1p7 f8199 U2 Nouvo MX TH

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 120

UAU10050 คำนำ

UAU10102
ขอตอนรับสโู ลกของการขับขีร่ ถจักรยานยนตยามาฮา!
รถจักรยานยนตยามาฮารุน AT115S/AT115C เปนผลงานที่บรรจงสรางขึ้นจากประสบการณที่มีมายาวนานของ
ยามาฮา และดวยการออกแบบเทคโนโลยีทที่ นั สมัยมาใช ทำใหสมรรถนะของรถจักรยานยนตดเี ยีย่ ม จึงทำใหลกู คา
ไววางใจในชือ่ เสียงของยามาฮา
กรุณาทำความเขาใจกับคมู อื นีเ้ พือ่ ผลประโยชนของทานเอง คมู อื เลมนีเ้ ปนการแนะนำการใชรถ การตรวจสอบ ตลอด
จนการบำรุงรักษารถจักรยานยนตอยางถูกวิธี โดยครอบคลุมถึงการปองกันและอันตรายตางๆ ทีจ่ ะเกิดขึน้ กับตัวทาน
เองอีกดวย
คมู อื เลมนีส้ ามารถชวยเหลือทานไดดที สี่ ดุ เมือ่ เกิดเหตุฉกุ เฉินขึน้ ถาทานมีขอ สงสัยประการใด โปรดสอบถามผจู ำหนาย
ยามาฮาไดทุกแหงทั่วประเทศ
ทางบริษัทฯ มีความปรารถนาใหคุณมีความปลอดภัยและความพอใจในการขับขี่ รวมถึงความปลอดภัยเปนอันดับ
หนึง่ เสมอ
ยามาฮามีการพัฒนาคุณภาพ รูปลักษณอยางตอเนือ่ งอยเู สมอ ในการจัดทำคมู อื เลมนี้ ขอมูลทุกอยางจะเปนขอมูล
ทีท่ นั สมัยทีส่ ดุ ณ วันทีพ่ มิ พ ดังนัน้ จึงอาจมีขอ แตกตางบางประการระหวางคมู ือกับรถจักรยานยนตทไี่ มตรงกัน ถา
หากทานมีขอ สงสัยใดๆ เกีย่ วกับคมู อื เลมนี้ กรุณาติดตอผจู ำหนายยามาฮา
UWA10031

กรุณาอานคูมือนี้อยางละเอียดและระมัดระวัง กอนการใชรถจักรยานยนต

1P7F8199_U2_00.pmd 1 7/10/2551, 14:22


ขอมูลคมู อื ทีส่ ำคัญ UAU10122

UAU10132

รายละเอียดตอไปนีจ้ ะชวยใหทา นเขาใจเครือ่ งหมายและสัญลักษณในคมู อื เลมนีม้ ากขึน้ :

นีค่ อื สัญลักษณเตือนความปลอดภัย แสดงการเตือนใหระวังอันตรายจากการ


ไดรบั บาดเจ็บตอบุคคลทีอ่ าจเกิดขึน้ ได ใหปฏิบตั ติ ามขอมูลความปลอดภัยที่
ตามหลังเครื่องหมายนี้ทั้งหมด เพื่อหลีกเลี่ยงการบาดเจ็บหรือการเสียชีวิตที่
อาจเกิดขึ้นได

คำเตือนเพือ่ แสดงถึงสถานการณอนั ตราย หากทานไมสามารถปฏิบตั ติ ามได


อาจสงผลใหเกิดการเสียชีวิตหรือการบาดเจ็บรายแรงได

ขอสังเกตเพือ่ หลีกเลีย่ งการเกิดความเสียหายตอรถจักรยานยนตหรือทรัพยสนิ


¢âÕ —߇°µ
อื่น

¢âÕ·π–π” ขอแนะนำเพื่อใหมีความชัดเจนหรือเขาใจในคูมือมากยิ่งขึ้น

1P7F8199_U2_00.pmd 2 7/10/2551, 14:22


ขอมูลคมู อื ทีส่ ำคัญ

UAU37430

คมู อื ผใู ชรถจักรยานยนตยามาฮา


รนุ AT115S/AT115C
สงวนลิขสิทธิ์ 2008 โดยบริษทั ไทยยามาฮามอเตอร จำกัด
พิมพครัง้ ที่ 1, ตุลาคม 2551
หามทำการคัดลอก พิมพซ้ำสวนหนึ่งสวนใดหรือทั้งหมดของคูมือเลมนี้ดวยวิธีการใดๆ
ยกเวนไดรับอนุญาตเปนลายลักษณอักษรจาก บริษัท ไทยยามาฮามอเตอร จำกัด
พิมพในประเทศไทย

1P7F8199_U2_00.pmd 3 7/10/2551, 14:22


สารบัญ UAU10210

1 ตำแหนงแผนฉลากตางๆ ทีส่ ำคัญ ............. 1-1 กลองอเนกประสงค ................................... 4-12


2 วิธีแหงความปลอดภัย ................................ 2-1 ตะขอแขวนอเนกประสงค .......................... 4-14
จุดขับขีป่ ลอดภัยเพิม่ เติม ............................. 2-8 5 เพือ่ ความปลอดภัย – การตรวจสอบกอน
3 คำอธิบาย ................................................... 3-1 การใชงาน ................................................... 5-1
มุมมองดานซาย ......................................... 3-1 6 การทำงานของรถจักรยานยนตและจุดที่สำคัญ
มุมมองดานขวา ......................................... 3-2 ของการขับขี่ ............................................... 6-1
การควบคุมและอุปกรณ ............................. 3-3 การสตารทขณะเครื่องเย็น .......................... 6-1
4 อุปกรณและหนาที่ในการควบคุม .............. 4-1 การใชรถ .................................................... 6-2
สวิทชกญุ แจ/การล็อคคอรถ ......................... 4-1 การเรงและการลดความเร็ว ........................ 6-3
สัญญาณไฟ ............................................... 4-3 การเบรค .................................................... 6-3
ชุดเรือนไมล ................................................ 4-3 คำแนะนำวิธีลดความสิ้นเปลื้องน้ำมันเชื้อเพลิง
สวิทชแฮนด ................................................ 4-4 (วิธีการประหยัดน้ำมันเชื้อเพลิง) ................. 6-5
คันเบรคหนา .............................................. 4-5 ระยะรันอินเครื่องยนต ................................. 6-5
คันเบรคหลัง ............................................... 4-6 การจอดรถ ................................................. 6-8
ฝาถังน้ำมันเชือ้ เพลิง ................................... 4-6 ขอควรจำทั่วไป .......................................... 6-9
น้ำมันเชือ้ เพลิง ........................................... 4-7 7 การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ ...... 7-1
ระบบบำบัดไอเสีย ..................................... 4-10 เครื่องมือประจำรถ ..................................... 7-2
คันสตารทเทา .......................................... 4-11 ตารางการบำรุงรักษาตามระยะสำหรับระบบ
เบาะนั่ง .................................................... 4-11 ควบคุมมลพิษแกสไอเสีย ............................. 7-3

1P7F8199_U2_00.pmd 4 7/10/2551, 14:22


สารบัญ
ตารางการบำรุงรักษาและการหลอลื่น การตรวจสอบระดับน้ำมันเบรค ................. 7-38
โดยทั่วไป ................................................... 7-4 การเปลี่ยนน้ำมันเบรค .............................. 7-39
การถอดและการติดตัง้ บังลมและฝาครอบ ..... 7-8 การตรวจสอบสภาพสายพาน .................... 7-40
การตรวจสอบหัวเทียน .............................. 7-11 การตรวจสอบและการหลอลืน่ สาย
น้ำมันเครื่องและการถายน้ำมันเครื่อง ........ 7-14 ควบคุม .................................................... 7-40
ชุดสงกำลังสุดทาย (เฟองทาย) .................. 7-18 การตรวจสอบและการหลอลืน่ คันเรง
ไสกรองอากาศและไสกรองอากาศ และสายคันเรง ......................................... 7-41
ชุดสายพานวี ............................................ 7-20 การหลอลื่นคันเบรคหนาและคัน
การปรับตั้งคารบูเรเตอร ............................ 7-26 เบรคหลัง ................................................. 7-41
การปรับตั้งรอบเครื่องยนตเดินเบา ............. 7-27 การตรวจสอบและการหลอลืน่ ขาตัง้ กลาง
การปรับตั้งระยะฟรีสายคันเรง ................... 7-28 และขาตั้งขาง ........................................... 7-42
การปรับตั้งระยะหางวาลว ........................ 7-29 การตรวจสอบโชคหนา .............................. 7-43
ยาง ......................................................... 7-30 การตรวจสอบชุดบังคับเลีย้ ว...................... 7-45
ลอรถ ....................................................... 7-33 การตรวจสอบลูกปนลอ ............................. 7-46
การตรวจสอบระยะฟรีคันเบรคหนา ........... 7-34 แบตเตอรี่ ................................................. 7-46
การปรับตั้งระยะฟรีคันเบรคหลัง ................ 7-35 การเปลีย่ นฟวส ......................................... 7-50
การตรวจสอบผาเบรคหนาและ การเปลีย่ นหลอดไฟหนา ........................... 7-52
ผาเบรคหลัง ............................................. 7-36 การเปลีย่ นหลอดไฟเลีย้ วหนา .................... 7-54

1P7F8199_U2_00.pmd 5 7/10/2551, 14:22


สารบัญ
การเปลีย่ นหลอดไฟทาย/หลอดไฟเบรค และ
หลอดไฟสัญญาณ .................................... 7-55
การแกไขปญหา ....................................... 7-57
ตารางการแกไขปญหา ............................. 7-58
8 การทำความสะอาดและการเก็บรักษา
รถจักรยานยนต .......................................... 8-1
การดูแลรักษา ............................................ 8-1
การเก็บรักษา ............................................. 8-5
9 ขอมูลจำเพาะ ............................................. 9-1
10 ขอมูลผูบริโภค .......................................... 10-1
ตัวเลขทีแ่ สดงถึงขอมูลรถของทาน.............. 10-1

1P7F8199_U2_00.pmd 6 7/10/2551, 14:22


UAU45762 ตำแหนงแผนฉลากตางๆ ทีส่ ำคัญ
UAU10383
ควรอานและทำความเขาใจกับแผนฉลากบนรถจักรยานยนตทกุ แผนใหละเอียด เนือ่ งจากมีขอ มูลทีส่ ำคัญเกีย่ ว
กับความปลอดภัยและการใชงานรถจักรยานยนตทถี่ กู ตอง หามลอกแผนฉลากออกจากตัวรถเด็ดขาด หากขอความ
บนแผนฉลากเลือนลางจนอานไดยาก ทานสามารถขอรับแผนฉลากใหมไดทผี่ จู ำหนายยามาฮา

1 2 3 4

1-1

1P7F8199_U2_01.pmd 7 6/10/2551, 13:05


วิธแี หงความปลอดภัย UAU10222

UAU10313
การขับขี่อยางปลอดภัย
เจาของรถจักรยานยนตที่รับผิดชอบ
ควรมีการตรวจสอบรถจักรยานยนตกอ นการขับขีท่ กุ
ในฐานะที่เปนเจาของรถจักรยานยนต ทานตองมี
ความรับผิดชอบตอการใชงานรถจักรยานยนตใหถกู ตอง ครั้ง เพื่อใหอยูในสภาพการใชงานที่ปลอดภัย หากไมมี
และปลอดภัย การตรวจสอบหรือบำรุงรักษาทีถ่ กู ตอง อาจเปนการเพิม่
รถจักรยานยนตเปนยานพาหนะทางเดี่ยว โอกาสในการเกิดอุบัติเหตุหรือทำใหชิ้นสวนเสียหายได
การใชงานและขับขี่จักรยานยนตอยางปลอดภัยขึ้น ดูหนา 5-1 สำหรับรายการตรวจสอบกอนการใชงาน
อยู กั บ เทคนิ ค การขั บ ขี่ ที่ ดี และความเชี่ ย วชาญของ ● รถจักรยานยนตนม ี้ กี ารออกแบบใหสามารถบรรทุก
ผขู บั ขี่ สิง่ จำเปนทีค่ วรทราบกอนการขับขีร่ ถจักรยานยนต ทัง้ ผขู บั ขีแ่ ละผโู ดยสารได
มีดังนี้ ● ผข ู บั ขีท่ ไี่ มมจี ติ สำนึกในการปฏิบตั ติ ามกฎจราจรมัก
สิ่งที่ควรทราบ: จะเปนตนเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ ทั้งในรถยนต
● ได รั บ คำแนะนำลั ก ษณะการทำงานของอุ ป กรณ และรถจักรยานยนต หากอุบัติเหตุเกิดขึ้นเพราะผู
สวนตางๆ ของรถจักรยานยนต ขับรถยนตมองไมเห็นรถจักรยานยนต ทานตอง
● ปฏิบัติตามคำเตือนและการบำรุงรักษาตามคูมือ
ทำใหผูขับรถยนตสามารถมองเห็นวาทานไดขับรถ
● ได รับการอบรมจากเจ าหนาที่ เกี่ ยวกั บข อกำหนด
ผานมาทางนี้ ซึง่ จะเปนการลดโอกาสทีจ่ ะทำใหเกิด
และเทคนิคในการขับขี่
● ควรเข า รั บ บริ ก ารด า นเทคนิ ค ตามที่ คู มื อ แนะนำ
อุบัติเหตุได
และ/หรื อ บำรุ ง รั ก ษาโดยต อ งทราบข อ มู ล ด า น เพราะฉะนั้น:
เทคนิค ● สวมเสือ้ ผาทีม่ สี สี วาง
2-1

1P7F8199_U2_02.pmd 8 6/10/2551, 17:17


วิธแี หงความปลอดภัย
● ระมัดระวังการขับขีร่ ถเมือ่ เขาใกลสแี่ ยกและผาน หักรถเขาโคงมากเกินไป (เนื่องจากมุมเอียงของ
สีแ่ ยกซึง่ บริเวณเหลานีม้ กั เกิดอุบตั เิ หตุบอ ยครัง้ ถนนไมเอียงพอรองรับกับความเร็วของรถ)
● ในการขับขี่ ใหผูขับขี่คนอื่นๆ สามารถมองเห็น ● มีการปฏิบตั ติ ามปายจำกัดความเร็ว และไมควร
ทาน เพือ่ หลีกเลีย่ งการเกิดอุบตั เิ หตุ ใช ค วามเร็ ว เกิ น กว า ป า ยจำกั ด ความเร็ ว ของ
● บอยครัง้ ทีก่ ารเกิดอุบตั เิ หตุมสี าเหตุมาจากผขู บั ขีไ่ ม ถนนตางๆ
มีความชำนาญในการขับขี่ และยังไมมีใบอนุญาต ● ทุกครัง้ เมือ่ มีการเลีย้ วหรือเปลีย่ นเสนทาง ควรมี
ในการขับขีร่ ถ การใหสัญญาณกอน เพือ่ ใหผขู บั ขีร่ ถคันอืน่ เห็น
● ทำการขอใบอนุญาตขับขีแ่ ละเรียนรกู ฎขอบังคับ อยางชัดเจน
ของใบอนุญาตขับขีร่ ถจักรยานยนตใหเขาใจ ● ทานัง่ ของผขู บั ขีแ่ ละผโู ดยสารควรมีทา นัง่ ทีถ่ กู ตอง
● ทราบถึงขอจำกัดและทักษะในการขับขี่รถ เพื่อ ● ผขู ับขีค่ วรจะจับแฮนดรถทัง้ 2 ขาง และวางเทา
ชวยใหทา นสามารถหลีกเลีย่ งอุบตั เิ หตุได ที่ พั ก เท า ทั้ ง 2 ข า ง เพื่ อ ควบคุ ม การขั บ ขี่ ร ถ
● ทางบริษัทสนับสนุนใหทานขับขี่รถจักรยานยนต จักรยานยนตใหดี
ตามกฎจราจร ซึ่งเมื่อทานไมทำตามกฎจราจร ● ผูโดยสารควรจับผูขับรถตลอดเวลา และจับรถ
ก็จะเกิดเปนความคุนเคยจนติดเปนนิสัย หรือทีจ่ บั กันตกดานหลัง โดยจับทัง้ 2 มือ และวาง
● บอยครั้งที่อุบัติเหตุที่เกิดจากความผิดพลาดของผู เทาทัง้ 2 ขางไวบนทีพ่ กั เทาของผโู ดยสาร
ขับขี่ ซึง่ ปกติอบุ ตั เิ หตุทเี่ กิดขึน้ เชน วิง่ เขาโคงดวย ● เมือ่ ขับขีร่ ถไมควรดืม่ สุราหรือเสพยาเสพยตดิ อืน่ ๆ
ความเร็วสูงเกินไปทำใหรถวิง่ เลยโคงของถนน หรือ
2-2

1P7F8199_U2_02.pmd 9 6/10/2551, 17:17


วิธแี หงความปลอดภัย
เครื่องแตงกายที่เหมาะสม ตองการจะขับขีร่ ถจักรยานยนตทกุ ครัง้ ควรสวมเสือ้
โดยส ว นใหญ ค นที่ เ สี ย ชี วิ ต ด ว ยอุ บั ติ เ หตุ จ ากรถ ผาคลุมทัง้ ขา ขอเทา และเทา
จักรยานยนตมาจากการไดรับบาดเจ็บทางศีรษะ ดังนั้น ● ผูนั่งซอนทายควรศึกษาทำความเขาใจกับคำแนะ
ควรสวมหมวกกันน็อค เพื่อปองกันอุบัติเหตุหรือลดการ นำขางตนใหเขาใจอยางถองแท ซึง่ จะเปนการชวย
บาดเจ็บทางศีรษะ ปองกันอุบัติเหตุไดดวย
● สวมหมวกกันน็อคทุกครัง ้ เพือ่ ปองกันอุบตั เิ หตุ
● คลุ ม ใบหน า หรื อ สวมแว น กั น ลม เพื่ อ ป อ งกั น หลีกเลี่ยงควันพิษจากคารบอนมอน็อกไซด
อันตรายที่จะเกิดขึ้นกับสายตา ซึ่งสามารถชวยลด ไอเสียจากเครือ่ งยนตทงั้ หมดมีสารคารบอนมอน็อก
การบาดเจ็บและชวยลดอันตรายที่จะเกิดขึ้นได ไซดอยู ซึ่งเปนอันตรายถึงแกชีวิตได การหายใจโดยสูด
● สวมเสื้ อ คลุ ม รองเท า กางเกง ถุ ง มื อ และอื่ น ๆ
สารคารบอนมอน็อกไซดเขาไปอาจทำใหปวดหรือเวียน
สามารถปองกันหรือลดรองรอยการถลอกได ศีรษะ เซือ่ งซึม คลืน่ ไส เปนลม และอาจถึงแกชวี ติ ได
● ไมควรสวมเสือ ้ ผาทีห่ ลวมหรือคับจนเกินไป มิฉะนัน้
อาจทำใหเสือ้ ผาไปพันกับคันเบรค ทีพ่ กั เทาหรือลอ คารบอนมอน็อกไซดเปนกาซทีไ่ มมสี ี ไมมกี ลิน่ และไมมี
ทำใหเสียการควบคุม ซึ่งเปนตนเหตุของการบาด รส ซึง่ อาจมีอยแู ตทา นมองไมเห็นหรือไมไดกลิน่ กาซไอเสีย
เจ็บหรือการเกิดอุบตั เิ หตุ ใดๆ เลยก็ได ระดับความอันตรายของคารบอนมอน็อก
● ไมควรสัมผัสเครือ ่ งยนตหรือทอไอเสียขณะทีเ่ ครือ่ ง ไซด ส ามารถเพิ่ ม ขึ้ น ได ร วดเร็ ว มาก และท า นอาจถู ก
ยนตกำลังทำงานหรือหลังการขับขี่เพราะเครื่อง ปกคลุมจนเปนอันตรายถึงแกชีวิตได นอกจากนี้ ระดับ
ยนตจะรอนมาก และสามารถลวกผิวหนังได เมื่อ ความอั น ตรายของคาร บ อนมอน็ อ กไซด ยั ง สามารถ
2-3

1P7F8199_U2_02.pmd 10 6/10/2551, 17:17


วิธแี หงความปลอดภัย
ระเหยอยไู ดหลายชัว่ โมงหรือหลายวัน ในบริเวณทีอ่ ากาศ การบรรทุก
ถายเทไดไมสะดวก หากทานพบวามีอาการคลายกับได การเพิม่ อุปกรณตกแตงหรือสิง่ ของบรรทุกจะทำใหรถ
รับพิษจากคารบอนมอน็อกไซด ใหออกจากบริเวณนั้น จักรยานยนตรบั น้ำหนักมากขึน้ สงผลใหบงั คับทิศทางได
ทันที สูดอากาศบริสทุ ธิ์ และพบแพทย ไมดี ดังนั้นถาเปนไปได ควรหลีกเลี่ยงการตกแตงหรือ
● อยาติดเครือ ่ งบริเวณพืน้ ทีใ่ นอาคาร แมวา ทานถาย บรรทุกของในรถจักรยานยนต ควรมีการขับขี่ดวยความ
เทอากาศโดยใชพัดลมหรือเปดหนาตางและประตู ระมั ด ระวั ง เป น พิ เ ศษ ดั ง นั้ น การบรรทุ ก หรื อ ติ ด ตั้ ง
เนือ่ งจากจะเปนการทำใหคารบอนมอน็อกไซดเพิม่ อุปกรณตกแตงเสริมของรถจักรยานยนต ใหปฏิบัติตาม
ระดับความอันตรายไดรวดเร็วมาก คำแนะนำดังตอไปนี้:
● อยาติดเครื่องบริเวณที่อากาศถายเทไดไมสะดวก การรับน้ำหนักของผขู บั ขี่ ผโู ดยสาร อุปกรณตกแตง
หรือบริเวณทีถ่ กู ปดลอมไวบางสวน เชน โรงเก็บรถ และสิ่งของบรรทุกจะมีผลตอความสามารถในการ
โรงรถ หรือทีจ่ อดรถซึง่ สรางโดยการตอหลังคาจาก ขับขี่ หากขับขี่รถจักรยานยนตที่บรรทุกน้ำหนัก
ดานขางตึก มากเกินกวาน้ำหนักบรรทุกสูงสุด อาจทำใหเกิด
● อยาติดเครือ่ งนอกอาคารในบริเวณทีไ่ อเสียสามารถ อุบตั เิ หตุได
ถูกดูดเขาไปในอาคารโดยผานชองเปดตางๆ เชน
หนาตาง และประตู น้ำหนักบรรทุกสูงสุด:
ควรบรรทุกน้ำหนักใหเหมาะสมกับสภาพการขับขี่

