Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 52

8.

การสืบพันธุ์ของพืชดอก
โครงสร้างของดอกและชนิดของผล
พืชดอก (angiosperm)
▪ การสืบพันธุ์มีทั้งอาศัยเพศ และไม่อาศัยเพศ
▪ เป็นพืชที่สร้างดอกไว้เพื่อใช้ในการสืบพันธุ์
แบบอาศัยเพศ
โครงสร้างของดอก
กลีบเลี้ยง
โครงสร้างของดอก ปกติมัก มีสีเขียว ทาหน้าที่ป้องกั น
ส่วนประกอบอื่น ๆ ของดอกอ่อนที่
อยู่ด้านในเอาไว้

กลีบเลี้ยง (sepal)
วงกลีบเลี้ยง (calyx)
วงกลีบเลี้ยง
https://www.youtube.com/watch?v=RPkBVqBt0Do
กลีบดอก
โครงสร้างของดอก มักมีรูปร่างและสีสันสวยงามเพื่อดึงดูด
แมลงหรือสัตว์อื่น ๆ ในการผสมพันธุ์
วงกลีบดอก (corolla)
กลีบดอก (petal)
วงกลีบดอก
https://www.youtube.com/watch?v=RPkBVqBt0Do
กลีบเลี้ยงและกลีบดอกของพืชบางชนิดมี
ลักษณะคล้ายกัน เรียงซ้อนกันเป็นวง เรียกว่า วง
กลี บ รวม (perianth) และเรี ย กแต่ ล ะกลี บ ว่ า
กลีบรวม (tepal) เช่น จาปี และบัวจีน
เกสรเพศผู้
โครงสร้างของดอก ประกอบด้วยก้านชูอับเรณู และอับเรณู
ซึ่งทาหน้าที่ในการสร้ างเซลล์สืบพันธุ์
วงเกสรเพศผู้ (androecium) เพศผู้
เกสรเพศผู้ (stamen)
อับเรณู (anther)
ก้านชูอับเรณู (filament)
วงเกสรเพศผู้
https://www.youtube.com/watch?v=RPkBVqBt0Do
โครงสร้างของดอก
เกสรเพศเมีย
ส่ ว นล่ า งสุ ด ที่ ติ ด กั บ ฐานดอกมี
ลักษณะโป่งพองออกเรียกว่า รังไข่
ต่ อ จากรั ง ไข่ ขึ้ น ไปคื อ ก้ า นเกสร วงเกสรเพศเมีย (gynoecium)
เพศเมีย และบริเวณปลายสุดคือ เกสรเพศเมีย (pistil)
ยอดเกสรเพศเมีย ภายในรังไข่มี
ยอดเกสรเพศเมีย (stigma)
โครงสร้ า งเป็ น ก้ อ นกลมหรื อ รี
ก้านชูเกสรเพศเมีย (style)
ขนาดเล็ก เรียกว่าออวุล (ovule) รังไข่ (ovary)
วงเกสรเพศเมีย
https://www.youtube.com/watch?v=RPkBVqBt0Do
โครงสร้างของดอก

วงเกสรเพศผู้ (androecium)
วงกลีบดอก (corolla)
เกสรเพศผู้ (stamen)
กลีบดอก (petal)
อับเรณู (anther)
ก้านชูอับเรณู (filament)
ยอดเกสรเพศเมีย (stigma)
กลีบเลี้ยง (sepal) ก้านชูเกสรเพศเมีย (style)
วงกลีบเลี้ยง (calyx) รังไข่ (ovary)
เกสรเพศเมีย (pistil)
วงเกสรเพศเมีย (gynoecium)
ประเภทของดอก
แบ่งตามส่วนประกอบ
• ดอกสมบูรณ์ (complete
flower) เช่น ชบา กุหลาบ ข้าว
และส้ม
• ดอกไม่สมบูรณ์ (incomplete
flower) เช่น แตง ฟักทอง และ
โป๊ยเซียน
• ดอกสมบูรณ์เพศ (perfect
flower)
• ดอกไม่สมบูรณ์เพศ
(imperfect flower)
เกสรเพศ
เมีย
เกสรเพศผู้

