานัน้ มีหลักการ

างม
และขัน้ ตอนอย่างไร มิใช่ทาไปตามความเคยชินอย่างเดียว การกระทาเช่นนี้จะ

ากท
เป็ นช่องทางให้เกิดความรูแ้ ละประสบการณ์ เราควรสะสมความรูด้ ว้ ยการกระทา
ให้มาก ยิง่ ถ้ามีโอกาสจะได้ความรูจ้ ากการกระทาแล้ว ไม่ควรละโอกาสนัน้ เสีย

า ตจ
นุญ
1. ทักษะการพูดและการคิด
ับอ
ทักษะ คือความคล่องแคล่วและชานิชานาญในการกระทาสิง่ ใดสิง่ หนึ่ง ทักษะในการ
ด้ร

พูดและการคิดถือ เป็ นส่ว นประกอบสาคัญ ควบคูกับเนื้อ หาของผู้พูด คนที่มีค วามรู้แต่ขาด


ไม่ไ

ทักษะในการพูด ไม่สามารถถ่ายทอดความรูใ้ ห้คนอื่น ย่อมจะเกิดปั ญหาขึ้นได้ ในทางตรงกัน



ร่โด

ข้ามคนทีม่ ที กั ษะในการพูดแต่ไม่มคี วามรู้ ก็ไม่สามารถใช้ทกั ษะในการพูดให้เกิดประโยชน์แก่


ใครได้เช่นกัน
แพ

1.1 ทักษะการพูด ผูพ้ ดู ทีด่ คี วรจะมีทกั ษะการพูดดังนี้


เผย

ก. ต้องรูจ้ กั เลือกใช้ถอ้ ยคาเพือ่ สือ่ ความรูส้ กึ นึกคิดไปสูผ่ ฟู้ ั งได้อย่างแจ่มชัด


รือ

ข. รูจ้ กั เรียงลาดับถ้อยคาให้ถูกต้อง ไม่กากวมหรือสร้างความงุนงงให้แก่


ยห

ผูฟ้ ั ง
น่า
์จําห

ค. ต้องรูจ้ กั ออกเสียงถ้อยคาเหล่านัน้ ให้ถูกต้องตามมาตรฐานของภาษา


ง. ต้องรูจ้ กั ใช้น้าเสียงให้สอ่ื ความหมายตรงตามเจตนาของผูพ้ ดู
ิมพ

จ. ต้องรู้จกั สังเกตอากัปกิรยิ าของผู้ฟัง เพื่อให้รู้ว่าผู้ฟังมีความรู้สกึ และ


มพ

ต้องการอะไร จะได้ดดั แปลงเนื้อหาและวิธพี ดู ให้เหมาะกับปฏิกริ ยิ าของผูฟ้ ั ง


ห้า

1.2 ทักษะการคิด การคิดทีม่ คี วามสาคัญต่อสมรรถภาพของการพูดนัน้ มี


ทัง้ การคิดใคร่ครวญ การคิดสร้างสรรค์ และการคิดแก้ปัญหา

RAM 1103 149

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ก. การคิดใคร่ครวญ ผูพ้ ดู ทีด่ คี วรจะวินิจฉัยว่าเรื่องใดเรื่องหนึ่งจริงหรือเท็จ ประเมินค่า


ว่าอะไรดี อะไรไม่ดี อะไรถูก อะไรผิด อะไรควร อะไรไม่ควร และควรพิจารณาด้วยว่าอะไรเป็ น
สาเหตุหรือผลลัพธ์ของปรากฏการณ์หนึ่ง
ข. การคิดสร้างสรรค์ หมายถึงการคิดเพื่อให้ได้มาซึ่งสิง่ ที่แปลกใหม่ ไม่ ซ้าแบบใคร
และเป็ นประโยชน์ ผลทีไ่ ด้อาจเป็ นวัตถุ แนวทาง วิธกี าร งานประพันธ์ หรืองานศิลป์ ชนิดใดก็

ัย
ยาล
ได้

วิท
ค. การคิด แก้ ปั ญ หา เป็ น การคิด ที่มีจุ ด มุ่ ง หมายเฉพาะเจาะจง เริ่ม ตัง้ แต่ ก ารใช้

หา
ความคิดเพื่อตีวงขอบเขตของปั ญหา หากสาเหตุของปั ญหา และหาทางแก้ไขปั ญหาอันมีทงั ้

างม
ใกล้ตวั และไกลตัว ปั ญหาเฉพาะหน้าและปั ญหาทีย่ ดื เยือ้ ปั ญหาทีย่ ากและปั ญหาทีง่ า่ ย

ากท
3. ความมันใจในตนเอง

การพูดในบางโอกาส หากผู้พูดขาดความมันใจในตนเองย่ ่ อมจะรู้สกึ ประหม่าตื่นเต้น

ตจ
หรือเกิดอาการทางร่างกาย หัวใจเต้นแรง คอแห้ง ริมฝีปากสัน่ เสียงสัน่ ขาสัน่ มีเหงื่อไหลซึม

นุญ
ออกมา ฯลฯ ความประหม่าตื่นเต้นย่อ มจะบัน่ ทอนสมรรถภาพในการพูด ถ้าเกิดขึ้นอย่าง
ับอ
รุนแรงอาจทาให้ผพู้ ดู ไม่สามารถควบคุมตนเองได้
ด้ร

3.1 สาเหตุของความประหม่าตื่นเต้น
ไม่ไ

ก. มองเห็นจุดอ่อนของตนเองมากเกินควร ผู้พูดที่มองเห็นจุดอ่อนของ

ตนเองมากเกินควร ย่อมทาให้เกิดความวิตกกังวลอย่างมาก ไม่มคี วามกล้าที่จะ


ร่โด

แสดงตนต่อหน้าคนอื่น
แพ

ข. เกิดความขัดแย้ง ภายในตนเอง บางครัง้ ผู้พูดเกิดความขัดแย้ง ใน


เผย

ตนเอง ต้องการพูดให้ดี ให้คนฟั งสนใจ พอใจ แต่ขณะเดียวกันก็เกิดความกลัวว่า


รือ

การพูดนัน้ จะล้มเหลว คนฟั งจะเบื่อ หรือหัวเราะเยาะในใจ ความขัดแย้งเหล่ านี้


ยห

เป็ นผลให้เกิดความว้าวุ่นใจหรือวิตกกังวลจนกลายเป็ นความประหม่า


น่า

ค. วาดภาพไว้ในใจอย่างผิด ๆ ผู้พูดบางคนวาดภาพไว้ว่าผู้ฟังที่ต นจะ


์จําห

ไปพูดนัน้ คงจะฟั งอย่างเพ่งเล็ง คอยจับผิดทุกคาพูด หากตนพูดอะไรผิดพลาด


ิมพ

เพียงเล็กน้อยจะถูกนาไปวิพากษ์วจิ ารณ์อย่างมาก ทาให้เกิดความหวาดกลัวจน


มพ

กลายเป็ นความประหม่าตื่นเต้นได้เช่นกัน
ห้า

150 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

3.2 วิธแี ก้ไขความประหม่าตื่นเต้นไม่ให้เป็ นอุปสรรคต่อการพูด


ก. เตรียมซ้อมเรื่องทีจ่ ะพูดมาให้แม่นยาทีส่ ุดเท่าทีจ่ ะทาได้ ไม่ใช่โดยการ
ท่องจาทุกคาพูด ทว่าให้แม่นยาในเนื้อหาสาระ และมีความคล่องตัวที่จะพูดถึง
เนื้อหาสาระดังกล่าว
ข. ให้ค วามสนใจในเรื่องราวที่เราจะพูดให้มากพอ เพ่งความสนใจให้

ัย
ยาล
ออกไปจากตัวเรา อย่าเพ่งความสนใจมาทีต่ วั เราเองให้มากนัก

วิท
ค. หาข้อมูลเกี่ยวกับคนฟั งให้มากพอ เพื่อทีจ่ ะได้ดดั แปลงเรื่องทีเ่ ราพูด

หา
ให้เหมาะกับคนฟั งให้มากทีส่ ุด

างม
ง. ขณะที่พูด พยายามพูดกับคนฟั งให้ทวถึ ั ่ ง ยิ่งจับตาคนฟั งให้ทวถึ
ั่ ง

ากท
มากเพียงไร ความกลัวก็จะหายไป
จ. พยายามทรงตัวให้ดขี ณะพูด การทรงตัวให้สมดุลจะช่วยให้ผพู้ ูด รู้สกึ

ตจ
มันใจขึ
่ น้

นุญ
ฉ. ตัง้ ใจไว้ให้มนคงเสมอว่
ั่ า เราจะพยายามพูดให้ผู้ฟังเกิดความเข้าใจ
ับอ
และเกิดประโยชน์ทส่ี ุดเท่าทีจ่ ะทาได้
ด้ร
ไม่ไ

บุคลิ กภาพของผู้พดู

บุคลิกภาพหมายถึงลักษณะเฉพาะของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ทีท่ าให้แตกต่างจากคนอื่น


ร่โด

นักพูดที่ไม่เป็ นตัวของตัวเองพยายามเลียนแบบผู้ อ่นื จึงเป็ นคนที่ไม่เคารพบุคลิกภาพของ


แพ

ตนเอง หรือดูถูกตนเอง นักพูดทีด่ จี ะต้องคอยสารวจบุคลิกภาพของตนเอง แก้ไขปรับปรุงส่วน


เผย

ที่บ กพร่ อ งและรัก ษาสวนที่ดีไ ว้ จากนั ้น จึง น ามาทดสอบด้ ว ยการลงมือ กระท า แล้ ว จึง
รือ

ประเมินผลนากลับมาวิเคราะห์ตวั เอง ทาซ้าเช่นนี้เป็ นวงจรเพื่อปรับปรุงบุคลิกภาพของตัวเอง


ยห

ให้เจริญงอกงามยิง่ ขึ้นไป ทัง้ นี้บุคลิกภาพยังสามารถแบ่งออกเป็ นบุคลิกภาพภายนอกกับ


น่า

บุคลิกภาพภายใน (ทินวัฒน์ 2525, 25-26)


์จําห

1. บุคลิกภาพภายนอก ได้แก่ รูปร่างหน้าตา การแต่งกาย การปรากฏตัว กิรยิ า


ิมพ

ท่าทาง การสบสายตา การใช้น้ าเสียง การใช้ถ้อ ยค าภาษา ซึ่ งเป็ นสิ่งที่สงั เกตได้ชดั หรือ
มพ

สามารถสัมผัสได้ด้วยประสาทสัมผัสทัง้ 5 การแก้ไขปรับปรุงก็จะทาได้ง่าย ใช้เวลาน้อยกว่า


ห้า

และวัดผลได้ทนั ที

RAM 1103 151

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

2. บุคลิกภาพภายใน ได้แก่ ความเชื่อมันในตนเอง


่ ความกระตือรือร้น ความรอบรู้
ความคิดสร้างสรค์ ความจริงใจ ปฏิภาณไหวพริบ ความรับผิดชอบ ความจา อารมณ์ขนั เป็ น
ต้น ซึ่งสิง่ เหล่านี้มองไม่เห็น สัมผัสยาก ต้องอยู่ด้วยกันนาน ๆ จึงจะค่อย ๆ แสดงพฤติกรรม
ออกมา การแก้ไขเปลีย่ นแปลงค่อนข้างยาก ใช้เวลานาน และวัดผลลาบาก

ัย
ยาล
วิท
หา
างม
ากท
า ตจ
นุญ
ับอ
ด้ร
ย ไม่ไ
ร่โด
แพ
เผย
รือ
ยห
น่า
์จําห
ิมพ
มพ
ห้า

152 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

2. จุดมุ่งหมายของการสนทนา
2.1 เพื่อ แลกเปลี่ย นความรู้แ ละความคิด ระหว่ า งคู่ส นทนา ท าให้มีป ระสบการณ์
กว้างขวางขึน้
2.2 ทาให้รจู้ กั นิสยั ใจคอของกันและกัน
2.3 ช่วยกระชับความสัมพันธ์ ทาให้ค่สู นทนาคุน้ เคยกันดียงิ่ ขึน้

ัย
ยาล
2.4 ช่วยผ่อนคลายความตึงเครียดทางอารมณ์

วิท
2.5 ช่วยให้ประสบความสาเร็จในการประกอบหน้าที่การงาน และในการดารงชีวติ

หา
ประจาวัน

างม
3. หลักของการสนทนา

ากท
3.1 ควรเลือ กเรื่อ งที่คู่ส นทนาสนใจเท่ า นัน้ โดยให้พิจ ารณาจาก เพศ วัย อาชีพ
ประสบการณ์ของคู่สนทนา หรืออาจใช้ไหวพริบในการสังเกตว่าคู่สนทนาสนใจเรื่องใดเป็ น

ตจ
พิเศษ นอกจากนี้ยงั อาจหยิบยกเอาเหตุการณ์ทก่ี าลังเป็ นทีส่ นใจขึน้ มาพูด

นุญ
3.2 ควรทาตัวเป็ นกันเอง ใช้คาพูดเป็ นกันเอง ยิม้ แย้มแจ่มใส เอาใจใส่ค่สู นทนา คอย
ับอ
ฟั ง คอยซักถาม ไม่พดู จาทับถมดูหมิน่ ไม่พดู ขัดคอ เว้นแต่บางครัง้ ถ้าคู่สนทนาพูดมากเกินไป
ด้ร

หรือคุยโอ้อวด หรือพูดตาหนิผอู้ ่นื อย่างน่าเกลียด


ไม่ไ

3.3 ควรพิจารณาเรื่องเวลาและสถานทีใ่ นการสนทนา เช่น ถ้าเป็ นในรถโดยสารก็อาจ


สนทนาเรื่องเบา ๆ หรือสภาพของท้องถิน่ ที่พบเห็น หากเป็ นระหว่างการรั บประทานอาหาร


ร่โด

เย็นก็สามารถสนทนาเรื่องทัว่ ๆ ไปได้
แพ

3.4 ควรใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย สัน้ กระชับ ควรเหลีกเลี่ยงภาษาที่กากวม ไม่ควรใช้


เผย

ศัพท์วชิ าการหรือภาษาต่างประเทศหากไม่จาเป็ น
รือ

3.5 งดเว้นการสนทนาเรื่อ งส่ว นตัว หรือ การโอ้อ วดเรื่อ งของตัว เอง เว้นแต่จะถู ก
ยห

ซักถาม ก็ให้ตอบตามมารยาท
น่า
์จําห

การสัมภาษณ์
1. ความหมายของการสัมภาษณ์
ิมพ

ค าว่า สัมภาษณ์ ตามพจนานุ กรมฉบับ ราชบัณฑิต ยสถาน พุทธศักราช 2542 ได้


มพ

อธิ บ ายว่ า สนทนาหรื อ สอบถามเพื่ อ น าเรื่ อ งราวไปเผยแพร่ ท างหนั ง สื อ พิ ม พ์ ห รื อ


ห้า

วิทยุกระจายเสียงเป็ นต้น ส่วนความหมายตามที่เข้าใจกันโดยทัวไปหมายถึ่ งการพบปะเพื่อ


ซักถามข้อมูล ซึ่งมีจุดประสงค์ท่แี น่ นอน เป็ นการสื่อสารสองทางที่มกี ารแบ่งหน้าที่โดยฝ่ าย
หนึ่งเป็ นผูส้ มั ภาษณ์คอยซักถามและอีกฝ่ ายหนึ่งเป็ นผูถ้ ูกสัมภาษณ์คอยให้คาตอบ

154 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

2. จุดมุ่งหมายของการสัมภาษณ์
2.1 การสัมภาษณ์เพื่อเก็บรวบรวมไว้เป็ นข้อมูลข่าวสารและข้อเท็จจริงใหม่ ๆ เพื่อ
นาไปประกอบการศึกษาหรืออาจใช้เผยแพร่ขอ้ มูลเหล่านัน้ ไปสูส่ าธารณชน
2.2 การสัมภาษณ์เพื่อพิจารณาคัดเลือกบุคคล เช่น การสัมภาษณ์ เพื่อรับพนักงาน
ใหม่ การสัมภาษณ์ผสู้ อบชิงทุนไปศึกษาต่อต่างประเทศ การสัมภาษณ์คดั เลือกนักศึกษาใหม่

ัย
ยาล
เป็ นต้น

วิท
2.3 การสัม ภาษณ์ เ พื่อ เผยแพร่ น โยบาย เป้ า หมาย การด าเนิ น งาน และผลการ

หา
ปฏิบตั งิ านของหน่วยงาน องค์กร สถาบันต่าง ๆ ซึง่ มีผลกระทบต่อผูเ้ กีย่ วข้อง หรือมีผลกระทบ

างม
ต่อประชาชนทัง้ ประเทศ เช่น การขึน้ ค่าโดยสารรถประจาทาง การออกพระราชบัญญัตติ ่าง ๆ

ากท
2.4 การสัม ภาษณ์ เ พื่อ เผยแพร่ เ กีย รติคุ ณ ผู้ท่ีส ร้า งสรรค์ผ ลงานดีเ ด่ น หรือ ผู้ท่ีมี
ชื่อเสียงทาคุณประโยชน์แก่สงั คม เช่น นายแพทย์ผคู้ ดิ ค้นวิธผี ่าตัดเปลีย่ นหัวใจ หรือนักกีฬาที่

ตจ
ได้เหรียญทองในมหกรรมกีฬาโอลิมปิ ก

นุญ
3. หลักของการสัมภาษณ์
ับอ
การสัมภาษณ์ตอ้ งประกอบด้วยผูส้ มั ภาษณ์และผูถ้ ูกสัมภาษณ์ หลักของการสัมภาษณ์
ด้ร

จึงแบ่งได้เป็ นหลักการสาหรับผูส้ มั ภาษณ์และผูถ้ ูกสัมภาษณ์ดงั นี้


ไม่ไ

3.1 หลักการสาหรับผูส้ มั ภาษณ์


ก. ผู้ส มั ภาษณ์ จะต้อ งติดต่อ นัดหมายผู้ถู กสัมภาษณ์ เ พื่อ แจ้งกาหนดการให้ท ราบ


ร่โด

ล่วงหน้า เช่น เรื่องทีจ่ ะทาการสัมภาษณ์ วัน เวลา และสถานทีใ่ ห้ชดั เจน เพือ่ ให้ผถู้ ูกสัมภาษณ์
แพ

มีโอกาสเตรียมตัว
เผย

ข. ผู้สมั ภาษณ์จะต้องศึกษาหาความรู้พ้นื ฐานในเรื่องที่จะสัมภาษณ์ รวมถึงเรื่องราว


รือ

เกีย่ วกับผูถ้ ูกสัมภาษณ์


ยห

ค. ผูส้ มั ภาษณ์ควรเตรียมคาถามไว้หลาย ๆ คาถาม โดยเฉพาะคาถามทีจ่ ะเป็ นจุดเด่น


น่า

ของเรื่อง
์จําห

ง. ผูส้ มั ภาษณ์ควรจัดเตรียมสถานทีแ่ ละอุปกรณ์ต่าง ๆ ไว้ให้พร้อม


ิมพ

จ. ผู้สมั ภาษณ์ควรแสดงความเคารพ กล่าวทักทายผู้ถูกสัมภาษณ์ด้วยมารยาทอันดี


มพ

งาม และกล่าวขอบคุณเมื่อเสร็จสิน้ การสัมภาษณ์


ห้า

RAM 1103 155

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

3.2 หลักการสาหรับผูถ้ ูกสัมภาษณ์


ก. ผู้ถูกสัมภาษณ์ควรเตรียมตัวให้พร้อมทัง้ ในด้านเนื้อหาและข้อมูลต่าง ๆ ตามที่ได้
ตอบตกลงไว้กบั ผูส้ มั ภาษณ์
ข. ผูถ้ ูกสัมภาษณ์ควรไปถึงสถานทีต่ รงตามเวลานัดหมาย
ค. ผูถ้ ูกสัมภาษณ์ควรแต่งกายให้สุภาพเรียบร้อยเหมาะสมกับสถานที่

ัย
ยาล
ง. ผุ้ถูกสัมภาษณ์ควรแสดงออกถึงความเต็มใจในการให้สมั ภาษณ์ ตัง้ ใจฟั งคาถาม

วิท
และตอบคาถามด้วยถ้อยคาทีส่ ุภาพ จริงใจ และตรงประเด็น

หา
จ. เมื่อเสร็จสิน้ การสัมภาษณ์ ผูถ้ ูกสัมภาษณ์ควรกล่าวขอบคุณทีไ่ ด้ให้โอกาสมาชี้แจง

างม
หรือเผยแพร่ขอ้ มูล

ากท
ปาฐกถา

า ตจ
1. ความหมายของปาฐกถา นุญ
พจนานุ กรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2542 ได้อธิบายความหมายของ
ับอ
ปาฐกถาไว้ว่า ถ้อยคาหรือเรื่องราวทีบ่ รรยายในที่ชุมชนเป็ นต้น กล่าวโดยทัว่ ๆ ไป ปาฐกถา
ด้ร

คือการพูดต่อหน้าคนจานวนมาก ถือเป็ นการสื่อสารทางเดียวที่ผู้แสดงปาฐกถาจะพูดตาม


ไม่ไ

หัวข้อทีก่ าหนดไว้ตงั ้ แต่ต้นจนจบเรื่อง แล้วจึงเปิ ดโอกาสให้ผฟู้ ั งซักถาม นิยมใช้สาหรับการพูด



ร่โด

ในทีช่ ุมชนทัว่ ๆ ไป เพือ่ ให้ความรูห้ รือข้อเท็จจริง


2. จุดมุ่งหมายของปาฐกถา
แพ

ปาฐกถาอาจจัดแสดงหลังการรับประทานอาหารกลางวันหรืออาหารเย็น ตามสมาคม
เผย

สโมสร หรือตามโรงแรมชัน้ นาต่าง ๆ โดยเชิญผูท้ ม่ี ชี ่อื เสียงหรือผูท้ ม่ี ปี ระสบการณ์สูงซึ่งเป็ นที่
รือ

ยอมรับนับถือของสังคมมาเป็ นองค์ปาฐกถา เนื้อหาของการปาฐกถามักจะเป็ นการให้ความรู้


ยห

ทัวไปหรื
่ อการแสดงความคิดเห็นในข้อเท็จจริงต่าง ๆ อันจะเป็ นประโยชน์กบั ผู้ฟัง ดังนัน้ การ
น่า
์จําห

พูดในลักษณะนี้จงึ มิได้มวี ตั ถุประสงค์ในการเปลีย่ นแปลงทัศนคติของผูฟ้ ั งแต่ประการใด แต่มี


จุ ด มุ่ ง หมายเพื่อ ถ่ า ยทอดความรู้ไ ปยัง ผู้ฟั ง การพูด จึง ควรมีค วามชัด เจนและมีห ลัก ฐาน
ิมพ

สนับสนุนเพียงพอ ใช้ภาษาทีม่ ชี วี ติ ชีวาและจัดลาดับการพูดอย่างมีระเบียบเพือ่ ให้เข้าใจง่าย


มพ

3. หลักในการแสดงปาฐกถา
ห้า

3.1 พูดให้ตรงประเด็น
3.2 เนื้อเรื่องจะต้องมีสาระ ให้ความรู้ และข้อเท็จจริงแก่ผฟู้ ั ง

156 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

3.3 มีการเตรียมตัวมาเป็ นอย่างดี ขณะที่พูดไม่ควรแสดงอาการออกตัวและถ่อมตน


จนเกินไป
3.4 การกาหนดเวลาไม่ควรนานเกิน 1 ชัวโมง ่ และต้องแบ่งเวลาสาหรับเปิ ดโอกาสให้
ผูฟ้ ั งซักถามในเวลาทีเ่ หมาะสม หลังการปาฐกถาได้เสร็จสิน้ แล้ว
3.5 ควรทาความรูจ้ กั ลุ่มผูฟ้ ั งมาก่อนล่วงหน้าเพือ่ กาหนดเรื่องให้เหมาะสม

ัย
ยาล
3.6 ใช้วธิ กี ารพูดทีน่ ่าสนใจทัง้ เสียง และลีลาในการพูด

วิท
3.7 ไม่พดู พาดพิงหรือกระทบกระเทียบผูอ้ ่นื ให้ได้รบั ความเสือ่ มเสีย

หา
างม
การอภิ ปราย

ากท
1. ความหมายของการอภิปราย
พจนานุ กรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2542 ได้อธิบายความหมายของ

า ตจ
อภิปรายไว้ว่า พูดชี้แจงแสดงความคิดเห็น กล่าวโดยทัวไป ่ การอภิปรายหมายถึง การพูดจา
นุญ
หารือกันระหว่างคนกลุ่มหนึ่ง เพือ่ แลกเปลีย่ นประสบการณ์ ความรู้ ความคิดเห็นร่วมกัน โดยมี
ับอ
จุดประสงค์เพือ่ ช่วยกันแก้ปัญหาในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
ด้ร