2-4

1P7F8199_U2_02.pmd 11 6/10/2551, 17:17


วิธแี หงความปลอดภัย
ขณะที่มีการบรรทุกของ ควรมีการระมัดระวังและเอาใจ ● ไมควรนำของที่มีขนาดใหญหรือมีน้ำหนักมาก
ใสดงั ตอไปนี:้ มาผูกติดกับแฮนดจบั โชคอัพดานหนา บังโคลน
● สิง ่ ของบรรทุกและอุปกรณตกแตง ควรจะมีน้ำหนัก ดานหนา ตัวอยางเชน ถุงนอน ถุงผาหม เต็นท
เทาที่จำเปนเทานั้น และใหบรรจุแนบสนิทกับรถ เพราะจะทำใหการหักเลีย้ วไมดี หรือทำใหคอรถ
จักรยานยนต ใหบรรจุสงิ่ ของทีม่ นี ้ำหนักมากสุดไว หมุนฝดได
ใกลตรงกลางของรถจักรยานยนตใหมากทีส่ ดุ และ ● รถจักรยานยนตรุนนี้ไมไดออกแบบมาเพื่อ
กระจายน้ำ หนั ก ให เ ท า กั น ทั้ ง 2 ข า งของรถ ใชลากเทรลเลอรหรือติดรถพวงดานขาง
จักรยานยนต โดยมีความสมดุลและไมเสียการทรง
ตั ว อุปกรณตกแตงแทของยามาฮา
● การเปลีย ่ นน้ำหนักอาจจะทำใหเสียสมดุลทันที จึง การเลือกอุปกรณตกแตงสำหรับรถจักรยานยนตของ
ต อ งแน ใ จว า การบรรทุ ก น้ำ หนั ก และการเพิ่ ม ทานเปนสิ่งสำคัญ อุปกรณตกแตงแทของยามาฮาซึ่งมี
อุปกรณตกแตงจะไมทำใหรถเสียสมดุล กอนการขับ จำหนายทีต่ วั แทนจำหนายยามาฮาเทานัน้ จะไดรบั การ
ออกแบบ ทดสอบ และรับรองจากยามาฮาแลววาเหมาะ
ขี่ ตรวจสอบสิง่ ของทีไ่ มจำเปนและนำออกจากรถ
สมในการใชงานกับรถจักรยานยนตของทาน
● ปรับระบบกันสะเทือนใหเหมาะสมกับสิ่งของ
บริษัทจำนวนมากที่ไมเกี่ยวของกับยามาฮาไดผลิตชิ้น
บรรทุก และตรวจสอบสภาพและความดันลม ส ว นและอุ ป กรณ ต กแต ง หรื อ ทำการดั ด แปลงรถ
ยาง จักรยานยนตยามาฮา ทางยามาฮาไมไดทำการทดสอบ

2-5

1P7F8199_U2_02.pmd 12 6/10/2551, 17:17


วิธแี หงความปลอดภัย
สินคาทีบ่ ริษทั เหลานีผ้ ลิต ดังนัน้ ยามาฮาจึงไมสามารถ ตองรับผิดชอบตอการบาดเจ็บอันเนื่องมาจากการดัด
ใหการรับประกันหรือแนะนำใหทานใชอุปกรณตกแตง แปลงรถจักรยานยนตอกี ดวย
ทดแทนทีไ่ มไดจำหนายโดยยามาฮา หรือการดัดแปลงที่ ควรทำตามคำแนะนำเชนเดียวกับหัวขอ “การบรรทุก”
ไมไดรับการแนะนำเปนกรณีพิเศษโดยยามาฮาได นอก เมือ่ มีอปุ กรณตกแตงเพิม่ ขึน้ ดังนี้
จากสิ น ค า ที่ มี ก ารจำหน า ยหรื อ ติ ด ตั้ ง โดยตั ว แทน ● ไม ค วรติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ ต กแต ง หรื อ บรรทุ ก สิ่ ง ของที่

จำหนายยามาฮาเทานั้น อาจจะทำใหรถเสียสมดุล เพราะจะทำใหสมรรถนะ


ของรถจักรยานยนตลดลง ดังนัน้ กอนทีจ่ ะมีการติด
ชิน้ สวนหรืออุปกรณตกแตงทดแทน และการดัด ตั้งอุปกรณเสริมเขาไป ตองมีความระมัดระวังและ
แปลง ตรวจสอบใหแนใจวาจะไมทำใหระยะความสูงใต
ทานอาจพบวาสินคาทดแทนเหลานี้มีการออกแบบ ทองรถต่ำลงหรือมุมของการเลีย้ วนอยลง ระยะยุบ
และคุณภาพคลายกับอุปกรณตกแตงแทของยามาฮา ตัวของโชคถูกจำกัด การหมุนคอรถหรือควบคุมการ
โปรดระลึกวาอุปกรณตกแตงทดแทนหรือการดัดแปลง ทำงานไมได หรือมีการบดบังลำแสงของไฟหนาหรือ
เหลานีไ้ มเหมาะสมกับรถจักรยานยนตของทาน เนือ่ งจาก ทำใหเกิดการสะทอนเขาตาได
อั น ตรายที่ อ าจกั บ ตั ว ท า นหรื อ ผู อื่ น การติ ด ตั้ ง สิ น ค า ● การปรับแตงในสวนของแฮนดบังคับหรือโชคอัพ
ทดแทนเหลานีห้ รือทำการดัดแปลงรถจักรยานยนตโดยผู หน า จะทำให เ กิ ด ความไม เ สถี ย ร เพราะการ
อืน่ ซึง่ ทำใหเกิดการเปลีย่ นแปลงตอลักษณะการออกแบบ กระจายน้ำหนักของพืน้ ทีไ่ มสมดุล สูญเสียความ
หรือการใชงานรถจักรยานยนต สามารถทำใหทา นหรือผู ลลู มตามหลักอากาศพลศาสตร ถามีการปรับแตง
อื่นเกิดการบาดเจ็บสาหัสหรือถึงแกชีวิตได และทานยัง เพิม่ เติมบริเวณพืน้ ทีข่ องแฮนดบงั คับหรือโชคอัพ
2-6

1P7F8199_U2_02.pmd 13 6/10/2551, 17:17


วิธแี หงความปลอดภัย
หนา สิง่ จำเปนทีต่ อ งมีการคำนึงถึงคือในเรือ่ งของ ● การใสอปุ กรณไฟฟาเพิม่ ขึน้ ในรถจักรยานยนต หรือ
ขนาดน้ำหนักที่ตองมีน้ำหนักเบาที่สุด ดัดแปลง ควรทำดวยความระมัดระวังอยางมาก
● อุปกรณตกแตงสวนใหญหรือสวนมากอาจจะมี ถ า อุ ป กรณ ไ ฟฟ า ที่ ติ ด ตั้ ง นั้ น มี ข นาดกำลั ง ไฟฟ า
ผลกระทบอยางรุนแรงในเรื่องของความสมดุล มากกวาระบบไฟฟาของรถจักรยานยนต จะทำให
ของตัวรถจักรยานยนต เนือ่ งจากสงผลตอความ เกิดความเสียหาย และเปนตนเหตุของความเสีย
ลูลมตามหลักอากาศพลศาสตร ซึ่งจะทำใหเสีย หายในระบบไฟหรือกำลังของเครือ่ งยนต
การทรงตัวเนือ่ งจากแรงลม อุปกรณตกแตงเหลา
นี้อาจจะทำใหเสียการทรงตัวเมื่อวิ่งผานรถยนต ยางหรือขอบลอทดแทน
หรือพาหนะขนาดใหญ ยางหรือขอบลอที่มาพรอมกับรถจักรยานยนตของ
● เนื่องจากอุปกรณตกแตงตางๆ สามารถทำให ทานไดรบั การออกแบบมาใหเหมาะสมกับสมรรถนะและ
ตำแหนงการขับขีเ่ ปลีย่ นแปลงไป ซึง่ จะทำใหการ ใหความสอดคลองในการทำงานรวมกันกับระบบการ
เคลื่อนไหวอยางอิสระของผูขับขี่มีขอจำกัด จึง ควบคุม การเบรค และความสบายที่สุดแลว ยาง ขอบ
ส ง ผลต อ ความสามารถในการควบคุ ม รถ ลอ และขนาดอืน่ ๆ อาจไมเหมาะสม ดูหนา 7-30 สำหรับ
จักรยานยนต ดังนั้นจึงไมแนะนำใหตกแตงรถ ขอมูลจำเพาะและรายละเอียดอื่นๆ เกี่ยวกับยาง เมื่อ
ดวยอุปกรณที่บริษัทไมไดแนะนำ ทำการเปลีย่ นยาง

2-7

1P7F8199_U2_02.pmd 14 6/10/2551, 17:17


วิธแี หงความปลอดภัย
UAU10372
● แผนเบรคอาจเปยกเมื่อลางรถจักรยานยนต หลัง
จุดขับขี่ปลอดภัยเพิ่มเติม จากลางรถจักรยานยนตแลว ใหตรวจสอบเบรคกอน
● ตองแนใจวาใหสัญญาณชัดเจนขณะเลี้ยว ขับขี่
● การเบรคบนถนนเปยกอาจทำไดยากลำบาก ให ● สวมหมวกกันน็อค ถุงมือ กางเกงขายาว (บริเวณ
หลีกเลีย่ งการเบรครุนแรงเพราะรถจักรยานยนตอาจ ชายกางเกงและขอเทาเรียวลีบลงเพื่อไมใหปลิว
ลืน่ ไถลได ควรคอยๆ เบรคเมือ่ จะหยุดบนพืน้ ผิวเปยก สะบัด) และเสือ้ แจ็คเก็ตสีสดเสมอ
● คอยๆ ลดความเร็วลงเมือ่ ถึงหัวมุมทางแยกหรือทาง ● หามบรรทุกสัมภาระบนรถจักรยานยนตมากเกินไป
เลีย้ ว เมือ่ เลีย้ วขามพนแลว จึงคอยๆ เรงความเร็ว เพราะรถจักรยานยนตที่บรรทุกเกินกำลังจะไมมั่น
เพิม่ ขึน้ คง ใชเชือกที่แข็งแรงมัดสัมภาระเขากับที่วางของ
● ตองระมัดระวังเมือ่ ขับผานรถยนตทจี่ อดนิง่ อยู ผขู บั ทายรถ (ถามี) ใหแนนหนา การบรรทุกที่ไมแนน
รถอาจมองไมเห็นทาน และเปดประตูออกมาขวาง หนาจะทำใหรถจักรยานยนตทรงตัวไดไมมั่นคง
ทางที่รถวิ่งผาน และอาจรบกวนสมาธิของผขู ับขีไ่ ด (ดูหนา 2-4)
● ทางขามรถไฟ รางรถราง แผนเหล็กบนสถานที่กอ
สรางปูถนน และฝาทอระบายน้ำจะลืน่ มากเมือ่ เปยก
ใหชะลอความเร็วและขับขามผานดวยความระมัด
ระวัง รักษาการทรงตัวของรถจักรยานยนตใหดี ไม
เชนนัน้ อาจลืน่ ลมได
2-8

1P7F8199_U2_02.pmd 15 6/10/2551, 17:17


วิธแี หงความปลอดภัย
UAUU0030

การเลือกหมวกนิรภัยที่ถูกตอง (หมวกกันน็อค)
• การสวมหมวกนิรภัยที่ถูกตองจะสามารถปองกัน
ศีรษะของผขู บั ขีจ่ ากอุบตั เิ หตุ หมวกนิรภัยนับวาเปน การสวมหมวกทีถ่ กู ตอง
สวนหนึ่งของรถจักรยานยนตและสิ่งจำเปนสำหรับ
ผูขับขี่รถจักรยานยนตโดยเฉพาะ ดังนั้นการเลือก
หมวกนิ ร ภั ย จะต อ งคำนึ ง ถึ ง คุ ณ สมบั ติ ดั ง หั ว ข อ
ตอไปนี้
1. เลื อ กหมวกนิ ร ภั ย ที่ มี ค วามปลอดภั ย ตาม
มาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.)
2. ตองเปนหมวกนิรภัยทีไ่ มไดรบั การกระแทกอยาง
รุนแรงมากอน
3. หมวกนิรภัยจะตองกระชับกับศีรษะผขู บั ขี่ ไมควร
คับหรือหลวมเกินไป การสวมหมวกทีไ่ มถกู ตอง

2-9

1P7F8199_U2_02.pmd 16 6/10/2551, 17:17


วิธแี หงความปลอดภัย
การสวมหมวกนิรภัยที่เหมาะสม (หมวกกันน็อค) ชนิดของหมวกนิรภัย (หมวกกัน
• เมือ่ สวมหมวกนิรภัย ตองแนใจวาสายรัดคางทีห่ มวก น็อค)
นิรภัยไดรดั คางผขู บั ขีแ่ ลว ถาไมไดรดั จะทำใหหมวก 1. หมวกนิรภัยแบบครึง่ ใบ
นิรภัยเลือ่ นหลุดจากศีรษะ ซึง่ อาจเกิดอุบตั เิ หตุตาม เหมาะสมสำหรับการขับขี่ที่
มา และประมาณ 70% ของผูเสียชีวิตที่ประสบ ความเร็วต่ำเทานั้น
อุ บั ติ เ หตุ จ ากรถจั ก รยานยนต ไ ด รั บ บาดเจ็ บ ทาง
สมอง ดังนั้นควรสวมหมวกนิรภัยเพื่อปองกันการ 2. หมวกนิรภัยแบบเต็มใบเปดหนา
เหมาะสมสำหรับการขับขี่ที่
บาดเจ็บจากการเกิดอุบตั เิ หตุ (เลือกสวมหมวกนิรภัย ความเร็วต่ำถึงความเร็วปานกลาง
ที่ ผ า นมาตรฐานอุ ต สาหกรรม เช น หมวกนิ ร ภั ย
ของยามาฮา)

3. หมวกนิรภัยแบบเต็มใบ
เหมาะสมสำหรับการขับขี่ที่
ความเร็วปานกลางถึงความเร็วสูง

2-10

1P7F8199_U2_02.pmd 17 6/10/2551, 17:17


คำอธิบาย UAU10401

UAU10410

มุมมองดานซาย

1. ตะขอแขวนอเนกประสงค (หนา 4-14) 4. คันสตารทเทา (หนา 4-11)


2. สกรูปรับตัง้ รอบเดินเบา (หนา 7-27) 5. โบลท A ถายน้ำมันเครือ่ ง (หนา 7-14)
3. กลองอเนกประสงค (หนา 4-12) 6. โบลท B ถายน้ำมันเครือ่ ง (หนา 7-14)

3-1

1P7F8199_U2_03.pmd 18 6/10/2551, 13:05


คำอธิบาย
UAU10420

มุมมองดานขวา

7. ฝาปดชองเติมน้ำมันเครื่อง (หนา 7-14)


8. ไสกรองอากาศ (หนา 7-20)
9. แบตเตอรี่ (หนา 7-46)
10. ฟวส (หนา 7-50)

3-2

1P7F8199_U2_03.pmd 19 6/10/2551, 13:05


คำอธิบาย
UAU10430

การควบคุมและอุปกรณ

1. คันเบรคหลัง (หนา 4-6) 5. สวิทชสตารท (หนา 4-5)


2. สวิทชแฮนดซาย (หนา 4-4) 6. ปลอกคันเรง (หนา 7-28)
3. ชุดเรือนไมล (หนา 4-3) 7. คันเบรคหนา (หนา 4-6)
4. มิเตอรวัดระดับน้ำมันเชื้อเพลิง (หนา 4-3)
3-3

1P7F8199_U2_03.pmd 20 6/10/2551, 13:05


UAU1044E อุปกรณและหนาทีใ่ นการควบคุม
¢âÕ·π–π”
เมือ่ ทำการสตารทเครือ่ งยนต ไฟหนา ไฟหรีห่ นา ไฟ
เรือนไมล และไฟทายจะติดโดยอัตโนมัติ
UAU10661
OFF (ปด)
ตำแหนงสวิทชปด ระบบไฟฟาทุกวงจรดับ ลูกกุญแจ
ถอดออกได
UAU10460
สวิทชกุญแจ/การล็อคคอรถ UWA10061

สวิทชกญ
ุ แจ/ใชสำหรับควบคุมวงจรไฟ จุดระเบิด และ
วงจรไฟสัญญาณในรถทั้งคัน และใชในการล็อคคอรถ ห า มบิ ด ลู ก กุ ญ แจไปที่ ตำแหน ง “OFF” หรื อ
จักรยานยนต ตำแหนงตางๆ มีคำอธิบายอยดู า นลาง “LOCK” ขณะที่ ร ถจั ก รยานยนต กำลั ง เคลื่ อ นที่
UAU37441
ON (เปด) มิ ฉ ะนั้ น ระบบไฟฟ า ทั้ ง หมดจะดั บ ซึ่ ง อาจทำให
ตำแหนงสวิทชเปดระบบไฟใชงานไดทกุ วงจร เครือ่ ง สูญเสียการควบคุมหรือเกิดอุบัติเหตุได
ยนตสามารถสตารทติดได ลูกกุญแจถอดออกไมได

4-1

1P7F8199_U2_04.pmd 21 6/10/2551, 13:56


อุปกรณและหนาทีใ่ นการควบคุม

UAU10701 1. กด
LOCK (ล็อค) 2. บิด
คอรถถูกล็อค และระบบไฟฟาทุกวงจรดับ ลูกกุญแจ การปลดล็อคคอรถ
สามารถถอดออกได กดและบิดลูกกุญแจใหอยทู ตี่ ำแหนง “OFF”
การล็อคคอรถ
1. หมุนแฮนดบังคับเลี้ยวไปทางดานซายจนสุด
2. กดและบิ ด ลู ก กุ ญ แจจากตำแหน ง “OFF” ไปที่
ตำแหนง “LOCK” ขณะทีบ่ ดิ ใหกดลูกกุญแจดวย
3. ดึงลูกกุญแจออก
4-2

1P7F8199_U2_04.pmd 22 6/10/2551, 13:56


อุปกรณและหนาทีใ่ นการควบคุม

1. สัญญาณไฟเลี้ยวซาย “ ” 1. ชุดเรือนไมล
2. สัญญาณไฟเลี้ยวขวา “ ” 2. ชองตัวเลขบันทึกระยะทาง
3. สัญญาณเตือนไฟสูง “ ” UAU10980 3. มิเตอรบอกระดับน้ำมันเชื้อเพลิง
สัญญาณไฟ UAU11020 ชุดเรือนไมล
UAUU0080

สัญญาณไฟเลีย้ ว “ ” ชุดเรือนไมลคืออุปกรณที่ประกอบไปดวยหนาปด
สัญญาณไฟจะกะพริบพรอมกับการเปดสวิทชควบ เรือนไมล มิเตอรบอกระยะทาง และมิเตอรบอกระดับ
คุมสัญญาณไฟเลี้ยวดานซายหรือขวา น้ำมันเชือ้ เพลิง หนาปดเรือนไมลจะแสดงถึงความเร็วใน
สัญญาณเตือนไฟสูง “ ”
UAU11080
การขับขี่ สวนมิเตอรบอกระยะทางจะบอกระยะทางทีข่ บั
ขี่ทั้งหมด และมิเตอรบอกระดับน้ำมันเชื้อเพลิงจะบอก
สัญญาณไฟนีจ้ ะสวางขึน้ เมือ่ เปดสวิทชไฟสูง
ปริมาณน้ำมันเชือ้ เพลิงทีม่ ใี นถัง
4-3

1P7F8199_U2_04.pmd 23 6/10/2551, 13:56


อุปกรณและหนาทีใ่ นการควบคุม
UAU12460

สวิทชไฟเลีย้ ว “ / ”
เมื่อตองการใหสัญญาณไฟเลี้ยวขวา ดันสวิทชไปที่
“ ” สัญญาณไฟเลี้ยวดานขวาจะติด เมื่อตองการ
ใหสญ ั ญาณไฟเลีย้ วซาย ดันสวิทชไปที่ “ ” สัญญาณ
ไฟเลี้ยวดานซายจะติด เมื่อปลอยสวิทช สวิทชจะมาอยู
ทีต่ ำแหนงตรงกลาง เมือ่ ตองการยกเลิกสัญญาณไฟเลีย้ ว
ใหกดปุมสวิทชไฟที่ตำแหนงตรงกลาง
1. สวิทชไฟสูง/ต่ำ “ / ”
UAU12500
2. สวิทชไฟเลี้ยว “ / ”
สวิทชแตร “ ”
3. สวิทชแตร “ ”
UAU12347 เมือ่ ตองการใชสญ
ั ญาณแตร ใหกดทีส่ วิทชแตร
สวิทชแฮนด
UAU12400

สวิทชไฟสูง/ต่ำ “ / ”
เลือ่ นสวิทชไฟใหอยทู ี่ “ ” สำหรับเปดไฟสูง เลือ่ น
สวิทชไฟใหอยทู ี่ “ ” สำหรับเปดไฟต่ำ
4-4

