05 1

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 15

5

ใบเนื้อหา
รหัส 2104-2002 ชื่อวิชา วงจรไฟฟ้ากระแสตรง สัปดาห์ที่ 6
หน่วยที่ 4 : วงจรไฟฟ้าแบบขนาน จานวน 4 ชั่วโมง

สาระสาคัญ
ในหน่วยนี้จะศึกษาเรื่องวงจรไฟฟ้าแบบขนาน เกี่ยวกับการต่อตัวต้านทานแบบขนาน คุณสมบัติของ
แรงดันไฟฟ้า ความต้านทานไฟฟ้า รวมทั้งกฎ สูตรพื้นฐานที่นามาใช้แก้ปัญหาวงจรขนาน เช่น กฎของโอห์ม
กฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ และกาลังไฟฟ้าในวงจรขนานเป็นต้น

จุดประสงค์การเรียนการสอน
จุดประสงค์ทั่วไป
เพื่ อ ให้ มี ค วามรู้ แ ละเข้ า ใจการต่ อ วงจรไฟฟ้ า แบบขนานการค านวณหาค่า กระแสไฟฟ้ า
แรงดันไฟฟ้า ความต้านทาน และกาลังไฟฟ้าของวงจรไฟฟ้าแบบขนาน
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. บอกความหมายของวงจรไฟฟ้าแบบขนานได้
2. บอกลักษณะสมบัติของวงจรไฟฟ้าแบบขนานได้
3. คานวณหาค่าความต้านทานในวงจรไฟฟ้าแบบขนานได้
4. คานวณหาค่ากระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าแบบขนานได้
5. คานวณหาค่าแรงดันไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าแบบขนานได้
6. คานวณหากาลังไฟฟ้าของวงจรไฟฟ้าแบบขนานได้
คุณธรรม จริยธรรม
1. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1.1 ความรับผิดชอบ
1.2 ความมีวินัย
1.3 การตรงต่อเวลา
1.4 ความมีมนุษย์สัมพันธ์
1.5 ความรู้และทักษะวิชาชีพ
1.6 ความสนใจใฝ่หาความรู้
2. การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2.1 ศึกษาข้อมูลอย่างเป็นระบบ
2.2 ทาตามลาดับขั้น
2.3 ประหยัด เรียบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุด
2.4 การมีส่วนร่วม
6
ใบเนื้อหา
รหัส 2104-2002 ชื่อวิชา วงจรไฟฟ้ากระแสตรง สัปดาห์ที่ 6
หน่วยที่ 4 : วงจรไฟฟ้าแบบขนาน จานวน 4 ชั่วโมง

สาระการเรียนรู้
4.1 ความหมายของวงจรไฟฟ้าแบบขนาน
4.2 ลักษณะสมบัติของวงจรไฟฟ้าแบบขนาน
4.3 การคานวณหาค่าต่าง ๆ ในวงจรไฟฟ้าแบบขนาน
เนื้อหาสาระ
จากที่ได้ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะสมบัติและการคานวณหาค่าต่าง ๆ ในวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมใน
หน่วยที่แล้ว ในหน่วยนี้จะกล่าวถึงลักษณะสมบัติและการคานวณหาค่าต่าง ๆ ของวงจรไฟฟ้าแบบขนาน ซึ่ง
เป็นความรู้พื้นฐานที่จาเป็นในการแก้ปัญหาวงจรไฟฟ้าที่มีความยุ่งยากและซับซ้อนเช่นกัน
4.1 ความหมายของวงจรไฟฟ้าแบบขนาน
วงจรไฟฟ้าแบบขนาน หมายถึง วงจรที่มีโหลดต่าง ๆ ตั้งแต่สองตัวขึ้นไป ต่อร่วมกันในระหว่างจุด
สองจุด โดยให้ปลายด้านหนึ่งของโหลดทุกตัวต่อร่วมกันที่จุด ๆ หนึ่ง (จุด X) และให้ปลายอีกด้านหนึ่งของ
โหลดทุกตัวต่อร่วมกันที่อีกจุดหนึ่ง (จุด Y) และต่อขนานกับแหล่งจ่ายไฟฟ้า มีผลทาให้ค่าของแรงดันไฟฟ้าที่
ตกคร่อมโหลดแต่ละตัวมีค่าเท่ากัน และค่าแรงดันไฟฟ้าที่ตกคร่อมโหลดแต่ละตัวจะมีค่าเท่ากับแรงดันไฟฟ้า
ของแหล่งจ่ายไฟฟ้าที่ป้อนให้กับวงจร ส่วนทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้าจะมีตั้งแต่สองทิศทางขึ้นไปตาม
ลักษณะของสาขาของวงจร กระแสไฟฟ้ารวมมีคา่ เท่ากับผลรวมของกระแสไฟฟ้าที่ไหลในแต่ละสาขา