2. จุดมุ่งหมายของการอภิปราย
ไม่ไ

2.1 เพือ่ หาข้อเท็จจริงโดยการแลกเปลีย่ นความรูอ้ ย่างมีเหตุผล



ร่โด

2.2 เพื่อฝึกให้ผรู้ ่วมอภิปรายมีความคิดแบบประชาธิปไตย ซึ่งมีเสรีภาพในการแสดง


ความคิดเห็น มีเสรีภาพในการถามตอบเพื่อค้นหาความจริง สามารถที่จะฟั งและเลือกด้วย
แพ

ตนเองอย่างมีเหตุผล
เผย

2.3 เพือ่ กระตุน้ ให้ผอู้ ภิปรายได้เรียนรูแ้ ละสนใจในปั ญหาทีน่ ามาอภิปราย


รือ

2.4 เพื่อฝึกให้เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ เพราะได้มโี อกาสทางานร่วมกับผูอ้ ่นื และ


ยห

ตัดสินใจปั ญหาร่วมกัน
น่า
์จําห

3. ประเภทของการอภิปราย
การอภิปรายยังแบ่งออกเป็ นรูปแบบต่าง ๆ ดังนี้
ิมพ

3.1 การอภิป รายโต๊ ะ กลม (Round Table Discussion) เป็ น การอภิป รายที่ผู้ ร่ ว ม
มพ

อภิปรายทุกคนมีสทิ ธิเท่าเทียมกัน จะมีการจัดโต๊ะเป็ นรูปวงกลมโดยผูร้ ่วมอภิปรายนัง่ เรียงกัน


ห้า

ตามรูปโต๊ะเพือ่ ให้มโี อกาสเห็นหน้ากันอย่างชัดเจนทุกคน ผูเ้ ข้าร่วมอภิปรายจะมีประมาณ 10-


20 คน โดยทุกคนเป็ นทัง้ ผู้พูดและผู้ฟัง มีสทิ ธิในการแสดงความคิ ดเห็นเท่าเทียมกัน บางที
ประธานในการอภิปรายอาจมีหรือไม่มกี ไ็ ด้

RAM 1103 157

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

3.2 การอภิปรายแบบสัมมนา (Seminar Discussion) การสัมมนาเป็ นการอภิปรายที่


ผู้ร่วมอภิปรายแต่ละคนจะต้องสนใจศึกษาค้นคว้าข้อมูลมาก่อน เพื่อนามาแลกเปลี่ยนความ
คิด เห็น กัน ในเรื่อ งใดเรื่อ งหนึ่ ง ที่มุ่ ง พิจ ารณาเฉพาะ โดยปกติจ ะมีผู้เ ชี่ย วชาญที่ไ ด้ร ับ การ
คัดเลือกมาแล้วว่ามีความรูก้ ว้างขวางในสาขาทีเ่ กีย่ วข้องกับการสัมมนานัน้ เป็ นผูบ้ รรยายก่อน
จากนัน้ ผูอ้ ภิปรายแต่ละคนจะร่วมกันพิจารณาและเสนอความคิดเห็นของตน และในทีส่ ุดก็จะมี

ัย
ยาล
การสรุปผลจากทีผ่ เู้ ข้าร่วมประชุมทัง้ หมดได้เสนอแนะ

วิท
3.3 การอภิปรายแบบระดมสมอง (Brainstorming Discussion) เป็ นการอภิปรายเพื่อ

หา
รวบรวมความคิดเห็นจากผูร้ ่วมประชุมให้ได้มากทีส่ ุด โดยมีการชี้ถงึ ปั ญหาและให้สมาชิกทุก

างม
คนเสนอแนะวิธกี ารแก้ปัญหานัน้ อย่างเสรี แต่ในการเสนอแนะการแก้ปัญหาของสมาชิกนัน้ จะ

ากท
ไม่ มีก ารอภิป รายถกเถีย งหรื อ โต้แ ย้ง ประเด็น ต่ า ง ๆ เมื่อ สมาชิก แสดงความเห็น ออกมา
เลขานุการทาหน้าที่จดบันทึกไว้ จากนัน้ จึงนาข้อเสนอแนะต่าง ๆ ของสมาชิกมาพิจารณาหา

ตจ
ข้อเสนอแนะทีเ่ หมาะสมและเป็ นประโยชน์ทส่ี ุดเพือ่ เป็ นแนวทางในการตัดสินใจต่อไป

นุญ
3.4 การอภิปรายเป็ นคณะ (Panel Discussion) เป็ นการอภิปรายที่ประกอบด้ว ยผู้
ับอ
ร่วมอภิปรายตัง้ แต่ 3-5 คน โดยผูร้ ่วมอภิปรายทุกคนเป็ นผูท้ ศ่ี กึ ษาหาความรูเ้ กี่ยวกับหัวข้อที่
ด้ร

จะอภิปรายมาก่อนแล้ว ซึ่งผู้อภิปรายแต่ละคนสามารถโต้แย้งแสดงเหตุผลสนับสนุ นความ


ไม่ไ

คิดเห็นของตัว เองได้ และมีผู้นาการอภิปรายคอยด าเนินการอภิปราย พร้อ มทัง้ ซักถา มผู้


อภิปรายแทนคนฟั ง
ร่โด

3.5 การอภิปรายแลกเปลีย่ นความรู้ (Symposium Discussion) การอภิปรายประเภท


แพ

นี้คล้ายคลึงกับการอภิปรายเป็ นหมู่คณะ แต่ต่างกันตรงทีก่ ารอภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้


เผย

นัน้ ผูอ้ ภิปรายแต่ละคนจะเตรียมค้นคว้าหาข้อมูลเฉพาะตอนใดตอนหนึ่งของเรื่อง ตามแต่จะ


รือ

ได้ตกลงกันไว้ โดยตัวผูอ้ ภิปรายแต่ละคนอาจเป็ นผูเ้ ชีย่ วชาญแต่ละด้านประมาณ 2-5 คน และ


ยห

มีป ระธานเป็ นผู้ ด าเนิ น การและเป็ นตัว เชื่อ มโยงระหว่ า งผู้เ ชี่ย วชาญกับ ผู้ฟั ง หลัง จาก
น่า

ผู้เชี่ยวชาญทุกคนได้บรรยายจบลงแล้ว จึงเปิ ดโอกาสให้ผู้ฟังเข้ามามีส่วนร่วมซักถาม หรือ


์จําห

แสดงความคิดเห็นกันอย่างอิสระ
ิมพ

3.6 การอภิปรายแบบปุจฉาวิสชั นา (Forum Discussion) เป็ นการอภิปรายที่ได้รบั


มพ

การปรับปรุงมาจากการอภิปรายแบบคณะ คือการอภิปรายทีม่ ผี อู้ ภิปรายแยกเป็ น 2 กลุ่ม กลุ่ม


ห้า

หนึ่ ง ประกอบด้ว ยผู้แ ทนของผู้ฟั ง ประมาณ 3-4 คน อีก กลุ่ ม หนึ่ ง ประกอบด้ว ยวิท ยากร
ประมาณ 3-4 คนเช่นกัน ทัง้ สองฝ่ ายนัง่ อยู่บนเวทีหนั หน้าเข้าหากัน ผู้ร่วมอภิปรายที่ได้รบั
เลือกมาเป็ นผูแ้ ทนของผูฟ้ ั งจะเป็ นผูเ้ สนอปั ญหา หรือถามคาถาม วิทยากรจะเป็ นผูต้ อบปั ญหา

158 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

มีผดู้ าเนินการอภิปรายและเปิ ดโอกาสให้ทงั ้ สองฝ่ ายแสดงความคิดเห็น ผูฟ้ ั งมีส่วนร่วมในการ


อภิปรายอย่างมากและต้องให้ความร่วมมืออย่างเต็มที่
การโต้วาที
1. ความหมายของการโต้วาที

ัย
การโต้วาทีเป็ นรูปแบบการพูดที่แบ่งผู้พูดออกเป็ นสองฝ่ ายเพื่อให้มกี ารโต้แย้ง และ

ยาล
หักล้างเหตุผลของอีกฝ่ าย ซึ่งนอกจากจะใช้เหตุผลอย่างมีสาระแล้ว ผู้พูดยังจาเป็ นต้อ งใช้

วิท
ปฏิภาณไหวพริบ และวาทศิลป์ เพือ่ ดึงดูดความสนใจของผูฟ้ ั ง

หา
2. จุดมุ่งหมายของการโต้วาที

างม
2.1 เพื่อ ฝึ ก ฝนให้ผู้โต้ว าทีรู้จกั การคิด และการพูดอย่างมีเ หตุผ ล รวมทัง้ เป็ น การ

ากท
ฝึกหัดการฟั งอย่างมีวจิ ารณญาณ
2.2 เพื่อ ฝึ ก ฝนให้ รู้ จ ัก ยอมรับ ความคิด ของผู้ อ่ืน ท าให้ เ กิด ความรู้ ใ หม่ ๆ และ

า ตจ
ประสบการณ์ใหม่ ๆ นุญ
2.3 เพือ่ ฝึกความเป็ นผูน้ าและการทางานร่วมกัน
ับอ
3. องค์ประกอบของการโต้วาที
ด้ร

3.1 หมายถึงข้อ เสนอหรือ ปั ญ หาที่มีข้อ เท็จจริงซึ่งนามาสู่การโต้ว าที ญัต ติใ นการ


ไม่ไ

โต้วาทีมคี วามสาคัญมากจะต้องเสนอในรูปประโยคบอกเล่า และเป็ นเรื่องทีเ่ ปิ ดช่องให้โต้แย้ง



ร่โด

ถกเถียงกันได้
3.2 คณะบุคคลทีด่ าเนินการโต้วาที ประกอบด้วยประธานการโต้วาที ฝ่ ายเสนอ และ
แพ

ฝ่ ายค้าน คณะกรรมการผูต้ ดั สิน และกรรมการผูจ้ บั เวลาในการโต้วาที


เผย

3.3 กระบวนการโต้วาที เริม่ จากประธานกล่าวเปิ ดการโต้วาที จากนัน้ จึงแนะนาญัตติ


รือ

ในการโต้วาทีให้ผฟู้ ั งทราบ ในการพูดนัน้ ฝ่ ายสนับสนุนและฝ่ ายค้านจะขึน้ พูดทีละคนโดยแสดง


ยห

หลักฐานอ้างอิงมาหักล้างประเด็นที่ฝ่ายตรงข้ามเสนอโดยเริม่ จากหัวหน้าของฝ่ ายสนับสนุ น


น่า
์จําห

ก่อน เมื่อพูดกันจบทุกคนแล้ว หัวหน้าของแต่ละฝ่ ายจะขึ้นมากล่ าวสรุปอีกครัง้ โดยเริ่ม จาก


หัวหน้าของฝ่ ายค้าน
ิมพ

3.4 หลักเกณฑ์ในการตัดสินการโต้วาที ที่คณะกรรมการพึงยึดเป็ นแนวทาง ได้แก่


มพ

วาทศิล ป์ ที่ใ ช้ใ นการโต้ว าที เหตุผ ลและข้อเท็จจริงที่หยิบยกขึ้นมา พูดได้ต รงประเด็นและ


ห้า

หักล้างข้อเสนอของฝ่ ายตรงข้ามได้ดเี พียงไร รวมถึงรักษามารยาทในการโต้วาทีได้ดหี รือไม่


4. การสร้างญัตติสาหรับโต้วาที
การตัง้ ญัตติสาหรับการโต้วาทีควรคานึงถึงสิง่ ต่าง ๆ ดังต่อไปนี้

RAM 1103 159

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

4.1 เรียบง่าย การสร้างญัตติเพือ่ การโต้วาทีจะต้องคานึงถึงความง่ายของข้อเสนอที่จะ


เป็ นญัตติ หมายความว่าควรจะเป็ นเรื่องที่ง่ายในการพูด ง่ายในการคิด และง่ายในการพิสูจน์
ให้เห็นจริงได้
4.2 ชัดเจน การสร้างญัตติเพื่อการโต้วาทีควรจะมีความชัดเจนในด้านถ้อยคา ในด้าน
ความหมาย เมื่อเห็นญัตติกส็ ามารถทีจ่ ะคิดและพูดได้ทนั ที่ ไม่มถี อ้ ยคาหรือเนื้อความทีก่ ากวม

ัย
ยาล
4.3 กระทัด รัด การก าหนดเนื้ อ ความเพื่อ สร้ า งญัต ติค วรจะเป็ นเนื้ อ ความที่ส ัน้

วิท
กระทัดรัด ไม่ควรใช้เนื้อความทีย่ ดื ยาว เพราะจะทาให้เข้าใจยาก จายาก ตีความยาก พูดก็ยาก

หา
โดยปกติจงึ นิยมตัง้ ญัตติเป็ นวลีมากกว่าประโยค

างม
4.4 ใช้ถ้อยคาบอกเล่า การสร้างญัตติเพื่อการโต้วาทีไม่ควรเป็ นคาถาม เพราะไม่ใช่

ากท
คาถามเพือ่ การตอบ แต่ควรเป็ นเนื้อความบอกเล่า คล้ายกับว่าผูพ้ ดู เสนอความคิดเห็นอย่างใด
อย่างหนึ่งแล้วมีผคู้ ดั ค้านความคิดเห็นนัน้

ตจ
4.5 มีความเป็ นเอกภาพ เนื้อความทีจ่ ะใช้สร้างญัตติเพื่อการโต้วาทีควรมีความรัดกุม

นุญ
ไม่มคี วามหมายหลายนัย ในญัตติเดียวกันนี้จะต้องมีเนื้อความทีเ่ ข้าใจได้เพียงแง่เดียว เพื่อที่
ับอ
การโต้วาทีจะได้มขี อบเขตชัดเจน
ด้ร

4.6 ปราศจากความลาเอียง ผูส้ ร้างญัตติควรจะพิจารณาความยากง่ายของญัตติด้วย


ไม่ไ

ควรจะพิจารณาในแง่ทว่ี ่าฝ่ ายค้านสามารถทีจ่ ะค้านได้สะดวกเช่นเดียวกับฝ่ ายเสนอ ไม่ควรตัง้


ญัตติทเ่ี อนเอียงไปฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง


ร่โด
แพ

การประชุม
เผย

1. ความหมายของการประชุม
รือ

การประชุมหมายถึงการทีก่ ลุ่มบุคคลมารวมตัวกันเพื่อปรึกษาหารือ ตามระเบียบแบบ


ยห

แผนทีก่ าหนดไว้ เพือ่ ให้การดาเนินการเป็ นไปด้วยดีและอยู่ในระยะเวลาทีก่ าหนด


น่า
์จําห

2. จุดมุ่งหมายของการประชุม
2.1 เพือ่ หาข้อเท็จจริงและแลกเปลีย่ นความรู้
ิมพ

2.2 เพือ่ หาข้อยุติ ข้อเสนอแนะ หรือวิธแี ก้ปัญหา


มพ

2.3 เพือ่ รายงานหรือแถลงเรื่องราวต่าง ๆ


ห้า

2.4 เพือ่ กาหนดนโยบายในการดาเนินงาน

160 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

3. ประเภทของการประชุม
3.1 การประชุ ม สามัญ หมายถึง การประชุ ม ตามก าหนดการที่ไ ด้ก าหนดไว้ต าม
ระเบียบข้อบังคับนัน้ ๆ
3.2 การประชุมวิสามัญ หมายถึงการประชุมพิเศษ หรือการประชุมอย่างรีบด่ว นที่
นอกเหนือจากกาหนดการ

ัย
ยาล
4. องค์ประกอบในการประชุม

วิท
การประชุมจะต้องประกอบด้วยบุคคลต่าง ๆ ดังนี้

หา
4.1 ประธาน มีหน้าที่ดาเนินการประชุม คอยควบคุมญัตติในการประชุม รักษาเวลา

างม
ในการประชุม และตัดสินชี้ขาดผลของการประชุม โดยผูท้ ด่ี ารงตาแหน่งประธานนัน้ ย่อมเป็ น

ากท
บุคคลทีไ่ ด้รบั ความไว้วางใจจากคณะกรรมการ
4.2 รองประธาน มีอานาจหน้าที่ เช่นเดียวกับประธาน คอยทาหน้าทีแ่ ทนประธานเมื่อ

ตจ
ประธานไม่สามารถทาหน้าทีข่ องตนในการประชุมนัน้ ๆ

นุญ
4.3 กรรมการ มีห น้ า ที่ เ ข้ า ร่ ว มประชุ ม และให้ ค วามร่ ว มมือ ในการประชุ ม มี
ับอ
ความสาคัญเช่นเดียวกันเพราะหากจานวนผูเ้ ข้าไปประชุมไม่ครบตามองค์ประชุมทีก่ าหนดไว้
ด้ร

ก็จะไม่สามารถเปิ ดประชุมได้
ไม่ไ

4.4 เลขานุการ ทาหน้าทีจ่ ดบันทึกการประชุม ถือเป็ นตาแหน่งทีม่ คี วามจาเป็ น เพราะ


ต้องควบคุมนโยบาย ความคุมระบบวิธกี ารต่าง ๆ ให้ดาเนินต่อไปจนการประชุมสาเร็จ


ร่โด

4.5 เหรัญญิก ทาหน้าที่เกี่ยวกับการเงินโดยตรง เช่น การรวบรวมเงินของสมาชิก


แพ

เก็บเงินฝากเงินที่ธนาคาร รวบรวมหลักฐานเกี่ยวกับการเบิกจ่ายเงิน ทาบัญชีงบดุลเกี่ยวกับ


เผย

รายรับรายจ่าย เป็ นต้น


รือ

5. การบันทึกรายงานการประชุม
ยห

การบันทึกรายงานการประชุมเป็ นหน้าทีข่ องเลขานุการซึง่ โดยทัวไปจะปฏิ


่ บตั ดิ งั นี้
น่า

5 1 รายงานการประชุมดังกล่าวเป็ นของใครหรือหน่วยงานใด
์จําห

5.2 ประชุมครัง้ ทีเ่ ท่าไร


ิมพ

5.3 วัน เดือน ปี ทีป่ ระชุม


มพ

5.4 สถานทีป่ ระชุม


ห้า

5.5 รายชื่อผูเ้ ข้าร่วมประชุมและตาแหน่ง


5.6 รายชื่อผูเ้ ข้าร่วมประชุมและสาเหตุทไ่ี ม่ได้เข้าประชุม
5.7 รายชื่อบุคคลอื่นทีเ่ ข้าร่วมประชุมหรือสังเกตการณ์ (ถ้ามี)

RAM 1103 161

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

5.8 เวลาเปิ ดประชุม


5.9 เรื่องทีป่ ระชุมเรียงตามระเบียบวาระการประชุม
5.10 บันทึกเนื้อหาการประชุมและมติทป่ี ระชุม
5.11 เวลาเลิกประชุม
5.12 ชื่อผูท้ าหน้าทีบ่ นั ทึกการประชุม

ัย
ยาล
ทัง้ นี้ การบันทึกเนื้อหาการประชุมอาจจะบันทึกทุกความเห็น ของผู้เ ข้าร่ว มประชุม

วิท
พร้อมกับตัวมติ หรือจะบันทึกโดยย่อคาพูดเฉพาะทีเ่ ป็ นประเด็นสาคัญอันเป็ นเหตุผลทีน่ าไปสู่

หา
มติพร้อมกับตัวมติกไ็ ด้

างม
ากท
การพูดทางวิ ทยุโทรทัศน์
1. ความหมายของการพูดทางวิทยุโทรทัศน์

า ตจ
การพูดทางวิทยุโทรทัศน์ ถือเป็ นการพูดทางสื่อสารมวลชน ซึ่งแตกต่างจากการพูดใน
นุญ
รูปแบบอื่น ๆ เนื่องจากมีการถ่ายทอดการพูดไปสู่ผฟู้ ั งจานวนมาก ผูพ้ ดู จะไม่สามารถปรับปรุง
ับอ
ลีลาหรือเนื้อหาในการพูดให้เหมาะสมกับผู้ฟัง เพราะไม่มโี อกาสได้เห็นการตอบสนองใด ๆ
ด้ร

จากผู้ฟัง การสร้างความสนใจให้กบั ผูฟ้ ั งตัง้ แต่วนิ าทีแรกจึงมีความสาคัญ เพราะหากผู้ฟังไม่


ไม่ไ

สนใจก็อาจจะเปลีย่ นไปฟั งรายการอื่นแทน



ร่โด

โดยทัว่ ไปบุ ค คลที่จ ะมีโ อกาสได้พูด ทางวิท ยุ โ ทรทัศ น์ จ ะมีอ ยู่ 2 ประเภท คือ ผู้ท่ี
ประกอบอาชีพนี้โดยตรง เช่น นักจัดรายการ กับ ผู้ท่ไี ด้รบั เชิญให้พูดแสดงความคิดเห็นต่อ
แพ

ประเด็นต่าง ๆ เช่น ปั ญหาเกีย่ วกับการศึกษา ปั ญหาเกีย่ วกับมลภาวะ เป็ นต้น การออกอากาศ


เผย

จะมีทงั ้ ทีเ่ ป็ นการสัมภาษณ์ การสนทนา และการอภิปราย


รือ

2. การเตรียมตัวก่อนออกอากาศหรือบันทึกเทปรายการ
ยห

2.1 ผูพ้ ูดควรจะศึกษารายการวิทยุหรือรายการโทรทัศน์ทจ่ี ะไปออกอากาศ เพื่อจะได้


น่า
์จําห

ทราบว่ารายการนัน้ มีลกั ษณะการนาเสนอรายการอย่างไร บรรยากาศของรายการออกมาใน


ลักษณะใด ผูด้ าเนินรายการมีวธิ ตี งั ้ คาถามอย่างไร จะได้ปรับวิธพี ดู ให้ออกมาดีทส่ี ุด
ิมพ

2.2 ผู้พูดควรจะเตรียมเนื้อหาที่จะพูดมาล่วงหน้า เพื่อจะได้พูดได้ครบถ้วนในเวลาที่


มพ

กาหนด เนื่องจากรายการวิทยุโทรทัศน์จะมีกาหนดเวลาทีช่ ดั เจน เช่น หากต้องพูดภายใน 10


ห้า

นาที ผูพ้ ูดควรเลีย่ งการให้ขอ้ มูลสถิตเิ ชิงลึก แต่อาจจะใช้การเปรียบเทียบเพื่อให้ผฟู้ ั งเข้าใจได้


ง่ายขึน้

162 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

2.3 ในกรณีท่รี ายการที่จะไปออกอากาศแจ้งค าถามมาล่วงหน้ า ผู้พูดก็จะสามารถ


เตรียมคาตอบสาหรับรายการไว้คร่าว ๆ ล่วงหน้า หรือหากผูพ้ ูดไปถึงสถานีก่อนเวลา ก็จะได้
พูดคุ ยกับผู้ดาเนินรายการก่ อ นการออกอากาศ ว่าจะสัมภาษณ์ หรือ สนทนาไปในประเด็น
คาถามอะไรบ้าง จะได้เกิดความคุน้ เคย
3. หลักการพูดทางวิทยุโทรทัศน์

ัย
ยาล
3.1 รู้จกั อุปกรณ์ แ ละสัญ ญาณส าคัญ ในห้อ งส่ง เมื่อ อยู่ใ นห้อ งส่ง ซึ่งอาจะเป็ น การ

วิท
บันทึกเทปหรือออกอากาศสด ผู้พูดควรจะรู้จกั อุปกรณ์สาคัญสาหรับการพูดของตน ได้แก่

หา
ไมโครโฟน กล้องบันทึกภาพ รวมทัง้ สัญญาณแสดงการออกอากาศและการยุตใิ นห้องส่ง เมื่อ

างม
สัญญาณออกอากาศเริม่ ต้นขึน้ ผูพ้ ูดจะได้มสี มาธิจดจ่ออยู่กบั การพูด ไม่ควรต้องมาพะวงกับสิง่

ากท
อื่นรอบตัวอีก
3.2 กาหนดให้ชดั เจนว่าจะพูดกับผู้ดาเนินรายการเท่านัน้ หรือพูดกับผู้ฟังทางบ้าน

ตจ
ด้วย สาหรับรายการวิทยุ ผู้พูดไม่จาเป็ นต้องพะวงเรื่องการแสดงออกอย่างอื่นนอกจากเสียง

นุญ
จึงต้อ งคอยดูระยะห่ างระหว่ างต าแหน่ งที่ ต นนัง่ พูดกับไมโครโฟนให้อ ยู่ใ นระยะสม่ า เสมอ
ับอ
ไม่เ ช่นนัน้ จะท าให้ค วามดัง หรือ คุ ณ ภาพของเสียงเปลี่ย นไป อย่างไรก็ดีห ากเป็ น รายการ
ด้ร