1P7F8199_U2_04.pmd 24 6/10/2551, 13:56


อุปกรณและหนาทีใ่ นการควบคุม

1. สวิทชสตารทมือ “ ” 1. คันเบรคหนา
UAUM1132
UAU12900
สวิทชสตารทมือ “ ”
กดสวิทชพรอมกับบีบคันเบรคหนาหรือหลัง เพื่อให คันเบรคหนา
เครื่ อ งยนต ทำงาน ดู ห น า 6-1 สำหรั บ คำแนะนำใน คันเบรคหนาติดตัง้ อยบู นแฮนดบงั คับเลีย้ วดานขวา
การสตารทเครื่องยนต ในการเบรคให กำคันเบรคเขากับแฮนดบังคับเลี้ยว

4-5

1P7F8199_U2_04.pmd 25 6/10/2551, 13:56


อุปกรณและหนาทีใ่ นการควบคุม

1. คันเบรคหลัง 1. ฝาถังน้ำมันเชื้อเพลิง
UAU12950
a. เปด
b. ปด
คันเบรคหลัง UAU37471
คันเบรคหลังติดตัง้ อยบู นแฮนดบงั คับเลีย้ วดานซาย ฝาถังน้ำมันเชือ้ เพลิง
ในการเบรคใหกำคันเบรคเขากับแฮนดบังคับเลี้ยว
เมื่อตองการเปดฝาถังน้ำมันเชื้อเพลิง
1. เปดเบาะ (ดูหนา 4-11 ในการเปด-ปดเบาะ)
2. ใชมือหมุนฝาถังน้ำมันในลักษณะทวนเข็มนาฬิกา
และดึงออก

4-6

1P7F8199_U2_04.pmd 26 6/10/2551, 13:56


อุปกรณและหนาทีใ่ นการควบคุม

การปดฝาถังน้ำมันเชื้อเพลิง 1. ทอเติมน้ำมัน
2. ระดับน้ำมัน
1. ใสฝาถังบนถังน้ำมันทีเ่ ปดอยู และหมุนในลักษณะ UAU13212

ตามเข็มนาฬิกาจนกระทัง่ จุดมารค “ ” บนฝาและ น้ำมันเชือ้ เพลิง


ถังน้ำมันอยูในตำแหนงเดียวกัน ดูใหแนใจวามีน้ำมันเชือ้ เพลิงในถังอยางเพียงพอ
2. ปดเบาะนั่งเขาที่เดิม UWA10881
UWA11091

น้ำมันเบนซินและไอน้ำมันเบนซินเปนสารไวไฟ
หลังจากมีการเติมน้ำมันเชือ้ เพลิง ตรวจสอบให สูง ใหปฏิบตั ติ ามคำแนะนำตอไปนี้ เพือ่ หลีกเลีย่ งการ
แนใจวาฝาถังน้ำมันปดแนนสนิทแลว น้ำมันเชื้อ เกิดเพลิงไหมและการระเบิด และเพือ่ การลดโอกาส
เพลิงที่รั่วออกมาอาจทำใหเกิดอันตรายจากเพลิง
ไหมได ในการไดรบั บาดเจ็บขณะเติมน้ำมันเชือ้ เพลิง
4-7

1P7F8199_U2_04.pmd 27 6/10/2551, 13:56


อุปกรณและหนาทีใ่ นการควบคุม
1. กอนเติมน้ำมันเชือ้ เพลิง ใหดบั เครือ่ งยนตกอ น และ UWA15151

ดูใหแนใจวาไมมีผูใดนั่งอยูใกลกับรถจักรยานยนต
หามเติมน้ำมันเชือ้ เพลิงขณะสูบบุหรีห่ รือขณะทีอ่ ยู น้ำมันเบนซินเปนสารมีพิษ และสามารถทำให
ใกลกับประกายไฟ เปลวไฟ หรือแหลงจุดระเบิด บาดเจ็บหรือเสียชีวติ ได ตองใชดว ยความระมัดระวัง
ตางๆ เชน ไฟแสดงการทำงานของเครือ่ งทำน้ำรอน หามใชปากดูดน้ำมันเบนซิน หากทานกลืนน้ำมัน
และเครือ่ งอบผา เบนซิ น เข า ไปเพี ย งเล็ ก น อ ย หรื อ สู ด ไอน้ำ มั น
2. ไมควรเติมน้ำมันเชื้อเพลิงจนลนถัง หยุดเติมเมื่อ เบนซินเขาไปจำนวนมาก หรือน้ำมันเบนซินเขาตา
ระดับน้ำมันเชื้อเพลิงถึงปลายทอเติมน้ำมัน เนื่อง ใหไปพบแพทยทันที หากน้ำมันเบนซินสัมผัสผิว
จากน้ำมันเชื้อเพลิงจะขยายตัวเมื่อรอนขึ้น ความ หนัง ใหลา งดวยสบแู ละน้ำ หากน้ำมันเบนซินเลอะ
ร อ นจากเครื่ อ งยนต ห รื อ แสงอาทิ ต ย อ าจทำให เสื้อผา ใหเปลี่ยนเสื้อผาทันที
น้ำมันเชือ้ เพลิงไหลลนออกมาจากถังได
UAUU0040
3. เช็ดน้ำมันเชือ้ เพลิงทีห่ กทันที ขอสังเกต: เช็ดน้ำมัน
เชือ้ เพลิงทีห่ กทันทีดว ยผาสะอาด แหง และนมุ น้ำมันเชื้อเพลิงที่แนะนำ:
เนือ่ งจากน้ำมันเชือ้ เพลิงอาจทำความเสียหาย แกสโซลีน (เบนซิน) หรือแกสโซฮอล ตั้งแต 91
ใหกบั สีรถหรือชิน้ สวนพลาสติก [UCA10071] ขึ้นไป
ความจุถังน้ำมันเชื้อเพลิง:
4. ดูใหแนใจวาไดปด ฝาปดถังน้ำมันเชือ้ เพลิงแนนสนิท
4.8 ลิตร
ดีแลว
4-8

1P7F8199_U2_04.pmd 28 6/10/2551, 13:56


อุปกรณและหนาทีใ่ นการควบคุม
UCA11400
ไรก็ ต าม เมื่ อ เติ ม น้ำ มั น เชื้ อ เพลิ ง แก ส โซฮอล อาจมี
¢âÕ —߇°µ ผลกระทบตอประสิทธิภาพการสตารทเครื่องยนตใน
ใชเฉพาะน้ำมันเบนซินแบบไรสารตะกัว่ เทานัน้ ขณะเครื่องเย็น ดังนั้นจึงขอใหทานปฏิบัติตามหัวขอ
การใชน้ำมันเบนซินที่มีสารตะกั่วจะทำใหชิ้นสวน การสตารทเครื่องขณะเครื่องเย็น
ภายในของเครือ่ งยนต เชน วาลวและแหวนลูกสูบ
รวมทั้งระบบไอเสียเสียหายได ¢âÕ·π–π”
เมือ่ เกิดปญหากับเครือ่ งยนตอนั เปนผลมาจากการใช
น้ำมันเชือ้ เพลิงแกสโซฮอล ใหทา นติดตอกับศูนยบริการ
น้ำมันเชื้อเพลิงแกสโซฮอล ยามาฮาทันที
น้ำมันเชื้อเพลิงแกสโซฮอลคือ น้ำมันเบนซินไรสาร
ตะกัว่ ทีม่ สี ว นผสมของเอทานอลแอลกอฮอล ซึง่ ปจจุบนั
จะมีสว นผสมของน้ำมันเบนซิน 90% และสวนผสมของ
เอทานอลแอลกอฮอล 10% เรียกสูตรสวนผสมนีว้ า E10
ปจจุบันน้ำมันเชื้อเพลิงแกสโซฮอลที่มีสวนผสมของ
เอทานอลแอลกอฮอล 10% [E10] มีออกเทนตัง้ แต 91
ขึน้ ไป สามารถใชในรถจักรยานยนตยามาฮาได แตอยาง

4-9

1P7F8199_U2_04.pmd 29 6/10/2551, 13:57


อุปกรณและหนาทีใ่ นการควบคุม
UAU1343
● อยาปลอยใหเครือ่ งยนตเดินเบานานเกินกวา
ระบบบำบัดไอเสีย 2-3 นาที การปลอยใหเครือ่ งยนตเดินเบาเปน
รถจักรยานยนตรนุ นีม้ รี ะบบบำบัดไอเสีย (catalytic เวลานาน จะทำใหเครื่องยนตรอนเกินไป
converter) ภายในระบบไอเสียของรถ
UCA10701
UWA10862
¢âÕ —߇°µ
ระบบไอเสียจะมีความรอนหลังจากมีการใช ใชเฉพาะน้ำมันเบนซินแบบไรสารตะกัว่ เทานัน้
งาน เพื่อปองกันอันตรายจากไฟไหมหรือไฟลวก: การใช น้ำมั นเบนซินที่ มี สารตะกั่วจะทำให ระบบ
●หามจอดรถจักรยานยนตใกลกับบริเวณที่ บำบัดไอเสียเสียหายจนอาจซอมแซมไมได
อาจเกิดอันตรายจากไฟไหม เชน หญาหรือ
วัสดุอนื่ ทีต่ ดิ ไฟงาย
●จอดรถจั ก รยานยนต ใ นที่ ที่ ไ ม มี เ ด็ ก หรื อ
คนเดินพลุกพลาน เพื่อใหไมไดรับอันตราย
จากการสัมผัสกับระบบไอเสีย
●ตองแนใจวาระบบไอเสียเย็นลงแลว กอน
ทำการซอมบำรุง

4-10

1P7F8199_U2_04.pmd 30 6/10/2551, 13:57


อุปกรณและหนาทีใ่ นการควบคุม

1. คันสตารทเทา 1. เปด
UAU37650 UAUU0370

คันสตารทเทา เบาะนั่ง
ถาสวิทชมอเตอรสตารทไมสามารถทำงานไดหรือ การเปดเบาะนัง่ ใหปฏิบตั ดิ ังนี้
เสีย ใหทำการสตารทเครือ่ งยนตดว ยการสตารทเทา โดย 1. ตั้งรถจักรยานยนตบนขาตั้งกลาง
ในการสตารทเครือ่ งยนต ใชเทาเหยียบคันสตารทลงเบาๆ 2. ใสกญุ แจทีส่ วิทชกญ
ุ แจ และบิดลูกกุญแจทวนเข็ม
จนกระทั่งชุดสตารทและเกียรขบกันสนิท จากนั้นจึง นาฬิกาไปทีต่ ำแหนง “OPEN”
เหยียบคันสตารทเพื่อทำการติดเครื่องยนต ¢âÕ·π–π”
ขณะบิดกุญแจ ไมตอ งดันกุญแจเขาไป
3. เปดเบาะนั่งขึ้น
4-11

1P7F8199_U2_04.pmd 31 6/10/2551, 13:57


อุปกรณและหนาทีใ่ นการควบคุม
การปดเบาะนัง่ ใหปฏิบตั ดิ งั นี้
1. พับเบาะลง และกดเบาะใหเขาตำแหนงล็อค
2. ดึงกุญแจออกจากสวิทชกญ ุ แจ หากตองทิง้ รถไวโดย
ไมมผี ดู แู ล
¢âÕ·π–π”
เพื่อความปลอดภัย ควรตรวจสอบใหแนใจวาเบาะ
รถปดสนิทกอนขับขีร่ ถจักรยานยนต
1. กลองอเนกประสงค UAU14510

กลองอเนกประสงค
กลองอเนกประสงคจะอยใู ตเบาะ (โปรดดูหนา 4-11
สำหรับการเปด-ปดเบาะ)
UWA10960

• กล อ งอเนกประสงค ใ ต เ บาะสามารถรั บ


น้ำหนักได 5 กิโลกรัม
• ควรบรรทุกน้ำหนักตามความเหมาะสมกับ
สภาพการขับขี่
4-12

1P7F8199_U2_04.pmd 32 6/10/2551, 13:57


อุปกรณและหนาทีใ่ นการควบคุม
UCA10080
สำหรับการเก็บหมวกกันน็อคในกลองอเนกประสงค
¢âÕ —߇°µ ให ว างหมวกกั น น็ อ คหงายขึ้ น โดยหั น หมวกไปทาง
โปรดจำใหขนึ้ ใจเมือ่ ตองการใชกลองอเนกประสงค ดานหนา
• เนื่องจากกลองอเนกประสงคมักจะสะสม
ความรอนเมือ่ อยกู ลางแดด ดังนัน้ จึงไมควร ¢âÕ●·π–π”
หมวกกันน็อคบางชนิดจะไมสามารถเก็บไวในกลอง
เก็บสิ่งของใดๆ ที่ไวตอความรอนไวภายใน อเนกประสงค ไ ด เนื่ อ งจากขนาดและรู ป ร า ง
กลองอเนกประสงค ของหมวก
• เพื่ อ หลี ก เลี่ ย งความชื้ น ภายในกล อ ง ● ไมควรจอดรถจักรยานยนตไวในขณะที่เบาะเปด
อเนกประสงค ควรหอสิ่งของที่เปยกในถุง
พลาสติ ก เมื่ อ ต อ งการเก็ บ ในกล อ ง
อเนกประสงค
• เนือ่ งจากกลองอเนกประสงคอาจเปยกชืน้ ใน
ขณะลางรถ จึงควรนำสิง่ ของทีเ่ ก็บอยภู ายใน
ออกหรือเก็บไวในถุงพลาสติก
• อยาเก็บของมีคาหรือสิ่งที่แตกหักงายไวใน
กลองอเนกประสงค

4-13

1P7F8199_U2_04.pmd 33 6/10/2551, 13:57


อุปกรณและหนาทีใ่ นการควบคุม

1. ตะขอแขวนอเนกประสงค
UAUU0390

ตะขอแขวนอเนกประสงค
UWAU0010

• ตะขอแขวนอเนกประสงคสามารถรับน้ำหนัก
ได 1 กิโลกรัม
• ควรบรรทุ ก น้ำ หนั ก ตามความเหมาะสมกั บ
สภาพการขับขี่

4-14

1P7F8199_U2_04.pmd 34 6/10/2551, 13:57


UAU15582 เพือ่ ความปลอดภัย – การตรวจสอบกอนการใชงาน
UAU15596
ตรวจสอบรถจักรยานยนตของทานทุกครัง้ กอนใชงาน เพือ่ ใหมนั่ ใจวารถของทานอยใู นสภาพการใชงานทีป่ ลอดภัย
ใหปฏิบัติตามขั้นตอนการตรวจสอบและบำรุงรักษาตามกำหนดเวลาที่ระบุไวในคูมือผูใชเสมอ
UWA11151

การตรวจสอบหรือบำรุงรักษารถจักรยานยนตไมถูกตองจะเพิ่มโอกาสในการเกิดอุบัติเหตุหรือทำให
ชิ้นสวนเสียหาย อยาใชรถหากทานพบสิ่งผิดปกติ หากขั้นตอนที่ระบุไวในคูมือนี้ไมสามารถแกไขปญหา
ได ใหนำรถจักรยานยนตเขารับการตรวจสอบที่ผูจำหนายยามาฮา
ตรวจสอบรายการตอไปนี้ กอนการใชรถจักรยานยนต:
หัวขอ การตรวจสอบ หนา
● ตรวจสอบระดับน้ำมันเชือ้ เพลิงในถัง
น้ำมันเชือ้ เพลิง ● เติมน้ำมันเชื้อเพลิงเมื่อจำเปน 4-7
● ตรวจสอบทอน้ำมันเชือ้ เพลิง เพือ่ ปองกันการรัว่
● ตรวจสอบระดับน้ำมันเครือ่ ง
น้ำมันเครือ่ ง ● ควรเติมน้ำมันเครื่องตามระดับที่กำหนด 7-14
● ตรวจสอบเครือ่ งยนตเพือ่ ปองกันการรัว่ ของน้ำมันเครือ่ ง
น้ำมันเฟองทาย ● ตรวจสอบเครือ่ งยนตเพือ่ ปองกันการรัว่ ของน้ำมันเฟองทาย 7-18

5-1

1P7F8199_U2_05.pmd 35 6/10/2551, 13:54


เพือ่ ความปลอดภัย – การตรวจสอบกอนการใชงาน
หัวขอ การตรวจสอบ หนา
● ตรวจสอบการทำงาน
● ถาระดับคันเบรคลึกผิดปกติ ใหนำรถเขาตรวจสอบเกีย่ วกับระบบไฮดรอลิก
● ตรวจสอบการสึกหรอของผาเบรค
เบรคหนา ● ทำการเปลี่ยน ถาจำเปน 7-36, 7-41
● เช็คระดับของน้ำมันเบรคที่แมปมเบรค
● ควรเติมน้ำมันเบรคใหอยูในระดับที่กำหนด
● เช็คระบบไฮโดรลิกเพือ่ ปองกันการรัว่
● ตรวจสอบการทำงาน
เบรคหลัง
● ทำการหลอลืน่ สายเบรค หากจำเปน 7-36, 7-41
● ตรวจสอบระยะฟรี
● ควรปรับตั้งเมื่อจำเปน
● ตรวจสอบความคลองตัวเพือ่ ความสะดวกในการใชงาน
● ตรวจสอบระยะฟรีของสายคันเรง 7-28, 7-41
ปลอกคันเรง ● ถาตองการปรับแตง ใหทำการปรับแตงระยะฟรีสายคันเรง และหลอลืน่ ชุดสายคันเรงและ
ปลอกคันเรงไดที่รานผูจำหนายยามาฮา
สายควบคุมตางๆ
● เพื่อใหแนใจวาการทำงานเปนปกติ 7-40
● ควรหลอลืน่ ดวยน้ำมัน ถาจำเปน
● ตรวจสอบความเสียหาย
ลอและยาง ● ตรวจสอบสภาพยางและความสึกของดอกยาง
● ตรวจสอบลมยาง 7-30, 7-33
● เติมลมยาง ถาจำเปน
5-2

1P7F8199_U2_05.pmd 36 6/10/2551, 13:54


เพือ่ ความปลอดภัย – การตรวจสอบกอนการใชงาน
หัวขอ การตรวจสอบ หนา
คันเบรค ● ตรวจสอบใหแนใจวาการทำงานของคันเบรคเปนปกติ
● ควรหลอลื่นดวยน้ำมันในจุดที่จำเปน 7-41

ขาตัง้ กลาง/ ● ควรแนใจวาขาตัง้ รถทำงานไดปกติ


ขาตั้งขาง ● ควรหลอลื่นดวยน้ำมันในจุดที่จำเปน 7-42

จุดยึดโครงรถ
● ตรวจสอบใหแนใจวาไดขนั นอต เฟอง และสกรูแนนแลว
● ขันใหแนนเมื่อจำเปน –

อุปกรณ/ไฟ/ ● ตรวจสอบการทำงาน –
สัญญาณ และสวิทช ● แกไขในกรณีชำรุด

5-3

1P7F8199_U2_05.pmd 37 6/10/2551, 13:54


การทำงานของรถจักรยานยนตและจุดทีส่ ำคัญของการขับขี่ UAU15943

UAU15951
อานคมู อื ผใู ชโดยละเอียดเพือ่ ทำความคนุ เคยกับการ
ควบคุมตางๆ หากมีการควบคุมหรือหนาที่การทำงาน
ใดของรถจักรยานยนตที่ทานไมเขาใจ ทานสามารถ
ปรึกษาผูจำหนายยามาฮาได
UWA10271

หากท า นไม ทำความคุ น เคยกั บ การควบคุ ม UAUT1100


ต า งๆ อาจนำไปสู ก ารสู ญ เสี ย การควบคุ ม รถ การสตารทขณะเครื่องเย็น
จักรยานยนต ซึง่ สามารถทำใหเกิดอุบตั เิ หตุหรือได UCA10250

รับบาดเจ็บได ¢âÕ —߇°µ


ดู ห น า 6-5 สำหรั บ คำแนะนำเกี่ ย วกั บ ระยะ
รั น อิ น เครื่ อ งยนต ใ ห เ ข า ที่ สำหรั บ การใช ร ถ
จักรยานยนตครั้งแรก
1. บิดกุญแจไปทีต่ ำแหนง “ON”
2. ไมตองบิดคันเรง
3. สตารทเครือ่ งยนตโดยการกดปมุ สวิทชสตารทหรือใช
คันสตารทเทา ในขณะทีบ่ บี คันเบรคหนาหรือหลัง
6-1

1P7F8199_U2_06.pmd 38 6/10/2551, 13:06


การทำงานของรถจักรยานยนตและจุดทีส่ ำคัญของการขับขี่
¢âÕ·π–π”
ถาสตารทเครือ่ งยนตโดยการกดปมุ สวิทชสตารทไม
ติด ควรรอสัก 2-3 วินาที แลวจึงลองอีกครั้ง การลอง
สตารทแตละครั้งควรจะใชเวลาใหนอยที่สุด เนื่องจาก
จะเปนการประหยัดแบตเตอรี่ ไมควรกดปมุ สตารทเครือ่ ง
ยนตนานเกิน 5 วินาทีในการสตารทแตละครัง้ ถาเครือ่ ง
ยนตสตารทไมติดด ว ยการสตาร ท มื อ ควรลองใช คั น
สตารทเทาในการสตารทแทน การใชรถ
UAU16761