(จุด X)
IT I1 I2 I3 I4
+
E - R1 R2 R3 R4

(จุด Y)
รูปที่ 4.1 วงจรไฟฟ้าแบบขนาน

4.2 ลักษณะสมบัติของวงจรไฟฟ้าแบบขนาน
4.2.1 แรงดันไฟฟ้าที่ตกคร่อมที่ตัวต้านทานทุกตัวจะมีค่าเท่ากัน และเท่ากับแรงดันไฟฟ้าที่แหล่งจ่าย
ไฟฟ้า เพราะว่าเป็นแรงดันไฟฟ้าที่จุดเดียวกัน

+
E -
V1 V2 V3 Vn
R1 R2 R3 Rn

รูปที่ 4.2 แรงดันไฟฟ้าตกคร่อมตัวต้านทานที่ต่อขนานแต่ละสาขา


7
ใบเนื้อหา
รหัส 2104-2002 ชื่อวิชา วงจรไฟฟ้ากระแสตรง สัปดาห์ที่ 6
หน่วยที่ 4 : วงจรไฟฟ้าแบบขนาน จานวน 4 ชั่วโมง
E  V1  V2  V3 Vn

เมื่อ V1 แทน แรงดันไฟฟ้าตกคร่อม R1


V2 แทน แรงดันไฟฟ้าตกคร่อม R2
V3 แทน แรงดันไฟฟ้าตกคร่อม R3
Vn แทน แรงดันไฟฟ้าตกคร่อม R ตัวสุดท้าย

4.2.2 กระแสไฟฟ้าที่ไหลในแต่ละสาขาย่อยของวงจร เมื่อนามารวมกันจะมีค่าเท่ากับกระแสไฟฟ้า


ที่ไหลผ่านวงจรทั้งหมดหรือกระแสไฟฟ้ารวมของวงจร

IT I1 I2 I3 In
+
E -
R1 R2 R3 Rn

รูปที่ 4.3 กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวต้านทานที่ต่อขนานแต่ละสาขา

IT  I1 I2 I3 In

เมื่อ I1 แทน กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน R1


I2 แทน กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน R2
I3 แทน กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน R3
In แทน กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน R ตัวสุดท้าย

4.2.3 ค่าความต้านทานรวมภายในวงจร หาได้โดยเศษหนึ่งส่วนความต้านทานรวมมีค่าเท่ากับเศษหนึ่ง


ส่วนของความต้านทานแต่ละตัวรวมกัน ซึ่งจะมีค่าน้อยกว่าความต้านทานที่มีค่าน้อยที่สุด

1  1  1  1 1
RT R1 R2 R3 Rn
ในกรณีที่ตัวต้านทาน 2 ตัวต่อขนานกัน ค่าความต้านทานรวมของวงจรหาได้จาก
8
ใบเนื้อหา
รหัส 2104-2002 ชื่อวิชา วงจรไฟฟ้ากระแสตรง สัปดาห์ที่ 6
หน่วยที่ 4 : วงจรไฟฟ้าแบบขนาน จานวน 4 ชั่วโมง
1  1 1
RT R1 R2

หรือ RT  R1 //R2 หรือ RT  R1R2


R1 R2

ในเอกสารประกอบการเรียนการสอนมีการเขียนสมการในรูป ( RA //RB) หมายถึง


RARB
RA RB
ในกรณีที่ตัวต้านทานมีค่าความต้านทานเท่ากันมาต่อขนาน จานวน N ตัว สามารถคานวณค่าความ
ต้านทานรวมของวงจรหาได้จาก

RT  R
N
เมื่อ R แทน ค่าความต้านทานของตัวต้านทานที่มีค่าเท่ากัน
N แทน จานวนตัวต้านทานที่นามาต่อขนาน

ในกรณีที่ตัวต้านทาน 3 ตัวต่อขนานกัน ค่าความต้านทานรวมของวงจรหาได้จาก


RT  R1R2R3
R1R2 R1R3 R2R3
4.2.4 กาลังไฟฟ้าที่เกิดขึ้นที่ตัวต้านทานในแต่ละสาขาในวงจร เมื่อนามารวมกันก็จะมีค่าเท่ากับ
กาลังไฟฟ้าทั้งหมดของวงจร
PT  P1 P2 P3 Pn