โทรทัศน์ ผู้พูดจาเป็ นต้องสนใจกิรยิ าท่าทางด้วย หากกาหนดให้พูดคุยกับผู้ดาเนินรายการ


ไม่ไ

หรือผูร้ ่วมรายการท่านอื่น ๆ ก็ไม่ตอ้ งกังวลว่ากล้องตัวใดกาลังจับภาพผูพ้ ูดอยู่ แต่หากกาหนด


ว่าจะพูดกับผูฟ้ ั งทางบ้าน ผูพ้ ูดควรตกลงกับผูด้ าเนินรายการก่อนออกอากาศ เพื่อจะได้ทราบ


ร่โด

ว่ากล้องตัวใดจับภาพผูพ้ ดู อยู่เพือ่ ทีจ่ ะหันไปสบตากับกล้องได้ถูกตัว


แพ

3.3 คานึงถึงคุณสมบัตเิ ฉพาะของสื่อวิทยุและโทรทัศน์ การพูดทางวิทยุ ผูฟ้ ั งจะได้ยิ น


เผย

เพียงเสียง ฉะนัน้ ผู้พูดต้องระมัดระวังไม่ให้เกิดเสียงที่ไม่น่าฟั งออกไป เมื่อเกิดไอ จาม หรือ


รือ

หาวก็ค วรป้ อ งปากหรือถอยห่ างจากไมโครโฟน เมื่อ หยุดช่ว งพูดก็ไม่ค วรจะหยุดช่วงนาน


ยห

เกินไป เพราะผูฟ้ ั งวิทยุไม่รวู้ ่าเกิดอะไรขึน้ รวมทัง้ การเปลี่ยนเสียงพูดก็เป็ นสิง่ ทีต่ ้องคานึงถึง


น่า

ว่าผู้ฟังไม่เห็นกิรยิ าอาการของผูพ้ ูดทีเ่ ปลีย่ นไปด้วย แทนที่จะทาให้การพูดนัน้ น่ าสนใจก็อาจ


์จําห

ทาให้ผฟู้ ั งรูส้ กึ ถึงความไม่ราบรื่น ก่อให้เกิดความราคาญ


ิมพ

ส่วนการพูดทางโทรทัศน์ แม้จะเป็ นการพูดทีผ่ ฟู้ ั งมองเห็นตัวผูพ้ ูด แต่ภาพทีเ่ ห็นนัน้ ก็


มพ

แตกต่างจากการเห็นผูพ้ ูดในการพูดหน้าทีป่ ระชุม ภาพของผูพ้ ูดทีผ่ ฟู้ ั งมองเห็นในจอโทรทัศน์


ห้า

ส่วนใหญ่จะเป็ นภาพระยะใกล้ เป็ นภาพทีเ่ น้นส่วนใบหน้าหรือครึง่ ตัวเป็ นหลัก ดังนัน้ การแสดง


อากัปกิรยิ าต่าง ๆ ของผูพ้ ดู จึงควรแสดงแต่น้อย ด้วยท่าทีทน่ี ุ่มนวล ไม่เช่นนัน้ จะดูเหมือนเป็ น
การแสดงมากกว่าเป็ นกิรยิ าทีม่ าจากใจจริง

RAM 1103 163

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

3.4 ตระหนักว่าการพูดทางวิทยุโทรทัศน์ไม่ใช่การพูดต่อหน้าผูฟ้ ั งจานวนมหาศาล แต่


เป็ นการพูดกับแต่ละคนทีอ่ ยู่ในทีต่ ่าง ๆ แม้วทิ ยุโทรทัศน์จะสามารถสื่อไปถึงผูฟ้ ั งจานวนมาก
แต่ผู้ฟังที่มอี ยู่จานวนมากนัน้ มิได้อยู่ในที่เดียวกัน ตรงกันข้ามคือต่างคนต่างอยู่ บ้างก็นัง่ อยู่
ตามลาพัง บ้างก็อยู่ด้วยกันเป็ นกลุ่ม ดังนัน้ การพูดทางวิทยุโทรทัศน์จึงต้องพูดแตกต่างจาก
การพูดในที่ชุมชน กล่าวคือ ควรพูดในลักษณะสนทนากับผู้ฟัง ให้ความรู้สกึ เป็ นกันเอง ด้วย

ัย
ยาล
น้ าเสียงปกติเหมือนการพูดคุยในชีวติ ประจาวัน แต่ควรใช้ภาษาสุภาพ นาเสนอเนื้ อหาสาระที่

วิท
เป็ นประโยชน์ต่อสาธารณชน ไม่พดู เรื่องทีก่ ่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลใดบุคคลหนึ่ง

หา
างม
การพูดในโอกาสต่างๆ

ากท
นอกจากการพูดในการทางานแล้ว ยังมีการพูดเพื่อมารยาททางสังคมที่ใช้ในโอกาส

ตจ
ต่าง ๆ เพื่อแสดงถึงความเคารพรักใคร่เพือ่ เสริมสร้างมนุษยสัมพันธ์อนั ดีต่อกัน ตามแบบสากล

นุญ
นิยม ตัวอย่างเช่น การกล่าวแนะนา การกล่าวต้อนรับ การกล่าวอวยพร การกล่าวแสดงความ
ับอ
ยินดี การกล่าวไว้อาลัย เป็ นต้น
ด้ร
ไม่ไ

การกล่าวแนะนา

การกล่าวแนะนา เป็ นการพูดแนะนาบุคคลหรือกลุ่มบุคคลโดยมีจุดมุ่งหมายคือทาให้


ร่โด

ผู้ฟังทราบว่าบุคคลนัน้ เป็ นใคร มาจากไหน มีประสบการณ์ หรือความเชี่ยวชาญด้านใด เพื่อ


แพ

กระตุ้นให้ผู้ฟังเกิดความสนใจในตัวบุคคลดังกล่าว การพูดเช่นนี้ ใช้ในการแนะนา วิทยากร


เผย

ผูบ้ รรยาย คณะผูอ้ ภิปราย องค์ปาฐก เป็ นต้น โดยผูท้ ท่ี าหน้าทีใ่ นการแนะนาเรียกว่าพิธกี รหรือ
รือ

โฆษก ซึง่ ควรมีหลักในการกล่าวแนะนาดังนี้


ยห

1. ควรยิม้ แย้มแจ่มใส ใช้น้าเสียงทีม่ ชี วี ติ ชีวา วางตัวให้สง่า ดูมบี ุคลิกทีด่ ี


น่า

2 ควรเลือกสรรถ้อยคาทีจ่ ะพูดให้เหมาะสมกับโอกาสและสถานที่
์จําห

3. ควรพูดให้สนั ้ กระชับ หลีกเลีย่ งการใช้ถอ้ ยคาฟุ่มเฟื อย


ิมพ

4. กล่าวแนะนาผูพ้ ดู ตามความเป็ นจริง ไม่ตอ้ งเพิม่ เติมเสริมแต่ง


มพ

5. กล่าวชื่อผูพ้ ดู ให้ถูกต้อง หากชื่อผูพ้ ดู สะกดยากควรตรวจสอบและฝึกซ็อมมาก่อน


ห้า

6. อย่าบรรยายความสนิทสนมส่วนตัวทีม่ ตี ่อผูพ้ ดู

164 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

การกล่าวต้อนรับ
เวลามีแ ขกมาเยี่ยมชมหน่ ว ยงาน ย่อ มมีการจัดพิธีต้ อ นรับ เพื่อ เป็ นการให้เ กีย รติ
รวมทัง้ เป็ นการแสดงน้ าใจไมตรีต่อแขกผูม้ าเยีย่ มชม การกล่าวต้อนรับทีด่ จี งึ มีสว่ นช่วยให้แขก
ผู้มาเยี่ยมชมรู้สกึ อุ่นใจและเป็ นกันเองกับเจ้าของสถานที่ เป็ นการเชื่อมความสัมพันธ์อ ันดี
ระหว่างกัน ซึง่ ควรมีหลักในการกล่าวต้อนรับดังนี้

ัย
ยาล
1. กล่าวถึงความยินดีทเ่ี จ้าของสถานทีไ่ ด้ตอ้ นรับผูม้ าเยือน

วิท
2. พูดถึงส่วนดีของผูม้ าเยือน อาจพูดถึงเรื่องทีบ่ ุคคลนัน้ ได้ทาคุณประโยชน์อะไรแก่

หา
สังคม หรือเคยมีผลงานอะไรมาก่อน

างม
3. กล่าวถึงความคาดหวังว่าผู้มาเยือนจะมีความสุข หรือประสบความสาเร็จในการ

ากท
สร้างความร่วมมือระหว่างกันและกัน
4. การแสดงความหวังว่าบุคคลนัน้ จะกลับมาเยีย่ มอีก

า ตจ
นุญ
การกล่าวตอบการต้อนรับ
ับอ
เมื่อแขกมีโอกาสได้มาเยีย่ มชมหน่วยงานแล้ว ก็อาจมีการกล่าวตอบการต้อนรับซึ่งควร
ด้ร

ยึดหลักดังนี้
ไม่ไ

1. กล่าวขอบคุณเจ้าภาพทีจ่ ดั พิธตี อ้ นรับ


2. กล่าวถึงความประทับใจในการมาเยีย่ มชมหน่วยงาน
ร่โด

3. กล่าวเชิญเจ้าบ้านให้ไปเยือนหน่วยงานของตนบ้าง
แพ
เผย

การกล่าวอวยพร
รือ

บางครัง้ ในงานที่จดั ขึ้นอย่างเป็ นกันเอง ผู้พูดอาจถูกเชิญขึ้นไปกล่าวอวยพรเพราะมี


ยห

ความสนิทสนมกับเจ้าภาพ โดยไม่จาเป็ นว่าจะต้องเป็ นบุคคลที่มชี ่อื เสียงแต่ประการใด การ


น่า

กล่าวอวยพรอาจมีหลายโอกาส เช่น อวยพรคู่สมรส อวยพรวันเกิด อวยพรวันขึน้ ปี ใหม่ เป็ น


์จําห

ต้น ผูพ้ ดู ควรกล่าวสัน้ ๆ โดยมีหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ดังนี้


ิมพ

1. ผูพ้ ดู ควรกล่าวแสดงความรูส้ กึ เป็ นเกียรติทไ่ี ด้ขน้ึ มากล่าวอวยพร


มพ

2. ผูพ้ ดู ควรพูดถึงความสัมพันธ์ของผูพ้ ดู ทีม่ ตี ่อเจ้าภาพ


ห้า

3. ผูพ้ ดู ควรคาถึงเวลาและเนื้อหาให้เหมาะสมตามโอกาส

RAM 1103 165

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

การกล่าวสุนทรพจน์
การกล่าวสุนทรพจน์ เป็ นการพูดที่ใช้ในโอกาสสาคัญ เช่น การกล่าวเปิ ดการประชุม
การพบปะสโมสร การจัดนิทรรศการ โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อประชาสัมพันธ์ สร้างความนิยม
ชมชอบให้แก่องค์กร เป็ นต้น การพูดสุนทรพจน์นนั ้ มักเป็ นการพูดคนเดียวซึง่ มีหลักการดังนี้
1. ผูพ้ ูดจะต้องเรียบเรียงถ้อยคาให้สละสลวยงดงาม ออกเสียงชัดถ้อยชัดคา ถูกต้อง

ัย
ยาล
ตามหลักภาษา

วิท
2. ผูพ้ ดู ควรพูดด้วยถ้อยคาและท่าทีทส่ี ุภาพอ่อนน้อม

หา
3. เนื้อหาทีพ่ ดู นัน้ นอกจากจะให้ความจรรโลงใจแล้ว ควรมีสารประโยชน์ถูกต้องตาม

างม
หลักความเป็ นจริง สามารถนาไปปรับคิดเป็ นแนวทางในการปฏิบตั ไิ ด้ดว้ ย

ากท
การกล่าวสดุดี

ตจ
การกล่าวสดุดมี กั ใช้ในพิธกี รรมต่าง ๆ ทีเ่ วียนมาบรรจบครบรอบ เพื่อระลึกถึงคุณงาม

นุญ
ความดีของบุคคลทีม่ ่อื เสียง สร้างคุณประโยชน์ หรือเสียสละเพือ่ ส่วนรวม ซึง่ แม้บุคคลดังกล่าว
ับอ
จะล่วงลับไปแล้วแต่คุณงามความดีของเขาก็ยงั คงอยู่ในความทรงจาของประชาชน ซึ่งมีหลัก
ด้ร

ดังนี้
ไม่ไ

1. กล่าวทักทายผูฟ้ ั งทุกคนมาทีร่ ่วมสดุดี


2. พูดถึงความสาคัญของบุคคลนัน้ ทีม่ ตี ่อสถาบัน สังคม หรือประเทศชาติ


ร่โด

3. กล่าวถึงคุณงามความดี ยกย่องให้เกียรติบุคคลนัน้
แพ

4. กล่าวปลอบโยนญาติผเู้ สียชีวติ ให้เกิดความภาคภูมใิ จในบุคคลนัน้


เผย

5. กล่าวยืนยันจะสืบทอดปณิธานหรือมรดกของบุคคลนัน้ อย่างเต็มความสามารถ
รือ

6. ให้ทุกคนแสดงการคารวะ และปฏิญาณร่วมกัน
ยห
น่า

การกล่าวอาลา
์จําห

ในโอกาสทีม่ ผี ยู้ า้ ยงาน ลาออก หรือเกษียณอายุ ผูร้ ่วมงานมักจัดงานเลี้ยงอาลา และผู้


ิมพ

ทีจ่ ากไปก็อาจต้องกล่าวอาลา ซึง่ การกล่าวอาลานัน้ ควรพูดด้วยความจริงใจ โดยยึดหลักดังนี้


มพ

1. พู ด ถึง สาเหตุ ข องการจากไป และแสดงความอาลัย ที่มีต่ อ เพื่อ นร่ ว มงานและ


ห้า

หน่วยงาน
2. พูดถึงความสัมพันธ์อนั ดี พูดถึงความร่วมมือทีต่ นเคยได้รบั พูดถึงความประทับใจ
ทีต่ นมีต่อเพือ่ นร่วมงาน

166 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

3. พู ด ถึ ง ความหวั ง ที่ จ ะได้ ก ลั บ มาพบกั น อี ก และเน้ น ว่ า แม้ จ ากไปแล้ ว แต่


ความสัมพันธ์จะยังคงเหมือนเดิม
4. กล่าวขอบคุณผูร้ ่วม และผูเ้ กีย่ วข้องทุกคนทีม่ สี ว่ นช่วยจัดงาน

การกล่าวไว้อาลัย

ัย
ยาล
ในงานศพผู้พูดอาจได้รบั โอกาสให้กล่าวคาไว้อาลัย โดยการกล่าวคาไว้อาลัยถือเป็ น

วิท
การให้เกียรติผตู้ าย การกล่าวคาไว้อาลัยจึงควรยึดหลักดังนี้

หา
1. พูดถึงชีวประวัตขิ องผูต้ ายเพียงสัน้ ๆ

างม
2. พูดถึงผลงานและคุณงามความดีของผูต้ าย

ากท
3. พูดถึงความห่วงหาอาลัยของผูท้ ย่ี งั อยู่
4. พูดแสดงความหวัง ขอให้ไปสูค่ ติทด่ี ตี ามความเชื่อของผูต้ าย

า ตจ
นุญ
ับอ
ด้ร
ย ไม่ไ
ร่โด
แพ
เผย
รือ
ยห
น่า
์จําห
ิมพ
มพ
ห้า

RAM 1103 167

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

บรรณานุกรม
ทินวัฒน์ มฤคพิทกั ษ์. พูดได้-พูดเป็ น. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์กอ้ งหล้า, 2525.
นิพนธ์ ศศิธร. หลักการพูดต่อชุมชน. พิมพ์ครัง้ ที่ 3. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช, 2524.
ปรัชญา อาภากุล และการุณันทน์ รัตนแสนวงษ์. ศิ ลปะการใช้ภาษาการพูดการเขียน.
กรุงเทพฯ: ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา ฝ่ ายเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2540.

ัย
ยาล
ประสงค์ รายณสุข. การพูดเพื่อประสิ ทธิ ผล. กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสือ มศว งานส่งเสริมวิจยั

วิท
และตารา กองบริการการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร, 2528.

หา
พชร บัวเพียร. วาทวิ ทยา กลยุทธ์การพูดอย่างมีประสิ ทธิ ผล...ในทุกโอกาส. พิมพ์ครัง้ ที่

างม
2. กรุงเทพฯ: Bj. Plate processor, 2536.

ากท
ลักษณา สตะเวทิน. หลักการพูด. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, 2536.
สวนิต ยมาภัย และถิรนัน์ อนวัชศิรวิ งศ์. หลักการพูด หน้ าที่ชุมชน สื่อมวลชน และใน

า ตจ
องค์กร. พิมพ์ครัง้ ที่ 10. กรุงเทพฯ: ภาควิชาวาทวิทยาและสือ่ สารการแสดง
นุญ
คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลัย, 2547.
ับอ
เสนาะ ผดุงฉัตร. วาทศาสตร์ ศิ ลปะเพื่อการพูด. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพฯ:
ด้ร

โรงพิมพ์จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2540.
ไม่ไ

เสนีย์ แสงดี. การพูดการฟั งเพื่อสัมฤทธิ ผล. นครพนม: ฝ่ ายเอกสารและตาราสถาบันราชภัฏ



ร่โด

นครพนม, 2546
แพ
เผย
รือ
ยห
น่า
์จําห
ิมพ
มพ
ห้า

168 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

Guth and Marsh (2000: 6) กล่าวถึงการประชาสัมพันธ์ว่า


1) การประชาสัมพันธ์จดั มีหน้าที่เกี่ยวกับการจัดการประเภทหนึ่ง (A Management
Function)
2) การประชาสัมพันธ์เป็ นการสือ่ สารแบบสองทาง (Two-way communication)
3) การประชาสัมพันธ์เป็ นกิจกรรมทีเ่ กิดจากการวางแผน (A Planned Activity)

ัย
ยาล
4) การประชาสัมพันธ์เป็ นงานทีม่ ฐี านมาจากการวิจยั (Research-based)

วิท
5) การประชาสัมพันธ์เป็ นความรับผิดชอบต่อสังคม (Socially responsible)

หา
างม
นภวรรณ ตันติเวชกุล สรุปต่อไปว่า การประชาสัมพันธ์เป็ นกระบวนการทีเ่ กี่ยวข้องกับ

ากท
การจัดการและการแสดงออกซึง่ ความรับผิดชอบต่อสังคม สนับสนุนให้เกิดการสือ่ สารแบบสอง
ทางระหว่างองค์การและกลุ่มสาธารณะที่เกี่ยวข้อง โดยการเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์เป็ น

ตจ
เครื่องมือหนึ่งของการขับเคลื่อนกระบวนการของการประชาสัมพันธ์ให้ลุล่วงไปได้ ช่วยสร้าง

นุญ
และรักษาความสัมพันธ์อนั ดี ระหว่างหน่วยงานและประชาชนกลุ่มต่าง ๆ ทัง้ ในแง่ของการเป็ น
ับอ
เครื่องมือเผยแพร่ขอ้ มูลให้ประชาชนทราบ การชักชวนให้ประชาชนมีสว่ นร่วม เห็นด้วยกับการ
ด้ร

ดาเนินงานของสถาบันหรือองค์การ ตลอดจนช่วยการประสานความคิดเห็นของกลุ่มประชาชน
ไม่ไ

ทีเ่ กีย่ วข้องให้ผสานเข้ากับจุดมุ่งหมายและวิธกี ารดาเนินงานของสถาบัน ซึง่ ในการทางานหรือ


วางแผนงานประชาสัม พัน ธ์ แ ต่ ล ะครัง้ ผู้ ป ฏิ บัติ ง านจะต้ อ งก าหนดวัต ถุ ป ระสงค์ ก าร


ร่โด

ประชาสัม พัน ธ์แ ละวัต ถุ ป ระสงค์ท่ีใ ช้ใ นการเขีย นเพื่อ การประชาสัม พัน ธ์ท่ีส อดรับ กัน ไป
แพ

วัตถุประสงค์ดงั กล่าวล้วนดารงอยูภายใต้ร่มเงาของคานิยามข้างต้นแทบทัง้ สิน้


เผย

กล่าวโดยสรุป การประชาสัมพันธ์ เป็ นกระบวนการจัดการบริหารข้อมูลขององค์กร


รือ

เพื่อ การสื่อ สารที่ดี มวลชนทัง้ ภายในและภายนอกองค์ก รรับ รู้ภ ารกิจ พันธกิจต่าง ๆ อัน
ยห

ก่อให้เกิดทัศนคติและความเข้าใจทีด่ รี ะหว่างหน่วยงาน องค์กร สถาบัน กับมวลชนทีเ่ กี่ยวข้อง


น่า

เกิดภาพลักษณ์ท่ดี ีขององค์กร ที่จะทาให้ได้รบั ความร่วมมือและการสนับสนุ นจากประชาชน


์จําห

นามาซึงผลสาเร็จขององค์กร
ิมพ
มพ

องค์ประกอบของการประชาสัมพันธ์
ห้า

ธาตรี ใต้ฟ้าพูล (2561: 14 -15) กล่าวถึงองค์ประกอบทีส่ าคัญของการประชาสัมพันธ์


ประกอบด้วย 6 ส่วนคือ

170 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

5. การสื่อสารสองทาง (Two-way Communication)


การประชาสัมพันธ์ เป็ นการสื่อสารมากกว่าทางเดียว เพราะการได้รบั ผลสะท้อนกลับ
เป็ นสิ่งที่มีค วามส าคัญ ทาให้รู้ว่าสาธารณชนคิดหรือ รู้สกึ อย่างไรต่อองค์กร Jim Osborne,
Former Vice President of Public Affairs, Bell Canada กล่าวไว้ว่า “ความรับผิดชอบในลาดับ
แรกๆ ของทีป่ รึกษาประชาสัมพันธ์ คือ การจัดการหาหรือจัดการเพื่อเข้าใจอารมณ์ความรู้สกึ

ัย
ยาล
ของสาธารณชน”

วิท
6. หน้ าที่เชิ งการจัดการ (Management Function)

หา
การประชาสัมพันธ์จะมีประสิทธิผ ลสูงสุ ด เมื่อ ถู กรวมเข้าไว้เ ป็ นส่วนหนึ่งของเรื่องที่

างม
ผู้บ ริห ารสูง สุ ด ขององค์ก รต้อ งพิจ ารณาตัด สิน ใจ งานประชาสัม พัน ธ์เ กี่ย วข้อ งกับ การให้

ากท
คาปรึกษา และการแก้ไขปั ญหาระดับสูง มิใช่เพียงการเผยแพร่ขอ้ มูลหลังจากทีไ่ ด้ตดั สินใจแล้ว
เท่านัน้

า ตจ
นุญ
วัตถุประสงค์
ับอ
การประชาสัมพันธ์ เป็ นการสร้างความสัมพันธ์อนั ดีกบั มวลชนที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิด
ด้ร

ความเข้าใจอันดีกบั องค์กร การประชาสัมพันธ์จงึ เป็ นการสร้างความศรัทธา การยอมรับ สร้าง


ไม่ไ

ภาพลักษณ์ทด่ี ใี ห้กบั หน่วยงาน โดยสามารถแบ่งวัตถุประสงค์ในการประชาสัมพันธ์ได้ดงั นี้



ร่โด

1. เพื่อสร้างความนิ ยมศรัทธา องค์กรทีต่ ้องการเป็ นทีช่ ่นื ชมของประชาชนควรต้องมี


ความรับผิดชอบและทาประโยชน์ต่อสังคม การเผยแพร่ค วามรู้ ความเข้าใจระหว่างองค์กรกับ
แพ

ประชาชนจึงมีความจาเป็ นอย่างยิง่ เพือ่ เสริมสร้างความรูส้ กึ และทัศนคติทด่ี ี


เผย

2. เพื่ อป้ องกันและรักษาชื่ อเสี ย ง ความศรัท ธา ความนิ ย ม และความเชื่อ ถือ ของ


รือ

องค์ก ร เป็ นสิ่งที่จะต้อ งค านึงถึงเป็ นอย่างมาก หากเกิดความเสื่อ มเสียจะทาให้เ กิดความ


ยห
น่า

เสียหายตามมาอย่างมาก ดังนัน้ องค์กรจาเป็ นต้องก่อกาเนิดคุณความดี มีความซื่อตรง ทา


์จําห

ประโยชน์ให้แก่สงั คม เพื่อสร้างความนิยมและศรัทธา ประชาชนเกิ ดความไว้วางใจเพื่อรักษา


ชื่อเสียงขององค์กร
ิมพ

3. เพื่ อ สร้ า งความเข้ า ใจอัน ดี การสร้า งความเข้า ใจอัน ดีท ัง้ บุ ค ลากรภายในและ
มพ