UCA11040 ¢âÕ·π–π”
กอนการใชรถ ควรอนุ เครือ่ งยนต ใหเครือ่ งยนตอยใู น
¢âÕ —߇°µ อุณหภูมิการทำงาน
เพือ่ รักษาเครือ่ งยนตใหอายุการใชงานยาวนาน 1. บีบคันเบรคดวยมือซาย และจับแฮนดรถดวยมือ
ไมควรเรงเครื่องยนตมากขณะเครื่องเย็น! ขวา และนำรถจักรยานยนตลงจากขาตัง้ กลาง
2. นัง่ ในทาครอมบนเบาะ ปรับกระจกมองหลัง
3. เปดสัญญาณไฟเลีย้ ว
4. ตรวจสอบสภาพการจราจร บิดคันเรง (ดานขวา)
เบาๆ ในการออกตัว
5. ปดสัญญาณไฟเลีย้ ว
6-2

1P7F8199_U2_06.pmd 39 6/10/2551, 13:06


การทำงานของรถจักรยานยนตและจุดทีส่ ำคัญของการขับขี่
หนา

AUTOMATIC

UAU16780 UAU16793
การเรงและการลดความเร็ว การเบรค
ความเร็วของรถสามารถเพิ่มหรือลดไดดวยการบิด UWA10300

คันเรง ในการเพิ่มความเร็วใหบิดคันเรงไปทางตำแหนง
a ในการลดความเร็วใหบิดคันเรงไปทางตำแหนง b ● ควรหลีกเลีย่ งการเบรคอยางกระทันหัน (โดย
เฉพาะอยางยิ่งการเอียงไปทางดานใดดาน
หนึ่ง) มิฉะนั้น รถจักรยานยนตอาจลื่นไถล
หรือพลิกคว่ำได
● การขี่ ข า มทางรถไฟ ช อ งทางเดิ น รถยนต
แผนโลหะบนถนนที่มีการกอสราง และเปน
6-3

1P7F8199_U2_06.pmd 40 6/10/2551, 13:06


การทำงานของรถจักรยานยนตและจุดทีส่ ำคัญของการขับขี่
หลัง 1. บีบคันเบรคเขาหาแฮนดบังคับเลี้ยว
2. ใชเบรคหนา และเบรคหลังไดโดยการเพิม่ ความแรง
ในการบีบ

หลุมบออาจทำใหเกิดการลื่นเมื่อถนนเปยก
ดังนั้นจึงควรลดความเร็วเมื่อเขาใกลบริเวณ
ดังกลาว และควรเพิม่ ความระมัดระวังใหมาก
ขึ้น
● ควรจำใหขึ้นใจวา การเบรคบนถนนที่เปยก
อาจกอใหเกิดอันตราย
● ควรขับชาๆ เมื่อลงจากเนิน เนื่องจากการ
เบรคอาจจะทำใหเกิดอันตรายได

6-4

1P7F8199_U2_06.pmd 41 6/10/2551, 13:06


การทำงานของรถจักรยานยนตและจุดทีส่ ำคัญของการขับขี่
UAU16820 UAU16830

คำแนะนำวิธีลดความสิ้นเปลืองน้ำมันเชื้อ ระยะรันอินเครื่องยนต
เพลิง (วิธกี ารประหยัดน้ำมันเชือ้ เพลิง) ไมมีชวงเวลาใดจะสำคัญที่สุดในอายุการใชงาน
ความสิ้นเปลืองน้ำมันเชื้อเพลิงสวนใหญเกิดจาก ของรถจักรยานยนตมากไปกวาชวงระยะ 0 กม. ถึง
ลักษณะการขับขีร่ ถของแตละบุคคล ซึง่ คำแนะนำวิธลี ด 1,000 กม. (รันอิน) สำหรับการคำนึงถึงระยะดังกลาว
ความความสิ้นเปลืองน้ำมันเชื้อเพลิง ใหพิจารณาดังนี้: ควรทำความเขาใจใหละเอียดตามคูมือ
● หลี ก เลี่ ย งการใช ค วามเร็ ว รอบเครื่ อ งสู ง ขณะเร ง ดวยสภาพเครือ่ งยนตใหม ควรหลีกเลีย่ งการใชงาน
เครือ่ ง ที่หนักเกินไปในชวงระยะแรกที่ 1,000 กม. การทำงาน
● หลีกเลีย ่ งการใชความเร็วสูงทีเ่ ครือ่ งยนตไมมภี าระ ของชิน้ สวนภายในเครือ่ งยนตทเี่ คลือ่ นทีเ่ สียดสีกนั ทำให
● ดับเครือ ่ งยนตแทนทีจ่ ะปลอยใหเครือ่ งยนตเดินเบา เกิดระยะชองวางทีเ่ กิดการสึกหรออยางรวดเร็ว หรือควร
เปนเวลานาน (เช น ในการจราจรที่ ติดขั ด เมื่ อ หลี ก เลี่ ย งการกระทำใดๆ ที่ อ าจทำให เ ครื่ อ งยนต
หยุดรอสัญญาณไฟจราจรหรือรอรถไฟผาน) รอนเกินไป

6-5

1P7F8199_U2_06.pmd 42 6/10/2551, 13:06


การทำงานของรถจักรยานยนตและจุดทีส่ ำคัญของการขับขี่
UAU37792
ระยะ 150 ถึง 500 กม.
ระยะ 0 ถึง 150 กม.

หลีกเลีย่ งการบิดคันเรงเกิน 1/3 รอบของคันเรง หลีกเลีย่ งการบิดคันเรงเกิน 1/2 รอบของคันเรง


หลังทำการติดเครื่องยนตเวลานาน ใหดับเครื่อง รอบเครื่องยนตจะสงผานไปยังเฟองโดยตรง แตไม
ปลอยใหเย็น 5-10 นาที ควรบิ ดคันเรงจนสุด
ควรเปลี่ยนความเร็วในระดับตางๆ กัน ไมควรใช
ความเร็วระดับเดียวกันเปนเวลานาน

6-6

1P7F8199_U2_06.pmd 43 6/10/2551, 13:06


การทำงานของรถจักรยานยนตและจุดทีส่ ำคัญของการขับขี่
ระยะ 500 ถึง 1,000 กม. ระยะ 1,000 กม.ขึน้ ไป

หลีกเลีย่ งการบิดคันเรงเกิน 3/4 รอบของคันเรง หลีกเลีย่ งการบิดคันเรงเต็มที่ และควรใชความเร็วใน


ระดับตางกัน ขอสังเกต: หลังจาก 1,000 กม.แรกของ
การขับขี่ ควรมีการเปลี่ยนน้ำมันเครื่อง เปลี่ยน
ปลอกหรือไสกรองน้ำมันเครือ่ ง และทำความสะอาด
ตะแกรงกรองน้ำมัน ถามีปญหาใดๆ เกิดขึ้นใน
ระยะรันอินเครื่องยนต กรุณานำรถจักรยานยนต
ของทานเขาตรวจเช็คที่ผูจำหนายยามาฮา [UCA10362]
6-7

1P7F8199_U2_06.pmd 44 6/10/2551, 13:06


การทำงานของรถจักรยานยนตและจุดทีส่ ำคัญของการขับขี่
UAU17213

การจอดรถ
เมือ่ ทำการจอดรถ ใหดบั เครือ่ งยนตและดึงลูกกุญแจ
ออกจากสวิทชกญ ุ แจ
UWA10311

• เนื่องจากเครื่องยนตและระบบไอเสียมีความ
รอนสูง จึงไมควรจอดรถในที่ที่อาจมีเด็กหรือ
คนเดินสัมผัสและถูกไฟลวกได
• ไมควรจอดรถบริเวณพืน้ ทีล่ าดเอียงหรือพืน้ ดิน
ที่ อ อ น อาจจะทำให ร ถล ม เสี ย หายได ซึ่ ง มี
โอกาสทำใหน้ำมันเชือ้ เพลิงรัว่ และเกิดไฟไหม
ได
• หามจอดรถจักรยานยนตใกลกับพื้นหญาแหง
หรือวัตถุทลี่ กุ ติดไฟไดงา ย

6-8

1P7F8199_U2_06.pmd 45 6/10/2551, 13:06


การทำงานของรถจักรยานยนตและจุดทีส่ ำคัญของการขับขี่
UAU37601

ขอควรจำทั่วไป
สิ่งที่จะไดรับหากทานรูจักการใชรถจักรยานยนตและการดูแลรักษาที่ถูกตอง
1. ลูกคาสามารถใชรถจักรยานยนตยามาฮาได 2. รถจักรยานยนตสามารถรักษาสมรรถภาพใน
เต็มศักยภาพ การขับขี่ที่ดีดวยอายุการใชงานที่นานขึ้น
เปรียบเทียบการสึกหรอของชิน้ สวนเครือ่ งยนต
(ลูกสูบ แหวนลูกสูบ กระบอกสูบ เปนตน)
มีการบำรุงรักษา

สภาพการทำงาน
ที่สมบูรณ
ปราศจากการบำรุงรักษา

ระยะทางทีใ่ ช (กม.)
การยกเครื่องยนต กระบอกสูบสึก
การเปลีย่ นแหวนลูกสูบ เปนตน

6-9

1P7F8199_U2_06.pmd 46 6/10/2551, 13:06


การทำงานของรถจักรยานยนตและจุดทีส่ ำคัญของการขับขี่
3. สามารถลดคาน้ำมันเชื้อเพลิง และคาใชจาย 4. รถจักรยานยนตไดรบั การประเมินราคาสูงกวา
ในการซอมบำรุง ทัว่ ไป เมือ่ ตองการขาย

อัตราการสิน้ เปลืองน้ำมันเชือ้ เพลิง


มีการบำรุงรักษา

ปราศจากการบำรุงรักษา
ระยะทางทีใ่ ช ( กม.)
ลูกคามีคาใชจาย
(คาน้ำมันเชือ้ เพลิง คาบำรุงรักษา และคาซอมแซม)
ปราศจากการบำรุงรักษา
มีการซอมใหญดวยคาซอมที่แพง
มีการบำรุงรักษา

ระยะทางทีใ่ ช ( กม.)

6-10

1P7F8199_U2_06.pmd 47 6/10/2551, 13:06


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ UAU1722B

UAU17241 UWA15121
การตรวจสอบ การปรับตัง้ และการหลอลืน่ ตามระยะ
จะชวยใหรถจักรยานยนตของทานมีประสิทธิภาพและให ดับเครือ่ งยนตขณะทำการซอมบำรุง ยกเวนใน
ความปลอดภัยในการขับขีม่ ากยิง่ ขึน้ ความปลอดภัยคือ
ภาระหนาที่ของเจาของและผูขับขี่รถจักรยานยนต จุด กรณีที่ระบุไว
สำคัญตางๆ สำหรับการตรวจสอบ การปรับแตง การหลอ ● เครื่ อ งยนต ที่ กำลั ง ทำงานจะมี ชิ้ น ส ว นที่

ลืน่ จะอธิบายรายละเอียดในหนาถัดไป เคลื่อนไหวอยู ซึ่งสามารถเกี่ยวชิ้นสวนราง


ชวงระยะเวลาที่ระบุในตารางการบำรุงรักษาและ กายหรือเสือ้ ผา และชิน้ สวนอิเล็กทรอนิกสซงึ่
การหลอลื่นตามระยะ ควรพิจารณาตามคำแนะนำทั่ว ทำใหเกิดไฟดูดหรือเพลิงไหมได
ไป โดยควรขับขีอ่ ยภู ายใตสภาวะปกติ อยางไรก็ตามก็ขนึ้ ● การปลอยใหเครื่องทำงานขณะทำการซอม
อยกู บั สภาพอากาศ ภูมปิ ระเทศ ทำเล และลักษณะการ
ใชงานของแตละบุคคล ซึง่ มีผลตอระยะเวลาในการบำรุง บำรุงอาจทำใหดวงตาไดรบั บาดเจ็บ เกิดการ
รักษาวาจะเร็วหรือชา ลวกไหม เพลิงไหม หรือไดรับพิษจากกาซ
UWA10321
คารบอนมอน็อกไซด – อาจถึงแกชีวิตได
หากทานทำการซอมบำรุงไมเหมาะสม หรือ ดูหนา 2-3 สำหรับขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ
ทำการซอมบำรุงผิดวิธี อาจเพิ่มความเสี่ยงในการ กาซคารบอนมอน็อกไซด
ไดรับบาดเจ็บหรือถึงแกชีวิตขณะทำการซอมบำรุง
หรือขณะใชงาน หากทานไมคุนเคยกับการซอม
บำรุงรถจักรยานยนต โปรดใหผูจำหนายยามาฮา
เปนผูดำเนินการแทน
7-1

1P7F8199_U2_07_01.pmd 48 9/10/2551, 9:19


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
¢âÕ·π–π”
หากท า นไม มี ชุ ด เครื่ อ งมื อ ประจำรถหรื อ ไม มี
ประสบการณเกี่ยวกับการซอมบำรุงรถมากอน ทาน
สามารถนำรถเขาศูนยบริการยามาฮา เพือ่ ใหชา งดำเนิน
การตรวจเช็คใหทานได

1. เครื่องมือประจำรถ
UAU17542

เครื่องมือประจำรถ
ชุดเครื่องมือประจำรถติดตั้งอยูใตเบาะนั่ง (ดูหนา
4-11 สำหรับการเปด-ปดเบาะ)
ขอมูลดานการบริการจะรวมอยูในคูมือเลมนี้ ชุด
เครื่องมือเหลานี้จะชวยใหทานสามารถดูแลรักษาและ
ซอมบำรุงรถของทานอยางงายๆ อยางไรก็ตาม วิธกี ารใช
เครือ่ งมือ เชน แรงบิดของเครือ่ งมือทีใ่ ชขนั นัท นาจะเปน
สิง่ ทีจ่ ำเปนตอการดูแลซอมแซมรถอยางถูกวิธี
7-2

1P7F8199_U2_07_01.pmd 49 9/10/2551, 9:19


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
UAU46880
¢âÕ·π–π”
● การตรวจสอบประจำปตองทำทุกป ยกเวนถามีการบำรุงรักษาตามระยะกิโลเมตรแทน
● ตัง้ แต 16,000 กม.เปนตนไป ใหเริม่ นับชวงเวลาในการบำรุงรักษาซ้ำอีกตัง้ แต 4,000 กม.
● รายการทีม่ เี ครือ่ งหมายดอกจัน (*) จำเปนตองใชเครือ่ งมือพิเศษ ขอมูล และทักษะดานเทคนิค ดังนัน้ ควรให
ชางผูจำหนายยามาฮาเปนผูดำเนินการ
UAU46930

ตารางการบำรุงรักษาตามระยะสำหรับระบบควบคุมมลพิษแกสไอเสีย
มาตรวัดระยะทาง (กม.) ตรวจสอบ
ลำดับ จุดตรวจสอบ รายการบำรุงรักษา
1,000 4,000 7,000 10,000 13,000 ประจำป
1 * ทอน้ำมันเชื้อเพลิง ● ตรวจสอบรอยแตกหรือความเสียหายของทอ
น้ำมันและทอสุญญากาศ √ √ √ √ √
2 หัวเทียน ● ตรวจสอบสภาพ

● ทำความสะอาดและตรวจเช็ ค ระยะห า งเขี้ ย ว √ √


หัวเทียน
● เปลี่ ย นตามความจำเป น √ √
3 * วาลว ● ตรวจสอบระยะหางวาลว
● ปรับตั้ง ถาจำเปน
√ √
4 * คารบูเรเตอร ● ปรับตั้งรอบเดินเบาเครื่องยนต √ √ √ √ √

7-3

1P7F8199_U2_07_01.pmd 50 9/10/2551, 9:19


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
มาตรวัดระยะทาง (กม.) ตรวจสอบ
ลำดับ จุดตรวจสอบ รายการบำรุงรักษา
1,000 4,000 7,000 10,000 13,000 ประจำป
5 * ระบบ AIS ● ตรวจสอบสภาพการสึกหรอของวาลวปด-เปด
หรีดวาลว และทอ √ √ √ √ √
● เปลี่ยนชิ้นสวนที่สึกหรอ ถาจำเปน

6 * หมอพักไอเสียและ ● ตรวจสอบแคลมปรัดวาหลวมหรือไม

ทอไอเสีย √ √ √ √ √

UAUU0091

ตารางการบำรุงรักษาและการหลอลื่นโดยทั่วไป
มาตรวัดระยะทาง (กม.) ตรวจสอบ
ลำดับ จุดตรวจสอบ รายการบำรุงรักษา
1,000 4,000 7,000 10,000 13,000 ประจำป
1 * ไสกรองอากาศ ● ตรวจสอบสภาพ
● เปลีย่ น √ √ √ √ √
2 ชุดไสกรองอากาศ ● ทำความสะอาด
√ √ √ √
สายพาน
3 * แบตเตอรี่ ● ตรวจสอบระดับน้ำยาอีเล็คโตรไลทและ
ความถวงจำเพาะ
● ตรวจสอบใหแนใจวาไดวางแนวทอระบาย
√ √ √ √ √
อากาศอยางถูกตอง
● ตรวจสอบการทำงาน ระดับน้ำมันเบรค และ
4 * เบรคหนา √ √ √ √ √ √
การรั่วของน้ำมันเบรค
● เปลี่ยนผาเบรค เมื่อสึกหรือถึงคาที่กำหนด
7-4

1P7F8199_U2_07_01.pmd 51 9/10/2551, 9:19


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
มาตรวัดระยะทาง (กม.) ตรวจสอบ
ลำดับ จุดตรวจสอบ รายการบำรุงรักษา
1,000 4,000 7,000 10,000 13,000 ประจำป
5 * เบรคหลัง ● ตรวจสอบการทำงาน และปรับตัง้ ระยะฟรีคนั เบรค √ √ √ √ √ √
● เปลี่ยนผาเบรค เมื่อสึกหรือถึงคาที่กำหนด
6 * ทอน้ำมันเบรค ● ตรวจสอบรอยแตกหรือความเสียหาย √ √ √ √ √
● เปลี่ยนทอน้ำมันเบรค ทุกๆ 4 ป
7 * ลอซี่ลวด ● ตรวจสอบความตึงซีล่ อ การสึกหรอ การแกวง-คด
√ √ √ √
● ขันซีล่ อ ถาจำเปน
8 * ลอแม็ก ● ตรวจสอบความสึกหรอ และการแกวง-คด √ √ √ √
9 * ยาง ● ตรวจสอบหนายาง และการสึกหรอ
● เปลี่ ย นตามความจำเป น

● ตรวจสอบลมยาง
√ √ √ √ √
● เติมลมยาง ถาจำเปน

10 * ลูกปนดุมลอ ● ตรวจสอบการชำรุดหรือความเสียหายของลูกปน √ √ √ √
11 * สวิงอารม ● ตรวจสอบจุดยึดและระยะคลอน √ √ √ √
● หลอลื่นดวยจาระบี ทุกๆ 13,000 กม.
12 * ลูกปนคอรถ ● ตรวจสอบระยะคลอนและสภาพลูกปนคอรถ √ √ √ √ √
● หลอลื่นดวยจาระบี ทุกๆ 13,000 กม.
13 * จุดยึดโครงรถ ● ตรวจสอบใหแนใจวาไดขนั นอต โบลท และสกรู √ √ √ √
ทุกตัวแนนแลว √
14 ขาตั้ งข าง/ขาตั้ งกลาง ● ตรวจเช็คตำแหนงในการใชงาน
● ทำการหลอลื่น
√ √ √ √ √

7-5

1P7F8199_U2_07_01.pmd 52 9/10/2551, 9:19


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
มาตรวัดระยะทาง (กม.) ตรวจสอบ
ลำดับ จุดตรวจสอบ รายการบำรุงรักษา
1,000 4,000 7,000 10,000 13,000 ประจำป
15 * โชคอัพหนา ● ตรวจสอบระยะยุบตัวและการรั่วของน้ำมันโชค √ √ √ √
16 * ชุดโชคอัพหลัง ● ตรวจสอบการทำงานของโชคอัพหลังและการรั่ว
ของน้ำมัน √ √ √ √
17 น้ำมันเครื่อง ● เปลี่ยนถายน้ำมันเครื่อง
● ตรวจสอบระดับและการรั่วของน้ำมันเครื่อง
√ √ ทุกๆ 3,000 กม.