เมื่อ P1 แทน กาลังไฟฟ้าที่เกิดขึ้นที่ R1


P2 แทน กาลังไฟฟ้าที่เกิดขึ้นที่ R2
P3 แทน กาลังไฟฟ้าที่เกิดขึ้นที่ R3
Pn แทน กาลังไฟฟ้าที่เกิดขึ้นที่ R ตัวสุดท้าย
9
ใบเนื้อหา
รหัส 2104-2002 ชื่อวิชา วงจรไฟฟ้ากระแสตรง สัปดาห์ที่ 6
หน่วยที่ 4 : วงจรไฟฟ้าแบบขนาน จานวน 4 ชั่วโมง

4.3 การคานวณหาค่าต่าง ๆ ในวงจรไฟฟ้าแบบขนาน

IT I1 I2 I3
+
E V1
- R1 V2 R2 V3 R3

รูปที่ 4.4 วงจรไฟฟ้าแบบขนาน

จากรูปที่ 4.4 คานวณหาค่าต่าง ๆ ได้ดังนี้


หาค่าแรงดันไฟฟ้าในวงจร จากลักษณะสมบัติของวงจรไฟฟ้าแบบขนานที่แรงดันไฟฟ้าที่
ตกคร่อมตัวต้านทานแต่ละตัวเท่ากับแหล่งจ่าย ดังนั้น

E  V1  V2  V3 (4-1)
หาค่ากระแสไฟฟ้าในวงจร ได้จาก
I1  E (4-2)
R1
I2  E (4-3)
R2
I3  E (4-4)
R3
IT  I1 I2 I3 (4-5)

หาค่าความต้านทานรวม ได้จาก
RT  E (4-6)
IT
หรือ
1  1 1 1 (4-7)
RT R1 R2 R3
หรือ RT  R1 //R2//R3 (4-8)
10
ใบเนื้อหา
รหัส 2104-2002 ชื่อวิชา วงจรไฟฟ้ากระแสตรง สัปดาห์ที่ 6
หน่วยที่ 4 : วงจรไฟฟ้าแบบขนาน จานวน 4 ชั่วโมง

หาค่ากาลังไฟฟ้าที่ตัวต้านทานแต่ละตัวและกาลังไฟฟ้ารวม ได้จาก
E2
P1  I1E  I12R1
 (4-9)
R1
E2
P2  I2E 2
 I2R2  (4-10)
R2
E 2
P3  I3E 2
 I3R3  (4-11)
R3
PT  P1 P2 P3 (4-12)
หรือ PT  ITE (4-13)
ตัวอย่างที่ 4.1 จากวงจรไฟฟ้าในรูปที่ 4.5 จงหาค่าความต้านทานรวมของวงจร

RT = ?
R1=20 R2=20 R3=10

รูปที่ 4.5 วงจรไฟฟ้าแบบขนานตามตัวอย่างที่ 4.1


วิธีทา วิธีที่ 1
1  1 1 1
จากสมการ
RT R1 R2 R3
1  1  1  1
RT 20 20 10
1  112
RT 20
1  4
RT 20
RT  20  5
4
ความต้านทา
นรวม 5โอห์ม
11
ใบเนื้อหา
รหัส 2104-2002 ชื่อวิชา วงจรไฟฟ้ากระแสตรง สัปดาห์ที่ 6
หน่วยที่ 4 : วงจรไฟฟ้าแบบขนาน จานวน 4 ชั่วโมง

วิธีที่ 2
จากสมการ RT  R1 //R2 หรือ R1R2 สามารถนามาประยุกต์ใช้ดังดังนี้
R1 R2
RT  R1 //R2 //R3
  R1R2 //R3
 R1 R2 
 2020
  //10
 20  20 
 10//10
 1010
 
1010
 5
ความต้านทา นรวม 5โอห์ม
วิธีที่ 3
จากสมการ RT  R สามารถนามาประยุกต์ใช้ดังนี้
N

RT = ?
R1=20 R2=20 R3=10

RT = ?
RT1=10 R3=10

รูปที่ 4.6 ยุบวงจรไฟฟ้าแบบขนานตามตัวอย่างที่ 4.1


12
ใบเนื้อหา
รหัส 2104-2002 ชื่อวิชา วงจรไฟฟ้ากระแสตรง สัปดาห์ที่ 6
หน่วยที่ 4 : วงจรไฟฟ้าแบบขนาน จานวน 4 ชั่วโมง

RT1  R
N
20

2
 10
RT  R
N
10

2
 5
ความต้านทา
นรวม 5โอห์ม

ตัวอย่างที่ 4.2 จากวงจรไฟฟ้าในรูปที่ 4.7 จงหาค่า


ก. กระแสไฟฟ้ารวม (IT)
ข. ความต้านทานรวม (RT)
ค. กาลังไฟฟ้าที่ตัวต้านทานแต่ละตัวและกาลังไฟฟ้ารวม (P1 , P2 , P3 , PT )