ภายนอกองค์กร ก่อให้เกิดความร่วมมือ การสนับสนุน ความเชื่อมัน ศรัทธาในองค์กร


ห้า

3.1 บุคลากรภายในองค์กร องค์กรต้องชี้แจง แถลงข้อเท็จจริง เช่น นโยบาย


วัตถุประสงค์ แผนการดาเนินงาน ความเจริญก้าวหน้า และผลงานให้พนักงานหรือผูป้ ฏิบตั งิ าน
ได้ทราบเป็ นระยะ เพือ่ เกิดความเข้าใจทีด่ ี พนักงานหรือผูป้ ฏิบตั งิ านกลุ่มนี้เป็ นกาลังสาคัญและ

172 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

มีความใกล้ชิดกับองค์กร หากกลุ่มบุคคลเหล่านี้มคี วามสามัคคีใ นหมู่คณะ มีความภักดี ต่อ


องค์กรจะลดปั ญหาความขัดแย้งภายในองค์กรได้
3.2 บุคลากรภายนอกองค์กร ประชาชนทีเ่ กี่ยวข้องกับองค์กรทัง้ ทางตรงและ
ทางอ้อม องค์กรจะสร้างความเข้าใจอันดีกบั กลุ่มบุคคลด้วยการเผยแพร่กจิ กรรมต่าง ๆ ผ่าน
สื่อมวลชน เนื่องจากความเข้าใจที่ดที ่มี ตี ่อองค์กรจะเป็ นผลให้เกิ ดประชามติในด้านบวกกับ

ัย
ยาล
องค์กร ทัง้ ยังได้รบั ความร่วมมือและได้รบั การสนับสนุนกับการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ขององค์กร

วิท
4. เพื่อสนับสนุนกิ จกรรมทางการตลาด หากประชาชนกลุ่มเป้ าหมายเกิดทัศนคติท่ี

หา
ดีต่อองค์กร ชื่นชม ศรัทธา ยอมรับในตัวองค์กร เมื่อองค์กรประกอบกิจการใดทีจ่ ะหใประชาชน

างม
สนับสนุ นผลิตภัณฑ์หรือบริการ ประชาชนกลุ่มเป้ าหมายมักจะยินดีและพร้อมที่จะให้ความ

ากท
ร่วมมือเป็ นอย่างดี
การประชาสัมพันธ์ขององค์กรนอกจากจะต้องมีว ตั ถุประสงค์ท่ีชดั เจนแล้ว ยังต้อ ง

ตจ
เลือกใช้สอ่ื เพือ่ การประชาสัมพันธ์ให้ตรงกับกลุ่มเป้ าหมาย และบรรลุวตั ถุประสงค์ดงั กล่ าว

นุญ
ับอ
การประชาสัมพันธ์เป็ นกระบวนการ
ด้ร

การประชาสัมพันธ์เป็ นชุดของการกระทา (Action) การเปลีย่ นแปลง (Changes) หรือ


ไม่ไ

หน้าที่ (Functions) นาไปสู่ผลลัพธ์ (Result) หนังสือเรื่อง “The Nature of Public Relations”



ร่โด

เขีย นโดย John Marston (1983) ได้ ใ ห้ แ นวทางว่ า การประชาสัม พัน ธ์ เ ป็ นกระบวนการ
“RACE” ประกอบด้วย
แพ
เผย

Research ประเด็นปั ญหาหรือสถานการณ์ทน่ี ่าสนใจ


รือ

Action กระทาการเช่นไร (วางแผนการดาเนินงาน)


ยห

Communication สือ่ สารอะไรกับสาธารณชน


น่า
์จําห

Evaluation ประเมินผลการเข้าถึงกลุ่มเป้ าหมาย และผลทีบ่ งั เกิดขึ้น


ิมพ

นักประชาสัมพันธ์อ่นื ๆ ยังได้กล่าวถึงกระบวนการประชาสัมพันธ์ โดยแบ่งเป็ นลาดับ


มพ

ขัน้ ตอนต่าง ๆ ดังนี้


ห้า

1. การวิ เคราะห์และวิ จยั เป็ นขัน้ ตอนแรกในการสารวจค้นหาปั ญหาด้านต่าง ๆ ของ


องค์กรทีต่ ้องเผชิญ หรือระบุได้ถงึ ปั ญหาด้านการประชาสัมพันธ์ โดยอาจเกิดจากการสะท้อ น
กลับจากสาธารณชน การรายงานข่าวจากสื่อมวลชนแขนงต่าง ๆ งานเขียนในการสื่อสารถึง

RAM 1103 173

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

พิจารณาถึงคุณสมบัตขิ องนักประชาสัมพันธ์ในปั จจุบนั มีความแตกต่างไปจากเดิ มเนื่องจาก


เหตุผลสาคัญ 2 ประการคือ
1. การประชาสัมพันธ์ในยุคปั จจุบนั มีขอบข่ายทีก่ ว้างขวางมากยิง่ ขึ้น ไม่เพียงแต่การ
ติดต่อประสานงานกับสื่อ มวลชนเท่านัน้ หากต้องดูแลสื่อในระบบดิจิทลั ขององค์กร ได้แก่
Website Facebook Instagram Twitter YouTube ซึ่งเป็ นสื่อที่มคี วามเคลื่อนไหวตลอดเวลา

ัย
ยาล
และสามารถติดต่อสื่อสารกับผูร้ บั สารแบบสองทางได้อย่างทันท่วงที รวมถึงสื่อสิง่ พิมพ์ต่าง ๆ

วิท
ที่ดาเนินมาก่อนหน้านี้ ไม่ว่าจะเป็ นสิง่ พิมพ์เพื่อการโฆษณาประชาสัมพันธ์องค์กร จดหมาย

หา
ข่าวสมาชิก Press Release เอกสารการประชาสัมพันธ์อ่นื ๆ ซึง่ มีทงั ้ ทีต่ อ้ งติดต่อและไม่ตดิ ต่อ

างม
กับสื่อมวลชนภายนอก รวมถึงนักประชาสัมพันธ์จาเป็ นต้องมีองค์ความรูเ้ กี่ยวกับการบริหาร

ากท
การจัดสรรทรัพยากร การวางแผนงาน การตรวจสอบและประกันคุณภาพ
2. มหาวิท ยาลัย หลายแห่ ง ในปั จ จุ บัน ได้จ ัด หลัก สู ต รการเรีย นการสอนโดยการ

ตจ
บู ร ณาการการประชาสัม พัน ธ์ ก ับ การโฆษณา รวมถึง การบริห ารธุ ร กิจ บางสาขา เช่ น

นุญ
การสือ่ สารการตลาดเชิงบูรณาการ การสือ่ สารองค์กรและการประชาสัมพันธ์ เป็ นต้น
ับอ
ด้ร

ทักษะและคุณสมบัติการเป็ นนักประชาสัมพันธ์ที่ดี
ไม่ไ

คุณลักษณะพื้นฐาน

ร่โด

1. ความสามารถในการใช้ภาษาเพือ่ การส่งสารทัง้ การพูดและการเขียน


2. ทักษะการคิดวิเคราะห์ เพือ่ ระบุปัญหา และค้นหาสาเหตุ
แพ

3. ความคิดสร้างสรรค์ เพือ่ หาแนวทางการประชาสัมพันธ์ทแ่ี ปลกใหม่


เผย

และมีประสิทธิภาพ เข้าถึงกลุ่มเป้ าหมายได้เป็ นอย่างดี


รือ

4. การสร้างแรงจูงใจต่อมวลชน
ยห

5. ทักษะการนาเสนอทีด่ งึ ดูดความสนใจ และให้ผลเป็ นเลิศ


น่า
์จําห

คุณลักษณะเฉพาะที่จาเป็ น
ิมพ

1. ทักษะการเขียน เพื่อถ่ายทอดความคิด และข้อมูลที่ต้องการจะนาเสนอผ่ านสื่อ


มพ

ต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ กระชับ ชัดเจน ไม่มขี อ้ บกพร่องจากการใช้ภาษาในการสือ่ สาร


ห้า

การแม่นยาเรื่องไวยากรณ์ และการสะกดการันต์ทถ่ี ูกต้อง


การเขียนเพื่อประชาสัมพันธ์ นภวรรณ ตินติเวชกุล (ม.ป.ป. : 13) กล่าวถึงการเขียน
เพือ่ การประชาสัมพันธ์มวี ตั ถุประสงค์การเขียนเพือ่ เสนอแนวคิด (concept) ขององค์กร ดังนี้

RAM 1103 175

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

1. การเขียนเพื่อบอกกล่าวให้ทราบให้เข้าใจ เพื่อส่งข่าวสาร ข้อเท็จจริงไปยัง


กลุ่มเป้ าหมาย เพื่อนาเสนอข่าวสารขององค์กร โดยแสดงให้เห็นรายละเอียด ขัน้ ตอนการ
ปฏิบตั งิ าน เพือ่ ให้ประชาชนรับทราบและเข้าใจ
2. การเขียนเพื่อ ให้ประชาชนยอมรับ ด้ว ยกลวิธีการใช้ภาษาเพื่อ โน้ มน้ าวใจ
ชักจูงใจให้ประชาชนคล้อยตาม โดยนาเสนอภาพลักษณ์เชิงบวกขององค์กร ทาให้ได้รบั ความ

ัย
ยาล
เชื่อถือ ศรัทธาจากประชาชนในสังคม เช่น การเขียนบทความ เป็ นต้น

วิท
3. การเขียนเพื่อป้ องกันมิให้เกิดความเข้าใจผิด เขียนเพื่ออธิบาย แถลง ชี้แจง

หา
อย่างชัดเจน เพื่อให้บุคคลทัวไปเข้
่ าใจรายละเอียด ลดความคลางแคลงใจลง ในขณะเดียวกัน

างม
ควรเพิ่มความน่ าเชื่อ ถือ ให้เ กิดขึ้นกับองค์ก ร เช่น การเขียนข่าว บทสัมภาษณ์ บทความ

ากท
ประเภทแนะนา บทความประเภทอธิบาย การเขียนเหล่ านี้ค วรมีการอ้างอิงแหล่ งข้อ มูลที่
น่าเชื่อถือ

ตจ
4. การเขียนเพื่อสร้างภาพลักษณ์ท่ีดี โดยการนาจุดเด่นขององค์ก รมาสื่อ สาร

นุญ
เพือ่ ทาให้เกิดความเลื่อมใส ศรัทธาตามทีอ่ งค์กรต้องการ การเขียนจึงต้องเลือกสรรคาทีก่ ระตุ้น
ับอ
ความรูส้ กึ กระทบใจ มีพลังต่อผูอ้ ่าน หากทว่าไม่โอ้อวด หรือใช้ถ้อยคาโฆษณาชวนเชื่อทีเ่ กิน
ด้ร

จริง เช่น คาขวัญ บทความแนะนาองค์กร


ไม่ไ

5. การเขียนเพื่อแก้ไขความเข้าใจผิด ใช้เพื่ออธิบายเหตุการณ์ เพื่อให้เกิดความ


เข้าใจอย่างชัดเจน ด้วยข้อมูลจากแหล่งทีเ่ ชื่อถือได้ เพือ่ สร้างความมันใจแก่


่ ผรู้ บั สาร ในรูปแบบ
ร่โด

ของบทความ แถลงการณ์ จดหมายชีแ้ จง เป็ นต้น


แพ

6. การเขียนเพื่อสร้างความสัมพันธ์อนั ดี มุ่งเน้นการสร้างความเป็ นส่วนหนึ่งของ


เผย

องค์กร เกิดความรู้สกึ ผูกพัน และการมีส่วนร่วมในองค์กรของบุคคลต่าง ๆ เพื่อสื่อสารความ


รือ

เคลื่อนไหวทัง้ ภายในและภายนอกองค์กร รวมทัง้ เสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลภายใน


ยห

องค์กร เช่น บทสัมภาษณ์ คอลัมน์ซุบซิบ หยอกล้อในวารสารภายในองค์กร เป็ นต้น


น่า

7 การเขียนเพื่อ สนับ สนุ น กิจ กรรมทางการตลาด นาเสนอเนื้อ หาที่เ กี่ย วกับ


์จําห

กิจกรรมทางธุรกิจอย่างใกล้ชดิ การเขียนเพื่อส่งเสริมการขาย หรือการตลาดจึงมีความจาเป็ น


ิมพ

ยิง่ สาหรับการประกอบธุรกิจ เพื่อทาให้สนิ ค้าและบริการเป็ นที่ยอมรับและเป็ นที่ต้องการของ


มพ

ผูบ้ ริโภค มักปรากฏผ่านข่าวประชาสัมพันธ์ หรือภาพข่าวประชาสัมพันธ์


ห้า

การเขี ย นเพื่ อ การประชาสั ม พัน ธ์ จึ ง ต้ อ งใช้ ค วามสามารถในการเขี ย น และ


ความสามารถเชื่อมโยงข้อเขียนต่าง ๆ ให้บรรลุวตั ถุประสงค์ ข้อเขียนต้องน่ าอ่าน น่ าสนใจ

176 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

น่าติดตาม และจะต้องอ่านง่าย เข้าใจได้รวดเร็ว สื่อความหมายได้ชดั เจน โดยเลือกใช้คาหรือ


ภาษาทีม่ คี ุณภาพ เป็ นการสือ่ สารทีผ่ อู้ ่านหรือกลุ่มเป้ าหมายเข้าใจได้งา่ ย
2. ความสามารถในการวิ จยั เป็ นคุณลักษณะของนักประชาสัมพันธ์ เพื่อการรับรู้
และรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ มาดาเนินการวิจยั โดยออกแบบการวิจยั ได้อย่างเหมาะสม
ซึ่งมีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการของกลุ่มเป้ าหมาย รวมถึงการรับรู้ และเข้าถึงสื่อ

ัย
ยาล
ต่างๆ โดยเชื่อมโยงกับผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียในกลุ่มต่าง ๆ ขององค์กร

วิท
3. ความสามารถในการเข้ าถึง และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็ นทัก ษะที่

หา
จาเป็ นสาหรับนักประชาสัมพันธ์รุ่นใหม่ เนื่องจากข้อมูลสารสนเทศในแหล่งต่าง ๆ นัน้ ช่วยทา

างม
ให้รเู้ ท่าทันการเคลื่อนไหวของสังคม กระแสทีส่ งั คมกาลังให้ความสนใจ การสืบค้นข้อมูลของ

ากท
องค์กร รวมถึงผลกระทบในด้านต่าง ๆ ของผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียกับองค์กร เหล่านี้อ าจนามาใช้
เป็ นข้อมูลเพือ่ การวิจยั และการวางแผนการประชาสัมพันธ์ได้ต่อไป

ตจ
4. ทักษะการวางแผนงาน เพื่อการประชาสัมพันธ์อย่างมีคุณภาพ สามารถส่งสารไป

นุญ
ยังกลุ่มเป้ าหมายได้อย่างถูกต้องครบถ้วน นักประชาสัมพันธ์ควรคิดวางแผนช่วงเวลาในการ
ับอ
ดาเนินกิจกรรม ช่องทางในการเผยแพร่ การใช้จ่ายงบประมาณทีอ่ ยู่ในแผนดาเนินงาน
ด้ร

5. ความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ เพือ่ ให้การประชาสัมพันธ์บรรลุ


ไม่ไ

วัตถุประสงค์ นักประชาสัมพันธ์จึงต้องมีการคิดแก้ไขปั ญหาอุปสรรคต่าง ๆ ที่เคยเกิดขึ้นใน


การทางานก่อนหน้านัน้ รวมถึงการคิดสร้างสรรค์หากลวิธกี ารประชาสัมพันธ์ให้มคี วามโดด


ร่โด

เด่น แสดงอัตลักษณ์ขององค์กรได้อย่างชัดเจนเป็ นทีน่ ่าจดจา


แพ
เผย

กลุ่มเป้ าหมาย
รือ

การประชาสัมพันธ์นอกจากจะต้องตัง้ วัตถุประสงค์ท่ชี ดั เจนว่า “เขียนเพื่ออะไร” แล้ว


ยห
น่า

ยัง ต้ อ งค านึ ง ถึ ง ด้ ว ยว่ า ในการเขีย นครัง้ นั ้น “เขีย นให้ ใ ครอ่ า น” เพื่อ เป็ นการก าหนด
์จําห

กลุ่มเป้ าหมายที่ชดั เจน เลือกใช้ภาษาและเนื้อหาที่เหมาะสม เพื่อสื่อสารให้กลุ่มเป้ า หมาย


เข้าใจได้อย่างชัดเจน และตรงกับความสนใจ
ิมพ

1. กลุ่มเป้ าหมายภายในองค์การ (Internal Publics) กลุ่มบุคคล พนักงาน เจ้าหน้าที่


มพ

ทีท่ างานอยู่ภายในองค์การ สถาบัน หรือหน่วยงานเ


ห้า

2. กลุ่มเป้ าหมายภายนอกองค์การ (External Publics) กลุ่มบุคคล ประชาชนทัวไป ่


ที่อ ยู่ภายนอกองค์ก าร สถาบัน หรือ หน่ ว ยงาน ทัง้ ประชาชนผู้มีส่ว นเกี่ยวข้อ งกับองค์การ
โดยตรง ประชาชนในชุมชน และประชาชนทัวไป ่

RAM 1103 177

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

กลยุทธ์ในการสื่อสารประชาสัมพันธ์ให้เกิ ดสัมฤทธิ ผล
หลักการพืน้ ฐานทีส่ าคัญในการสือ่ สารเพือ่ การประชาสัมพันธ์เพือ่ เกิดสัมฤทธิผลขึ้นอยู่
กับกลยุทธ์ใ นการสื่อ สาร รวมถึงความพร้อ มของอุ ปกรณ์ ก ารสื่อ สาร การทุ่มเทกาลัง กาย
ก าลังใจ และก าลังสติปัญ ญาเพื่อ การประชาสัมพันธ์ รวมทัง้ การการมีส ามัญ สานึกต่อ งาน
ประชาสัมพันธ์ทจ่ี ะทาให้การสือ่ สารทุกครัง้ ส่งผลไปยังกลุ่มเป้ าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ

ัย
ยาล
วิท
อุปสรรคของการสื่อสารเพื่อการประชาสัมพันธ์

หา
1. ประชาชนกลุ่มเป้ าหมายมีปฏิกริ ยิ าโต้ตอบต่อเนื้อหาข่าวสารที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่

างม
กับภูมหิ ลังด้านสังคม ระดับความรู้ ประสบการณ์ รสนิยม และความเชื่อของแต่ละบุคคล

ากท
2. ทักษะความสามารถในการรับข้อมูลข่าวสารของแต่ละบุคคลทีม่ คี วามแตกต่างกัน
3. ผูร้ บั สารบางกลุ่มปฏิเสธการรับรูใ้ ดใด เนื่องจากทัศนคติทม่ี มี าก่อน กับความรู้ใหม่

า ตจ
ไม่สอดคล้อง หรือเป็ นไปในแนวทางเดียวกัน นุญ
4. บุคคลทัวไปสนใจเฉพาะแต่
่ เพียงข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับตนเองหรือกลุ่ มสังคมของ
ับอ
ตนเองเท่านัน้
ด้ร

5. ประชาชนบางกลุ่มไม่ให้ความสนใจอย่างจริงจังในเนื้อหาข่าวสารทีไ่ ด้รบั โดยอาจจะ


ไม่ไ

รูบ้ า้ งเพียงเล็กน้อย ไม่ศกึ ษาข้อมูลและติดตามข่าวสารอย่างละเอียด



ร่โด

6. สถานการณ์แวดล้อมทางการสือ่ สารเป็ นอุปสรรคสาคัญ เช่น เวลา สถานที่ ฯลฯ


แพ

การดาเนินการประชาสัมพันธ์อย่างเหมาะสมขององค์กร จะเป็ นสิง่ สาคัญที่จ ะขจัด


อุปสรรคการสื่อสารในการประชาสัมพันธ์ลงได้ แต่สงิ่ ทีส่ าคัญยิง่ กว่านัน้ คือการทีอ่ งค์กรยึดถือ
เผย

และนาข้อมูลทีไ่ ด้ประชาสัมพันธ์ไปปฏิบตั จิ ริง จนก่อให้เกิดผลเชิงประจักษ์กบั ประชาชนทัวไป ่


รือ

ในสังคม
ยห
น่า

การประชาสัมพันธ์จงึ มีบทบาทสาคัญต่อองค์กรทัง้ ภาครัฐ ภาคธุรกิจ และองค์กรไม่


์จําห

แสวงหากาไร โดยนักประชาสัมพันธ์ท่ดี สี ามารถเป็ นบุคคลผู้สะท้อนให้เห็นถึงปั ญหา ความ


ต้องการของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย รวมไปถึงกลุ่มเป้ าหมายขององค์กรได้อย่างชัดเจน จึงสามารถ
ิมพ

ทาหน้าทีเ่ ป็ นทีป่ รึกษาให้กบั ผูบ้ ริหารเพือ่ ตัดสินใจเชิงนโยบาย การกาหนดกิจกรรมต่าง ๆ เพือ่


มพ

ส่งเสริมภาพลักษณ์ขององค์กร การสร้างความสัมพันธ์ท่ดี กี บั สื่อมวลชน การเผยแพร่ข้อ มูล


ห้า

ข่าวสาร การสือ่ สารกิจการสาธารณะ การจัดกิจกรรมพิเศษเพือ่ วัตถุประสงค์ต่าง ๆ การสือ่ สาร


การตลาด ตลอดจนการสร้างความสัมพันธ์กบั กลุ่มผู้มสี ่วนได้ส่วนเสียทัง้ ภายในและภายนอก
องค์กร เช่น บุคลากรขององค์กร ข้าราชการ พนักงาน ผูซ้ อ้ื สินค้า ผูม้ ารับบริการ รวมถึงคู่แข่ง

178 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ในกิจการประเภทเดียวกัน บุคคลผูท้ จ่ี ะเป็ นนักประชาสัมพันธ์ จึงจาเป็ นต้องมีความสามารถใน


การสือ่ สาร การนาเสนอ การชักจูงใจ การคิดวิเคราะห์ และการมีความคิดสร้างสรรค์

การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์
การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์ เป็ นวิธกี ารสื่อสารที่สามารถถ่ายทอดข่าวสาร และ

ัย
ยาล
เรื่องราวต่าง ๆ ขององค์กรไปสู่ประชาชนกลุ่มเป้ าหมายได้อย่างกว้างขวาง เป็ นจานวนมาก

วิท
โดยผ่านสือ่ ประเภทต่าง ๆ

หา
างม
วัตถุประสงค์ของการเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์

ากท
การเขีย นเพื่อ การประชาสัม พัน ธ์ มีจุ ด มุ่ ง หมายส าคัญ ในการสื่อ สารกับ ประชาชน
กลุ่มเป้ าหมายขององค์กร เพื่อส่งข่าวสาร แสดงความคิดเห็น สร้างความรู้ ความเข้าใจทีด่ แี ละ

า ตจ
ถูกต้อง เพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ทด่ี ขี ององค์กร แก้ไขความเข้าใจผิดทีเ่ กิดขึน้ ดังนัน้ การเขียน
นุญ
เพือ่ ประชาสัมพันธ์ในการนาเสนอแนวคิดขององค์กรมีวตั ถุประสงค์พน้ื ฐาน 7 ประการ ได้แก่
ับอ
1. การเขียนเพื่อบอกกล่าวให้เข้าใจ
ด้ร

มุ่งให้ประชาชนกลุ่มเป้ าหมายได้รบั ข้อมูล (Information) ข้อเท็จจริง (Fact) เกี่ยวกับ


ไม่ไ

พันธกิจขององค์กร กิจกรรมต่าง ๆ ที่องค์กรได้จดั ขึ้น โดยมีประเด็นเกี่ยวกับกิจกรรมนัน้ ทา



ร่โด

อะไร ทาอย่างไร เมื่อใด เพือ่ อะไร เพราะอะไร ทีไ่ หน


แพ

การใช้ภาษาในการสื่อสารควรใช้ถอ้ ยคาทีเ่ รียบง่าย สัน้ กระชับ ให้ขอ้ มูลได้อย่างถูกต้อง


เผย

ตรงไปตรงมา เพื่อก่อให้เกิดความเข้าใจเป็ นสาคัญ อีกทัง้ เป็ นการเขียนขัน้ พื้นฐาน เช่น การ