18 * ไสกรองน้ำมันเครื่อง ● ทำความสะอาด √ √
19 น้ำมันเฟองทาย ● ตรวจสอบการรั่วซืม √ √ √ √ √
● เปลี่ยนถายน้ำมันเฟองทาย √ ทุกๆ 10,000 กม.
20 * สายพานตัววี ● ตรวจสอบการชำรุดเสียหาย และการสึกหรอ √ √ √
● เปลีย
่น ทุกๆ 25,000 กม.
21 * สวิทชเบรคหนาและ ● ตรวจสอบการทำงาน
√ √ √ √ √ √
สวิทชเบรคหลัง
22 ชิ้นสวนที่มีการเคลื่อนไหว ● ทำการหลอลื่น √ √ √ √ √
และสายต างๆ
23 * ปลอกคันเรงและ ● ตรวจสอบการทำงานและระยะฟรีคนั เรง
สายคันเรง ● ปรับตั้งระยะฟรีสายคันเรง ถาจำเปน √ √ √ √ √
● ทำการหลอลืน่ ปลอกและสายคันเรง
24 * ไฟแสงสวาง สัญญาณไฟ ● ตรวจสอบการทำงาน
ปรับตั้งลำแสงของไฟหนา √ √ √ √ √ √
และสวิทช ●

7-6

1P7F8199_U2_07_01.pmd 53 9/10/2551, 9:19


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
UAU18660
¢âÕ·π–π”
● ตองทำความสะอาดไสกรองอากาศบอยครัง้ ขึน้ ถาคุณขับขีใ่ นบริเวณทีเ่ ปยกหรือมีฝนุ ละอองมากกวาปกติ
● ระบบไฮดรอลิกในเบรค
● ใหทำการตรวจสอบเปนประจำ ถาจำเปน และทำการตรวจสอบระดับน้ำมันเบรค เติมใหไดระดับมาตรฐาน
ที่กำหนด
● ใหเปลีย่ นซีลน้ำมันในระบบเบรค ซึง่ มีอยใู นแมปม ตัวบน และแมปม ตัวลาง และน้ำมันเบรคทุกๆ 2 ป
● ใหเปลีย่ นทอน้ำมันเบรคทุกๆ 4 ป หรือเมือ่ เกิดการชำรุดหรือแตกหัก

7-7

1P7F8199_U2_07_01.pmd 54 9/10/2551, 9:19


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ

1. ฝาครอบ A 1. ฝาครอบ A
2. บังลม B 2. สกรู (x 4)
3. บังลม A
UAU19292
UAU18712

การถอดและการติดตั้งบังลมและฝาครอบ ฝาครอบ A และ B


บังลมและฝาครอบที่แสดงในรูปดานบนจำเปนที่ การถอดฝาครอบแตละดาน
จะตองถอดออกเพือ่ การบำรุงรักษาหรือซอมแซม ในบทนี้ ถอดสกรูยึดฝาครอบ แลวดึงฝาครอบออกดังรูปที่
จะแสดงถึงการถอดประกอบบังลมและฝาครอบ แสดง

7-8

1P7F8199_U2_07_01.pmd 55 9/10/2551, 9:19


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ

การประกอบฝาครอบ 1. สกรู (x 6)
2. บังลม A
วางฝาครอบในตำแหนงเดิม จากนัน้ จึงยึดฝาครอบ
ดวยสกรู UAUU0270
บังลม A
การถอดบังลม
1. ถอดสกรูยดึ บังลม A ออก

7-9

1P7F8199_U2_07_01.pmd 56 9/10/2551, 9:19


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ

1. สกรู (x 10)
2. บังลม B การประกอบบังลม
2. ดึงบังลม A ออกดังรูปทีแ่ สดง 1. วางเขีย้ วล็อคของบังลม A ใหตรงกับตำแหนงล็อค
ของบังลม B จากนัน้ กดบังลม A ใหเขาที่
¢âÕ·π–π”
ขณะทำการถอดบังลม A ใหดงึ บริเวณทีแ่ สดงในรูป
จากดานบนลงดานลาง

7-10

1P7F8199_U2_07_01.pmd 57 9/10/2551, 9:20


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ

1. ปลั๊กหัวเทียน
2. ยึดบังลม A ดวยสกรู UAUT1835

การตรวจสอบหัวเทียน
¢âÕ·π–π” หัวเทียนเปนสวนประกอบที่สำคัญของเครื่องยนต
ขณะทำการถอดบังลม A ใหกดบริเวณทีแ่ สดงในรูป เปนชิ้นสวนที่ทำการตรวจสอบและบำรุงรักษาไดงาย
จากดานลางขึ้นดานบน เนื่องจากความรอนและคราบตะกอนทำใหหัวเทียนสึก
กรอนอยางชาๆ ดังนัน้ จึงควรถอดหัวเทียนออกมาตรวจ
สอบ และทำความสะอาดตามที่กำหนดในตารางการ
บำรุงรักษาและการหลอลืน่ ตามระยะ นอกจากนี้ สภาพ
ของหัวเทียนยังสามารถแสดงถึงสภาพการทำงานของ
เครื่องยนต
7-11

1P7F8199_U2_07_01.pmd 58 9/10/2551, 9:20


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
การตรวจสอบหัวเทียน
1. ตรวจสอบกระเบื้ อ งสี ข าวรอบๆ แกนกลางของ
หัวเทียนวายังเปนสีน้ำตาลออนๆ ปานกลางหรือไม
(แสดงวาเครื่องยนตปกติ)
¢âÕ·π–π”
ถ า หั ว เที ย นเป น สี น้ำ ตาลแก ๆ อาจแสดงถึ ง สภาพ
เครือ่ งยนตที่ไมปกติ ไมควรพยายามวินิจฉัยปญหาดวย
1. บล็อคหัวเทียน ตั ว เอง โปรดนำรถจั ก รยานยนต ข องท า นไปให ช า ง
การถอดหัวเทียน ผจู ำหนายยามาฮาตรวจสอบแกไข ถาจำเปน
1. ตั้งรถจักรยานยนตบนขาตั้งกลาง 2. ตรวจสอบหัวเทียนของทานวามีการสึกกรอนหรือมี
2. ถอดฝาครอบ A ดู ห น า 7-8 สำหรั บ การ คราบเขมาจับหรือไม ในกรณีที่มีการสึกกรอนหรือ
ถอด-ประกอบฝาครอบ) มีคราบเขมาจับมาก ควรเปลีย่ นใหม ถาจำเปน
3. ถอดปลัก๊ หัวเทียน
4. ถอดหัวเทียนดังรูป ดวยบล็อคหัวเทียนซึง่ อยใู นชุด เบอรหัวเทียนตามมาตรฐาน:
เครื่องมือประจำรถ CR7HSA (NGK)

7-12

1P7F8199_U2_07_01.pmd 59 9/10/2551, 9:20


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
3. ประกอบหัวเทียนดวยประแจเช็คแรงบิด และขันให
แนนตามแรงบิดในการขันหัวเทียนที่กำหนด
แรงบิดขันแนน:
หัวเทียน
12.5 Nm

¢âÕ·π–π”
a ระยะหางเขีย้ วหัวเทียน ถาไมมปี ระแจเช็คแรงขัน ใหประมาณคราวๆ โดย ใช
การประกอบหัวเทียน มื อ หมุ น หั ว เที ย นเข า ตามร อ งเกลี ย วของฝาสู บ
1. วัดระยะหางเขีย้ วดวยฟลเลอรเกจ ในกรณีทจี่ ำเปน ประมาณ 1/4-1/2 รอบจนแนน อยางไรก็ตาม ควรจะ
ให ป รั บ ระยะห า งเขี้ ย วหั ว เที ย นตามระยะที่ ขั น ให แ น น ตามที่ ม าตรฐานกำหนดให เ ร็ ว ที่ สุ ด เท า
กำหนดไว ที่จะทำได
ระยะหางเขี้ยวหัวเทียน:
0.6-0.7 มม. 4. ประกอบปลัก๊ หัวเทียน
5. ประกอบฝาครอบ
2. ทำความสะอาดบริเวณรองหัวเทียนและหนาสัมผัส
ของแหวนรอง
7-13

1P7F8199_U2_07_01.pmd 60 9/10/2551, 9:20


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
UAUU0341

น้ำมันเครื่องและการถายน้ำมันเครื่อง
ควรจะทำการตรวจเช็ควัดระดับน้ำมันเครื่องกอนที่
จะมีการขับขี่รถ นอกจากนี้ จะตองทำการเปลี่ยนน้ำมัน
เครื่อง และชุดแผนกรองน้ำมันเครื่องควรที่จะไดรับการ
ทำความสะอาดตามระยะที่กำหนดในตารางการบำรุง
รักษาและการหลอลื่นตามระยะ
การตรวจสอบระดับน้ำมันเครื่อง
1. ตั้งรถจักรยานยนตบนขาตั้งกลาง การที่รถเอียง 1. ฝาปดชองเติมน้ำมันเครือ่ ง
เพียงเล็กนอยอาจทำใหการอานระดับน้ำมันเกิด 3. รอสักครูเพื่อใหน้ำมันตกตะกอน แลวจึงหมุนเปด
ความคลาดเคลื่อนได ฝาชองเติมน้ำมันเครื่องออก ใชผาเช็ดทำความ
2. สตารทเครื่องใหเครื่องอุนพอประมาณ แลวดับ สะอาดเกจวัดระดับ แลวนำกลับเขาไปตำแหนงเดิม
เครือ่ ง (ไมตองขันเกลียว) และดึงเกจวัดระดับออกมาอีก
ครั้ง ตรวจเช็ควัดระดับน้ำมันเครื่อง
¢âÕ·π–π”
น้ำมันเครื่องควรอยูในระดับกึ่งกลางระหวางระดับ
น้ำมันสูงสุดและต่ำสุด
7-14

1P7F8199_U2_07_01.pmd 61 9/10/2551, 9:20


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
การเปลี่ยนถายน้ำมันเครื่องและการทำความ
สะอาดชุดกรองน้ำมันเครื่อง
1. สตารทเครือ่ งยนต เพือ่ อนุ เครือ่ งยนตสกั พัก แลวดับ
เครื่องยนต
2. วางอางรับน้ำมันเครื่องไวใตชองถายน้ำมันเครื่อง
เพือ่ รองรับน้ำมันเครือ่ งทีใ่ ชแลว
3. ถอดฝาป ด ช อ งเติ ม น้ำ มั น เครื่ อ งและโบลท ถ า ย
น้ำมันเครือ่ ง A ออก เพือ่ ใหน้ำมันเครือ่ งไหลออกมา
1. เกจวัดระดับน้ำมันเครือ่ ง
2. ตำแหนงระดับสูงสุด จากหองแครง ขอสังเกต: เมื่อคลายปลั๊กถาย
3. ตำแหนงระดับต่ำสุด น้ำมันเครือ่ งออก โอริง สปริงอัด และทีก่ รอง
น้ำมันจะหลุดออกมาดวย ระวังอยาใหชนิ้ สวน
4. ถาน้ำมันเครื่องอยูในระดับต่ำกวาระดับต่ำสุด ให เหลานีห้ ายไป [UCA11001]
เติมน้ำมันเครือ่ งชนิดทีแ่ นะนำจนไดระดับทีก่ ำหนด ¢âÕ·π–π”
5. สอดกานวัดระดับน้ำมันเครื่องลงในรูเติมน้ำมัน เมื่อทำการเปลี่ยนน้ำมันเครื่องอยางเดียว ใหถอด
เครือ่ ง แลวขันฝาปดกรองน้ำมันเครือ่ งใหแนน โบลทถายน้ำมันเครื่อง A เมื่อเปลี่ยนน้ำมันเครื่องและ
ทำความสะอาดที่กรองน้ำมันเครื่อง ใหถอดโบลทถาย
น้ำมันเครือ่ ง B ดวย
7-15

1P7F8199_U2_07_01.pmd 62 9/10/2551, 9:20


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ

1. โบลทถา ยน้ำมันเครือ่ ง A 1. ทีก่ รอง


2. โบลทถา ยน้ำมันเครือ่ ง B 2. สปริง
3. โอริง
4. ทำความสะอาดที่ ก รองน้ำ มั น เครื่ อ งด ว ยสาร 6. ประกอบทีก่ รองน้ำมันเครือ่ ง สปริง โอริง และโบลท
ละลาย (โซเว็นท) หลังจากนั้น ใหตรวจสอบวาที่ ถายน้ำมันเครื่อง จากนั้นขันโบลทใหแนนตามแรง
กรองมีการชำรุดเสียหายหรือไม ถาชำรุด ใหเปลีย่ น บิดที่กำหนด
ถาจำเปน
5. ตรวจสอบโอริง และเปลีย่ น ถาจำเปน

7-16

1P7F8199_U2_07_01.pmd 63 9/10/2551, 9:20


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
¢âÕ·π–π” น้ำมันเครื่องที่แนะนำ:
ตองแนใจวาโอริงไดประกอบเขากับฝาครอบเรียบ ดูหนา 9-1
รอยอยางถูกตอง ปริมาณน้ำมัน:
0.8 ลิตร (800 ซี.ซี.)
มาตรฐานแรงบิดในการขันโบลท: ¢âÕ·π–π”
โบลทถายน้ำมันเครื่อง A:
ควรแนใจวาไมมีคราบน้ำมันบนชิ้นสวนเครื่องยนต
20 Nm (2.0 m•kgf)
หลังจากเครือ่ งยนตและระบบไอเสียเย็นลงแลว
โบลทถายน้ำมันเครื่อง B:
UCA11620
20 Nm (2.0 m•kgf) ¢âÕ —߇°µ
7. เติมน้ำมันเครื่องที่แนะนำตามปริมาณที่กำหนด ● ไมควรใชน้ำมันดีเซลทีร่ ะบุสำหรับ “CD” หรือ
น้ำมันที่มีคุณภาพสูงกวาที่กำหนด นอกจาก
หลังจากนัน้ ใหปด ฝาชองเติมน้ำมันเครือ่ ง และขัน นี้ ไม ค วรใช น้ำ มั น ที่ ติ ด ฉลาก “ENERGY
ใหแนน CONSERVING II” หรือสูงกวา น้ำมันทีผ่ สม
สารเคมีหรือวัสดุหลอลื่นอื่นๆ ซึ่งอาจเปน
เหตุทำใหคลัตชลื่นได
● ระวังเศษวัสดุ เศษสิง่ สกปรกตกลงไปในหอง
แครง
7-17

1P7F8199_U2_07_01.pmd 64 9/10/2551, 9:20


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
8. สตารทเครื่องยนต อุนเครื่องสักครู แลวตรวจสอบ
ดูใหแนใจวาไมมนี ้ำมันรัว่ ซึมออกมา ถามีน้ำมันรัว่
ออกมา ใหดับเครื่องยนตทันที แลวนำรถของทาน
ไปใหชางผูจำหนายยามาฮาตรวจสอบและแกไข
9. ดับเครื่องยนต และทำการตรวจสอบระดับน้ำมัน
เครือ่ งใหถกู ตอง ถาจำเปน

1. ฝาเติมน้ำมัน
UAU20064
ชุดสงกำลังสุดทาย (เฟองทาย)
ชุดสงกำลังสุดทายตองไดรับการตรวจสอบการรั่ว
ของน้ำมันทุกครั้งกอนการขับขี่ ถาพบวามีการรั่วเกิดขึ้น
กรุณานำรถของทานใหชา งผจู ำหนายยามาฮาตรวจสอบ
และแกไข นอกจากนี้น้ำมันชุดเฟองทายตองไดรับการ
เปลี่ยนตามที่กำหนดในตารางการบำรุงรักษาและการ
หลอลื่นตามระยะ

7-18

1P7F8199_U2_07_01.pmd 65 9/10/2551, 9:20


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
5. ประกอบโบลทถา ยน้ำมันเฟองทาย และขันใหแนน
ตามแรงบิดที่กำหนด
คามาตรฐานแรงบิด:
โบลทถายน้ำมันเฟองทาย:
22 Nm (2.2 m•kgf)

6. เติมน้ำมันทีแ่ นะนำตามปริมาณทีก่ ำหนด พรอมกับ


1. โบลทถายน้ำมันเฟองทาย ปดฝาและขันใหแนน คำเตือน! ตรวจสอบใหแน
ใจวาไมมีสิ่งแปลกปลอมใดๆ ตกลงไปในชุด
1. ติดเครือ่ งยนต อนุ เครือ่ งโดยขับรถสักระยะ จากนัน้ เฟองทาย และตรวจสอบใหแนใจวาไมมนี ้ำมัน
ดับเครื่องยนต เครือ่ งหกเลอะทีล่ อ และยาง [UWA11311]
2. ตัง้ รถใหอยบู นขาตัง้ กลาง
3. วางทีร่ องน้ำมันเครือ่ งใตชดุ เฟองทายเพือ่ ใสน้ำมันที่ น้ำมันเฟองทายที่แนะนำ:
ใชแลว ดูหนา 9-1
4. ถอดฝาเติมน้ำมันเฟองทายและโบลทถายน้ำมัน ปริมาณน้ำมัน:
เฟองทายออกเพือ่ ใหน้ำมันไหลออกมา 0.1 ลิตร

7-19

1P7F8199_U2_07_01.pmd 66 9/10/2551, 9:20


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
7. ตรวจสอบการรั่วของน้ำมันในชุดเฟองทาย หากมี UAUU0411

น้ำมันรั่ว ใหตรวจสอบหาสาเหตุ
ไสกรองอากาศและไสกรองอากาศชุด
สายพานวี
ไสกรองอากาศควรไดรับการตรวจสอบและเปลี่ยน
เมื่อจำเปน และไสกรองอากาศชุดสายพานวีควรไดรับ
การทำความสะอาดตามระยะเวลาที่กำหนดในตาราง
การบำรุงรักษาและการหลอลื่นตามระยะ ทำการบำรุง
รักษาไสกรองอากาศบอยครัง้ ขึน้ ถาใชรถจักรยานยนตใน
พื้นที่ที่มีความเปยกชื้นหรือมีฝุนมาก
การตรวจสอบและการเปลี่ยนไสกรองอากาศ
1. ตั้งรถจักรยานยนตบนขาตั้งกลาง
2. ถอดฝาครอบ A ออก (ดูหนา 7-8 สำหรับขัน้ ตอน
การถอด-ประกอบ)
3. คลายสกรูเพือ่ ถอดฝาปดชุดไสกรองอากาศ
4. ดึงไสกรองอากาศออกมา

7-20

1P7F8199_U2_07_01.pmd 67 9/10/2551, 9:20


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
2 2

1. ฝาครอบชุดไสกรองอากาศ
UWA00062 1. ไสกรองอากาศ
2. สกรู (x 5) 6. ใสไสกรองอากาศเขาทีเ่ ดิม
5. ตรวจสอบวาไสกรองอากาศมีการชำรุดและอุดตัน 7. ประกอบฝาปดชุดไสกรองอากาศโดยการขันสกรูยดึ
หรือไม หากพบใหเปลีย่ นตามความเหมาะสม 8. ประกอบฝาครอบเขาที่เดิม

7-21

1P7F8199_U2_07_01.pmd 68 9/10/2551, 9:20


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ

1. ฝาครอบชุดไสกรองอากาศสายพาน A
การทำความสะอาดไสกรองอากาศชุดสายพานวี
2. โบลท (x 2)
1. ตั้งรถจักรยานยนตบนขาตั้งกลาง
2. คลายโบลท เ พื่ อ ถอดฝาป ด ไส ก รองอากาศชุ ด 3. ดึงไสกรองอากาศออกมา
สายพานวี 4. ทำความสะอาดไสกรองอากาศโดยใชสารทำความ
สะอาด จากนัน้ บีบใหแหง

7-22

1P7F8199_U2_07_01.pmd 69 9/10/2551, 9:20


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ

1. ฝาครอบชุดไสกรองอากาศ B 1. ไสกรองอากาศ (x 2)
2. โบลท (x 3)
6. ใชน้ำมันเครือ่ งชนิดทีแ่ นะนำชโลมพืน้ ผิวไสกรองทัง้
5. ตรวจสอบความเสียหายของไสกรองอากาศ และ หมด แลวบีบน้ำมันสวนเกินออก คำเตือน! ใชสาร
เปลีย่ นใหมหากจำเปน ทำความสะอาดชิน้ สวนทีร่ ะบุเทานัน้ เพือ่ หลีก
เลี่ ย งเหตุ ไ ฟไหม ห รื อ ระเบิ ด อย า ใช น้ำ มั น
เบนซิ น หรื อ สารทำละลายที่ มี จุ ด วาบไฟต่ำ
[UWA10431] ขอสังเกต: จับไสกรองอากาศอยางเบา
มือและระมัดระวัง เพื่อปองกันไมใหไสกรอง
อากาศเสียหาย อยาบิดไสกรองอากาศ [UCA10521]
7-23

1P7F8199_U2_07_01.pmd 70 9/10/2551, 9:20


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ

¢âÕ·π–π” 7. ใสไสกรองอากาศเขาในชุดไสกรอง
ไสกรองอากาศควรเปยกแตไมโชก 8. ประกอบฝาปดชุดไสกรองอากาศเขาทีเ่ ดิม แลวขัน
โบลทยดึ ขอสังเกต: ควรตรวจสอบใหแนใจวา
น้ำมันที่แนะนำ: ไ ส ก ร อ ง อ า ก า ศ ป ร ะ ก อ บ เ ข า กั บ ชุ ด ไ ส
น้ำมันไสกรองอากาศแบบโฟมของยามาฮา กรองอยางถูกตอง อยาติดเครือ่ งยนตโดยไมใส
หรือน้ำมันไสกรองอากาศแบบโฟมอื่นๆ ไส ก รองอากาศ มิ ฉ ะนั้ น ลู ก สู บ และ/หรื อ
กระบอกสูบอาจสึกหรอกวาทีค่ วรเปน [UCA10531]

7-24

1P7F8199_U2_07_01.pmd 71 9/10/2551, 9:20


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ

1. ตรวจสอบปลอกรัด (x 2) 1. ตรวจสอบปลอกรัด

การทำความสะอาดทอและหมวกปดสำหรับตรวจ 2. หากพบสิง่ สกปรกหรือน้ำ ใหถอดหมวกปดหรือทอ


สอบไสกรองอากาศ ออกทำความสะอาด แลวจึงใสกลับเขาที่
1. ตรวจสอบหมวกปดบริเวณดานลางฝง ซายและขวา
ของหม อ กรองอากาศและท อ ด า นล า งของชุ ด
สายพานวี เพื่อปองกันการสะสมของสิ่งสกปรก
หรือน้ำ

7-25

1P7F8199_U2_07_01.pmd 72 9/10/2551, 9:20


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
UAU21280
การปรับตั้งคารบูเรเตอร
คารบเู รเตอรเปรียบเสมือนหัวใจของเครือ่ งยนต ตอง
อาศัยความละเอียดออนในการปรับตัง้ ดังนัน้ การปรับตัง้
คาร บู เ รเตอร ค วรจะกระทำโดยช า งของผู จำหน า ย
ยามาฮา ซึง่ เปนผมู ปี ระสบการณในการทำงาน ซึง่ จะได
กลาวในหัวขอตอไป และทานเจาของรถก็อาจจะมีสว นใน
การดูแลรักษารถดวย
UCA10550

¢âÕ —߇°µ
คารบเู รเตอรไดผา นการปรับตัง้ และทดสอบโดย
โรงงานยามาฮาเปนที่เรียบรอยแลว การเปลี่ยน
แปลงจากที่ติดตั้งไวใดๆ โดยปราศจากความรูทาง
เทคนิค อาจทำใหประสิทธิภาพในการทำงานของ
เครื่องยนตลดลงหรือเกิดการชำรุดเสียหายได