IT I1 I2 I3
+
E=30V - V1 V2 V3
R1=12 R2=20 R3=30

รูปที่ 4.7 วงจรไฟฟ้าแบบขนานตามตัวอย่างที่ 4.2


วิธีทา
ก. กระแสไฟฟ้ารวม (IT)
เนื่องจากเป็นวงจรไฟฟ้าแบบขนาน แรงดันที่ตกคร่อมตัวต้านทานทุกตัวจึงมีค่าเท่ากัน
E  V1  V2 V3  30V
ดังนั้นหากระแสไฟฟ้าได้ดังนี้
13
ใบเนื้อหา
รหัส 2104-2002 ชื่อวิชา วงจรไฟฟ้ากระแสตรง สัปดาห์ที่ 6
หน่วยที่ 4 : วงจรไฟฟ้าแบบขนาน จานวน 4 ชั่วโมง

I1  E
R1
30V

12
 2.5A
I2  E
R2
30V

20
 1.5A
I3  E
R3
30V

30
 1A
IT  I1 I2 I3
 2.5A 1.5A 1A  5A
 กระแสไฟฟ้รวม
า  5 แอมแปร์
ข. ความต้านทานรวม (RT)
RT  E
IT
30V

5A
 6
นรวม  6 โอห์ม
 ความต้านทา
ค. กาลังไฟฟ้าที่ตัวต้านทานแต่ละตัวและกาลังไฟฟ้ารวม (P1 , P2 , P3 , PT )
กาลังไฟฟ้าที่ (R1)
14
ใบเนื้อหา
รหัส 2104-2002 ชื่อวิชา วงจรไฟฟ้ากระแสตรง สัปดาห์ที่ 6
หน่วยที่ 4 : วงจรไฟฟ้าแบบขนาน จานวน 4 ชั่วโมง
P1  I1E
 2.5A30V
 75W
 กาลังไฟฟ้ทีา(่ R1)  75วัตต์
กาลังไฟฟ้าที่ (R2)
P2  I2E
 1.5A30V
 45W
 กาลังไฟฟ้ทีา(่ R2)  45วัตต์
กาลังไฟฟ้าที่ (R3)
 I3E
P3
 1A30V
 30W
 กาลังไฟฟ้ทีา(่ R3)  30วัตต์
หากาลังไฟฟ้ารวม
PT  P1 P2 P3
 75W45W30W
 150W

PT  ITE
หรือ  5A30V
 150W
 กาลังไฟฟ้รวม
า  150วัตต์

ตัวอย่างที่ 4.3 จากวงจรไฟฟ้าในรูปที่ 4.8 จงหาค่า


ก. กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน R4
ข. แรงดันไฟฟ้าที่แหล่งจ่าย (E)
ค. ความต้านทาน R1 , R3 และ RT
ง. กาลังไฟฟ้ารวม (PT)
15
ใบเนื้อหา
รหัส 2104-2002 ชื่อวิชา วงจรไฟฟ้ากระแสตรง สัปดาห์ที่ 6
หน่วยที่ 4 : วงจรไฟฟ้าแบบขนาน จานวน 4 ชั่วโมง

IT=20A
I1=2A I2=5A I3=10A I4
+
E -
V1 V2 V3 V4
R1 R2=20 R3 R4=30

รูปที่ 4.8 วงจรไฟฟ้าแบบขนานตามตัวอย่างที่ 4.3


วิธีทา
ก. กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน R4
จาก IT  I1 I2 I3 I4
ดังนั้น I4  IT I1 I2 I3
 20A - 2A - 5A - 10A
 3A
 กระแสไฟฟ้ทีาไ่ หลผ่านR4  3 แอมแปร์
ข. แรงดันไฟฟ้าที่แหล่งจ่าย (E)
E  V2  I2R2
 5A20
 100V
 แรงดันไฟฟ้าที่แหล่งจ่าย (E) = 100 โวลต์
ค. ความต้านทาน R1 , R3 และ RT
R1  E
I1
100V

2A
 50
 ความต้านทาน R1 = 50 โอห์ม
16
ใบเนื้อหา
รหัส 2104-2002 ชื่อวิชา วงจรไฟฟ้ากระแสตรง สัปดาห์ที่ 6
หน่วยที่ 4 : วงจรไฟฟ้าแบบขนาน จานวน 4 ชั่วโมง