เขียนข่าวประชาสัมพันธ์ เป็ นต้น
รือ
ยห
น่า

2. การเขียนเพื่อให้ประชาชนเกิ ดการยอมรับ
์จําห

มุ่งให้ประชาชนเกิดความเชื่อถือ ศรัทธาในองค์กร งานเขียนชนิดนี้จงึ ต้องสามารถโน้ม


น้าว หรือชักจูงให้ประชาชนคล้อยตาม โดยนาเสนอภาพลักษณ์ในด้านบวกขององค์กรอย่าง
ิมพ

ชัดเจน เช่น การเขียนบทความ เป็ นต้น


มพ
ห้า

3. การเขียนเพื่อป้ องกันมิ ให้เกิ ดความเข้าใจผิด


มุ่งให้ประชาชนเข้าใจรายละเอียดและเกิดความเชื่อมัน่ อย่างไม่มขี อ้ เคลือบแคลงใจ งาน
เขียนชนิดนี้ต้องมีรายละเอียดเพื่ออธิบาย แถลง ชี้แจงประเด็นต่าง ๆ อย่างชัดเจน อาจต้องมี

RAM 1103 179

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

การอ้า งอิง แหล่ ง ข้อ มู ล ที่ช ัด เจนน่ า เชื่อ ถื อ มาประกอบการเขีย น เช่ น การเขีย นข่ า ว บท
สัมภาษณ์ บทความแนะนา บทความอธิบาย เป็ นต้น

4. การเขียนเพื่อสร้างภาพลักษณ์ที่ดี
มุ่งให้ประชาชนมองเห็นภาพลักษณ์ทด่ี ขี ององค์กร เกิดความเชื่อถือ ศรัทธาในตัวองค์กร

ัย
ยาล
งานเขียนชนิดนี้จงึ ต้องนาจุดเด่นขององค์กรมากล่าวถึง และอธิบายความให้ชดั เจน ผู้เขียน

วิท
ต้องเลือกใช้คาให้เหมาะสม สรรคาที่มพี ลัง พร้อมจะกระตุ้นให้เกิดความรู้สกึ คล้อยตาม วาด

หา
ภาพลักษณ์ขององค์กรจากภาษาที่เลือกสรรมาใช้ โดยจะต้องไม่กล่าวเกินกว่าความเป็ นจริง

างม
หรือ กล่ า วในท านองโอ้อ วดสรรพคุ ณ ต่า ง ๆ อัน เป็ น การโฆษณาชวนเชื่อ เช่ น ก ารเขีย น

ากท
บทความประเภทแนะนา การเขียนคาขวัญ เป็ นต้น

ตจ
5. การเขียนเพื่อแก้ไขความเข้าใจผิด

นุญ
มุ่งให้ประชาชนเกิดความเข้าใจที่ถูกต้อง จึงจาเป็ นต้องอ้างอิงแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
ับอ
อธิบายเหตุการณ์ต่าง ๆ ให้เข้าใจอย่างชัดเจน มีเหตุผลสอดคล้องกันอย่างมีน้าหนัก ใช้ถอ้ ยคา
ด้ร

ทีส่ ามารถสร้างความเชื่อมันแก่กลุ่มเป้ าหมายทีเ่ ป็ นผูร้ บั สารพร้อม ๆ ไปกับการชักจูงใจในบาง


ไม่ไ

ประเด็น เช่น การเขียนข่าว การเขียนบทความ การเขียนแถลงการณ์ เป็ นต้น



ร่โด

6. การเขียนเพื่อสร้างความสัมพันธ์อนั ดี
แพ

มุ่งให้กลุ่มเป้ าหมายได้รบั ทัง้ สาระ และรับรู้ความเคลื่อนไหวขององค์กรด้วยความรู้สกึ


เผย

ผูกพันและมีส่วนร่วม โดยเป็ นความรู้สกึ เฉพาะตัวของบุคคลในองค์กรกับบุคคลอื่น ๆ ที่เป็ น


รือ

ผู้ร่ ว มงานในองค์ก รเดีย วกัน รวมถึง เกิด ความรู้ส ึก ผู ก พัน กับ องค์ก ร เช่ น การเขีย นบท
ยห

สัมภาษณ์ การเขียนคอลัมน์ซุบซิบ เป็ นต้น


น่า
์จําห

7. การเขียนเพื่อสนับสนุนกิ จกรรมทางการตลาด
ิมพ

มุ่งให้ประชาชนทัว่ ไปรับรู้เ รื่อ งราวที่ส ัมพันธ์กับ กิจกรรมทางธุ รกิจอย่ า งใกล้ชิด จึง


มพ

จาเป็ นต้องประชาสัมพันธ์ใ นเชิงส่งเสริมการตลาด ซึ่งเป็ นการประชาสัมพันธ์ยุคใหม่ ท่ีทุก


ห้า

องค์กรให้ความสนใจเป็ นอย่ างยิง่ โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้สนิ ค้าหรือบริการต่าง ๆ


ขององค์กรเป็ นทีย่ อมรับ ไว้วางใจ และเป็ นทีต่ อ้ งการของผูบ้ ริโภค

180 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

การเขียนเพื่อ การประชาสัมพันธ์ จึงต้อ งใช้ค วามสามารถทัง้ การเขีย นที่ดี และการ


เชื่อมโยงข้อเขียนให้บรรลุวตั ถุประสงค์ นักประชาสัมพันธ์ จงึ จาเป็ นต้องมีทงั ้ ทักษะการเขียนที่
ดีและเทคนิคทีจ่ ะถ่ายทอดข้อมูล เพือ่ บรรลุวตั ถุประสงค์ในการเขียนครัง้ นัน้ ๆ
ทักษะการเขียนพื้นฐานที่นักประชาสัมพันธ์ควรจะมี คือ มีหลักการเขียนที่ดี สามารถ
เลือกสรรคามาใช้ได้อย่างถูกต้อง สือ่ ความหมายได้ตรงกับความต้องการ สามารถผูกประโยคที่

ัย
ยาล
สือ่ สารได้อย่างไม่มขี อ้ บกพร่อง ไม่ก่อให้เกิดความเข้าใจคลาดเคลื่อน รวมถึงการรูว้ ตั ถุประสงค์

วิท
ในการประชาสัมพันธ์ จึงจะสามารถทาให้ผู้รบั สารเกิดความเข้าใจ เกิดทัศนคติท่ดี ตี ่อองค์กร

หา
เปลี่ยนแปลงความคิดจากเดิมที่เข้าใจผิดให้สามารถเข้าใจได้อย่างถูกต้อง ยอมรับ เลื่อมใส

างม
ศรัทธา และเกิดภาพลักษณ์เชิงบวกกับองค์กร

ากท
ประเภทของเอกสารเพื่อการประชาสัมพันธ์

ตจ
เอกสารเพื่อ การประชาสัมพันธ์ เป็ นเอกสารที่อ งค์ก รใช้เ พื่อ เป็ นสื่อ ในการเผยแพร่

นุญ
ข่ า วสารข้อ มู ล ขององค์ก ร โดยมีเ นื้ อ หากล่ า วถึง การเผยแพร่ ข่ า วสาร การรายงานข่ า ว
ับอ
ความเคลื่อนไหว รวมถึงการเสริมสร้างภาพลักษณ์ทด่ี ตี ่อองค์กร
ด้ร
ไม่ไ

การแบ่งประเภทของเอกสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ตามกลุ่มเป้ าหมายของ

ร่โด

การประชาสัมพันธ์
แพ

1. เอกสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ภายใน
เผย

1.1 วารสารภายใน
รือ

1.2 จดหมายข่าว
ยห

1.3 แผ่นพับ
น่า

1.4 แผ่นปลิวและโปสเตอร์
์จําห

2. เอกสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ภายนอก
ิมพ

2.1 ข่าวแจก
มพ

2.2 บทความ
2.3 สปอต
ห้า

2.4 วารสารภายนอก
2.5 จุลสาร
2.6 รายงานประจาปี

RAM 1103 181

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

2.7 สิง่ พิมพ์ผนวก


2.8 เอกสารประกอบกิจกรรมพิเศษทางการประชาสัมพันธ์

การแบ่งประเภทของเอกสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ตามประเภทของสื่ อที่
เผยแพร่ดงั นี้

ัย
ยาล
1. สือ่ สิง่ พิมพ์

วิท
2. วิทยุกระจายเสียง

หา
3. โทรทัศน์

างม
4. สือ่ ดิจทิ ลั

ากท
ในทีน่ ้ีจะกล่าวถึงเฉพาะสื่อสิง่ พิมพ์ และสื่อดิจทิ ลั ซึ่งอยู่ใกล้ตวั สามารถพบเห็นได้ทวไป
ั ่ และมี
แนวโน้มในการนาไปใช้มากทีส่ ุด

า ตจ
นุญ
สื่อสิ่ งพิ มพ์
ับอ

สื่อสิง่ พิมพ์เป็ นช่องทางเพื่อเผยแพร่งานเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์ เช่น หนังสือพิมพ์


ด้ร

นิตยสาร วารสาร จุลสาร แผ่นพับ ใบปลิว รวมถึงใบติดประกาศ และโปสเตอร์ต่าง ๆ การเขีน


ไม่ไ

เพือ่ เผยแพร่สอ่ื สิง่ พิมพ์มที งั ้ หมด 4 ประเภท คือ



ร่โด

1. ข่าวแจก (Press Release)


แพ

2. คาบรรยายประกอบภาพ (Photo Release & Captions to illustration)


เผย

3. บทความ (Articles)
รือ

4. สิง่ พิมพ์โฆษณาประชาสัมพันธ์ (Printed Advertising Public Relations)


ยห
น่า

1. การเขียนข่าวแจก
์จําห

ข่าวแจก (Press Release หรือ Ness Release) เป็ นข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ ที่นัก


ิมพ

ประชาสัม พัน ธ์ใ ช้ ใ นการถ่ า ยทอดข้อ มูล ต่ า ง ๆ ขององค์ก ร เพื่อ เผยแพร่ ไ ปยัง ประชาชน
มพ

กลุ มเป้ าหมาย โดยผ่ านสื่อ หรือ ช่อ งทาง (channel) ต่าง ๆ ตามความเหมาะสม ทาให้เ รา
ห้า

สามารถเห็นข่าวประชาสัมพันธ์ในลักษณะเช่นนี้ ปรากฏทัง้ ทางหนังสือพิมพ์ นิตยสาร วิทยุ


และโทรทัศน์ ได้อย่างหลากหลายช่องทาง

182 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

นัก ประชาสัม พัน ธ์อ าจส่ง ข่า วแจกนี้ เ พื่อ ประชาสัม พัน ธ์ผ่ า นหนัง สือ พิม พ์ท่ีส ามารถ
เผยแพร่ไปได้อย่างกว้างขวางกว่าสื่ออื่น ๆ เนื่องจาก นิตยสาร วิทยุกระจายเสียง โทรทัศน์
เป็ นสือ่ ทีก่ ลุ่มเป้ าหมายเลือกรับ และค่อนข้างเป็ นสือ่ ทีเ่ ฉพาะเจาะจง แตกต่างจากหนังสือพิมพ์
ที่ มีป ระชาชนโดยทัว่ ไปอ่ า น โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ง ในยุ ค ปั จ จุ บัน นี้ ข่ า วที่ เ ผยแพร่ ผ่ า น
หนังสือพิมพ์ มีทงั ้ ที่ตพี มิ พ์เป็ นฉบับดังเดิม และการเผยแพร่ผ่านระบบดิจทิ ลั ในรูปแบบของ

ัย
ยาล
หนังสือพิมพ์ออนไลน์ รวมไปถึงเว็บไซต์ต่าง ๆ ของการเผยแพร่ขา่ วทีป่ ระชาชนทัวไปสามารถ ่

วิท
เข้าถึงได้ แต่กระนัน้ ก็ต าม การเผยแพร่ข่าวแจกเพื่อ การประชาสัมพันธ์อ งค์กรนัน้ ควรจะ

หา
เผยแพร่ให้ครอบคลุมสือ่ ต่าง ๆ ทุกประเภท

างม
ข่าวแจก เป็ นข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับกิจกรรมหรือเหตุการณ์ต่ าง ๆ ของ

ากท
องค์กรที่เกิดขึ้น โดยนักประชาสัมพันธ์ได้ส่งข่าวไปเพื่อให้ส่อื มวลชนถ่ายทอดข้อมูลข่าวสาร
หรือ ข้อ เท็จจริงไปยังประชาชนทัวไป ่ ซึ่งมีค วามมุ่งหมายให้อ งค์กรเป็ นที่รู้จกั เข้าใจ และ

ตจ
ยอมรับในการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ

นุญ
ข่าวแจก จึงเป็ นการรายงานข้อมูล ข่าวสาร หรือเหตุการณ์ต่าง ๆ จากหน่วยงาน โดยที่
ับอ
เนื้อหาของข่าวจะต้องมีคุณค่า มีความน่ าสนใจจึงจะทาให้ส่อื มวลชนเผยแพร่ขอ้ มูลต่อไปยัง
ด้ร

ประชาชนโดยทัวไปในสั ่ งคมต่อไปได้
ย ไม่ไ

องค์ประกอบของข่าวแจก
ร่โด

1. ความใหม่ส ดทันต่ อ เหตุก ารณ์ ควรนาเสนอข่าวเมื่อ กิจกรรมนัน้ ๆ แล้ว เสร็จ ใน


แพ

ปั จจุบนั ควรมีความรวดเร็วไม่แพ้ข่าวหนังสือพิมพ์ ทีแ่ ม้จะไม่ตพี มิ พ์เป็ นฉบับ แต่การนาเสนอ


เผย

ผ่านสือ่ ดิจทิ ลั ต้องรวดเร็ว ไม่ลา้ สมัย ยังมีความสดใหม่ของเหตุการณ์ทช่ี วนติดตาม


รือ

2. ความใกล้ชดิ นักประชาสัมพันธ์ควรนาประเด็นของเรื่องทีม่ คี วามเกี่ยวเนื่อง เชื่อมโยง


ยห

กับผู้รบั สารมาชูเป็ นประเด็นที่โดดเด่นสาหรับการเขียนข่าวแจก เพื่อดึงดูดความสนใจของ


น่า

ผูอ้ ่านให้ตดิ ตาม และจดจาองค์กรในแง่มุมทีด่ ี


์จําห

3. ความสาคัญหรือความเด่น กล่าวถึงความโดดเด่นของบุคคลทีเ่ ป็ นข่าว ความโดดเด่น


ิมพ

ของเนื้อเรื่อง เหตุการณ์ต่าง ๆ ประกอบกันเพือ่ ทาให้ขา่ วมีความน่าสนใจ


มพ

4. มีผลกระทบ เนื้อหาสาระของข่าวส่งผลกระทบต่อสังคมส่วนรวมมากหรือน้อยประการ
ห้า

ใด ทัง้ กระทบต่อการดารงชีวติ หรือสภาพแวดล้อมในสังคม ข่าวทีม่ ผี ลกระทบต่อสังคมมากจะ


เป็ นทีน่ ่าสใจมากเช่นกัน ข่าวประชาสัมพันธ์ในบางกรณี เช่น โครงการใหม่ กิจกรรมใหม่ อาจ
ได้รบั ความสนใจจากประชาชนทัวไปได้ ่ เป็ นอย่างดี

RAM 1103 183

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

องค์ประกอบสาหรับการเขียนข่าวในด้านอื่น ๆ เช่น ความขัดแย้ง การมีเงือ่ นงา จัดเป็ น


องค์ประกอบที่สร้างความน่ าสนใจ ชวนติดตาม แต่สาหรับการประชาสัมพันธ์อาจไม่จาเป็ น
มากนัก
การเผยแพร่ข่าวแจกเพื่อการประชาสัมพันธ์องค์กรนัน้ เป็ นวิธที น่ี ักประชาสั มพันธ์นิยม
ใช้มากที่สุด เพื่อสื่อสารกับประชาชนทัวไปในสั ่ งคมผ่านสื่อมวลชน โดยขอความอนุ เคราะห์

ัย
ยาล
เผยแพร่ในสื่อนัน้ ๆ ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายเพื่อซื้อเนื้อที่สาหรับตีพิมพ์ หรือการซื้อเวลาเพื่อ

วิท
ออกอากาศ การส่งข่าวแจกบ้างก็ได้รบั ความอนุเคราะห์ แต่บางครัง้ หากไม่ได้ตพี ิ มพ์เผยแพร่

หา
ในสือ่ มวลชนอื่น ๆ ต่อก็จะเป็ นทีย่ อมรับ และเข้าใจในวงการประชาสัมพันธ์

างม
การจัดทาและเผยแพร่ขา่ วแจกเป็ นความรับผิดชอบของหน่วยงานประชาสัมพันธ์ภายใน

ากท
องค์ ก ร หรือ มอบหมายให้ บ ริษั ท ที่ ป รึก ษาด้ า นการประชาสัม พัน ธ์ ( PR agency / PR
consultant) ทีว่ ่าจ้างไว้เป็ นผูด้ าเนินการให้

ตจ
การเขียนข่าวแจกเป็ นงานเขียนที่ต้องเสนอข้อเท็จจริง เที่ยงตรง กระชับรัดกุม และ

นุญ
ชัดเจน ไม่ค วรปรากฏข้อ คิดเห็น หรือ ทัศ นะใดใดของผู้เ ขียน ในเชิงโน้ มน้ าวหรือ โฆษณา
ับอ
องค์กร ทาให้งานเขียนข่าวแจกเพือ่ ประชาสัมพันธ์ในลักษณะนี้มลี กั ษณะเฉพาะตัวทีต่ อ้ งอาศัย
ด้ร

ประสบการณ์ การอ่านเพื่อเรียนรู้ การฝึ กฝนการเขียนข่าวแจกต่อไป นักประชาสัมพันธ์ท่ี


ไม่ไ

รับผิดชอบหน้าที่น้ี จึงต้องตระหนักถึงภารกิจที่สาคัญยิง่ ขององค์กร ทัง้ ยังต้องเป็ นผู้มคี วาม


เชีย่ วชาญ มีความละเอียดถีถ่ ว้ น สามารถมองประเด็นของข่าวสารต่าง ๆ ได้อย่างลึกซึง้ เข้าใจ


ร่โด

อย่างถ่องแท้ รวมทัง้ สามารถกาหนดกลุมเป้ าหมายของผูร้ บั ข่าวสารไว้ได้อย่างชัดเจน


แพ
เผย

ความสาคัญของข่าวแจก
รือ

1. ข่าวแจกเป็ นสื่อกลางขององค์กรทีเ่ ผยแพร่ข่าวสาร ความเคลื่อนไหว กิจกรรมต่าง ๆ


ยห

ขององค์กรให้ประชาชนได้รบั ทราบ รวมถึงเป็ นสือ่ กลางในการสร้างความเข้าใจจุดยืนทีช่ ดั เจน


น่า

ขององค์กร
์จําห

2. ข่าวแจกเป็ นเอกสารทีส่ นับสนุน “สิทธิการรับรูข้ องประชาชน”


ิมพ

3. ข่าวแจกช่วยเสริมสร้างความสัมพันธ์อนั ดีกบั สือ่ มวลชน เป็ นการสร้างมวลชนสัมพันธ์


มพ

ขององค์กรทีท่ าให้สอ่ื ต่าง ๆ มีขอ้ มูลสาหรับเผยแพร่ นอกเหนือจากข่าวสารประเด็นอื่น ๆ


ห้า

184 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ประเภทของข่าวแจก
1. จาแนกตามหน่ วยงาน
1.1 ข่าวแจกของหน่วยงานราชการหรือรัฐวิสาหกิจ
1.2 ข่าวแจกของภาคเอกชน (บริษทั ห้างร้านตาง ๆ)

ัย
1.3 ข่าวแจกของสมาคมหรือมูลนิธิ (Non-Profit Organizations)

ยาล
1.4 ข่าวแจกของบุคคล (เช่น งานศพ งานแต่งงาน งานเลีย้ งรุ่น)

วิท
2. จาแนกตามลักษณะเนื้ อหา

หา
2.1 ข่า วแจ้ง ให้ท ราบ หรือ Announcement เพื่อ แจ้ง รายละเอีย ดต่ า ง ๆ ของสิ่ง ที่

างม
เกิดขึน้ หรือมีขน้ึ เช่น นโยบาย วัตถุประสงค์กจิ กรรม การดาเนินงานต่าง ๆ ผลงาน ฯลฯ

ากท
2.2 ข่าวประกอบกิจกรรมพิเศษทางการประชาสัมพันธ์ หรือ Create News Release
มีรายละเอียดซับซ้อน ดึงดูดความสนใจ โดยมีเป้ าหมายหลักในการสร้างความนิยมต่อองค์กร

ตจ
เช่น ข่าวโครงการรณรงค์เพือ่ สังคมขององค์กรต่าง ๆ เป็ นต้น

นุญ
2.3 ข่าวเหตุการณ์เร่งด่วน หรือ Spot News Release เพื่อเผยแพร่กรณีมเี หตุการณ์
ับอ
เร่งด่วนทีส่ าคัญ มีผลกระทบต่อประชาชน และจาเป็ นต้องแจ้งให้สงั คมทราบอย่างรวดเร็ว อาจ
ด้ร

ยังไม่มรี ายละเอียดในการนาเสนอครบถ้วนมากนัก เป็ นการนาเสนอโดยมุ่งเน้นความฉับไว


ไม่ไ

และทันท่วงทีกบั เหตุการณ์ท่เี กิดขึ้น เช่น ข่าวการเปลี่ยนแปลงกาหนดการบางอย่างทีส่ าคัญ



ร่โด

เป็ นต้น
2.4 ข่าวตอบโต้เหตุการณ์หรือวิกฤตการณ์ หรือ Response News Release เนื้อหา
แพ

ข่าวต้องมีการนาเสนอข้อมูลอย่างละเอียดลึกซึ้งและมีเหตุผลที่น่าเชื่อถือมารองรับ เช่น ข่าว


เผย

ตอบโต้เหตุการณ์ ข่าวลือเกี่ยวกับการขาดทุนของกิจการ ข่าวความขัดแย้งภายในหน่วยงาน


รือ

เป็ นต้น
ยห
น่า
์จําห

หลักการเขียนข่าวแจก
การเขียนข่าวแจกควรคานึกถึง 5W 1H ประกอบด้วย Who ใคร What ทาอะไร Where
ิมพ

ทีไ่ หน When เมื่อไร Why ทาไม และ How อย่างไร เนื้อหาของข่าวแจกควรตอบคาถามเหล่านี้


มพ

ได้ เพื่อแสดงให้เห็นประเด็นต่าง ๆ อย่างครบถ้วน และครอบคลุม ซึ่งประเด็นเหล่านี้เป็ นหลัก


ห้า

ในการเขียนข่าว และการเขียนประเภทอื่น ๆ ทัวไป่ โดยจะสามารถสื่อความหมายกับผูร้ บั สาร


ได้อย่างชัดเจนตรงประเด็น

RAM 1103 185

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

โครงสร้างของข่าวแจก
การเขียนข่าวทัวไป ่ รวมถึงข่าวแจก มีหลักการเขียนทีไ่ ม่แตกต่างกับการเขียนประเภท
อื่น ๆ สัก เท่าไรโดยชิ้นงานที่นาเสนอ ควรมีประเด็นที่ชดั เจน มีโครงสร้างการนาเสนอให้
เหมาะสมกับประเภทของงานเขียน และทีส่ าคัญใจความของเนื้อหา ควรมีเพียงประเด็นเดียว
เพือ่ ให้ผอู้ ่านได้รบั สารทีช่ ดั เจน ตรงตามทีผ่ เู้ ขียนต้องการสือ่ สารไปถึง

ัย
ยาล
วิท
โครงสร้างของข่าวแจก ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ

หา
1. พาดหัวข่าว (Headline) เป็ นส่วนสาคัญประการแรกที่จะดึงดูดความสนใจของผูอ้ ่นื

างม
ด้วยข้อความสัน้ ๆ ทีส่ ามารถเข้าใจประเด็นได้โดยทันที การพาดหัวข่าวจึงเป็ นความท้าทาย

ากท
ประการหนึ่งของนักประชาสัมพันธ์ท่จี ะต้องสื่อความหมายได้ตรงกับเรื่องราว เข้าใจได้ด้วย
ถ้อยคาไม่มากนัก และดึงดูดให้ผอู้ ่านติดตามอ่านข่าวต่อไป

ตจ
2. วรรคนา (Lead) เป็ นส่วนทีน่ าเสนอประเด็นสาคัญของเรื่องไว้อย่างกระชับ นาเสนอ

นุญ
ด้ว ยมุ ม มองของผู้อ่ า นว่ า ผู้อ่ า นสนใจใคร่ รู้ใ นเรื่อ งใด หรือ ประเด็น ใดของเรื่อ งนั น้ ๆ นัก
ับอ
ประชาสัมพันธ์ควรนาเสนอและเขียนด้วยลีลาทีต่ อบสนองความสนใจของผูอ้ ่านเป็ นสาคัญ ไม่
ด้ร

มุ่งการเขียนในฐานะตัวแทน หรือเป็ นกระบอกเสียงขององค์กร


ไม่ไ

การเขียนวรรคนา เป็ นย่อหน้าขนาดสัน้ ประมาณ 3 – 6 ประโยค ไม่นาเสนอรายละเอียด



ร่โด

ปลีกย่อย โดยเขียนเป็ นลักษณะการสรุปความ (Summary lead) เพื่อชี้ประเด็นเรื่องราวให้