7-26

1P7F8199_U2_07_01.pmd 73 9/10/2551, 9:20


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
UAUU0320
การปรับตั้งรอบเครื่องยนตเดินเบา
ตองทำการตรวจสอบรอบเดินเบาของเครื่องยนต
และถาจำเปน ใหปรับตัง้ รอบเดินเบาของเครือ่ งยนตตาม
ตารางการบำรุงรักษาและการหลอลื่นตามระยะ b
ควรทำการอนุ เครือ่ งยนตกอ นทำการปรับตัง้ รอบเดิน
เบาของเครือ่ งยนต
a
¢âÕ·π–π” 1. สกรูปรับตัง้ ลูกเรง
● เครือ่ งยนตทอี่ นุ เครือ่ งแลวจะตอบสนองการเรงอยาง 3. คีบเครือ่ งมือวัดรอบเครือ่ งยนต (แทคโคมิเตอร) เขา
รวดเร็ว ทีป่ ลัก๊ หัวเทียน
● ในการปรับตั้งรอบเดินเบา จำเปนตองใชเครื่องมือ 4. ตรวจสอบความเร็วรอบเดินเบาเครือ่ งยนต และถา
วัดรอบเครื่องยนต (แทคโคมิเตอร) จำเปนใหทำการปรับตั้งตามคาที่กำหนด
5. ถอดฝาปดทีเ่ ปนยางออก แลวสอดไขควงยาวเขา
1. เปดเบาะ (ดูหนา 7-11 สำหรับขั้นตอนการเปด- ไปในรู
ปดเบาะ) 6. ในการเพิม่ ความเร็วรอบเดินเบาของเครือ่ งยนต ให
2. ถอดฝาครอบ A (ดูหนา 7-8 สำหรับขั้นตอนการ หมุนสกรูปรับตั้งตามทิศทาง a ในการลดความ
ถอด-ประกอบฝาครอบ) เร็วรอบเดินเบาของเครือ่ งยนต ใหหมุนสกรูปรับตัง้
ตามทิศทาง b
7-27

1P7F8199_U2_07_02.pmd 74 6/10/2551, 17:17


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
UAU21370
คามาตรฐานรอบเครื่องเดินเบา:
การปรับตั้งระยะฟรีสายคันเรง
1,400-1,600 รอบ/นาที
ระยะฟรีสายคันเรงควรอยทู รี่ ะยะ 3-7 มม. ทีป่ ลอก
คันเรง การตรวจเช็คตามระยะฟรีสายคันเรงควรปรับ
¢âÕ·π–π”
ถ า ไม ส ามารถตั้ ง รอบเดิ น เบาเครื่ อ งยนต ต ามที่ ตามที่ระยะกำหนด
กำหนดขางบน ควรนำรถของทานไปใหผูจำหนายรถ ¢âÕ·π–π”
จักรยานยนตยามาฮาทำการปรับตั้งให ควรมีการปรับตั้งรอบเครื่องยนตเดินเบากอนที่จะมี
การตรวจเช็คและมีการปรับตั้งระยะฟรีสายคันเรง
7. ประกอบฝาครอบในตำแหนงเดิม แลวปดเบาะ
1. คลายนัทล็อค
2. เพือ่ เพิม่ ระยะฟรีสายคันเรง ปรับนัทไปในทิศทาง a
เพือ่ ลดระยะฟรีสายคันเรง ปรับนัทไปในทิศทาง b
3. ขันนัทล็อคใหแนน

7-28

1P7F8199_U2_07_02.pmd 75 6/10/2551, 17:17


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
UAU21401

การปรับตั้งระยะหางวาลว
การทีร่ ะยะหางของวาลวมีมากเกินไป เนือ่ งจากการ
ใชงานทำใหสวนผสมระหวางอากาศกับน้ำมันไมไดสัด
สวน หรือทำใหเฃรือ่ งยนตเกิดเสียงดัง เพือ่ ปองกันปญหา
ˇ ดังกลาว ควรใหชางผูจำหนายยามาฮาเปนผูปรับตั้ง
ระยะหางของวาลวตามระยะเวลาที่กำหนดในตาราง
การบำรุงรักษาและการหลอลื่นตามระยะ
1. นัทปรับสายเรง
2. นัทล็อค
3. นัทฝาครอบสายคันเรง
c. ระยะฟรีสายคันเรง

7-29

1P7F8199_U2_07_02.pmd 76 6/10/2551, 17:17


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
UAU21572
● การปรับความดันลมยาง ตองปรับใหเหมาะ
ยาง สมกับความเร็วในการขับขี่ รวมทัง้ น้ำหนักผู
เพือ่ ใหรถจักรยานยนตของทานมีสมรรถนะในการขับ ขับขี่ ผูซอนทาย สัมภาระ และน้ำหนักของ
ขี่ที่ดี มีความคงทนและปลอดภัย ทานควรคำนึงถึงจุด อุปกรณตกแตงที่เพิ่มขึ้นของรถรุนนี้
ตางๆ ที่สำคัญของยางดังตอไปนี้
ความดันลมยาง (วัดขณะยางเย็น):
0 ถึง 90 กก. (0-198 ปอนด):
ความดันลมยาง ยางหนา:
ควรมีการตรวจสอบความดันลมยางทุกครัง้ กอนการ 200 kPa (2.00 kgf/cm2) (29 psi)
ขับขี่ ยางหลัง:
225 kPa (2.25 kgf/cm2) (33 psi)
UWA10501
90 กก. (198 ปอนด) ถึงน้ำหนักบรรทุกสูงสุด:
ยางหนา:
การใชรถจักรยานยนตโดยทีค่ วามดันลมยางไม 200 kPa (2.00 kgf/cm2) (29 psi)
ถูกตองอาจทำใหสูญเสียการควบคุม และเกิดการ ยางหลัง:
225 kPa (2.25 kgf/cm2) (33 psi)
บาดเจ็บสาหัสหรือถึงแกชีวิตได น้ำหนักบรรทุกสูงสุด*:
● การตรวจสอบความดั น ลมยาง ต อ งตรวจ * น้ำหนักรวมของคนขับ ผูโดยสาร สัมภาระ และ
สอบขณะทีย่ างเย็น (อุณหภูมขิ องยางเทากับ อุปกรณตกแตง
อุณหภูมิบรรยากาศ)
7-30

1P7F8199_U2_07_02.pmd 77 6/10/2551, 17:17


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
UWA10511

ไมควรบรรทุกสัมภาระน้ำหนักมากเกินไป การ
ใชงานรถจักรยานยนตที่มีน้ำหนักบรรทุกมากเกิน
ไปอาจทำใหเกิดอุบัติเหตุได

1. แกมยาง
2. ขีดจำกัดการสึกของดอกยาง
a. มาตรฐานดอกยาง

การตรวจสอบสภาพยาง
ควรจะตรวจสอบสภาพของยางทุกครั้งเปนประจำ
ก อ นใช ร ถ ถ า ลายตามขวางของยางที่ แ สดงดั ง รู ป ที่ 2
(ความลึกต่ำสุดของรองดอกยาง) ถายางมีรอยขีดหรือโดน
เศษแกว เศษตะปู หรือมีการฉีกขาดของแกมยาง ทานควร
จะนำรถไปเปลี่ยนยางทันทีที่รานผูจำหนายยามาฮา

7-31

1P7F8199_U2_07_02.pmd 78 6/10/2551, 17:17


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
มาตรฐานความลึกรองดอกยาง (หนาและหลัง): หลังการทดสอบ รายชือ่ ยางตอไปนีเ้ ทานัน้ ทีผ่ า นการ
0.8 มม. ทดสอบจากบริ ษั ท ไทยยามาฮ า มอเตอร จำกั ด ว า
สามารถใชกับรถจักรยานยนตยามาฮาได
¢âÕ·π–π” ยางหนา:
มาตรฐานดอกยางของแตละประเทศมีมาตรฐานไม
เหมื อ นกั น จึ ง ควรเลื อ กใช ย างตามที่ แ ต ล ะประเทศ ขนาด:
กำหนด 70/90-16M/C 36P
โรงงานผลิต/แบบ:
ขอมูลเกี่ยวกับยาง IRC/NF59
รถจักรยานยนตรนุ นีใ้ ชยางแบบมียางใน (Tube tire) Dunlop/D110
UWA10461 ยางหลัง:
ขนาด:
ยางหนาและยางหลังของรถจักรยานยนตควร 80/90-16M/C 43P
เปนยางทีม่ รี ปู แบบและทำจากวัสดุชนิดเดียวกัน มิ โรงงานผลิต/แบบ:
ฉะนั้ น สมรรถนะในการบั ง คั บ รถจะลดลง ซึ่ ง IRC/NR76
สามารถนำไปสูการเกิดอุบัติเหตุได Dunlop/D110

7-32

1P7F8199_U2_07_02.pmd 79 6/10/2551, 17:18


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
UWA10560
UAUU0290

ลอรถ
● การขับขี่รถจักรยานยนตที่ยางชำรุดหรือสึก เพือ่ ใหรถจักรยานยนตของทานมีสมรรถนะในการขับ
นั้นเปนสิ่งอันตราย เมื่อยางสึกจนเริ่มเห็น ขีส่ งู มีความทนทานและปลอดภัย ทานควรคำนึงถึงจุด
ลายตามขวาง ควรใหชา งผจู ำหนายยามาฮา ทีส่ ำคัญของลอรถดังตอไปนี้
เปลี่ยนยางใหทันที ● ควรทีจ ่ ะตรวจสอบการฉีกขาด โคงงอของขอบยาง
● การเปลี่ ย นชิ้ น ส ว นที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ ล อ และ และการหลวมของซีล่ อ รถ (สำหรับรถรนุ ลอซีล่ วด)
เบรค รวมทั้ ง ยาง ควรให ช า งผู จำหน า ย ทุกครัง้ ทีม่ กี ารขับขี่ หากพบวายางและลอรถมีการ
ยามาฮ า ที่ มี ค วามรู ค วามชำนาญเป น ผู ชำรุ ด หรื อ เสี ย หาย ควรให ช า งของผู จำหน า ย
ทำหนาที่นี้ ยามาฮาเปนผูเปลี่ยนให ไมควรซอมแซมลอรถ
● กรณีที่ยางในรั่วไมควรใชการปะยาง ควร ดวยตนเอง แมวา จะเปนการซอมแซมเล็กๆ นอยๆ
เปลีย่ นยางในใหม แตถา จำเปนตองปะ ควร ลอรถทีม่ กี ารเสียรูปทรงหรือฉีกขาด ควรจะเปลีย่ น
เปลี่ยนยางในใหมใหเร็วที่สุด โดยใชยางใน ลอใหม
● ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนลอและยาง ควรตรวจสอบ
ที่มีคุณภาพสูง
ขนาดของยางว า มีค วามสมดุล กับ ล อ หรือ ไม มิ
ฉะนัน้ อาจทำใหสญ ู เสียสมรรถภาพในการขับขีห่ รือ
อายุของลอสัน้ ลง

7-33

1P7F8199_U2_07_02.pmd 80 6/10/2551, 17:18


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
● ควรขั บ รถที่ ค วามเร็ ว ปานกลาง หลั ง จากการ
เปลีย่ นยางใหมๆ เนือ่ งจากพืน้ หนายางอยใู นระยะ
“broken in” (การสึกหรอและพืน้ ผิวสัมผัสตางๆ ยัง
ไมเขาที่ จึงยังยึดเกาะถนนไมด)ี เพือ่ ใหยางเขาทีก่ อ น
เพือ่ ความปลอดภัย

1. คันเบรคหนา
UAU37912

การตรวจสอบระยะฟรีคันเบรคหนา
ไม ค วรมี ร ะยะฟรี ที่ คั น เบรคหน า หากมี ร ะยะฟรี
โปรดใหชางผูจำหนายยามาฮาเปนผูตรวจสอบระบบ
เบรค

7-34

1P7F8199_U2_07_02.pmd 81 6/10/2551, 17:18


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
UWA14211

หากรูสึกวาคันเบรคหนานุมและลึก แสดงวามี
อากาศในระบบไฮดรอลิก หากพบวามีอากาศใน
ระบบไฮดรอลิก โปรดใหชางผูจำหนายยามาฮา
ตรวจสอบระบบกอนใชงานรถจักรยานยนต อากาศ
ในระบบไฮดรอลิกจะลดประสิทธิภาพในการเบรค
ซึ่ ง อาจทำให สู ญ เสี ย การควบคุ ม และทำให เ กิ ด a. ระยะฟรีคันเบรคหลัง
อุบตั เิ หตุได UAU22170

การปรับตั้งระยะฟรีคันเบรคหลัง
ระยะฟรีคันเบรคหลังควรจะอยูที่ระยะ 10-20 มม.
ดังที่แสดงในรูป ควรที่จะมีการตรวจสอบ และปรับตั้ง
ระยะฟรีคันเบรคหลังตามระยะที่กำหนด
การเพิม่ ระยะฟรีคนั เบรคหลังทำไดโดยหมุนนัทปรับ
ตั้งระยะฟรีที่ดุมเบรคในทิศทาง a การลดระยะฟรีคัน
เบรคทำไดโดยหมุนนัทปรับตั้งระยะฟรีในทิศทาง b

7-35

1P7F8199_U2_07_02.pmd 82 6/10/2551, 17:18


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
UAU22380

การตรวจสอบผาเบรคหนาและผาเบรคหลัง
ควรจะทำการตรวจสอบการสึกหรอผาเบรคหนา
และผาเบรคหลังตามตารางการบำรุงรักษาและการหลอ
ลื่นตามระยะ

1. นัทปรับตัง้ ระยะฟรีคนั เบรคหลัง


UWA10650

ถาทานไมสามารถปรับตั้งระยะฟรีคันเบรคได
ตามที่อธิบายดานบน ทานสามารถนำรถใหชางผู
จำหนายยามาฮาเปนผูทำการปรับตั้งใหได

7-36

1P7F8199_U2_07_02.pmd 83 6/10/2551, 17:18


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
หนา หลัง

1. เข็มบอกพิกัดความสึกของผาเบรค (x 3) 1. เข็มบอกพิกัดความสึกเบรคหลัง
UAU22430 2. เสนบอกพิกดั ความสึกเบรคหลัง
ผาเบรคหนา UAU22540

ผาเบรคแตละอันจะมีเข็มบอกพิกดั ความสึก เพือ่ ให ผาเบรคหลัง


ผูใชสามารถตรวจสอบการสึกของผาเบรคเองได การ จะติดเข็มบอกพิกัดความสึกของเบรคไวที่เบรคหลัง
ตรวจสอบการสึกของผาเบรคควรจะดูที่ขีดบอกพิกัด ซึ่งการตรวจสอบการสึกของผาเบรคใหดูที่ตำแหนงของ
ความสึก ถาผาเบรคมีการสึกจนเข็มชีเ้ ลยขีดกำหนดการ เข็มบอกพิกดั ความสึก ในขณะทีม่ กี ารเหยียบเบรค เมือ่
ใชงาน ควรใหชางผูจำหนายยามาฮาเปลี่ยนผาเบรคให กดคันเบรคเต็มที่ ถาเข็มชีเ้ ลยขีดกำหนดการใชงาน ควร
ใหม พรอมทัง้ ตรวจสอบอุปกรณและปรับระยะฟรี ใหชางผูจำหนายยามาฮาเปลี่ยนผาเบรค

7-37

1P7F8199_U2_07_02.pmd 84 6/10/2551, 17:18


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
หนา ถาระดับน้ำมันเบรคต่ำ ทานควรตองตรวจสอบการสึก
ของผาเบรคและการรั่วของระบบเบรคดวย
สิ่งที่ควรระมัดระวัง:
● เมื่อทำการตรวจสอบระดับน้ำมันเบรค ควรตรวจ

สอบใหแนใจวาผิวหนาของกระปุกน้ำมันเบรคอยใู น
แนวระนาบโดยการหมุนแฮนดบังคับเลี้ยว
● ควรใชน้ำมันเบรคที่กำหนดไวเทานั้น มิฉะนั้นอาจ

ทำใหซีลยางเสื่อมได ซึ่งจะกอใหเกิดการรั่วของ
1. ระดับน้ำมันเบรคขั้นต่ำ
UAU32344
ระบบเบรค และสมรรถนะในการทำงานของ
การตรวจสอบระดับน้ำมันเบรค เบรคลดลงได
การที่น้ำมันเบรคมีนอยเกินไปอาจกอใหเกิดอากาศ น้ำมันเบรคที่กำหนด:
ในระบบเบรค ซึ่งอาจสงผลใหประสิทธิภาพในการเบรค DOT 4
ลดลง
กอนที่จะขับขี่รถทุกครั้ง ควรตรวจสอบระดับน้ำมัน
เบรความีอยูถึงระดับน้ำมันขั้นต่ำที่กำหนดหรือไม และ
เติมน้ำมันเบรคถาจำเปน ระดับน้ำมันเบรคทีต่ ่ำมากเกิน
ไปอาจทำใหผา เบรคสึกหรือเกิดการรัว่ ของระบบเบรคได
7-38

1P7F8199_U2_07_02.pmd 85 6/10/2551, 17:18


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
● ควรเติมน้ำมันเบรคชนิดเดียวกับทีม่ อี ยแู ลว การใช UAU22721

น้ำ มั น เบรคปนกั น หลายชนิ ด อาจทำให เ กิ ด การเปลี่ยนน้ำมันเบรค


ปฏิกริ ยิ าทางเคมีทอี่ นั ตราย และทำใหสมรรถนะใน ควรนำรถของทานไปเปลีย่ นน้ำมันเบรคตามระยะที่
การเบรคลดลง กำหนดใน “ขอแนะนำ” ใตตารางการบำรุงรักษาและการ
● ควรระวั ง ไม ใ ห น้ำ เข า ไปในแม ป ม เบรคตั ว บน หลอลื่นตามระยะ นอกจากนี้ ควรตรวจสอบสภาพของ
ขณะเติมน้ำมันเบรค เนื่องจากน้ำที่ปนเขาไปจะ ซีลน้ำมันทีอ่ ยบู นแมปม เบรคตัวบนและคาลิเปอรวา อยใู น
สงผลใหเกิดฟองอากาศในสายน้ำมันเมื่อไดรับ สภาพดีหรือไม ในขณะเดียวกันก็ควรเปลี่ยนสายเบรค
ความรอน ตามระยะทีก่ ำหนด หรือเมือ่ ไรก็ตามทีม่ กี ารชำรุดหรือรัว่
● ซีลน้ำมัน: เปลีย ่ นทุกๆ 2 ป
● น้ำมันเบรคอาจทำใหพื้นสีผิวหรือชิ้นสวนพลาสติก
● สายเบรค: เปลีย ่ นทุกๆ 4 ป
เสียหายเปนรอยได ดังนัน้ จึงควรทำความสะอาดน้ำ
มันเบรคที่หกทันทีทุกครั้ง
● เมื่อผาเบรคเกิดการสึกหรอ ระดับของน้ำมันเบรค
จะคอยๆ ลดลงหรือมีนอ ย อยางไรก็ตาม ถาระดับ
น้ำมันเบรคลดลงอยางรวดเร็ว ควรนำรถของทาน
ไปตรวจสอบไดที่ผูจำหนายยามาฮา

7-39

1P7F8199_U2_07_02.pmd 86 6/10/2551, 17:18


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
UAUU0310 UAU23101

การตรวจสอบสภาพสายพาน การตรวจสอบและการหลอลื่นสายควบคุม
ควรนำรถจั ก รยานยนต ข องท า นไปให ผู จำหน า ย ควรตรวจสอบการทำงานและสภาพของสายที่
ยามาฮาตรวจสอบสายพานตามตารางการบำรุงรักษา ทำหนาทีค่ วบคุมตางๆ ในรถ เชน สายเบรค สายคันเรง
และการหลอลื่นตามระยะ ทุกครั้งกอนการขับขี่ สายเหลานี้ ควรไดรับการหลอลื่น
ใหอยูในสภาพพรอมใชงาน ถาสายชำรุดหรือฝด ควร
นำรถไปตรวจเช็ ค สภาพหรื อ เปลี่ ย นชิ้ น ส ว นใหม ไ ด ที่
ผจู ำหนายยามาฮา คำเตือน! การชำรุดทีผ่ วิ ดานนอก
ของสายควบคุมตางๆ อาจจะเกิดจากการเกิดสนิม
ภายในสาย จึงควรเปลีย่ นสายใหมใหเร็วทีส่ ดุ เพือ่
ปองกันอันตรายทีจ่ ะเกิดขึน้ [UWA10721]

น้ำมันหลอลื่นที่กำหนด:
น้ำมันเครื่อง

7-40

1P7F8199_U2_07_02.pmd 87 6/10/2551, 17:18


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
UAU23111

การตรวจสอบและการหลอลื่นคันเรงและ
สายคันเรง
กอนการขับขี่ ควรตรวจสอบการทำงานของคันเรง
ทุกครัง้ นอกจากนีค้ วรจะมีการหลอลืน่ สายคันเรงตามที่
กำหนดในตารางการบำรุงรักษาและการหลอลื่นตาม
ระยะ
UAU43641

การหลอลื่นคันเบรคหนาและคันเบรคหลัง
ควรมีการหลอลื่นจุดหมุนของคันเบรคหนาและคัน
เบรคหลังตามทีก่ ำหนดในตารางการบำรุงรักษาและการ
หลอลื่นตามระยะ
สารหลอลื่นที่แนะนำ:
คันเบรคหนา:
จาระบีซิลิโคน
คันเบรคหลัง:
จาระบีลิเธียม
7-41