R3  E
I3
100V

5A
 20
 ความต้านทาน R3 = 20 โอห์ม
RT  E
IT
100V

20A
 5
 ความต้านทาน RT = 5 โอห์ม
ง. กาลังไฟฟ้ารวม PT
PT  IT E
 20A100V
 2,000W หรือ 2kW
 กาลังไฟฟ้ารวม PT = 2 กิโลวัตต์

ตัวอย่างที่ 4.4 จากวงจรไฟฟ้าในรูปที่ 4.9 จงหาค่า


ก. กระแสไฟฟ้า I1 , I2 และ IT
ข. ความต้านทาน R1 , R2 , R3 และ RT
ค. กาลังไฟฟ้า P3 และ PT

IT
I1 I2 I3=2A
E=20V
+ R1 R2 R3
-
P1 =20W P2 =40W

รูปที่ 4.9 วงจรไฟฟ้าแบบขนานตามตัวอย่างที่ 4.4


17
ใบเนื้อหา
รหัส 2104-2002 ชื่อวิชา วงจรไฟฟ้ากระแสตรง สัปดาห์ที่ 6
หน่วยที่ 4 : วงจรไฟฟ้าแบบขนาน จานวน 4 ชั่วโมง

วิธีทา
ก. กระแสไฟฟ้า I1 , I2 และ IT
จาก P1  I1E
ดังนั้น I1  P1
E
20W

20V
 1A
 กระแสไฟฟ้า I1 = 1 แอมแปร์
I2  P2
E
40W

20V
 2A
 กระแสไฟฟ้า I2 = 2 แอมแปร์
IT  I1 I2 I3
 1A 2A 2A
 5A
 กระแสไฟฟ้า IT = 5 แอมแปร์
ข. ความต้านทาน R1 , R2 , R3 และ RT
E 2
จาก P1 
R1
E 2
ดังนั้น R1 
P1
 20V2

20W
 20
 ความต้านทาน R1 = 20 โอห์ม
18
ใบเนื้อหา
รหัส 2104-2002 ชื่อวิชา วงจรไฟฟ้ากระแสตรง สัปดาห์ที่ 6
หน่วยที่ 4 : วงจรไฟฟ้าแบบขนาน จานวน 4 ชั่วโมง

E 2
R2 
P2
 20V2

40W
 10
 ความต้านทาน R2 = 10 โอห์ม
R3  E
I3
20V

2A
 10
 ความต้านทาน R3 = 10 โอห์ม
RT  E
IT
20V

5A
 4
 ความต้านทาน RT = 4 โอห์ม
ค. กาลังไฟฟ้า P3 และ PT
P3  I32R3
  2A2 10
 40W
 กาลังไฟฟ้า P3 = 40 วัตต์
PT  IT E
 5A20V
 100W
 กาลังไฟฟ้า PT = 100 วัตต์(2222vv)5
19
ใบเนื้อหา
รหัส 2104-2002 ชื่อวิชา วงจรไฟฟ้ากระแสตรง สัปดาห์ที่ 6
หน่วยที่ 4 : วงจรไฟฟ้าแบบขนาน จานวน 4 ชั่วโมง

สรุป
วงจรไฟฟ้าแบบขนานเป็นวงจรที่มีโหลด ตั้งแต่สองตัวขึ้นไป ต่อร่วมกันในระหว่างจุดสอง และต่อ
ขนานกับแหล่งจ่ายไฟฟ้า ค่าความทานต้านทานรวมจะมีค่าน้อยกว่าตัวที่น้อยที่สุดในวงจร
1  1  1  1 1
RT R1 R2 R3 Rn
ค่าของแรงดันไฟฟ้าที่ตกคร่อมโหลดแต่ละตัวมีค่าเท่ากัน และค่าแรงดัน ไฟฟ้าที่ตกคร่อมโหลดแต่ละ
ตัวจะมีค่าเท่ากับแรงดันไฟฟ้าของแหล่งจ่ายไฟฟ้าที่ป้อนให้กับวงจร
E  V1  V2  V3 Vn
ทิ ศ ทางการไหลของกระแสไฟฟ้ า จะมี ตั้ ง แต่ ส องทิ ศ ทางขึ้ น ไปตามลั ก ษณะของสาขาของวงจร
กระแสไฟฟ้ารวมมีค่าเท่ากับผลรวมของกระแสไฟฟ้าที่ไหลในแต่ละสาขา
IT  I1 I2 I3 In
กาลังไฟฟ้าที่เกิดที่โหลดแต่ละสาขาของวงจร เมื่อนามารวมกันมีค่าเท่ากับกาลังไฟฟ้ารวม
PT  P1 P2 P3 Pn

You might also like