ผูอ้ ่านเข้าใจได้เป็ นอย่างดีในเวลารวดเร็ว
แพ

3. ส่ ว นเชื่ อ ม (Neck) เป็ น ย่ อ หน้ า ที่อ ยู่ ร ะหว่ า งวรรคน าและเนื้ อ หา เพื่อ เพิ่ม เติม
เผย

รายละเอียดขององค์กร บุคคล สถานที่ หรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาของข่าว


รือ

โดยเป็ นประเด็นสาคัญทีจ่ ะช่วยให้ผอู้ ่านเข้าใจเรื่องราวได้ดยี งิ่ ขึน้ ทว่าย่อหน้านี้อาจไม่มคี วาม


ยห
น่า

จาเป็ นในการเขียนข่าวทุกครัง้
์จําห

4. เนื้ อหาข่าว (Body) เป็ นส่วนที่บรรจุเนื้อหารายละเอียดของข่าวทัง้ หมด โดยตอบ


คาถาม 5W 1H ได้อย่างครบถ้วน
ิมพ
มพ

การเขียนเนื้อ หาข่าวแจก มีรูปแบบเป็ นปิ รามิดหัว กลับ ประกอบด้ว ยย่อ หน้ าต่าง ๆ
ห้า

จานวน 2 – 5 ย่อหน้าตามความเหมาะสมของเนื้อหา รายละเอียดของเรื่อง หากเนื้อหาของ


ข่าวมีไม่มากนัก ผูเ้ ขียนไม่จาเป็ นต้องขยายความเพือ่ ให้เกิดความยาวโดยไม่จาเป็ น
หากข่าวแจกมีเนื้อหา 2 ย่อหน้าขึน้ ไป อาจมีลาดับการนาเสนอเนื้อหาข่าวดังนี้

186 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

2. ปรากฏคา “ข่าวแจกสาหรับสื่อมวลชน” นักประชาสัมพันธ์ต้องยึดถือปฏิบตั ิ เพื่อบอกกล่าว


ให้สอ่ื มวลชนทราบอย่างชัดเจนว่าข่าวชิ้นนี้เป็ นข่าวประชาสัมพันธ์

3. พาดหัว ข่ า ว (Headline) ควรใช้ ถ้ อ ยค าที่ส ัน้ กระชับ สื่อ ความหมายได้ต รงประเด็น

ัย
ยาล
สะดุดตา และดึงดูดความสนใจให้ผอู้ ่านอยากติดตามและทราบรายละเอียดเนื้อหา ไม่ควรเกิน

วิท
1 ประโยค โดยปกติจะไม่นิยมการพาดหัวรอง (sub-headline) เนื่องจากจะทาให้เนื้อหาข่าว

หา
ไม่กระชับ ขยายความออกไปโดยไม่จาเป็ น

างม
ากท
4. ความนา (Lead or Opening Paragraphs) เป็ นเนื้อหาที่สามารถตอบคาถาม 5W 1H ได้
ครบถ้วน เป็ นประเด็นสาคัญที่กล่าวถึงเนื้อหาของข่าว และสาระที่มุ่งหมายจะสื่อไปถึ งผู้อ่าน

ตจ
บรรณาธิการสามารถปรับเปลีย่ นถ้อยคาทีใ่ ช้ได้ เพือ่ ให้เหมาะสมกับสไตล์ของสือ่ นัน้ ๆ

นุญ
ับอ
5. รายละเอียดเนื้ อข่าว (Details) เรียบเรียงตามลาดับความสาคัญของเนื้อข่าว นาเสนอแต่
ด้ร

เฉพาะความจริง ไม่แสดงทัศนะของผู้เขียนแทรกไว้ในเนื้อหา โดยเขียนตามหลักเกณฑ์ของ


ไม่ไ

ปิ รามิดหัวกลับ ใช้ภาษาระดับทางการ ไม่ควรมีความยาวของข่าวเกิน 1 หน้ากระดาษ นาเสนอ


ด้วยตัวอักษรทีอ่ ่านได้อย่างชัดเจน
ร่โด
แพ

6. ส่ ว นท้ า ยของข่ า วแจก (Concluding the Release) ไม่ จ าเป็ นต้ อ งมีส ัญ ลัก ษณ์ ใ ดใด
เผย

ในการแสดงว่าเนื้อหาข่าวสิน้ สุดแล้ว หากแต่ควรมีช่อื ผูส้ ง่ ข่าว หมายเลขโทรศัพท์เพือ่ ใช้ตดิ ต่อ


รือ

เพือ่ อานวยความสะดวกให้กบั สือ่ มวลชนทีต่ อ้ งการข้อมูลอื่น ๆ เพิม่ เติม


ยห
น่า

คุณค่าของข่าวแจก
์จําห

นักประชาสัมพันธ์ต้องคานึงถึงมาตรฐานคุณค่าของข่าวทีต่ นเองเผยแพร่ผ่านสือ่ มวลชน


ิมพ

ออกไปเสมอว่าจะต้อ งมีคุณค่ าต่อ ประชาชัน ต่อสังคม เป็ นประเด็นที่ได้รบั ความสนใจจาก


มพ

ประชาชนทัวไป
่ เหมาะสมทีจ่ ะนาไปตีพมิ พ์เผยแพร่
ห้า

สือ่ มวลชน หรือหัวหน้าข่าวบรรณาธิการ มีหน้าทีใ่ นการประเมินคุณค่าของข่าวแจก โดย


ใช้ประเด็นการพิจารณาดังต่อไปนี้

RAM 1103 189

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

1. มีความสาคัญ
2. มีผลกระทบต่อคนในสังคม
3. กระตุน้ ให้ประชาชนเกิดความใคร่รู้
4. อยู่ในกระแสความสนใจ
การทาให้ข่าวแจกมีคุณค่า นักประชาสัมพันธ์จงึ ต้องนาองค์ประกอบต่าง ๆ ของข่าวมา

ัย
ยาล
ใช้ร่วมกัน โดยนามาเป็ นแนวทางเพื่อพิจารณาประเด็นสาระของข่าว ค้นหาสิง่ ทีน่ ่ าสนใจจาก

วิท
เหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ กับองค์กร

หา
คุณสมบัตเิ นื้อหาของข่าวทีม่ คี ุณค่า ประกอบด้วย

างม
1. ความถูกต้อง (Accuracy) ในการนาเสนอข้อมูลทีเ่ ป็ นจริง

ากท
2. ความสมดุล (Balance) การนาเสนอข้อเท็จจริงของเนื้อหาอย่างสมบูรณ์ ครบถ้วน
3. ความเป็ นกลาง (Objective) ผูเ้ ขียนไม่แทรกทัศนะ ความคิดเห็นส่วนตัวไว้ในเนื้อข่าว

ตจ
4. ความชัดเจน กะทัดรัด (Clear and Concise) ใช้ภาษาในการสือ่ ความหมายที่กระชับ

นุญ
เข้าใจง่าย ไม่ก่อให้เกิดความผิดพลาดในการสือ่ สาร
ับอ
ด้ร
ย ไม่ไ
ร่โด
แพ
เผย
รือ
ยห
น่า
์จําห
ิมพ
มพ
ห้า

190 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

2. การเขียนคาบรรยายประกอบภาพ
ภาพประกอบข่าว เป็ นสิง่ สาคัญทีต่ ้องส่งไปควบคู่กบั ข่าวแจก นักประชาสัมพันธ์จงึ ต้อง
คัดสรรภาพ และบรรยายผ่านตัวอักษรได้เป็ นอย่างดี ภาพที่ดจี ะทาให้เกิดความรู้สกึ มีความ
เข้าใจได้ทนั ที จึงจาเป็ นต้องคัดสรรภาพทีจ่ ะเผยแพร่ให้ตรงตามวัตถุประสงค์

ัย
ยาล
ภาพสามารถสื่อความรู้สึกให้กบั ผู้ดภู าพได้ดงั นี้

วิท
1. ภาพทีเ่ กิดความรูส้ กึ ในเชิงบวก (positive feeling) ผูด้ ูภาพเห็นแล้วประทับใจ สดชื่น

หา
เต็มไปด้วยสุนทรีย์

างม
2. ภาพทีเ่ กิดความรูส้ กึ ในเชิงลบ (negative feeling) ผูด้ ูภาพเกิดความรูส้ กึ เศร้างหมอง

ากท
หดหู่ น่าเห็นใจ สะเทือนอารมณ์
3. ภาพทีเ่ กิดความรูส้ กึ ธรรมดา (neutral feeling) ผูด้ ภู าพไม่เกิดอารมณ์ความรูส้ กึ ใดใด

า ตจ
เป็ นกลาง นุญ
ภาพทีน่ ามาใช้เพื่อการประชาสัมพันธ์ จึงต้องเป็ นภาพทีท่ าให้เกิดความรูส้ กึ ในเชิงบวก
ับอ
มีขนาดใหญ่ เห็นส่วนทีต่ อ้ งการสือ่ สารทีส่ อดคล้องกับเนื้อข่าวได้อย่างชัดเจน โดยมีคาบรรยาย
ด้ร

หรือคาอธิบายภาพ (caption) ประกอบ


ย ไม่ไ
ร่โด

ภาพถ่ายเพื่อการประชาสัมพันธ์ที่ดีควรเป็ นเช่นไร
แพ

1. ภาพถ่ายธรรมดาที่ง่ายงาม หากเป็ นภาพบุคคลควรมีจานวนไม่มากนัก เพื่อความ


เผย

ชัดเจนของบุคคลในข่าว
2. ภาพถ่ายเล่าเรืองราว สะท้อนเนื้อหาข่าวได้ในตัวเอง หากเป็ นภาพบุคคลก็ควรเป็ น
รือ
ยห

ภาพขณะปฏิบตั หิ น้าทีบ่ างประการของบุคคลผูน้ นั ้ หรือสามารถสือ่ ความหมายได้


น่า

3. ภาพถ่ายทีม่ ขี นาดสมบูรณ์ เป็ นภาพทีม่ คี วามละเอียดของภาพพอเหมาะทีจ่ ะนาไปใช้


์จําห

ตีพมิ พ์ในสือ่ ต่าง ๆ ได้อย่างมีคุณภาพ และเหมาะสม


ิมพ

ภาพข่าวแบ่งเป็ นกี่ประเภท
มพ

1. ภาพข่าวบุคคล เนื้อหาข่าวเน้นย้าประเด็นการนาเสนอข่าวเกี่ยวกับบุคคลนัน้ ๆ โดย


ห้า

ตอบคาถามในประเด็น “ใคร” เพื่อให้ผอู้ ่านรูจ้ กั จึงต้องเลือกสรรภาพทีส่ ะท้อนความเป็ นตัวตน


ของบุคคลผูน้ นั ้ ได้เป็ นอย่างดี

194 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

2. ภาพข่า วกิจ กรรม เนื้ อ หาข่า วเสนอกิจ กรรมหรือ เหตุ ก ารณ์ โดยตอบค าถามใน
ประเด็น “ทาอะไร” “เมื่อใด” และ “อย่างไร” เป็ นสาคัญ ภาพข่าวที่ประกอบจึงเน้นที่กจิ กรรม
หรือเหตุการณ์ มากกว่าการเน้นทีต่ วั บุคคล
3. ภาพข่าวสถานที่ เนื้อหาข่าวต้องการนาเสนอสถานทีท่ เ่ี กิดเหตุการณ์ในข่าว โดยตอบ
คาถามในประเด็น “ที่ไหน” ภาพข่าวเน้นย้าสถานที่ อาจเป็ นภูมทิ ศั น์ ชื่อสถานที่ ป้ ายบอก

ัย
ยาล
สถานที่ แต่ทว่าภาพข่าวในลักษณะนี้นิยมใช้ในการประชาสัมพันธ์เพื่อชักจูงใจ เพื่อพรรณนา

วิท
และเพือ่ อธิบาย

หา
างม
การเขียนคาบรรยายภาพข่าวประชาสัมพันธ์

ากท
ข้อมูล รายละเอียดต่าง ๆ ทีค่ วรระบุไว้ในคาบรรยายภาพ ใช้หลักการตอบคาถาม 5W
1H แต่ไม่ตอ้ งระบุครบทุกประเด็น เลือกเฉพาะทีเ่ กีย่ วข้องกับประเด็นสาคัญทีป่ รากฏในภาพ

ตจ
การระบุวนั เดือน ปี ที่เกิดเหตุการณ์ในภาพข่าว อาจใช้ขอ้ ความว่า เมื่อเร็ว ๆ นี้ เมื่อ

นุญ
สัปดาห์ทผ่ี ่านมา โดยระบุวนั ที่ชดั เจนไว้ในวงเล็บข้างท้าย เพื่อสื่อสารกับบรรณาธิการว่าเกิด
ับอ
เหตุการณ์ข้นึ เมื่อใด แต่ละคงไว้หรือตัดทิ้ง เป็ นดุลยพินิจของบรรณาธิการ เนื่องจากบางข่าว
ด้ร

อาจมีความล่าช้าในการนาเสนอ หรือการนาเสนอของสือ่ แต่ละประเภทไม่พร้อมกัน


ไม่ไ

การบรรยายภาพที่ ต้องเลือกสรรคามาใช้อย่างกระชับเพียง 1 ย่อหน้า ประมาณ 2 – 4


บรรทัด มีการพาดหัวข่าวอย่างสัน้ (Brief headline) เพือ่ บอกให้ทราบทันทีว่าเป็ นเรื่องเกีย่ วกับ


ร่โด

ประเด็นใด โดยเป็ นการบรรยายข้อมูลเพือ่ เสริมรายละเอียดของภาพ


แพ
เผย

3. การเขียนบทความและสารคดีเพื่อการประชาสัมพันธ์
รือ

ลักษณะของบทความเพื่อการประชาสัมพันธ์
ยห
น่า

โดยธรรมชาติของบทความ เป็ นข้อเขียนที่แสดงข้อเท็จจริง และเสนอความคิดเห็นใน


์จําห

มุมมองต่าง ๆ เพือ่ ให้ขอ้ มูลความรู้ และส่งเสริมความเข้าใจอันดี รวมถึงการสร้างภาพลักษณ์ท่ี


ดีขององค์กรให้มคี วามน่ าเชื่อถือ ประชาชนไว้วางใจ นักประชาสัมพันธ์มกั ใช้บทความเพื่อ
ิมพ

ชี้แจงรายละเอียดของกิจกรรม หรือเหตุการณ์ภ ายในองค์กร แสดงความรับผิดชอบต่อสังคม


มพ

ให้ความรูท้ วไปแก่
ั่ ประชาชนในขอบเขตทีเ่ กี่ยข้องกับงานหรือกิจกรรมขององค์กร
ห้า

RAM 1103 195

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

วัตถุประสงค์ของบทความเพื่อการประชาสัมพันธ์
1. เพื่อ แจ้งให้ทราบ บทความมักจะประกอบด้ว ยเนื้อ หาเกี่ยวกับการให้รายละเอียด
ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่อ งที่เขียนอย่างชัดเจน ครบถ้วนทุกประเด็น เพื่อให้ผู้อ่านได้รบั ข้อมูลที่
ต้องการสือ่ สารอย่างแท้จริง
2. เพื่อ โน้ มน้ าวใจ บทความมีค วามตัง้ ใจที่จ ะให้ผู้อ่ า นเปลี่ย นทัศ นคติต ามที่ผู้เ ขีย น

ัย
ยาล
ต้องการจะถ่ายทอด การที่จะบรรลุผลเช่นนี้ได้นัน้ นอกจากที่ผู้เขียนจะให้รายละเอียด ข้อมูล

วิท
ด้านต่าง ๆ แล้วนัน้ จาเป็ นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องหาหลักฐานมาใช้อา้ งอิงประกอบการเขียนให้มาก

หา
พอสมควร หาเหตุผลมาสนับสนุ นเทคนิคสาหรับการเขียนว่าต้องการโน้มน้าวใจเรื่องใด ให้

างม
ผู้อ่านตระหนัก ถึงผลดี และผลเสียที่จะเกิดขึ้น ผ่ านการใช้ภาษาที่ต้อ งกระตุ้นอารมณ์ ด้วย

ากท
เหตุผลนานาประการ
บทความจึง ไม่ เ พีย งแต่ น าเสนอข้อ มู ล หรือ ข้อ เท็จ จริง เท่ า นั ้น หากทว่ า ยัง ต้ อ งมี

ตจ
ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ทัศนคติ แนวทางแก้ไขปั ญหาที่เหมาะสมของผู้เขียนประกอบการ

นุญ
เขียนบทความอย่างมีหลักเกณฑ์ และมีความน่าเชื่อถือ ผูเ้ ขียนจึงต้องศึกษาเรื่องทีจ่ ะเขียนให้มี
ับอ
ความรู้ ความเข้าใจอย่างถูกต้อง
ด้ร
ไม่ไ

ประเภทของบทความเพื่อการประชาสัมพันธ์

1. บทความประเภทบรรยายทัว่ ไป มุ่งเสนอรายละเอียด อธิบายเรื่อ งใดเรื่อ งหนึ่ง


ร่โด

โดยเฉพาะเพื่อชี้แจงให้ขอ้ มูลแก่ผอู้ ่าน โดยมุ่งหวังให้ผอู้ ่านได้รบั ทราบและเกิดความเข้าใจใน


แพ

เรื่อ งนัน้ ๆ เช่น การอธิบายความเป็ นมาของกิจกรรม ขัน้ ตอนการด าเนิ นงาน การเขีย น
เผย

บทความประเภทนี้มุ่งเน้นที่ลาดับขึ้นตอนในการเขียนให้ชดั เจน การใช้ภาษาที่บรรยายหรือ


รือ

อธิบายต้องเป็ นภาษาทีเ่ ข้าใจง่าย ก่อให้เกิดภาพพจน์


ยห

2. บทสัมภาษณ์ เป็ นบทความที่ยกคาสัมภาษณ์ของบุคคลมาเขียนเผยแพร่ โดยค า


น่า

สัมภาษณ์อาจเป็ นการให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับบุคคลทีน่ ่าสนใจหรือเหตุการณ์ใหม่ ๆ โครงการใหม่ ๆ


์จําห

รวมถึงเป็ นการให้รายละเอียดเรื่องหนึ่งเรื่องใดก็เป็ นได้ บทความสัมภาษณ์น้ีใช้ได้ในกรณีท่ี


ิมพ

ต้องการแนะนาบุคคล เหตุการณ์ สถานที่ และใช้ในกรณีทช่ี ้แี จงรายละเอียดให้ขอ้ มูลเพิม่ เติม


มพ

โดยนาไปใช้ได้ทงั ้ งานประชาสัมพันธ์ภายใน และภายนอกองค์กร การเขียนบทความประเภทนี้


ห้า

ผูเ้ ขียนสามารถสอดแทรกความคิดเห็นผสานกับข้อความสัมภาษณ์ เพือ่ ให้บทความมีชวี ติ ชีวา


มากขึ้น ผู้เขียนจาเป็ นอย่างยิง่ ที่จะต้องมีทกั ษะในการจับประเด็นของข้อมูลที่ได้รบั จากการ
สัมภาษณ์ได้อย่างครบถ้วน และเลือกสรรประเด็นในการนาเสนอทีน่ ่าสนใจ

196 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

3. บทความเชิ งวิ จารณ์ มักเป็ นบทความทีแ่ สดงความคิดเห็นทัง้ การชื่นชม การติเตียน


โดยใช้การวิพากษ์วจิ ารณ์ประกอบเหตุผลสนับสนุ น โดยมุ่งหวังให้บทวิจารณ์นัน้ สร้างความ
อยากรูอ้ ยากเห็นในเรื่องราวหรือเหตุการณ์บางอย่างซึง่ จะส่งผลในด้านการประชาสัมพันธ์ เช่น
การวิจารณ์ภาพยนตร์ การวิจารณ์หนังสือ การวิจารณ์เหตุการณ์ การวิ จารณ์บุคคล เป็ นต้น
ผู้เขียนบทวิจารณ์แสดงความคิดเห็นส่วนตัวของตน ประกอบหลักการ เพื่อเร้าความสนใจให้

ัย
ยาล
ผูอ้ ่านกระตือรือร้นในการอยากมีส่วนร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ทีเ่ ขียนไว้ในบทวิจารณ์ ผูว้ จิ ารณ์จงึ

วิท
จาเป็ นต้องเป็ นผูม้ คี วามเชีย่ วชาญในศาสตร์สาขาทีเ่ ขียนบทวิจารณ์

หา
4. สารคดี เป็ นบทความทีแ่ ตกต่างจากบทความทัวไป ่ โดยมีความยาวมากกว่า มีขอ้ มูล

างม
สนับสนุ นในการอ้างอิงมากกว่า และมีจุดมุ่งหมายที่จะให้ขอ้ เท็จจริงและความเพลิดเพลินแก่

ากท
ผู้อ่านไปพร้อมกัน งานเขียนลักษณะเช่นนี้มีประโยชน์ ต่อการประชาสัมพันธ์เพราะสารคดี
นาเสนอเรื่อ งราว สามารถชัก นาความคิด จูงใจให้ผู้อ่านคิดเห็นไปในแนวทางเดียวกันกับ

ตจ
ผู้เขียนตามที่ผู้เจียนต้องการอย่างมีศลิ ปะและมีชนั ้ เชิง โดยได้รบั ความบันเทิงควบคู่ไปด้ว ย

นุญ
ผู้เขียนควรเลือกประเด็นที่กาลังอยู่ในความสนใจของผู้อ่านและตรงกับวัตถุประสงวค์ในการ
ับอ
ประชาสัมพันธ์เรื่องนัน้ ๆ
ด้ร

การเขียนบทความเพื่อการประชาสัมพันธ์ จะเป็ นประโยชน์ และมีความจาเป็ นต่อ นัก


ไม่ไ

ประชาสัมพันธ์ในกรณีทต่ี ้องการชี้แจงเรื่องราวหรือนาเสนอข้อคิดเห็น และทัศนะบางประเด็น


ให้ประชาชนผู้เ กี่ยวข้อ งได้ร ับทราบ เพื่อ สร้างความเข้าใจอัน ดีต่อ กัน ของทุกฝ่ าย โดยจะ
ร่โด

นาเสนอผ่านสือ่ มวลชนในแขนงต่าง ๆ ทีเ่ หมาะสม


แพ
เผย

4. การเขี ย นสิ่ ง พิ ม พ์โ ฆษณาประชาสัม พัน ธ์ (Printed Advertising


รือ

Public Relations)
ยห
น่า

การประชาสัมพันธ์ทางสือ่ สิง่ พิมพ์นอกเหนือจาก ข่าวแจก และบทความต่าง ๆ ทีป่ รากฏ


์จําห

ให้เห็นโดยทัวไปอยู
่ ่แล้วนัน้ การโฆษณาจะเป็ นการประชาสัมพันธ์อกี รูปแบบหนึ่งที่สามารถ
ิมพ

พบได้ทงั ้ ในหนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสาร และอื่น ๆ ตามแต่ละประเด็นที่ได้กาหนดไว้ เช่น


มพ

การอนุรกั ษ์พลังงาน การรณรงค์รกั ษาสิง่ แวดล้อม การต่อต้านทุจริตคอรัปชัน่ เป็ นต้น


ห้า

สื่อสิง่ พิมพ์โฆษณาประชาสัมพันธ์เพื่อรณรงค์ในโครงการต่าง ๆ เหล่านี้ จัดทาเผยแพร่


ในลักษณะต่าง ๆ เช่น การใช้ภาพประกอบ การใช้ภาพกราฟิ ก การใช้เทคนิคต่าง ๆ เพือ่ ดึงดูด
ความสนใจ การใช้สสี นั ทีโ่ ดดเด่นสะดุดตา ฯลฯ

RAM 1103 197

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ความสาคัญและจุดสนใจในการประชาสัมพันธ์ลกั ษณะนี้ ขึน้ อยู่กบั การคิดข้อความและ


แนวคิด (concept) ในการโฆษณานัน้ ว่าต้อ งการสื่อ สารอย่ างไรให้ผู้พบเห็นเข้าใจแนวคิด
กระตุ้นความสนใจเรื่อ งที่โฆษณา ประชาสัมพันธ์ ซึ่งเป็ นวัตถุประสงค์หลักในการเผยแพร่
ข้อมูลและก่อให้เกิดความสนใจในโครงการรณรงค์ต่าง ๆ ที่การนาเสนอผ่านข่นอกเหนื อจาก
ข่าว หรือบทความ

ัย
ยาล
วิท
การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อใหม่และสื่อสังคมออนไลน์

หา
การประชาสัมพันธ์ใ นยุค นี้ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ส่อื ใหม่ (New Media)