1P7F8199_U2_07_02.pmd 88 6/10/2551, 17:18


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ

UAU23213

การตรวจสอบและการหลอลื่นขาตั้งกลาง
และขาตั้งขาง
กอนการขับขี่ทุกครั้ง ควรตรวจสอบวาขาตั้งกลาง
และขาตัง้ ขางมีการเคลือ่ นตัวขณะใชงานฝดหรือไม และ
หลอลืน่ ทีเ่ ดือย ถาจำเปน

7-42

1P7F8199_U2_07_02.pmd 89 6/10/2551, 17:18


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
UWA10741 UAU23272
การตรวจสอบโชคหนา
ควรมีการตรวจสอบสภาพและการทำงานของโชค
ถาขาตั้งกลางหรือขาตั้งขางมีการเคลื่อนที่ขึ้น
หนาตามที่กำหนดไวในตารางการบำรุงรักษาและการ
และลงไม ค ล อ งหรื อ ฝ ด ควรนำรถไปให ช า งผู
หลอลื่นตามระยะ
จำหนายยามาฮาทำการตรวจสอบ มิฉะนั้น ขาตั้ง
การตรวจสอบสภาพ
กลางหรือขาตั้งขางอาจสัมผัสกับพื้น และทำให
ตรวจสอบทอภายในวามีรอยฉีกขาด การชำรุดเสีย
เสียการทรงตัว ทำใหสูญเสียการควบคุมได
หาย หรือการรั่วของน้ำมันหรือไม
สารหลอลื่นที่กำหนด:
จาระบีลิเธียม

7-43

1P7F8199_U2_07_02.pmd 90 6/10/2551, 17:18


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
UCA10590

¢âÕ —߇°µ
ถาโชคหนาเกิดการชำรุดเสียหายหรือทำงานไม
ราบรื่น ใหนำรถของทานไปใหผูจำหนายยามาฮา
ตรวจสอบแกไข

การตรวจสอบการทำงาน
1. ตัง้ รถจักรยานยนตบนพืน้ ผิวราบ และใหอยใู นแนว
ตัง้ ตรงขึน้ คำเตือน! เพือ่ หลีกเลีย่ งการไดรบั บาด
เจ็ บ ให ตั้ ง รถจั ก รยานยนต ใ ห มั่ น คง เพื่ อ
ปองกันอันตรายจากรถลม [UWA10751]
2. ขณะที่บีบคันเบรค ใหกดคอรถอยางแรงที่แฮนด
บังคับ และกดหลายๆ ครัง้ เพือ่ ตรวจสอบแรงอัดของ
โชคหนาวามีการดีดตัวอยางราบรื่นหรือไม

7-44

1P7F8199_U2_07_02.pmd 91 6/10/2551, 17:18


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
UAU23283

การตรวจสอบชุดบังคับเลี้ยว
ถาลูกปนคอรถเกิดการสึกหรือหลวม อาจกอใหเกิด
อันตรายตอผขู บั ขีไ่ ด ดังนัน้ จึงควรตรวจสอบการทำงาน
ของชุ ด บั ง คั บ เลี้ ย วตามที่ กำหนดในตารางการบำรุ ง
รักษาและการหลอลื่นตามระยะ
1. ตัง้ รถจักรยานยนตบนขาตัง้ กลาง เพือ่ ใหลอ หนายก
ขึ้นจากพื้นไดงาย (ดูหนา 7-42 สำหรับขอมูลเพิ่ม
เติม) คำเตือน! เพือ่ ความปลอดภัย ควรตรวจ 2. จับสวนลางสุดของแขนบังคับเลีย้ วและโยกไปมา ถา
สอบรถจักรยานยนตของทานวาตัง้ อยบู นขาตัง้ แขนบังคับเลี้ยวมีระยะฟรีหรือหลวม ควรนำรถ
ในสภาพดี มิฉะนั้น อาจเกิดอันตรายจากรถ จักรยานยนตของทานไปตรวจสอบและแกไขทีร่ า น
จักรยานยนตลม ได [UWA10751] ผูจำหนายยามาฮา

7-45

1P7F8199_U2_07_02.pmd 92 6/10/2551, 17:18


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
UAU23290 UAU03806

การตรวจสอบลูกปนลอ แบตเตอรี่
ควรมีการตรวจสอบลูกปนลอหนาและลอหลังตามที่ การขาดการบำรุ ง รั ก ษาแบตเตอรี่ ที่ ดี ส ง ผลให
กำหนดในตารางการบำรุงรักษาและการหลอลื่นตาม แบตเตอรี่เสื่อมเร็ว และมีอายุการใชงานที่สั้นลง ระดับ
ระยะ ถาดุมลอติดขัดหรือฝด ควรนำรถเขาตรวจเช็คที่ น้ำยาอีเล็คโตรไลท ขั้วสายแบตเตอรี่ และทอระบายน้ำ
รานผูจำหนายยามาฮา กรด ควรไดรับการตรวจสอบสภาพและการทำงานทุก
ครัง้ กอนการขับขี่ ตามทีก่ ำหนดในตารางการบำรุงรักษา
และการหลอลื่นตามระยะ
การตรวจสอบระดับน้ำยาอีเล็คโตรไลท
1. ถอดฝาครอบ A ออก (ดูหนา 7-8 สำหรับการ
ถอดประกอบฝาครอบ)

7-46

1P7F8199_U2_07_02.pmd 93 6/10/2551, 17:18


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ

1. ขัว้ แบตเตอรีล่ บ 1. ระดับสูงสุด Maximum level mark


2. ผารัดแบตเตอรี่ 2. ระดับต่ำสุด Minimum level mark
3. ทอระบายน้ำกรด
2. ถอดผ า รั ด แบตเตอรี่ อ อก หลั ง จากนั้ น ดึ ง ขั้ ว 5. วางแบตเตอรี่ ใ ห อ ยู ใ นแนวราบ และทำการ
แบตเตอรีข่ วั้ ลบออกจากแบตเตอรี่ ตรวจสอบระดับน้ำยาอีเล็คโตรไลทในแบตเตอรี่
3. ดึงทอระบายน้ำกรดออก ดังรูป ¢âÕ·π–π”
4. ดึงแบตเตอรีอ่ อกจากชองเก็บแบตเตอรี่
ระดับของน้ำยาอีเล็คโตรไลทควรอยูระหวางเครื่อง
หมายระดับสูงสุดและระดับต่ำสุด

7-47

1P7F8199_U2_07_02.pmd 94 6/10/2551, 17:18


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
6. ถาระดับน้ำยาอีเล็คโตรไลทอยูในระดับต่ำสุดหรือ ● กระบวนการทำงานของแบตเตอรี่กอใหเกิด
ต่ำกวานัน้ ใหเติมน้ำกลัน่ เพือ่ ใหน้ำยาอีเล็คโตรไลท กาซไฮโดรเจน ดังนัน้ ควรหลีกเลีย่ งอยาใหเกิด
อยใู นระดับสูงสุด ประกายไฟ เปลวไฟ และสูบบุหรี่ เปนตน ใกลๆ
UW000116 กับแบตเตอรี่ นอกจากนี้ ควรมีอากาศถายเท
เพียงพอเมื่อมีการชารจแบตเตอรี่
● น้ำยาอีเล็คโตรไลทเปนสารพิษ และมีอนั ตราย ● ควรเก็บแบตเตอรีใ ่ หพนมือเด็ก
เนื่องจากประกอบไปดวยกรดซัลฟูริก ซึ่งอาจ
UC000100
ทำใหผวิ หนังไหมอยางรุนแรง ดังนัน้ จึงควรหลีก
เลีย่ งไมใหผวิ หนัง ดวงตา หรือเสือ้ ผาสัมผัสกับ ¢âÕ —߇°µ
น้ำยา ควรปองกันดวงตาของทานทุกครั้ง เมื่อ ไมควรใชน้ำประปาเติมแบตเตอรี่ เพราะจะทำให
ต อ งทำงานใกล กั บ แบตเตอรี่ ในกรณี ที่ แบตเตอรีเ่ สือ่ ม ควรเลือกใชน้ำกลัน่ เทานัน้
น้ำกรดถูกรางกายควรปฐมพยาบาลเบื้องตน
ดวยวิธีการดังตอไปนี้ 7. ควรตรวจสอบวาขันสายแบตเตอรีบ่ วก (สีแดง) เขา
• ภายนอก : ลางดวยน้ำเปลามากๆ กับขัว้ บวกของแบตเตอรี่
• ภายใน : ดื่มน้ำหรือนมทันทีในปริมาณ 8. ประกอบแบตเตอรีเ่ ขากับตัวรถ
มากๆ 9. ตอ และขันสายแบตเตอรีข่ วั้ ลบ (สีดำ) เขากับขัว้ ลบ
• ดวงตา : ลางดวยน้ำเปลาประมาณ 15 ของแบตเตอรี ใ่ หแนน
นาที และควรรีบพบแพทย
7-48

1P7F8199_U2_07_02.pmd 95 6/10/2551, 17:18


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
2. ถ า มี ค วามจำเป น ต อ งเก็ บ แบตเตอรี่ ม ากกว า
2 เดือน จำเปนตองตรวจสอบคาความถวงจำเพาะ
ของน้ำยาอีเล็คโตรไลท และประจุไฟฟาเขากับ
แบตเตอรีอ่ ยางนอยเดือนละ 1 ครัง้
3. ควรประจุไฟใหเต็มกอนนำไปประกอบเขากับรถ
4. หลังจากประกอบเขากับรถเรียบรอยแลว ตองแนใจ
วาตอขั้วสายแบตเตอรี่ และทอระบายน้ำ กรดได
อยางถูกตองตามตำแหนง และทออยูในสภาพที่
1. ทอระบายน้ำกรด ดีไมมีสิ่งกีดขวาง
10. ตอทอระบายน้ำกรดในตำแหนงที่ถูกตอง และ UC000099
ตรวจสอบใหแนใจวามีการเดินทอระบายน้ำกรด ¢âÕ —߇°µ
ไดอยางถูกตอง ถาทอระบายน้ำกรดอยูในตำแหนงที่ใกลเปลว
11. เกีย่ วยางรัดแบตเตอรีเ่ ขากับทีจ่ บั ไฟ อาจกอใหเกิดอันตรายได เนื่องจากทอระบาย
12. ประกอบฝาครอบเขาที่เดิม น้ำกรด มีหนาทีร่ ะบายกาซ ซึง่ เกิดขึน้ ในแบตเตอรี่
การเก็บแบตเตอรี่ (กาซติดได) ออกมา ดังนัน้ เปลวไฟอาจทำปฏิกริ ยิ า
1. หากไมใชรถมากกวา 1 เดือน ควรถอดแบตเตอรี่ กับกาซที่ออกมาและทำใหเกิดการระเบิดได
ออกจากตัวรถ ประจุไฟใหเต็ม และนำไปเก็บไวใน
ที่ที่มีความเย็นและแหง
7-49

1P7F8199_U2_07_02.pmd 96 6/10/2551, 17:18


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
UAU01307*
การเปลี่ยนฟวส
ฟ ว ส อ ยู ใ นบริ เ วณหลั ง ฝาครอบ A (ดู ห น า 7-8
สำหรับการถอด-ประกอบฝาครอบ) ถาฟวสชำรุด ควร
เปลีย่ นฟวสใหมดงั ขัน้ ตอนตอไปนี้
1. บิดสวิทชกุญแจไปที่ตำแหนง “OFF” เพื่อปดวงจร
ไฟฟา
2. ดึ ง แบตเตอรี่ อ อกจากรถ (ดู ห น า 7-46 การ
ตรวจสอบร ะ ดั บ น้ำ ย า อี เ ล็ ค โตรไลท / การ 1. รีเลยสตารท
ถอด-ประกอบแบตเตอรี่) 3. ดึงรีเลยสตารทออก

7-50

1P7F8199_U2_07_02.pmd 97 6/10/2551, 17:18


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
UC000103

¢âÕ —߇°µ
ไมควรใชฟว สทมี่ คี า แอมปสงู กวาทีก่ ำหนดแทน
ของเกาที่ชำรุด เนื่องจากคาแอมปสูงจะทำใหเกิด
อันตรายตอระบบไฟฟา และอาจทำใหเกิดไฟลุก
ไหมได

1. ฟวส
5. ใสรีเลยสตารทเขาตำแหนงเดิม
2. ฟวสสำรอง 6. ใสแบตเตอรีเ่ ขากับรถจักรยานยนต
7. หมุนสวิทชไปที่ตำแหนง “ON” ทำการเปดสวิทช
4. เปลีย่ นฟวสทชี่ ำรุด และฟวสทเี่ ปลีย่ นใหมตอ งมีคา เพื่อตรวจสอบการทำงาน
แอมปตามที่กำหนด 8. ถาฟวสขาดอีก ควรใหผูจำหนายยามาฮาเปนผู
ตรวจสอบระบบไฟฟาให
ขนาดฟวสที่กำหนด:
10 แอมป

7-51

1P7F8199_U2_07_02.pmd 98 6/10/2551, 17:18


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
UAUU0121

การเปลี่ยนหลอดไฟหนา
ถาหลอดไฟหนาขาด ใหทำการเปลี่ยนตามขั้นตอน
ดังตอไปนี้
UCA10660

¢âÕ —߇°µ
อยาสัมผัสสวนทีเ่ ปนแกวของหลอดไฟ และอยา
ใหเปอนน้ำมัน เพราะจะทำใหมัว และทำใหอายุ
การใชงานของหลอดไฟสัน้ ลง ดังนัน้ ควรทำความ 1. อยาสัมผัสสวนทีเ่ ปนแกวของหลอดไฟ
สะอาดหลอดไฟด ว ยการใช ผ า สะอาดชุ บ แอล- 1. ตั้งรถจักรยานยนตบนขาตั้งกลาง
กอฮอลเช็ดทำความสะอาด 2. ถอดบั ง ลม A (ดู ห น า 7-9 สำหรั บ การ
ถอด-ประกอบบังลม)

7-52

1P7F8199_U2_07_02.pmd 99 6/10/2551, 17:18


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ

1. ฝาครอบหลอดไฟหนา (x 2) 1. ขัว้ หลอดไฟหนา


3. ถอดฝาครอบหลอดไฟหน า ด ว ยการหมุ น ทวน 4. ถอดขั้วยึดหลอดไฟหนา โดยการกดแลวหมุนทวน
เข็มนาฬิกา เข็มนาฬิกา และถอดหลอดไฟออก
5. ใสหลอดไฟหลอดใหมเขากับตำแหนงเดิมและยึดให
แนนกับขัว้ ยึดหลอดไฟ
6. ประกอบบังลมเขาทีเ่ ดิม
7. ควรใหผูจำหนายรถจักรยานยนตยามาฮาทำการ
ปรับตัง้ ลำแสงไฟสูงใหทา น ถาจำเปน

7-53

1P7F8199_U2_07_02.pmd 100 6/10/2551, 17:18


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
UAUT1261

การเปลี่ยนหลอดไฟเลี้ยวหนา
UCA10670

¢âÕ —߇°µ
ขอแนะนำใหผูจำหนายยามาฮาเปนผูดำเนิน-
การ

1. ตั้งรถจักรยานยนตบนขาตั้งกลาง
1.ขั้วหลอดไฟเลี้ยวหนา (x 2)
2. ถอดบังลม A (ดูหนา 7-9)
3. ถอดขั้วหลอด (พรอมหลอดไฟ) โดยหมุนทวนเข็ม 4. ถอดหลอดไฟทีข่ าดออก โดยการดันเขาไปและหมุน
นาฬิกา ทวนเข็มนาฬิกา
5. ใสหลอดไฟใหมเขากับขั้วหลอด โดยการดันเขาไป
แลวหมุนตามเข็มนาฬิกาเขาไปจนสุด
6. ประกอบขั้วหลอด (พรอมหลอดไฟ) โดยหมุนตาม
เข็มนาฬิกา
7. ประกอบบังลมเขาทีเ่ ดิม

7-54

1P7F8199_U2_07_02.pmd 101 6/10/2551, 17:18


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
UAUS0013*

การเปลีย่ นหลอดไฟทาย/หลอดไฟเบรค
และหลอดไฟสัญญาณ UC000107

¢âÕ —߇°µ
ควรใหผูจำหนายยามาฮาเปนผูทำการเปลี่ยน
หลอดไฟใหกับทาน
ตั้งรถจักรยานยนตบนขาตั้งกลาง
1.สกรู (x 4)
หลอดไฟทาย/ไฟเบรค
1. ถอดสกรูยดึ และดึงฝาครอบทายออก 2. ถอดสกรูดงึ เลนสไฟทายออกมา

7-55

1P7F8199_U2_07_02.pmd 102 6/10/2551, 17:18


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ

1. หลอดไฟทาย / ไฟเบรค 1. หลอดสัญญาณไฟเลี้ยว (x 2)


3. ถอดหลอดไฟที่เสียออกมา โดยกดเขาไปแลวหมุน หลอดไฟเลีย้ ว
ทวนเข็มนาฬิกา 1. ถอดเลนสครอบไฟทาย/ไฟเบรค/ไฟเลีย้ วออก (ดูตาม
4. เปลีย่ นหลอดไฟดวงใหมในตำแหนงเดิมโดยกดเขา ไป
ขัน้ ตอนการถอดเปลีย่ นไฟทายและไฟเบรค)
แลวหมุนตามเข็มนาฬิกาจนกระทั่งหลอดไฟเขาล็อค
5. ใสเลนสไฟทาย/ไฟเบรคเขาไปยังตำแหนงเดิม แลว 2. ถอดหลอดไฟทีเ่ สียออกมา
ใสสกรู 3. เปลีย่ นหลอดไฟดวงใหมเขาไปในตำแหนงเดิม
UC000108
4. ประกบเลนสเขากับตำแหนงเดิมแลวทำการยึดสกรู
¢âÕ —߇°µ
ไมควรขันสกรูแนนจนเกินไป เพราะอาจทำให
เลนสแตกได
7-56

1P7F8199_U2_07_02.pmd 103 6/10/2551, 17:18


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
UAU25851
ทีส่ นั้ กวาอะไหลแท นอกจากนีอ้ าจทำใหทา นเสียคาซอม
การแกไขปญหา บำรุงมากกวาเดิมก็เปนได
แมวารถจักรยานยนตยามาฮาจะไดรับการตรวจ
สอบอยางละเอียด กอนทีจ่ ะมีการสงรถออกจากโรงงาน UWA15141

แตก็อาจจะยังมีปญหาตางๆ เกิดขึ้นตามมาได ไมวา


จะเปนปญหาในเรือ่ งของน้ำมันเชือ้ เพลิง ระบบกำลังอัด ขณะตรวจสอบระบบน้ำมันเชื้อเพลิง หามสูบ
หรือระบบจุดระเบิด เปนตน ซึง่ จะสงผลใหสตารทเครือ่ ง บุหรี่ และดูใหแนใจวาไมมเี ปลวไฟหรือประกายไฟ
ยาก และอาจทำใหสญ ู เสียกำลัง ในบริเวณนัน้ รวมทัง้ ไฟแสดงการทำงานของเครือ่ ง
ถารถของทานมีปญ  หา ควรนำรถของทานไปใหชา ง ทำน้ำรอน หรือเตาไฟ น้ำมันเบนซินหรือไอน้ำมัน
ผูจำหนายยามาฮาตรวจสอบแกไข เนื่องจากชางของผู เบนซินสามารถจุดติดหรือระเบิดได ซึง่ ทำใหไดรบั
จำหนายนั้นมีความรู ความสามารถ และประสบการณ บาดเจ็บหรือทำใหทรัพยสินเสียหายได
ดานเทคนิคมีเครื่องมือที่พรอม อยางไรก็ตาม ทานควร
ตรวจสอบระบบที่สำคัญของเครื่องยนตดวยตัวทานเอง
ดวยเชนกัน
เมือ่ ทานตองการเปลีย่ นอะไหลกค็ วรเลือกใชอะไหล
แทของยามาฮาเทานัน้ การใชอะไหลทลี่ อกเลียนแบบอาจ
ทำใหสมรรถนะในการทำงานลดลงหรือมีอายุการใชงาน
7-57

1P7F8199_U2_07_02.pmd 104 6/10/2551, 17:18


การบำรุงรักษาและการปรับตามระยะ
UAUW0351
ตารางการแกไขปญหา
1.ระบบน้ำมันเชื้อเพลิง น้ำมันเพียงพอ ตรวจสอบกำลังอัด
ตรวจสอบระดับน้ำมันในถัง
ไมมีน้ำมัน เติมน้ำมัน ถาเครื่องยนตไมติด ใหตรวจสอบกำลังอัด

2.ระบบกำลังอัด มีกำลังอัด ตรวจสอบการจุดระเบิด


ทำการสตารทดวยไฟฟา
ไมมีกำลังอัด ควรนำรถเขาตรวจเช็คที่ศูนยผูจำหนายยามาฮา
3.ระบบจุดระเบิด เช็ดดวยผาใหแหงและใหมีระยะหางเขี้ยว บิดคันเรง 1/2 รอบ
เปยก หัวเทียนตามที่กำหนด หรือเปลี่ยนหัวเทียน พรอมทำการสตารทไฟฟา
เปลี่ยนหัวเทียน
และตรวจสภาพการสึกกรอน
แหง นำรถเขาตรวจเช็คที่ศูนยผูจำหนายยามาฮา ถาเครื่องยนตไมทำงาน
ใหตรวจสอบแบตเตอรี่
4.แบตเตอรี่ เครื่องยนตหมุนเร็ว แบตเตอรี่อยูในสภาพดี
ทำการสตารทดวยไฟฟา ถาเครื่องยนตไมติด ควรนำรถไป
ตรวจสอบระดับน้ำกรดประจุไฟใหม ตรวจเช็คที่ศูนยผูจำหนายยามาฮา
เครื่องยนตหมุนชา ตรวจสอบขัว้ แบตเตอรีต่ าง ๆ