ดอกเพศเมีย ดอกเพศผู้
ประเภทของดอก
แบ่งตามส่วนประกอบ แบ่งตามตาแหน่งของรังไข่
• ดอกสมบูรณ์ (complete • ดอกที่มีรังไข่เหนือวงกลีบ
flower) เช่น ชบา กุหลาบ ข้าว (superior ovary) เช่น
และส้ม มะเขือ ตะขบ จาปี พริก
• ดอกไม่สมบูรณ์ (incomplete
ถั่ว มะละกอ และส้ม
flower) เช่น แตง ฟักทอง และ
โป๊ยเซียน • ดอกที่มีรังไข่ใต้วงกลีบ
• ดอกสมบูรณ์เพศ (perfect (inferior ovary) เช่น
flower) ตาลึง ฟักทอง แตงกวา
• ดอกไม่สมบูรณ์เพศ บวบ ทับทิม กล้วย และ
(imperfect flower) พลับพลึง
รังไข่
รังไข่

ดอกที่มีรังไข่เหนือวงกลีบ ดอกที่มีรังไข่ใต้วงกลีบ
(superior ovary) (inferior ovary)
Inferior ovary
รังไข่อยู่ตรงกลางระหว่างวงกลีบ
เลี้ยงและกลีบดอก เช่น เชอร์รี่
หอม และกุหลาบ
ประเภทของดอก
แบ่งตามส่วนประกอบ แบ่งตามตาแหน่งของรังไข่ แบ่งตามจานวนดอกบนก้านดอก
• ดอกสมบูรณ์ (complete • ดอกที่มีรังไข่เหนือวงกลีบ • ดอกเดี่ยว (solitary
flower) เช่น ชบา กุหลาบ ข้าว (superior ovary) เช่น flower) เช่น จาปี บัว
และส้ม มะเขือ ตะขบ จาปี พริก คุณนายตื่นสาย และทิวลิป
• ดอกไม่สมบูรณ์ (incomplete
ถั่ว มะละกอ และส้ม • ดอกช่อ (inflorescences)
flower) เช่น แตง ฟักทอง และ
โป๊ยเซียน • ดอกที่มีรังไข่ใต้วงกลีบ เช่น กลัวยไม้ ผกากรอง และ
• ดอกสมบูรณ์เพศ (perfect (inferior ovary) เช่น ราชพฤกษ์ ทานตะวัน
flower) ตาลึง ฟักทอง แตงกวา ดาวเรือง ดาวกระจาย
• ดอกไม่สมบูรณ์เพศ บวบ ทับทิม กล้วย และ บานชื่น
(imperfect flower) พลับพลึง
Inflorescence
ดอกย่อยวงใน ดอกย่อยวงนอก

ฐานดอกร่วม
(common receptacle) ก้านช่อดอก

https://www.youtube.com/watch?v=RPkBVqBt0Do
ใบประดับ (bract)

• ใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่ป้องกันดอกอ่อน
• พบที่ก้านดอกหรือก้านช่อดอก
• ลักษณะของใบประดับ
• ใบมีสีสันสวยงามคล้ายกลีบดอก เช่น เฟื่องฟ้า
• ใบขนาดใหญ่รองรับช่อดอกและมีสีสันต่าง ๆ เช่น หน้าวัว
• ใบขนาดเล็กและหลุดร่วงง่าย เช่น หางนกยูงไทยและแค
https://www.youtube.com/watch?v=RPkBVqBt0Do
ชนิดของผล
ผลแบ่งได้เป็น 3 ประเภท ตามกาเนิดของผล ลักษณะดอก และจานวนรังไข่
• ผลเดี่ยว (simple fruit)
• ผลกลุ่ม (aggregate fruit)
• ผลรวม (multiple fruit)
ผลเดี่ยว (simple fruit)
• เจริญมาจากดอก 1 ดอกที่มีรังไข่ 1 รังไข่ จะเป็นดอกเดี่ยว
หรือดอกช่อก็ได้
• ผลจากดอกเดี่ยว เช่น ตะขบ ส้ม ทุเรียน มะเขือ และต้อยติ่ง
• ผลจากดอกช่อ เช่น กระถิน องุ่น และมะพร้าว
ผลกลุ่ม (aggregate fruit)
• เป็นผลที่เกิดมาจากดอก 1 ดอกที่มีจานวนเกสรเพศเมีย
มากกว่า 1 อันอยู่บนฐานดอกเดียวกัน จึงมีรังไข่มากกว่า
1 รังไข่ แต่ละรังไข่เจริญเป็นผลย่อย 1 ผล
• จาปี จาปา การเวก กระดังงา
• ผลย่อยเชื่อมติดกันคล้ายผลเดี่ยว เช่น น้อยหน่า บัวหลวง
และสตรอเบอรี่
ผลรวม (multiple fruit)
• เป็นผลที่เกิดมาจากดอกช่อ ซึ่งมีดอกย่อยจานวนมาก
และอยู่เบียดชิดกันในช่อดอกเดียวกัน และรังไข่ของ
ดอกย่อยแต่ละดอกจะเจริญเป็นผลย่อยที่อยู่เบียดชิดกัน
จนดูคล้ายเป็นหนึ่งผล
• ยอ หม่อน สับปะรด สาเก ขนุน และมะเดื่อ
วัฏจักรชีวิตแบบสลับของพืชดอก
Alternation of generation
• ในช่วงชีวิตของพืชต้นหนึ่งจะมีสองระยะสลับกัน
• สปอโรไฟต์ (sporophyte)
• แกมีโทไฟต์ (gametophyte)
Alternation of generation สปอโรไฟต์