างม
ด้ว ยเทคโนโลยีท่ีเ ปลี่ยนไป ทาให้รูปแบบการประชาสัมพันธ์เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม การ

ากท
เข้าถึงสื่อ ต่าง ๆ ผ่ านช่อ งทางออนไลน์ ที่ส ะดวกและรวดเร็ว ทาให้ประชาชนปรับเปลี่ย น
พฤติกรรมการสื่อสารเป็ นผู้เลือกรับ ส่งต่อสื่อได้ทนั ใดบนโลกออนไลน์ ต้นทางของเนื้อหาจึง

า ตจ
ไม่ได้เป็ นองค์กรทีเ่ ป็ นเจ้าของเรื่องเท่านัน้ หากแต่ผรู้ บั สารก็มบี ทบาทเป็ นผูส้ ่งสารไปด้วยใน
นุญ
เวลาเดียวกัน ผูร้ บั สารจึงมักได้รบั การเรียกขานว่าเป็ น “ผูใ้ ช้” (user) จึงจะเหมาะสมกับบริบท
ับอ
การสือ่ สาร ซึง่ เป็ นรูปแบบของ two way communication and interactivity
ด้ร
ไม่ไ

การเขี ย นเพื่ อ การประชาสัม พัน ธ์ อ งค์ก รผ่ า นสื่ อ ใหม่ (ดัด แปลงจาก

ร่โด

นภวรรณ ตันติเวชกุล ม.ป.ป. : 241 – 266) สือ่ ใหม่ทใ่ี ช้ในโลกออนไลน์ทพ่ี บมากได้แก่


แพ
เผย

1. เว็บไซต์องค์กร นาเสนอข้อมูลข่าวสารขององค์กร เน้นการให้ขอ้ มูลไปพร้อมกับการ


รือ

สร้างภาพลักษณ์และแบรนด์ขององค์กร เว็บไซต์มุ่งนาเสนอข้อมูลเป็ นสาคัญ โดยเชื่อมโยง


ยห

ข้อมูลต่าง ๆ จากหน้าแรกของเว็บไซต์ รวมถึงเชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์อ่นื ๆ ในระบบเครือข่าย


น่า

สามารถนาเสนอด้วยเทคนิคทีห่ ลากหลาย โดยผูร้ บั สารสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ทุกที่ ทุกเวลา


์จําห

ให้ขอ้ มูลอยางเป็ นปั จจุบนั และเป็ นการสือ่ สารสองทาง


ิมพ
มพ

2. เว็บบล็อก (Weblog) เป็ นรูปแบบการเขียนบทความบนเว็บไซต์หรือพื้นที่ส่ว นตัว


ห้า

ออนไลน์ โดยสามารถเพิม่ เติมเนื้อหาใหม่ ๆ ได้ตามทีต่ ้องการ ทัง้ ข้อความ ภาพ ลิงก์ และสื่อ
อื่น ๆ ที่หลากหลายทัง้ เพลง คลิป หรือวิดีโออื่น ๆ ผู้อ่านบล็อกสามารถแสดงความคิดเห็น
ต่อท้ายข้อความที่ Blogger เขียนไว้ได้ และอาจได้รบั การตอบกลับในทันที

198 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

บล็อกทีใ่ ช้ในการประชาสัมพันธ์ อาจจัดทาโดยบริษทั (Corporate Blog) บล็อกทีเ่ ปิ ดให้


ใช้โดยคนกลางในลักษณะไมโครบล็อก (Micro Blog) เช่น Twitter และบล็อ กของนักเขียน
อิสระ (Personal Blog)
1) บล็อกองค์กร (Corporate Blog) เป็ นบล็อกที่จดั ทาโดยบริษทั หรือองค์กร
ใดองค์ก รหนึ่ ง มีจุ ด มุ่ ง หมายเพื่อ สื่อ สารข้อ มูล ข่ า วสารขององค์ก ร สิน ค้า บริก าร ไปยัง

ัย
ยาล
กลุ่มเป้ าหมายหรือผูท้ เ่ี กีย่ วข้อง คุณลักษณะโดยทัวไปจึ
่ งมีความคล้ายกับ Corporate Website

วิท
หรือ เว็บไซต์บริษัท / องค์ก ร แต่เ ว็บไซต์จะมีล ักษณะการเป็ นทางการมากกว่าและมีการ

หา
ปฏิสมั พันธ์ระหว่างกันน้อยกว่าบล็อก การใช้บล็อกจะช่วยในการตรวจสอบความคิดเห็นของ

างม
บุคคลต่าง ๆ ที่มตี ่อองค์กร สินค้า หรือสิง่ ที่องค์กรดาเนินการหรือนาเสนอต่อคนกลุ่มต่าง ๆ

ากท
นอกจากนี้สามารถเข้าไปแสดงความคิดเห็นทีบ่ ล็อกของบุคคลอื่นได้ องค์กรทีใช้บล็อกควรจัด
กิจกรรมทางการตลาดและกิจกรรมทางสังคมอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ เพราะไม่เช่นนัน้ การ

ตจ
ท าบล็ อ กจะไม่ ป ระสบความส าเร็ จ เนื่ อ งจากองค์ ก รจะไม่ มีข้ อ มู ล ข่ า วสารใดใด ที่ จ ะ

นุญ
ประชาสัมพันธ์หรือเขียนโพสต์ อย่างต่อเนื่อง ในอีกประการหนึ่ง หากสินค้าหรือบริการไม่ มี
ับอ
ความซับซ้อนพอที่ลูกค้าจะต้องการข้อมูลเพิม่ เติม หรือต้องการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับ
ด้ร

ผูอ้ ่นื และกับองค์กร บล็อกจะไม่มคี วามเคลื่อนไหวและไม่เกิดปฏิสมั พันธ์ใดๆ การสื่อสารผ่าน


ไม่ไ

บล็อกมีความโดดเด่นในการสื่อสารสองทางได้โดยตรงแบบไม่เ ป็ นทางการ มีค่าใช้จ่ายต่ า


สร้างความรูส้ กึ เป็ นกันเองให้กบั กลุ่มเป้ าหมายได้


ร่โด

2) บล็อกที่เปิ ดให้ใช้โดยคนกลางในรูปแบบไมโครบล็อก (Micro Blog) เป็ น


แพ

บล็อกขนาดเล็ก สามารถโพสต์ขอ้ ความสัน้ ๆ ได้ไม่เกิน 140 ตัวอักษร และมีความสามารถใน


เผย

การส่งข้อความสัน้ ๆ ไปยังโทรศัพ ท์มอื ถือ ได้โดยที่ไม่จาเป็ นต้อ งใช้สญ ั ญาณอินเทอร์เ น็ต


รือ

เหมือนบล็อกอื่น ๆ เพือระบุข้อความที่จะบอกว่า ณ ขณะนัน้ ผู้ใช้กาลังทาอะไร จัดเป็ นการ


ยห

แลกเปลีย่ นประสบการณ์ระหว่างผูใ้ ช้แบบทันทีทนั ใด ไมโครบล็อกทีไ่ ด้รบั ความนิยมมาก คือ


น่า

Twitter
์จําห

Twitter สามารถช่วยกระจายข่าวสารข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะเมื่อมี


ิมพ

การส่งต่อข่าวสารหรือแบ่งปั นข่าวสารนัน้ ไปเรื่อย ๆ ในรูปแบบของ RT หรือ RE-tweet จะช่วย


มพ

ส่งข้อความนัน้ ๆ ให้กระจายและขยายวงกว้างออกไป ช่วยเพิม่ โอกาสในการมองเห็นจาก


ห้า

บุคคลที่เป็ นผู้ติดตาม (Follower) ของผู้ RT หากการ RT ครัง้ นัน้ กระทาโดยบุคคลผู้ท่ีมีค น


ติดตามจานวนมาก เช่น ผูส้ ่อื ข่าว ดารา นักแสดง นักร้อง นักการเมือง หรือบุคคลทีม่ ชี ่อื เสียง
ในสังคม นับได้ว่าเป็ นการตลาดแบบบอกต่อ (Viral Marketing) อีกรูปแบบหนึ่งที่พบมากใน

RAM 1103 199

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

ปั จจุบนั ซึ่งเป็ นไปในรูแบบของ one-to-one, one-to-many, many-to-many องค์กรต่าง ๆ จึง


ใช้ทวิตเตอร์ในการแจ้งข้อมูลข่าวสารใหม่ ๆ ทัง้ กิจกรรมการตลาด กิจกรรมเพื่อสังคม การ
สร้างความสัมพันธ์กบั ลูกค้า โดยให้ลูกค้าสามารถเข้ามาติดต่อสอบถามผ่านการบอกกล่าว
หรือ Mention ได้
3) บล็อกของนักเขียนอิสระ (Personal Bolg) เป็ นบล็อกที่สร้างโดย Blogger

ัย
ยาล
บล็อกเกอร์เหล่านี้เป็ นผูม้ คี วามสามารถในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเป็ นพิเศษ สามารถเขียนเรื่องทีต่ น

วิท
ถนัดและมีผตู้ ดิ ตามจานวนมาก โดยเฉพาะเรื่องทีเ่ ชีย่ วชาญและใช้ทกั ษะการเขียนขัน้ สูง โดย

หา
อาจจัดได้ว่าเป็ นกลุ่มผูน้ าความคิดเห็น (Opinion Leader) ในสังคมปั จจุบนั

างม
นักประชาสัมพันธ์อาจเชิญบล็อกเกอร์เข้าร่วมงานแถลงข่าว หรือการเยี่ยม

ากท
เยียนองค์กรหรือไปทากิจกรรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเช่นเดียวกับสื่อมวลชน เพื่อให้บล็อกเกอร์
รับรูข้ ่าวสารและสัมผัสกับกิจกรรมขององค์กร หรือให้ทดลองใช้สนิ ค้าแล้วรีววิ หรือแสดงความ

ตจ
คิดเห็นต่อสินค้านัน้ ๆ วิธนี ้แี ตกต่างจากการทา Advertorial หรือโฆษณาเชิงประชาสัมพันธ์ใน

นุญ
รูปแบบของบทความทีต่ พี มิ พ์ในนิตยสารต่าง ๆ ทีน่ ักประชาสัมพันธ์เป็ นผูเ้ ขียนและซื้อเนื้อที่
ับอ
ของนิตยสาร การรีววิ สินค้าหรือบริการจึงมาจากบล็อกเกอร์ซ่ึงเป็ นคนกลาง เป็ นการสร้าง
ด้ร

ความน่ า เชื่อ ถือ ให้ก ับ องค์ก รและสิน ค้า ประการหนึ่ ง ความน่ า เชื่ อ ถือ ของบล็อ กเกอร์มี
ไม่ไ

ความสาคัญมาก เกิดขึน้ มาจากตัวตนของบุคคลผูน้ ัน้ ความคิด ความเห็นในการรีววิ สินค้าใน


กลุ่มทีต่ นเองมีความถนัด มีผเู้ ชื่อถือและติดตาม


ร่โด
แพ

3. การประชาสัมพันธ์ผ่านแหล่งรวบรวมข้อมูลหรือความรู้ (Data / Knowledge)


เผย

เว็บไซต์ทร่ี วบรวมข้อมูลความรูใ้ นเรื่องต่าง ๆ ในลักษณะเนื้อหาอิสระ ไม่ว่าจะเป็ นเนื้อหาทาง


รือ

วิชาการด้านต่าง ๆ โดยมุ่งเน้นให้บุคคลที่มคี วามรู้ใ นเรื่องสัน้ ๆ เป็ นผู้เข้ามาเขียนหรือ ให้


ยห

คาแนะนา ส่วนใหญ่ผู้เขียนมักเป็ นนักวิชการ นักวิชาชีพ หรือผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งมีลกั ษณะการ


น่า

สนับสนุนให้ชุมชนมีการแบ่งปั นความรู้และให้ความร่วมมือในการต่อยอดข้อมูลในเรื่องนัน้ ๆ
์จําห

ต่ อ ไป (Collaboration) แหล่ ง ข้อ มู ล ออนไลน์ ท่ีรู้ จ ัก กัน กว้ า งขวางในกลุ่ ม นี้ ค ือ วิกิพีเ ดีย
ิมพ

(Wikipedia) ที่จดั เป็ นสารานุ กรมเสรีออนไลน์ท่มี หี ลายภาษา หรือเว็บไซต์ท่ใี ช้ดูแผนที่ได้ทุก


มพ

มุมโลก เช่น Google Earth ทีม่ ขี อ้ มูลการท่องเทีย่ ว การเดินทาง การจราจร ทีพ่ กั ฯลฯ ซึง่ เป็ น
ห้า

พืน้ ทีท่ เ่ี ปิ ดกว้างให้ผใู้ ช้สามารถสร้างและกาหนดเนื้อหาได้ดว้ ยตนเอง


วิกพิ เี ดีย เป็ นสารนุ กรมเสรีหลายภาษาบนอินเทอร์เน็ต มีนโยบายชัดเจนที่
เป็ นกลางจากทุกฝ่ ายที่เขียน โดยทุกคนที่ใช้วกิ พิ เี ดียสามารถอ่ าน แก้ไข ปรับปรุง เพิม่ เติม

200 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

เนื้อ หาได้ ตามแนวคิดที่ว่า วิกิพ ีเ ดียเป็ น “สารนุ กกรมเสรีท่ีทุกคนสามารถร่ว มพัฒนาได้”


องค์กรหรือสินค้าจึงสามารถเข้าไปเขียนนาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร เพื่อเป็ นการเผยแพร่
ข้อมูลข่าวสารขององค์กรไปยังกลุ่มสาธารณะต่าง ๆ ได้ และไม่ใช้ต้นทุนทีส่ งู มากอีกด้วย
การเขียนเพือ่ การประชาสัมพันธ์ผ่านแหล่งรวมข้อมูลลักษณะนี้ เน้นความเป็ น
ทางการ เป็ นการแจ้งข่าวสาร (to inform) เพื่อให้ขอ้ มูลทีเ่ ป็ นข้อเท็จจริง (fact) มากกว่าการจูง

ัย
ยาล
ใจหรือการใช้สานวนเร้าใจให้เกิดความรูส้ กึ ร่วม รวมถึงควรอ้างอิงแหล่งทีม่ ขี องข้อมูลเพือ่ ความ

วิท
น่าเชื่อถือ

หา
างม
4. การประชาสัมพันธ์ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Online Social Networking)

ากท
เครือข่ายสังคมออนไลน์ หรือชุมชนออนไลน์เป็ นช่องทางการสื่อสารทีไ่ ด้รบั ความนิยมมากใน
ปั จจุบนั โดยเริม่ ต้นจากการสร้างพื้นที่เพื่อเป็ นที่ชุมนุ มของกลุ่มคนที่มี คามสนใจหรือ ความ

ตจ
ต้องการคล้าย ๆ กัน ชุมชนออนไลน์ ส่วนใหญ่จะมีนโยบายความเป็ นส่วนตัวที่ชดั เจน โดย

นุญ
ผูใ้ ช้บริการสามารถกาหนดได้ว่าจะให้สมาชิกคนใดเข้ามาดูหรือติดต่อกับตนเองได้ ช่วยให้เกิด
ับอ
การเชื่อมโยงระหว่างกลุ่มเพือ่ นในหลายรูปแบบ เกิดปฏิสมั พันธ์สม่าเสมอต่อเนื่องจนกลายเป็ น
ด้ร

สังคมบนโลกออนไลน์ เครือข่ายสังคมออนไลน์ทที ุกคนสามารถเข้าถึงได้อย่างรวดเร็ว ทุกเวลา


ไม่ไ

ทุกสถานที่อย่างไม่มขี ดี จากัด ทัง้ ยังสามารถสร้างการใช้งานได้หลายรูปแบบ ทัง้ การเขียน


ข้อ ความ เรื่อ งราว แบ่งปั น รูปภาพ ภาพเคลื่อ นไหว การนาเนื้อ หาจากสื่อ ต่าง ๆ มาแชร์
ร่โด

(Share) จะช่วยทาให้ขอ้ มูลกระจายออกไปในวงกว้างได้อย่างรวดเร็ว


แพ

การประชาสัมพันธ์ในปั จจุบนั นักประชาสัมพันธ์ได้นาเครือข่ายสังคมออนไลน์


เผย

มาปรับใช้กบั การดาเนินงาน นอกเหนือไปจากวัตถุประสงค์ในการเผยแพร่ขอ้ มูล แนวทางการ


รือ

นามาใช้ทส่ี าคัญประการหนึ่งคือ การสร้างความสัมพัน ธ์และเพิม่ ปฏิสมั พันธ์กบั กลุ่มเป้ าหมาย


ยห

ให้มากขึน้ และอย่างต่อเนื่อง ซึง่ มีสว่ นในการสร้างความเชื่อใจ หรือไว้วางใจ (Trust) ให้เกิดขึน้


น่า

ระหว่างกลุ่มเป้ าหมายการสือ่ สารกับองค์กร การตลาดในยุค 4.0 Customer Loyalty ไม่ได้วดั ที่


์จําห

การซือ้ หรือการซือ้ ซ้าของผูบ้ ริโภคอีกต่อไป หากแต่มุ่งเน้นให้เกิด Product / Brand Advocacy


ิมพ

จากผูบ้ ริโภค เป็ นความรูส้ กึ ดีต่อสินค้า / ตราสินค้า และแนะนาต่อให้กบั บุคคลอื่น ๆ แม้ว่าตน


มพ

จะไม่ไ ด้ใ ช้ส ินค้านัน้ อยู่ก็ต าม เครือ ข่ายสังคมออนไลน์ จึงจัดเป็ นช่องทางในการสื่อ สารกับ
ห้า

กลุ่มเป้ าหมายที่มคี วามสาคัญยิง่ ในปั จ จุบนั โดยเฉพาะเฟซบุ๊ก (Facebook) หรือในช่องทาง


เมตาเวิรส์ (Metaverse) ในอนาคต

RAM 1103 201

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

รายการผ่านเฟซบุ๊ก ไลฟ์ ทัง้ ยังเป็ นการเปิ ดโอกาสให้ผู้ชมได้มปี ฏิสมั พันธ์ในแบบเรียลไทม์


ผ่านการแสดงความคิดเห็นได้

5. การประชาสั ม พั น ธ์ ผ่ า นการฝากและแบ่ ง ปั น ไฟล์ ป ระเภทมั ล ติ มี เ ดี ย


(Multimedia) เป็ นการประชาสัมพันธ์ผ่านเว็บทีเ่ ปิ ดบริการรับฝากหรือแบ่งปั นไฟล์ประเภทต่าง

ัย
ยาล
ๆ ทัง้ ภาพ คลิป ภาพยนตร์ เพลง โดยเว็บทีน่ ิยมใช้กนั มากทีส่ ุดคือยูทูป โดยสามารถเข้าชมได้

วิท
หลายครัง้ เท่าที่ต้องการ และสามารถเข้าชมได้ตลอดเวลา องค์กรต่าง ๆ ได้นารายการหรือ

หา
เนื้อหาทีเ่ คยแพร่ภาพทางสถานีโทรทัศน์หรือในเว็บไซต์ขององค์กรมาเผยแพร่ซ้าอีกบนยูทูป

างม
โดยปรับเนื้อหาและรูปแบบให้เหมาะสม ทัง้ ยังสามารถสร้างกลุ่มผูต้ ดิ ตามในช่องยูทูปนัน้ ๆ ได้

ากท
ตามความสนใจ
นักประชาสัมพันธ์สามารถใช้ช่องทางยูทูปเพื่อเผยแพร่คลิปที่น่าสนใจ ดึงดูด

ตจ
ความสนใจ และถูกใจผูเ้ ข้าชม และหากได้รบั การแชร์ต่อจะทาให้คลิปนัน้ ๆ เผยแพร่ต่อไปใน

นุญ
วงกว้าง นับว่าเป็ นการทาการตลาดแบบบอกต่อ (Viral Clip)
ับอ
การเขีย นบทรายการรู ป แบบต่ า ง ๆ เพื่อ เผยแพร่ บ นยูทู ป หรือ สื่อ สัง คม
ด้ร

ออนไลน์ เช่น เฟซบุ๊ก ผู้ใช้สามารถประยุกต์และดัดแปลงวิธีการเขียนบทรายการประเภท


ไม่ไ

ต่างๆ ทางสื่อโทรทัศน์มาใช้ได้ หากแต่ต้องปรับเปลีย่ นให้เหมาะสม ควรสัน้ กระชับ น่าสนใจ


และชวนให้ตดิ ตามตัง้ แต่แรก เนื่องจากพฤติกรรมการบริโภคข่าวสารผ่านโลกออนไลน์ผู้ชมมี


ร่โด

ความกระตือ รือ ร้น ต้อ งการติดตามเฉพาะข้อ มูล ที่ต รงกับความสนใจของตนเอง การผลิต


แพ

รายการทีด่ ี น่าสนใจ รวมถึงถูกใจผูใ้ ช้ส่อื สังคมออนไลน์จะทาให้คลิปหรือรายการนัน้ ๆ ได้รบั


เผย

การแพร่กระจายไปสูค่ นจานวนมากต่อไป
รือ
ยห

หลักการเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อใหม่และสื่อสังคมออนไลน์
น่า
์จําห

1. หลักการเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์ผ่านเว็บไซต์ (Websites)
ิมพ

การวางแผนและจัดเตรียมข้อมูลทีจ่ ะปรากฏบนเว็บไซต์ มักมีขอ้ จากัดของหน้าจอ หาก


มพ

เนื้อหาทีน่ าเสนอมีความยาวมาก ผูจ้ ดั ทาเว็บไซต์ควรพิจารณาการจัดประเด็นเพื่อขึน้ หน้าใหม่


ห้า

จัดระบบนาทางบนเว็บไซต์ (Navigation Cues) ให้มคี วามต่อเนื่อง และเชื่อมถึงข้อมูลในส่วน


ต่ า ง ๆ เข้า หากัน การเชื่อ มต่ อ เช่ น นี้ ท าให้เ ว็บ ไซต์มีร ะบบระเบีย บ เข้า ถึง ง่า ย อ่ า นง่า ย
นอกจากนี้ ย ัง ออกแบบเว็บ ไซต์ด้ว ยการผสมผสานไปกับ สื่อ มัล ติมีเ ดีย อย่ า งหลากหลาย

RAM 1103 203

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

เชื่อมโยงไปสูล่ งิ ก์ต่าง ๆ อย่างเหมาะสม นักประชาสัมพันธ์ควรออกแบบเว็บไซต์ขององค์กรให้


เหมาะสม ตอบสนองข้อมูลทีอ่ งค์กรต้องการจะนาเสนอให้กบั ผูอ้ ่านได้เป็ นอย่างดี
การพัฒนาเว็บไซต์ปรากฏให้เห็น 2 แบบ ได้แก่ เว็บไซต์ทพ่ี ฒ ั นาขึน้ ใหม่ และเว็บไซต์ท่ี
ใช้ระบบการบริห ารจัด การเนื้อ หาที่มีผู้พ ัฒ นาระบบหลัก มาให้ ผู้ท่ีนาไปใช้ต่อ เป็ นเพีย งผู้
นาเสนอเนื้อหาเท่านัน้

ัย
ยาล
การทาเว็บไซต์มหี ลักสาคัญ 4 ประการ ประกอบด้วย

วิท
1) การกาหนดทิศทางของเว็บไซต์ เป็ นการวางแผนการตาเสนอข้อมูล กาหนด

หา
ด้วยถ้อยคาขนาดสัน้ ทีผ่ ใู้ ช้บริการสามารถเข้าใจได้รวดเร็ว

างม
เว็บไซต์ทส่ี ร้างใหม่

ากท
- เนื้ อ หา และตัว อัก ษรที่ป รากฏเป็ น การอ่ า นตามพฤติก รรมที่
คุน้ เคย จากซ้ายไปขวา จากบนลงล่าง

ตจ
- การเขียน มีขนาดไม่ยาวมากนัก แบ่งหัวข้อใหญ่ หัวข้อย่อยให้

นุญ
ชัดเจน แยกหน้าของหัวข้อ ไม่ควรเลื่อน scroll down เกิดนกว่า
ับอ
2 หน้า
ด้ร

- พัฒนารูปแบบเว็บไซต์ใ ห้เ หมาะสมกับการเข้าถึงด้ว ยอุปกรณ์


ไม่ไ

ต่างๆ อย่างเหมาะสม เช่น คอมพิวเตอร์ โน้ตบุ๊ค โทรศัพท์มอื ถือ


pad เป็ นต้น


ร่โด

ข้อดี – องค์กรมีอสิ ระในการปรับแต่งระบบเพราะเป็ นเว็บที่พฒ ั นาขึ้นเอง ใช้


แพ

เครื่องมือทีเ่ ป็ นการเขียนโค้ดด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
เผย