7-58

1P7F8199_U2_07_02.pmd 105 6/10/2551, 17:18


การทำความสะอาดและการเก็บรักษารถจักรยานยนต UAU25981

UAUU0403
3. ขจัดคราบสกปรกฝงแนน เชน รอยน้ำมันไหมบน
การดูแลรักษา แครงเคส ทำความสะอาดดวยสารขจัดคราบมัน
การออกแบบทีเ่ ปดโลงของรถจักรยานยนตแสดงให
และแปรง แตหา มใชสารดังกลาวกับซีล ปะเก็น เฟอง
เห็นถึงความนาทึง่ ของเทคโนโลยี แตกท็ ำใหเกิดความเสีย
โซ โซขบั และแกนลอ ใหลา งสิง่ สกปรกและสารขจัด
หายไดงา ยขึน้ ดวย สนิมและการกัดกรอนสามารถเกิดขึน้
คราบมันออกดวยน้ำทุกครั้ง
ไดแมวา จะใชสว นประกอบทีม่ คี ณ
ุ ภาพสูง ทอไอเสียทีเ่ ปน
สนิมอาจลามไปถึงตัวรถไดโดยไมทนั รตู วั อยางไรก็ตาม การทำความสะอาด
สนิมจะทำใหรปู ลักษณโดยรวมของรถจักรยานยนตตอ ง UCA10782

เสียไป การดูแลรักษาที่ถูกตองและบอยครั้งไมเพียงแต ¢âÕ —߇°µ


จะเปนเงื่อนไขในการรับประกันเทานั้น แตยังทำใหรถ
จักรยานยนตของทานดูดี ยืดอายุการใชงาน และให
● หลี ก เลี่ ย งการใช น้ำ ยาทำความสะอาดล อ
ชนิดเปนกรดแก โดยเฉพาะกับลอซีล่ วด ถา
ประสิทธิภาพสูงสุดอีกดวย
ตองใชน้ำยาดังกลาวเพือ่ ขจัดคราบสกปรกที่
กอนทำความสะอาด ลางออกยาก อยาปลอยทิง้ น้ำยาไวในบริเวณ
1. ครอบปลายทอไอเสียดวยถุงพลาสติกหลังจากเครือ่ ง ที่ทำความสะอาดนานกวาที่แนะนำไว นอก
ยนตเย็นแลว จากนี้ ใหลางบริเวณดังกลาวใหทั่วดวยน้ำ
2. ดูใหแนใจวาฝาปดและฝาครอบทั้งหมด รวมทั้งขั้ว เช็ดใหแหงทันที แลวฉีดสเปรยปองกันการ
ตอและขัว้ เสียบไฟฟาทัง้ หมด และจุกขัว้ หัวเทียนได กัดกรอน
รับการติดตั้งอยางแนนหนาแลว
8-1

1P7F8199_U2_08.pmd 106 9/10/2551, 9:21


การทำความสะอาดและการเก็บรักษารถจักรยานยนต
● การทำความสะอาดทีไ่ มถกู ตองอาจทำใหชนิ้ ● ห า มใช หั ว ฉี ด น้ำ แรงดั น สู ง หรื อ เครื่ อ งทำ
สวนพลาสติก (เชน บังลม ฝาครอบ แผงบัง ความสะอาดแบบไอน้ำแรงดันสูง เนื่องจาก
ลม เลนส ค รอบไฟหน า เลนส ค รอบแผง จะทำใหน้ำแทรกซึมและทำลายบริเวณตอ
หนาปด และอืน่ ๆ) และปลายทอไอเสียเสีย ไปนีค้ อื ซีล (ของลอและแบริง่ สวิงอารม โชค
หายได ใช เ ฉพาะผ า เนื้อ นุม หรื อ ฟองน้ำ ที่ หน า และเบรค) ชิ้ น ส ว นของระบบไฟฟ า
สะอาดชุบน้ำในการทำความสะอาดพลาสติก (ขัว้ ตอ ขัว้ เสียบ หนาปด สวิทช และไฟสอง
อย า งไรก็ ต าม น้ำ อาจทำความสะอาดชิ้ น สวาง) ทอและชองระบายอากาศ
ส ว นพลาสติ ก ได ไ ม ห มด อาจใช น้ำ ยา ● สำหรับรถจักรยานยนตที่ติดตั้งแผงบังลม:
ทำความสะอาดอยางออนชวยได และตองแน หามใชน้ำยาทำความสะอาดที่มีฤทธิ์รุนแรง
ใจวาไดลา งน้ำยาทำความสะอาดทีต่ กคางอยู หรือฟองน้ำเนื้อแข็ง เนื่องจากจะทำใหมัว
ดวยน้ำเปลาออกจนหมด มิฉะนัน้ อาจทำให หรือเปนรอยขีดขวน สารทำความสะอาด
ชิ้นสวนพลาสติกเสียหายได พลาสติกบางชนิดอาจทำใหเกิดรอยขีดขวน
● หามใชผลิตภัณฑเคมีที่มีฤทธิ์รุนแรงกับชิ้น บนแผงบังลม ทดสอบผลิตภัณฑดงั กลาวใน
สวนพลาสติก หลีกเลีย่ งการใชผา หรือฟองน้ำ บริเวณซอกเล็กๆ ของแผงบังลมกอน เพือ่ ให
ที่สัมผัสโดนผลิ ตภั ณฑทำความสะอาดที่ มี แนใจวาจะไมทำใหเกิดรอยขีดขวน ถาแผง
ฤทธิ์ รุ น แรงหรื อ กั ด กร อ น สารทำละลาย บังลมเปนรอยขีดขวน ใหใชสารขัดพลาสติก
หรือทินเนอร น้ำมันเชือ้ เพลิง (เบนซิน) สาร ที่มีคุณภาพหลังการลาง
กำจัดสนิมหรือสารปองกันสนิม น้ำมันเบรค
สารปองกันการเปนน้ำแข็ง หรือน้ำยาอีเล็ค
โตรไลท
8-2

1P7F8199_U2_08.pmd 107 9/10/2551, 9:21


การทำความสะอาดและการเก็บรักษารถจักรยานยนต
หลังจากใชงานตามปกติ หลังจากทำความสะอาด
ขจัดสิง่ สกปรกออกดวยน้ำอนุ น้ำยาทำความสะอาด 1. เช็ดรถจักรยานยนตใหแหงดวยชามัวสหรือผาซับน้ำ
อยางออน และฟองน้ำนุมที่สะอาด แลวลางออกใหทั่ว 2. ใชสารขัดโครเมียมเพื่อขัดเงาชิ้นสวนตางๆ ที่เปน
ดวยน้ำสะอาด ใชแปรงสีฟน หรือแปรงลางขวดในบริเวณ โครเมียม อะลูมิเนียม และเหล็กสเตนเลส รวมทั้ง
ที่เขาถึงไดยาก สิ่งสกปรกหรือซากแมลงที่ลางออกยาก ระบบไอเสีย (คราบสีคล้ำบนเหล็กสเตนเลสที่เกิด
จะลางออกไดงา ยขึน้ ถาใชผา เปยกคลุมบริเวณดังกลาว จากความร อ นก็ ส ามารถขจั ด ออกด ว ยการขั ด
เปนเวลาสองสามนาทีกอนทำความสะอาด แบบนี ้ )
3. สำหรับการปองกันการกัดกรอน ขอแนะนำใหฉีด
หลังจากขับขีข่ ณะฝนตกหรือใกลทะเล สเปรยปองกันการกัดกรอนบนพื้นผิวโลหะทั้งหมด
เนื่องจากเกลือทะเลจะมีคุณสมบัติกัดกรอนอยาง รวมทัง้ สวนทีเ่ คลือบโครเมียมและนิกเกิลเพือ่ ปองกัน
รุนแรง ใหปฏิบตั ดิ งั ตอไปนีห้ ลังจากขับขีข่ ณะฝนตกหรือ การกัดกรอน
ใกลทะเล 4. ใ ช ส เ ป ร ย น้ำ มั น เ ป น ส า ร ทำ ค ว า ม ส ะ อ า ด
1. ทำความสะอาดรถจักรยานยนตดวยน้ำเย็นและ อเนกประสงคเพือ่ ขจัดสิง่ สกปรกทีเ่ หลืออยู
น้ำยาทำความสะอาดอยางออน หลังจากเครื่อง 5. แตมสีในบริเวณทีเ่ สียหายเล็กนอยเนือ่ งจากเศษหิน
ยนตเย็นแลว ขอสังเกต: หามใชน้ำอนุ เนือ่ งจาก ฯลฯ
จะเพิม่ ปฏิกริ ยิ ากัดกรอนของเกลือ [UCA10791] 6. ลงแวกซบนพื้นผิวที่ทำสีทั้งหมด
2. ฉีดสเปรยปองกันการกัดกรอนบนพื้นผิวโลหะทั้ง
7. ปลอยรถจักรยานยนตทงิ้ ไวใหแหงสนิทกอนเก็บหรือ
หมด รวมทัง้ สวนทีเ่ คลือบโครเมียมและนิกเกิลเพือ่
ปองกันการกัดกรอน คลุมผา
8-3

1P7F8199_U2_08.pmd 108 9/10/2551, 9:21


การทำความสะอาดและการเก็บรักษารถจักรยานยนต
UWA10941 UCAU0020

¢âÕ —߇°µ
วัตถุแปลกปลอมบนเบรคหรือยางอาจทำให ● ลงสเปรยน้ำมันและแวกซแตพอควร และเช็ด
สูญเสียการควบคุมได สวนที่เกินออกใหหมด
● ดู ใ ห แ น ใ จว า ไม มี ค ราบน้ำ มั น หรื อ แวกซ ● ห า มลงน้ำ มั น หรื อ แวกซ บ นชิ้ น ส ว นยาง
บนเบรคหรือยางลอ หากจำเปน ใหทำความ พลาสติก หรือไฟหนา ไฟทาย และเลนส
สะอาดจานเบรคและสายเบรคด ว ยน้ำ ยา ครอบแผงหนาปด ใหใชผลิตภัณฑดแู ลรักษา
ทำความสะอาดและน้ำยาขัดจานเบรค แลว ที่เหมาะสม
ล า งยางล อ ด ว ยน้ำ อุ น และน้ำ ยาทำความ ● หลี ก เลี่ ย งการใช ส ารขั ด หยาบ เนื่ อ งจาก
สะอาดอยางออน จะเปนการทำลายเนื้อสี
● ก อ นการขั บ ขี่ ร ถจั ก รยานยนต ให ท ดสอบ

ประสิทธิภาพในการเบรคและลักษณะการ ¢âÕ·π–π”
เขาโคงกอน ● ใหขอคำแนะนำจากศูนยบริการยามาฮาสำหรับ
ผลิตภัณฑที่เหมาะสม
● การลางทำความสะอาด สภาพอากาศที่มีฝนตก
หรืออากาศชืน้ อาจทำใหเลนสครอบแผงหนาปดเกิด
ฝาได ใหเปดไฟหนาสักระยะเพือ่ ไลความชืน้
8-4

1P7F8199_U2_08.pmd 109 9/10/2551, 9:21


การทำความสะอาดและการเก็บรักษารถจักรยานยนต
UAU26301
ระยะยาว
การเก็บรักษา กอนจะเก็บรถจักรยานยนตไวหลายเดือน:
ระยะสั้น 1. ปฏิ บั ติตามคำแนะนำทั้ งหมดในสวน “การดู แล
เก็บรักษารถจักรยานยนตไวในที่แหงและเย็น หาก รักษา” ของบทนี้
จำเปน ใหคลุมดวยทีค่ รอบซึง่ ถายเทอากาศไดเพือ่ กันฝนุ 2. ถายน้ำมันในหองลูกลอยคารบูเรเตอรโดยคลาย
UCA10820 โบลทถาย ทั้งนี้เพื่อปองกันการกอตัวสะสมของ
¢âÕ —߇°µ น้ำมันเชือ้ เพลิง เทน้ำมันเชือ้ เพลิงทีถ่ า ยออกลงในถัง
● การเก็บรถจักรยานยนตไวในหองที่มีอากาศ
น้ ำมันเชือ้ เพลิง
ถ า ยเทไม ดี ห รื อ คลุ ม ด ว ยผ า ใบขณะยั ง 3. เติ มน้ำมันเชื้อเพลิงลงในถังใหเต็ม และเติมสาร
เปยกอยู จะทำใหน้ำและความชื้นซึมผาน รั
ก ษาสภาพน้ำมันเชือ้ เพลิง (ถามี) เพือ่ ปองกันไมให
ถังน้ำมันเชือ้ เพลิงเปนสนิม และน้ำมันเชือ้ เพลิงเสือ่ ม
เขาไปภายในและเกิดสนิมได
สภาพ
● หากตองการปองกันการกัดกรอน ตองหลีก
4. ปฏิบัติตามขั้นตอนตอไปนี้เพื่อปกปองกระบอกสูบ
เลี่ยงหองใตดินชื้นแฉะ คอกสัตว (เพราะมี แหวนลูกสูบ ฯลฯ มิใหถกู กัดกรอน
แอมโมเนีย) และบริเวณที่เก็บสารเคมีที่มี a. ถอดฝาครอบหัวเทียนและหัวเทียนออกมา
ฤทธิ์รุนแรง b. เทน้ำมันเครื่องขนาดหนึ่งชอนชาผานชองใสหัว
เทียน เพือ่ เคลือบกระบอกลูกสูบและลูกสูบ
8-5

1P7F8199_U2_08.pmd 110 9/10/2551, 9:21


การทำความสะอาดและการเก็บรักษารถจักรยานยนต
c. ใสจุกขั้วหัวเทียนเขากับหัวเทียน แลววางหัว 6. หากจำเปน ใหตรวจสอบและแกไขแรงดันลมยางให
เทียนลงบนฝาสูบเพื่อใหไฟฟาลงกราวด (ซึ่ง ถูกตอง แลวยกรถจักรยานยนตเพือ่ ใหลอ ทัง้ สองลอย
จะจำกัดการเกิดประกายไฟในขั้นตอนตอไป) ขึน้ จากพืน้ หรือหมุนลอเล็กนอยทุกเดือน เพือ่ ปองกัน
d. หมุนเครื่องยนตหลายๆ ครั้งดวยสตารทเตอร ลอยางเสือ่ มสภาพเฉพาะจุดเดียว
(เพื่ อ ให น้ำ มั น ไปเคลื อ บผนั ง กระบอกสู บ ) 7. ใชถุงพลาสติกคลุมปลายทอไอเสียไวเพื่อปองกัน
คำเตือน! เพือ่ ปองกันการชำรุดเสียหายหรือ ความชื้นเขาไปภายใน
ไดรับบาดเจ็บจากการจุดระเบิด ตองแนใจ 8. ถอดแบตเตอรีอ่ อกและชารจใหเต็ม เก็บไวในทีแ่ หง
วาตอสายดินเขีย้ วของหัวเทียนขณะสตารท และเย็นและชารจเดือนละครัง้ หามเก็บแบตเตอรีไ่ ว
เครือ่ งยนต [UWA10951] ในทีเ่ ย็นจัดหรืออนุ จัด [ต่ำกวา 0 Cํ (30 Fํ ) หรือ
e. ถอดจุกขั้วหัวเทียนออกจากหัวเทียน แลวใสหัว สูงกวา 30 Cํ (90 Fํ )] สำหรับขอมูลเพิม่ เติมเกีย่ ว
เทียนและจุกขัว้ หัวเทียน กับการเก็บแบตเตอรี่ ใหดหู นา 7-46
5. หลอลื่นสายควบคุมทั้งหมดและจุดหมุนของคัน
¢âÕ·π–π”
บังคับและคันควบคุมทั้งหมด รวมทั้งของขาตั้ง ควรซอมรถจักรยานยนตในจุดที่จำเปนกอนที่จะมี
ขาง/ขาตั้งกลางดวย การเก็บรถจักรยานยนต

8-6

1P7F8199_U2_08.pmd 111 9/10/2551, 9:21


ขอมูลจำเพาะ UAU26320

รนุ AT115 กระบอกสูบ x ระยะชัก 50.0 x 57.9 มม.


สัดสวน อัตราสวนการอัด 8.8:1
ความยาว 1,935 มม. ระบบสตารท สตารทไฟฟา
ความกวาง 675 มม. และสตารทเทา
ความสูง 1,090 มม. ระบบหลอเย็น อางเปยก
ความสูงจากพื้นถึงเบาะ 770 มม. อัตราทดกำลังขั้นตน 3.133
ความยาวแกนลอหนาถึงลอหลัง 1,280 มม. แบบการสงกำลังสุดทาย Spur gear
ความสูงจากพื้นถึงเครื่องยนต 137 มม. อัตราทดกำลังขั้นสุดทาย 3.583
รัศมีการเลี้ยว 1,900 มม. อัตราทดเฟอง (หลัง/หนา) 43/12
น้ำหนักสุทธิ (รวมน้ำมันเครื่อง ชนิดของระบบสงกำลัง วี-เบลท
และน้ำมันเชื้อเพลิงเต็มถัง 108 กก. สายพานอัตโนมัติ
เครื่องยนต การทำงาน แรงเหวี่ยงหนีศูนย
แบบเครื่องยนต ระบายความรอนดวย อัตโนมัติ
อากาศแบบใชพัดลม โครงรถ
4 จังหวะ SOHC แบบตัวถัง ทอเหล็กกลาทรงเปล
การจัดวางกระบอกสูบ สูบเดียววางเอียงไป (Underbone)
ขางหนา มุมคาสเตอร 25 องศา
ปริมาตรกระบอกสูบ 113.7 ซม.3 ระยะเทรล 112 มม.

9-1

1P7F8199_U2_09.pmd 112 6/10/2551, 13:08


ขอมูลจำเพาะ
ยาง ล อ
หนา หนา
แบบ ชนิดมียางใน แบบ ลอซี่ลวด/แม็ก
ขนาด 70/90-16 36P ขนาด 16 x 1.40
ผูผลิต/รุน IRC/NF59 หลัง
Dunlop/D110 แบบ ลอซี่ลวด/แม็ก
หลัง ขนาด 16 x 1.60
แบบ ชนิดมียางใน เบรค
ขนาด 80/90-16 43P หนา
ผูผลิต/รุน IRC/NR76 แบบ ดิสกเบรคลูกสูบคู
Dunlop/D110 ขางเดียว
แรงดันลมยาง การทำงาน แฮนดดานขวา
(เติมขณะที่ยางเย็น) น้ำมันเบรค DOT 4 / DOT 3
หนา 200 kPa หลัง
(2.00 kgf/cm2) แบบ ดรัมเบรค
หลัง 225 kPa การทำงาน แฮนดดานซาย
(2.25 kgf/cm2)

9-2

1P7F8199_U2_09.pmd 113 6/10/2551, 13:08


ขอมูลจำเพาะ
ระบบรองรับน้ำหนัก แบตเตอรี่
หนา รุน Local made
แบบ เทเลสโคปก โวลต, ความจุ 12 V, 7 Ah
หลัง ชนิดของหลอดไฟหนา Incandesce bulb
แบบ ยูนิตสวิง แรงเคลื่อนไฟฟา, วัตต x จำนวน
สปริง/โชคอัพ ไฟหนา 12 V, 25/25 W x 2
หนา คอลยสปริง ไฟทาย/ไฟเบรค 12 V, 5/21 W x 1
หลัง คอลยสปริง ไฟเลี้ยว 12 V, 10 W x 4
ระยะเคลื่อนลอ ไฟเรือนไมล 12 V, 1.7 W x 2
หนา 90 มม. ไฟเตือนไฟสูง 12 V, 1.7 W x 1
หลัง 62 มม. ไฟเตือนไฟเลี้ยว 12 V, 1.7 W x 2
ระบบไฟฟา ฟ ว ส 10 A
ระบบจุดระเบิด ดีซี. ซี.ดี.ไอ.
ระบบชารจ
แบบ เอ.ซี. แมคนีโต
มาตรฐานแหลงจาย 14 V, 105W @ 5,000 rpm

9-3

1P7F8199_U2_09.pmd 114 6/10/2551, 13:08


UAU26344 ขอมูลผบู ริโภค
UAU26360

ตัวเลขที่แสดงถึงขอมูลรถของทาน
บันทึกหมายเลข ID No. และหมายเลขเครือ่ งในชอง
วางทีก่ ำหนดดานลาง เพือ่ เปนประโยชนในการสัง่ ซือ้ ชิน้
สวนอะไหลจากผจู ำหนายยามาฮา หรือใชเปนหมายเลข
อางอิงในกรณีทรี่ ถถูกขโมย
หมายเลขกุญแจรถ:

1. หมายเลขกุญแจรถ
UAU26390
หมายเลขโครงรถ:
หมายเลขกุญแจรถ
หมายเลขกุญแจจะประทับอยบู นกุญแจ ใหจดหมาย
เลขนี้ลงในชองวางที่ใหไว และเก็บไวใชอางอิงเมื่อสั่ง
หมายเลขเครือ่ ง: ทำกุญแจใหม

10-1

1P7F8199_U2_10.pmd 115 7/10/2551, 15:34


ขอมูลผบู ริโภค

1.หมายเลขโครงรถ 1.หมายเลขเครือ่ งยนต


UAU26410

หมายเลขโครงรถ UAU26450

หมายเลขประจำรถจะประทับอยบู นเฟรมตัวถัง หมายเลขเครื่อง


หมายเลขเครือ่ งจะประทับอยทู ชี่ ดุ สงกำลังสุดทาย
¢âÕ·π–π”
หมายเลขเครื่ อ งใช เ พื่ อ แสดงถึ ง รถจั ก รยานยนต
แต ล ะคั น และอาจใช เ พื่ อ เป น หมายเลขสำหรั บ ขึ้ น
ทะเบียนรถจักรยานยนตกับเจาหนาที่ในทองที่ของทาน

10-2

1P7F8199_U2_10.pmd 116 7/10/2551, 15:34

You might also like