เอ็มบริโอ สปอร์มาเทอร์เซลล์
ไมโทซิส
ไซโกต Diploid (2n) ไมโอซิส

ปฏิสนธิ Haploid (n)

เซลล์สืบพันธุ์ สปอร์
1. ระยะสปอโรไฟต์
• มีจานวนโครโมโซม 2 ชุด (diploid; 2n) แกมีโทไฟต์ ไมโทซิส

• เกี่ยวข้องกับการสร้างสปอร์ (spore)
• เซลล์ที่ใช้สร้างสปอร์มี 2 ชนิด คือ megaspore mother cell และ microspore mother cell
• เมื่อสร้างสปอร์จะแบ่งแบบไมโอซิส ทาให้โครโมโซมของสปอร์เหลือชุดเดียว (n)
Alternation of generation สปอโรไฟต์

เอ็มบริโอ สปอร์มาเทอร์เซลล์
ไมโทซิส
ไซโกต Diploid (2n) ไมโอซิส

ปฏิสนธิ Haploid (n)

เซลล์สืบพันธุ์ สปอร์

2. ระยะแกมีโทไฟต์ (gametophyte) แกมีโทไฟต์ ไมโทซิส

• มีจานวนโครโมโซมชุดเดียว (haploid; n)
• เกี่ยวข้องกับการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ (gamete)
• มี 2 ชนิด คือ แกมีโทไฟต์เพศผู้ (male gametophyte) สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ (sperm)
และแกมีโทไฟต์เพศเมีย (female gametophyte) สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย (egg)
Sporophyte & Gametophyte
Alternation of generation
Male Female
microspore mother cell (2n) megaspore mother cell (2n)
meiosis meiosis
microspore (n) megaspore (n)
mitosis mitosis
male gametophyte (n) female gametophyte (n)
mitosis mitosis
sperm (n) egg (n)
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก
การสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้

ภายในอับเรณู มีกลุ่มเซลล์ เรียกว่า ไมโครสปอร์มาเทอร์เซลล์ 1 อับเรณู


(microspore mother cell) (2n) 1
2
ไมโครสปอร์มาเทอร์เซลล์
ไมโครสปอร์มาเทอร์เซลล์แต่ละเซลล์จะแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส 2 ไมโอซิส (2n)

ได้เซลล์ใหม่เรียกว่า ไมโครสปอร์ (microspore) (n)


จานวน 4 เซลล์
3 3 ไมโครสปอร์ (n) การสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้
(microgametogenesis)
แต่ละไมโครสปอร์จะแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส 1 ครั้ง ได้ 2 เซลล์ คือ ไมโทซิส
เซลล์เจเนอเรทีฟ (generative cell) และเซลล์ทิวบ์ (tube cell)
4
4 เซลล์ทิวบ์
เซลล์เจเนอเรทีฟ
ได้เรณู (pollen) หรือแกมีโทไฟต์เพศผู้ (male gametophyte)
5
เมื่อเรณูแก่เต็มที่ อับเรณูจะแตกออกทาให้เรณูกระจายออกไป 5 เรณู
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก
การสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย
1 ภายในรังไข่มีออวุล และภายในออวุลมีเซลล์ที่เรียกว่า เมกะสปอร์มาเทอร์เซลล์
รังไข่ 1 (megaspore mother cell) (2n)