ข้อ เสีย – ใช้เ วลาสร้า งนาน ผู้ส ร้า งต้อ งเป็ น ผู้ท่ีมีค วามเชี่ย วชาญ บริห าร
รือ

จัดการได้ไม่คล่องตัวมากนัก มีความยุ่งยากในการดาเนินงาน
ยห
น่า

เว็บไซต์ท่ใี ช้ระบบบริหารจัดการเนื้อหา วิธกี ารเขียนเช่นเดียวกับเว็บไซต์ท่ี


์จําห

พัฒนาขึ้นใหม่ ต้องคานึงถึงข้อจากัดเรื่องข้อกาหนดของจานวนตัวอักษร และหัวข้อที่ระบบ


ิมพ

บริหารจัดการกาหนดไว้เบือ้ งต้น
มพ

ข้อดี – เว็บไซต์สามารถใช้งานได้ง่าย ประหยัดเวลา ไม่เสียค่าใช้จ่ายมากใน


ห้า

การจ้างผูเ้ ชีย่ วชาญ


ข้อเสีย – ไม่สามารถพัฒนาหรือออกแบบเว็บไซต์ให้มคี วามแตกต่าง หรือ
นาเสนอด้วยวิธกี ารอื่น ๆ มากกว่าทีผ่ พู้ ฒั นาระบบหลักวางไว้

204 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

4) สไตล์หรือลีลาการเขียนเว็บไซต์ ควรคานึ งถึงเช่นเดียวกับการเขียนสื่ออื่น ๆ


คือ อ่านง่าย เรียบเรียงด้วยถ้อยคาทีส่ อ่ื ความหมายได้ชดั เจน มีหวั เรื่องทีเ่ ด่นชัด วางรูปแบบที่
เอือ้ ต่อการอ่านเพือ่ ความเข้าใจได้สะดวก โดยมีหลักการพิจารณาดังนี้
- มีความชัดเจนในแนวคิดและวัตถุประสงค์ของงาน
- โครงสร้างต้องชัดเจนและเข้าไปค้นข้อมูลได้งา่ ย

ัย
ยาล
- ก าหนดเนื้อ หาให้ต รงกับความต้องการและความสนใจของผู้มาเยี่ยมชม

วิท
เว็บไซต์

หา
- มีเนื้อหาที่ตรงกับระดับการศึกษาของผู้ท่คี าดว่าจะเข้ามาเยี่ยมชมเว็บไซต์

างม
และความเข้าใจคาศัพท์เฉพาะต่าง ๆ ร่วมกัน สามารถให้ขอ้ เสนอแนะเพื่ อการค้นคว้าข้อมูล

ากท
อื่นๆ เพิม่ เติม
- การเน้นประเด็นต่าง ๆ วางโครงสร้างของเว็บไซต์ จานวนหน้า ย่อหน้า และ

ตจ
หัวข้อต่าง ๆ ควรเกีย่ วเนื่อง กระชับ และเน้นแนวคิดสาคัญของเรื่องให้ชดั เจน

นุญ
- ลีลาการเขียนสะท้อนอัตลักษณ์ขององค์กร
ับอ
การประชาสัมพันธ์ผ่ านเว็บไซต์ ต้องเตรียมเนื้อหา (content) และเทคนิค การ
ด้ร

นาเสนอ วางโครงสร้างเนื้อหาให้เข้ากับระบบการจัดนาทางเพื่อให้เว็บไซต์เกิดประโยชน์อย่าง
ไม่ไ

ยิง่ ในการประชาสัมพันธ์ขอ้ มูลขององค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ ทัง้ ยังสามารถสื่อสารกับผู้เข้า


เยี่ยมชมเว็บไซต์ สนองความต้องการผู้ใช้บริการได้อย่า งรวดเร็ว รวมถึงการเขียนข้อมูลใน


ร่โด

เว็บไซต์เพื่อการประชาสัมพันธ์ต้องนาเสนอด้วยทัศนคติเชิงบวก อ่านง่าย เข้าใจทันที บน


แพ

พืน้ ฐานของความถูกต้อง ชัดเจน สัญลักษณ์ ทีต่ งั ้ ข้อมูลองค์กร ต้องถูกต้อง ชัดเจน สามารถ


เผย

ติดต่อได้ หน้าเว็บไซต์ขององค์กรจึงมักมีสญ ั ลักษณ์ของบล็อก ทวิ ตเตอร์ เฟซบุ๊กสาหรับใช้


รือ

เชื่อมต่อข้อมูลถึงกันโดยสะดวก
ยห
น่า

2. หลักการเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์ผ่านบล็อก
์จําห

การเขียนเพื่อประชาสัมพันธ์ผ่านบล็อก สามารถประยุกต์ได้จากการเขียนเว็บไซต์ หรือ


ิมพ

การเขียนบทความสาหรับสื่อสิง่ พิมพ์ โดยใช้โครงสร้างการเขียน การกาหนดชื่อเรื่อง แนวคิด


มพ

หลัก การเขียนบทนา เนื้อเรื่อง และบทสรุป ซึ่งผูเ้ ขียนต้องคานึงถึงความต้องการข่าวสารของ


ห้า

ผูอ้ ่านกลุ่มเป้ าหาย พฤติกรรมการอ่านหน้าเว็บหรือบล็อก และลักษณะเฉพาะของเว็บบล็อกที่


เน้นเรื่องการมีปฏิสมั พันธ์กบั กลุ่มเป้ าหมายและการสื่อสารแบบไม่เป็ นทางการ การเขียนจึง
ควรลดความเป็ นทางการลง ไม่ยาวจนเกินไป เหมาะสมกับคุณลักษณะหน้าจอของการอ่าน

206 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

เหมาะกับประเภทของบล็อก และบุคลิกภาพของแต่ละบล็อก ลีลาการเขียนของบล็อกเกอร์


หรือ แอดมินแต่ละคน ดังนัน้ ผู้ดูแลบล็อกควรบริหารจัดการเนื้อหาและข้อ มูลต่าง ๆ ผ่าน
วิธกี ารนาเสนอและลีลาการเขียนทีแ่ ตกต่างไปจากสิง่ ทีน่ าเสนอบนเว็บไซต์ทางการขององค์กร
หรือหน่วยงาน โดยคานึงถึงวัตถุประสงค์การประชาสัมพันธ์เป็ นสาคัญ
วิธกี ารเขียนบล็อกตามแนวทางของ Darren Rowse

ัย
ยาล
- ท าลิส ต์ห รือ รายชื่อ หัว ข้อ ย่ อ ย ๆ เพื่อ สะดวกในการอ่ า นแบบ

วิท
สแกน และจัดประเด็น เชื่อมโยงข้อมูลได้งา่ ย

หา
- ใช้ประโยคสัน้ ๆ แม้ในการโพสต์ก็ควรโพสต์ขอ้ ความสัน้ ๆ แต่

างม
ชัดเจน ตามหลักการเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์ โดยมีความ

ากท
ชัดเจนกับแนวคิดหรือประเด็นทีต่ อ้ งการนาเสนอ นาสนอให้เข้าใจ
ง่ายและตรงประเด็น

ตจ
- การเน้นย้าประเด็นที่เป็ นความสาคัญ ต้องเลือกใช้เครื่องมือเพื่อ

นุญ
ทาให้โดดเด่นกว่าข้อความอื่น ๆ ทัวไป ่
ับอ
- ใช้เทคนิคการจัดหัวข้อหลัก การแตกหัวข้อรองหรือหัวข้อ ย่อ ย
ด้ร

เพือ่ ผูอ้ ่านสามารถมองหาประเด็นทีต่ นในใจได้รวดเร็ว


ไม่ไ

- ใช้ภาพและกราฟิ กสนับสนุนประเด็นทีต่ อ้ งการนาเสนอ


- ใช้กล่องข้อความหรือคากล่าวเพือ่ ดึงดูดความสนใจ
ร่โด

- ใช้ย่อหน้าสัน้ ๆ ในการนาเสนอประเด็นต่าง ๆ
แพ

- เขียนบทนาหรือ วรรคนา เพื่อ ความชัดเจนของเรื่อ งตัง้ แต่เ ปิ ด


เผย

เรื่อง
รือ

- ข้อ มูล ที่น ามาเขีย นควรเป็ น ข้อ มูล ที่มีป ระโยชน์ ผู้อ่ า นอยากรู้
ยห

ข้อมูลเรื่องนัน้ ๆ
น่า

- มีช่ อ งทางให้ผู้อ่ า นได้ต อบกลับ หรือ มีป ฏิส ัม พัน ธ์ ต่ อ กัน เพื่อ
์จําห

เสริมสร้างชุมชนออนไลน์ท่ีมกี ารแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ควร


ิมพ

ตอบกลับการแสดงความเห็น การให้คาแนะนา ให้ข้อมูลที่เป็ น


มพ

จริงต่อ comment ต่าง ๆ อย่างทันท่วงที และมีความสุภาพ เพื่อ


ห้า

เป็ นการสร้างชื่อเสียง และความน่าเชื่อถือในทางหนึ่ง

RAM 1103 207

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

3) การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์ผ่านทวิ ตเตอร์
ทวิตเตอร์กาหนดให้พมิ พ์ขอ้ มูลได้ไม่เกิน 140 ตัวอักษร ข้อความทีส่ ่งจึงต้องเน้นความ
สัน้ กระชับ ชัดเจนยิง่ กว่าช่องทางอื่น ๆ ผูเ้ ขียนต้องเลือกใช้ตวั อักษร และข้อความให้เหมาะสม
เพือ่ สามารถสือ่ สารได้ตามต้องการ
สิง่ ทีต่ อ้ งระวังในการใช้ทวิตเตอร์ คือ ไม่พมิ พ์เรื่องยาว ๆ ติดต่อกัน แล้วตัดประโยคเพื่อ

ัย
ยาล
ทวิตอย่างต่อเนื่อง เพราะอาจทาให้เกิดความเข้าใจผิดในประโยคที่ถูกตัดขึ้นไปในทวิตอื่น ๆ

วิท
บางครัง้ ผู้อ่านอาจไม่ได้อ่านจนครบทุกทวิต ทาให้การสื่อสารในครัง้ นัน้ อาจล้มเหลว หรือไม่

หา
สมบูรณ์

างม
การใช้ทวิตเตอร์ เหมาะสาหรับการส่งข่าวสารองค์กรทีเ่ กี่ยวกับการส่งเสริมการขาย การ

ากท
นาเสนอสินค้าใหม่ การจัดกิจกรรมพิเศษ การแนะนาเหตุการณ์หรือ event ทีน่าสนใจ การตอบ
คาถามหรือแก้ไขข้อสงสัย ข้อข้องใจ การเชิญชวนให้มาร่วมกิจกรรม โดยเน้นเนื้อหาที่เป็ น

ตจ
เรื่องน่ารูต้ ลอดจนประดยชน์ต่อผูต้ ดิ ตาม เพือ่ ให้เกิดการบอกต่อด้วยการ retweet

นุญ
ข้อควรคานึงถึงในการเขียนทวิตเตอร์
ับอ
- เขี ย นให้ ส ัน้ หรื อ Keep in Short ด้ ว ยข้ อ จ ากั ด ของจ านวน
ด้ร

ตัวอักษรเพียง 140 ตัวเท่านัน้ ข้อความจึงจาเป็ นต้องกระชับ ได้


ไม่ไ

ใจความ

- หาคาหลัก คาสาคัญที่เหมาะสม กาหนดประโยคหรือคาสาคัญ


ร่โด

สาหรับหัวข้อ พร้อมด้วยแฮชแท็ก (#hashtag) เพื่อค้นหาได้ง่าย


แพ

และเป็ นเครื่องมือในการติดตามประสิทธิภาพของการเผยแพร่บน
เผย

ทวิตเตอร์
รือ

- One tweet / One subject แต่ ล ะโพสต์ แต่ ล ะครัง้ ที่ท วิต ให้ มี
ยห

ประเด็นหรือเรื่องเดียวเท่านัน้ เพือ่ ไม่ให้เกิดความสับสน


น่า

- แนบไฟล์ ภ าพไปกับ ข้อ ความ ภาพนั น้ จะไปปรากฏเป็ น ส่ ว น


์จําห

เชื่อมโยงอยู่บนข้อความหรือใช้วธิ เี ชื่อมโยงภาพหรือวิดโี อจากสือ่


ิมพ

อื่น ๆ เช่น Instagram You Tube


มพ

- สามารถใช้ influencer บนทวิตเตอร์ทม่ี ผี ตู้ ดิ ตามจานวนมาก ช่วย


ห้า

ทวีตหรือรีทวิตข่าวสาร โดย influencer อาจมีการปรับรูแบบหรือ


edit ข้อความให้สอดคล้องกับบุคลิก และบริบท

208 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

4) การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์ผ่านเฟซบุก๊
การประชาสัม พัน ธ์ผ่ า นเฟซบุ๊ ก มีช่ อ งทางในการประชาสัม พัน ธ์ผ่ า น Profile ผ่ า น
Fanpage การประชาสัมพันธ์ผ่านกลุ่ ม (group) รวมถึงผ่านระบบโฆษณา และ Application
เหล่านี้เป็ นช่องทางในการส่งข้อมูลข่าวสารไปยังกลุ่มเป้ าหมาย ผ่านรูปแบบการเขียน การใช้
ภาษาที่ส่อื สารถึงกลุ่มเป้ าหมายได้อย่างเข้าใจ สามารถดึงดูดความสนใจด้วยองค์ประกอบ

ัย
ยาล
ต่างๆ นักประชาสัมพันธ์จงึ ต้องรู้จกั ธรรมชาติของสื่อสังคมออนไลน์ว่าควรส่งข้อความไม่ยาว

วิท
ใช้ภาษาและภาพทีน่ ่าสนใจ

หา
หลักการเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์ผ่าน Facebook (นภวรรณ ตันติเวชกุล ม.ป.ป.

างม
อ้างถึงใน พิเศศ ตันติมาลา, 2555: 11-24 11-25)

ากท
- เขียนข้อความประชาสัมพันธ์ทส่ี าคัญใน 5-7 บรรทัดแรก เฟซบุ๊กกาหนดให้เขียน
ข้อความในสถานะไม่จากัดจานวนบรรทัด แต่แสดงเนื้อหาเพียง 5-7 บรรทัด

ตจ
แรกเท่านัน้ วิธกี ารโพสต์ขอ้ มูลทีค่ ่อนข้างยาว คือ เขียนความนาทีเ่ ป็ นประโยค

นุญ
ง่ า ย ๆ ไม่ ย าวมากประมาณ 5 บรรทัด และไม่ ค วรเกิน 7 บรรทัด เพื่อ ให้
ับอ
ข้อความดูน่าสนใจและอ่านง่ายขึ้น ส่วนรายละเอียดข้อมูลให้เว้นบรรทัดแล้ว
ด้ร

เขีย นต่ อ ด้า นล่ า ง เมื่อ โพสต์ ข้อ ความ ข้อ มู ล รายละเอีย ดก็จ ะปรากฏ see
ไม่ไ

more…/ …continue reading ผูท้ ส่ี นใจจะกดอ่านเพิม่ เติมได้


- ควรเริ่มต้นโพสต์ด้ว ยการเขียนข้อ ความเป็ นกลุ่ มค าหรือ ประโยคที่ส นั ้ กระชับ


ร่โด

คล้ายกับการเขียนพาดหัวข่าวแต่เป็ นแบบสัน้ ๆ เร้าให้อ่านต่อ เช่น กิจกรรมสุด


แพ

พิเศษสาหรับคุณโดยเฉพาะ ม.ร.ลดค่าเทียบโอนหน่วยกิต 50% เป็ นต้น


เผย

- ควรใส่ภาพพร้อมการโพสต์ทุกครัง้ โดยภาพต้องมีความเชื่อมโยงกับประเด็นของ
รือ

โพสต์ มี ค วามคมชัด ดู ง่ า ย มี ข นาดไม่ ใ หญ่ ห รื อ เล็ ก จนเกิ น ไป เพราะ


ยห

ภาพประกอบทีเ่ หมาะสมจะช่วยเรื่องความดึงดูดใจให้อ่านและขยายความเข้าใจ
น่า

ของผูร้ บั สารกับข้อความทีโ่ พสต์


์จําห

- ใช้ภาพและข้อความจาก infographic ประกอบการโพสต์ จะช่วยเรื่องการสรุป


ิมพ

ประเด็นและภาพรวมให้เข้าใจง่าย โดยไม่จาเป็ นต้องเขียนโพสต์ขอ้ ความเพื่อ


มพ

ช่วยอธิบายลาดับขัน้ ตอนอื่น ๆ ให้ยดื ยาว


ห้า

- เขียนอ้างอิงแกล่ งข้อ มูล หรือ ที่มาของข้อ มูล เสมอ นอกจากเหตุผ ลเรื่อ งความ
น่าเชื่อถือ จริยธรรม และลิขสิทธิแล้ ์ ว ยังช่วยให้ผรู้ บั สารค้นหาข้อมูลเพิม่ เติมได้
อีกด้วย

RAM 1103 209

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

- เขีย นโดยค านึ ง ถึง ความเป็ น องค์กรหรือ ตราสิน ค้า ใช้ก ารเขีย นด้ว ยลีล าและ
น้ าเสียงที่สดคล้องกับบุคลิกภาพของตราสินค้าที่กาหนดไว้ เพื่อสร้างแบรนด์
หรือความเป็ นองค์กรทีม่ ตี วั ตนชัดเจน โดดเด่น ไม่เหมือนใคร
- เขียนตอบสนองความคิดเห็นของลูกค้าหรือผู้รบั สารอย่างเหมาะสม กระตุ้นให้
เกิดปฏิสมั พันธ์ในทางบวกต่อองค์กร / ตราสินค้า

ัย
ยาล
วิท
สื่อประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางอิ นเทอร์เน็ต

หา
ข้อดี

างม
1. สามารถสือ่ สาร เผยแพร่ขอ้ มูล

ากท
ได้ในอย่างรวดเร็ว อย่างไม่มขี ดี จากัดด้านพื้นที่ โดยสามารถระบุเฉพาะตัวบุคคล รายกลุ่ม
กระทังสาธารณะ
่ โดยสื่อที่ส่งไปนัน้ จะได้รบั การตอบรับอย่างรวดเร็ว และแม่นยาด้วยสถิติท่ี

ตจ
แสดงไว้ในระบบ

นุญ
2. ผู้ใช้อนิ เทอร์เน็ตเป็ นผู้มบี ทบาทในการเลือกใช้ส่อื สามารถเข้าชมเฉพาะเว็บไซต์ท่ี
ับอ
ตนเองสนใจ หาข้อมูลได้มากเท่าทีต่ อ้ งการ โดยไม่มขี ดี จากับในเงือ่ นของเวลา
ด้ร

3. ข้อมูลทีป่ รากฏบนอินเทอร์เน็ตมีความหลากหลาย สามารถผสานสื่อต่าง ๆ ร่วมกัน


ไม่ไ

ได้อย่างน่าสนใจ ซึ่งเป็ นสื่อทีส่ ามารถสร้างสรรค์ได้ดว้ ยต้นทุนที่มรี าคาไม่สูงมากนัก อุปกรณ์


หาได้ใกล้ตวั เช่น โทรศัพท์มอื ถือ คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค


ร่โด

ข้อด้อย
แพ

1. การเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศทางอินเทอร์เน็ต จาเป็ นต้องใช้อุปกรณ์และการเชื่อมต่อ


เผย

สัญญาณ จึงเป็ นข้อจากัดประการหนึ่งในการใช้งาน


รือ

2. ควรต้องสร้างเนื้อหาให้น่าสนใจ เพื่อให้ผู้ใช้มองเห็น ท่ามกลางการนาเสนอข้อมูล


ยห

จานวนมากบนโลกไซเบอร์
น่า

3. ข้อมูลที่นาเสนอผ่านอินเทอร์เน็ตขาดความน่ าเชื่อถือ เนื่องจากไม่มกี ารตรวจสอบ


์จําห

ความถูกต้อง ทัง้ ยังเป็ นการนาเสนอข้อมูลแข่งกับเวลา


ิมพ
มพ

การเขียนเพือ่ การประชาสัมพันธ์ผ่านสือ่ ใหม่และสือ่ สังคมออนไลน์จะประสบความสาเร็จ


ห้า

ได้นัน้ ต้อ งหมันเป็


่ นผู้สงั เกตวิธีการเขียน การโพสต์ การตอบข้อความต่าง ๆ และไม่ละเลย
ประเด็นทีเ่ กีย่ วข้องกับคุณธรรม จริยธรรม

210 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

นัก ประชาสัมพันธ์ท่ีมีห น้ าที่ในการดูแลเนื้อหา ข่าวสาร เพื่อ การประชาสัมพันธ์ต้อง


สื่อ สารโดยตรงไปถึงผู้บ ริโ ภค นาเสนอเนื้อ หาได้อ ย่ างเหมาะสม ทันท่ว งที มีการโต้ต อบ
ระหว่างองค์กรและผูบ้ ริโภคได้โดยตรง เป็ นการสื่อสารสองทางทีส่ ามารถแลกเปลีย่ น แบ่งปั น
และส่งต่อข้อมูลข่าวสารได้อย่างกว้างไกล

ัย
ยาล
วิท
หา
างม
ากท
า ตจ
นุญ
ับอ
ด้ร
ย ไม่ไ
ร่โด
แพ
เผย
รือ
ยห
น่า
์จําห
ิมพ
มพ
ห้า

RAM 1103 211

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

องค์ประกอบของโปสเตอร์โฆษณา
1.รูปภาพ (Picture)
รูปภาพมีพทบาทและความสาคัญของการสือ่ ความหมายด้วยภาพมาก ซึง่ สามารถจาแนก
ข้อเด่นได้ดงั นี้

ัย
1) สะดุดตา

ยาล
2) น่าสนใจ

วิท
3) สือ่ ความหมาย

หา
4) ประทับใจ

างม
2.พาดหัว (Headline)

ากท
ในการเขียนข้อความโฆษณา จาเป็ นจะต้องมีพาดหัวเสมอเพราะพาดหัวเป็ นส่วนที่เด่น
ที่สุ ด ในข้อ ความโฆษณา มีไ ว้เ พื่อ ให้ส ะดุ ด ตาสะดุ ด ใจชวนให้ติด ตามอ่ า นเรื่อ งราวต่ อ ไป

ตจ
ลักษณะของพาดหัวทีด่ คี วรจะมีขนาดตัวอักษรโตหรือเด่น เป็ นข้อความทีส่ นั ้ กะทัดรัด ชวนให้

นุญ
น่าคิดหรือติมตามอ่าน
ับอ
3. ข้อความบอกรายละเอียด (Body text)
ด้ร

สาหรับสินค้าใหม่ท่ี ประชาชนยังไม่เข้าใจ ประโยชน์ว่าใช้ทาอะไร ใช้อย่างไร หรือรู้จกั


ไม่ไ

แล้วแต่การโฆษณาต้องการเน้นให้ถงึ ประโยชน์เพื่อการจูงใจซื้อ จึงควรชี้ให้เห็นว่าสินค้านี้มี



ร่โด

ประโยชน์อย่างไร คุม้ ค่าอย่างไร


ประโยชน์ อ่ืน ๆ หรือ รายละเอีย ดเกี่ย วกับ สิน ค้า ถ้ า มีคุ ณ สมบัติพิเ ศษ การเขีย น
แพ

ข้อความจึงควรมีรายละเอียดส่วนนี้เอาไว้ เพือ่ สร้างความสนใจเป็ นพิเศษแก่ผอู้ ่าน


เผย
รือ
ยห
น่า
์จําห
ิมพ
มพ
ห้า

214 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย


หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ และเหมาะสมกับกลุ่มประชาชนเป้ าหมายซึ่งเป็ นผู้ รบั สารด้วย การ


ใช้ภาษาต้องระมัดระวังการเขียนให้ประณีตชัดเจน ตรวจสอบข้อมูลข่าวสารให้ถูกต้องเชื่อถือ
ได้

การเขียนเพื่อการโฆษณา มุ่งใช้ภาษาเพื่อโน้มน้าวใจผู้บริโภค แสดงความสะดุดใจ

ัย
ยาล
สนใจ ต้อ งการ และตัดสินใจเลือกซื้อ สินค้าหรือบริการ ต้อ งใช้ภาษาที่ชดั เจน สื่อ ความได้

วิท
รวดเร็ว หรือใช้คาที่หวือหวา สะดุดตา สะดุดใจ เพราะต้องการให้ผู้บริโภคจดจาคาโฆษณา

หา
สินค้านัน้ ได้

างม
ากท
า ตจ
นุญ
ับอ
ด้ร
ย ไม่ไ
ร่โด
แพ
เผย
รือ
ยห
น่า
์จําห
ิมพ
มพ
ห้า

224 RAM 1103

หนังสือนี้เป็นเอกสารทางราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ห้ามพิมพ์จําหน่ายหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย

You might also like