เมกะสปอร์มาเทอร์เซลล์ ไมโอซิส 2 เมกะสปอร์มาเทอร์เซลล์แบ่งเซลล์แบบไมโอซิสได้เมกะสปอร์ (megaspore)


(n) จานวน 4 เซลล์
(2n) 2
เมกะสปอร์ (2n) 3 เมกะสปอร์จะสลายไป 3 เซลล์ เหลือเพียง 1 เซลล์
การสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย
4 เมกะสปอร์ที่เหลือ 1 เซลล์ จะขยายขนาดแล้วแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
(megagametogenesis) 3 3 ครั้ง ได้จานวน 7 เซลล์ 8 นิวเคลียส
ไมโทซิส
5 ทั้ง 8 นิวเคลียส อยู่ในตาแหน่งต่าง ๆ ดังนี้
• 3 เซลล์ แต่ละเซลล์มี 1 นิวเคลียสอยู่ตรงข้ามกับไมโครไพล์ เรียกว่า
แอนติโพแดล แอนติโพแดล (antipodal)
4 • 3 เซลล์ แต่ละเซลล์มี 1 นิวเคลียสอยู่ด้านเดียวกับไมโครไพล์โดย 1
เซลล์ ทาหน้าที่เป็นเซลล์ไข่ (egg) ส่วนอีก 2 เซลล์จะอยู่ด้านข้างของ
เซลล์ไข่ เรียกว่า ซินเนอร์จิด (synergid)
โพลาร์นิวคลีไอ • 1 เซลล์ที่เหลืออยู่ตรงกลาง เกิดสภาพนิวเคลียสคู่หรือมี 2 นิวเคลียส
ซินเนอร์จิด
5 เรียกว่า โพลาร์นิวคลีไอ (polar nuclei)
โครงสร้างทั้งหมดนี้ เรียกว่า ถุงเอ็มบริโอ (embryo sac) หรือแกมีโทไฟต์
เซลล์ไข่ เพศเมีย (female gametophyte)
Alternation of generation
Sporophyte
embryo (2n) (2n)
Mitosis megaspore microspore
zygote (2n) mother cell (2n) mother cell (2n)
Meiosis
Fertilization
sperm (n) egg (n) megaspore (n) n n microspore (n)

female
gametophyte (n)
male
gametophyte (n)
การถ่ายละอองเรณู (pollination) เป็นการเคลื่อนย้ายเรณูจากอับเรณูไปยังยอดเกสรเพศเมีย
เพื่อให้เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้มีโอกาสผสมกับเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย
Sperm + egg = zygote
การปฏิสนธิคู่ (double fertilization) Sperm + polar nuclei = endosperm
เรณู

สเปิร์มผสมโพลาร์นิวคลีไอ
แอนติโพแดล (3n)
เซลล์ทิวบ์

ทิวบ์ สเปิร์ม 2 เซลล์


เซลล์เจเนอเร นิวเคลียส
ทีฟ
เซลล์ไข่ สเปิร์มผสมเซลล์ไข่ (2n)
โพลาร์นิวคลีไอ ซินเนอร์
จิด
เมื่อเรณูไปตกลงบนยอดเกสรเพศเมีย เรณูจะแบ่ง เซลล์เจเนอเรทีฟจะเคลือ่ นทีไ่ ปตามหลอดเรณูและ สเปิร์มตัวหนึ่งจะไปผสมกับเซลล์ไข่แล้วเจริญเป็นไซโกต
เซลล์ออกเป็น 2 เซลล์ คือ เซลล์ทิวบ์ (tube cell) แบ่งเซลล์แบบไมโทซิสได้สเปิร์มจานวน 2 เซลล์ เข้า และสเปิร์มอีกตัวหนึ่งจะไปผสมกับโพลาร์นิวคลีไอแล้ว
ทาหน้าที่งอกหลอดเรณูไปตามก้านเกสรเพศเมีย สู่รังไข่ เจริญเป็นเอนโดสเปิร์ม เรียกการปฏิสนธิแบบนี้ว่า การ
โดยแทงเข้าไปในรังไข่ทางรูไมโครไพล์เพื่อเข้าสู่ ปฏิสนธิซ้อน (double fertilization)
ออวุล
การเจริญและพัฒนาของเอ็มบริโอและเอนโดเสปิร์ม
โครงสร้างเมล็ด
1. เปลือกเมล็ด (seed coat) เจริญมาจากผนังออวุล อยู่นอกสุดของเมล็ด ทาหน้าที่ป้องกันเอ็มบริโอ
ผิวของเปลือกเมล็ดอาจมีรอยแผล เรียก ไฮลัม (hilum) เกิดจากก้านออวุลหลุดไป
2. เอ็มบริโอ (embryo) เจริญมาจากไซโกต ประกอบด้วย
- รากแรกเกิด (radicle) ปลายสุดของแกนเอ็มบริโอ เป็นส่วนแรกของเอ็มบริโอที่เจริญออกมาเมื่อมี
การงอก
- ลาต้นแรกเกิด (caulicle) แกนของเอ็มบริโอถัดจากรากแรกเกิดขึ้นไป
- ยอดแรกเกิด (plumule) ยอดของเอ็มบริโอที่อยู่เหนือใบเลี้ยง
- ใบเลี้ยง (cotyledon) อยู่บนแกนหลักของเอ็มบริโอ
3. เอนโดเสปิร์ม (endosperm) เนื้อเยื่อที่ทาหน้าที่เก็บสะสมอาหารสาหรับเอ็มบริโอ
โครงสร้างเมล็ด
โครงสร้างเมล็ดพืชใบเลี้ยงคู่ โครงสร้างเมล็ดพืชใบเลี้ยงเดี่ยว

ผนังผลและเปลือกเมล็ด
เปลือกเมล็ด

เอพิคอทิล
แรดิเคิล
ใบเลี้ยง เอนโดสเปิร์ม
โคลีออพไทล์ เอพิคอทิล
ไฮโพคอทิล
(ปลายหุ้มยอดแรกเกิด)
ไฮโพคอทิล
ใบเลี้ยง
โคลีโอไรซา
แรดิเคิล

ส่วนประกอบของเมล็ดถั่ว ส่วนประกอบของเมล็ดข้าวโพด
▪ หลังการปฏิสนธิแล้ว กลีบดอก กลีบเลี้ยง และเกสรเพศผู้จะแห้ง
โครงสร้างผล และร่วงไป
▪ ส่วนออวุลจะพัฒนาไปเป็นเมล็ดที่อยู่ในผลที่พัฒนามาจากรังไข่
▪ ผนังผล (pericarp) เป็นส่วนที่เปลี่ยนแปลงมาจากผนังรังไข่ มี
ลักษณะต่าง ๆ ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 3 ชั้น

ผนังชั้นนอก (exocarp)
เรียกว่า เปลือก มีลักษณะต่างกัน
เช่น ผิวเรียบ ผิวมัน ผิวขรุขระ หรืออาจมีหนาม มีขน
ผนังชั้นใน (endocarp)
ประกอบด้วยเนื้อเยื่อชั้นเดียว หรือหลายชั้น
มีลักษณะหนามาก
และบางชนิดเป็นเนื้อนุ่มซึ่งรับประทานได้ เช่น มะพร้าว

ผนังชั้นกลาง (mesocarp)
ผลไม้ทั่วไปมีผนังผลชั้นกลางหนา มีเนื้ออ่อนนุ่ม รับประทานได้
ยกเว้น มะพร้าว มีลักษณะแข็งเหมือนเนื้อไม้ เรียกว่า กะลา
หากพิจารณาจากลักษณะของผนังผล สามารถแบ่งผลได้เป็น 2 กลุ่ม คือ ผลมีเนื้อ และผลแห้ง

ผลแห้งแบบแตก

ผลแห้งแบบไม่แตก

ผลมีเนื้อ เป็นผลที่มีผนังผลทัง้ หมด หรือเกือบทั้งหมดเป็นเนือ้

You might also like