Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 98

หน้า 1

หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6


หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6

คำนำ
กระทรวงศึกษาธิการ มีนโยบายในการพัฒนาการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยอย่างจริงจัง และ
ต่อเนื่อง เพื่อให้การศึกษาในระดับนี้มีมาตรฐานเดียวกัน ในปีพ.ศ. ๒๕๖๐ ได้มีการพัฒนาหลักสูตรการศึกษา
ปฐมวัย ให้มีความสอดคล้องกับสภาพการเปลี่ ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคม และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
สารสนเทศพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ และได้
ประกาศใช้ ห ลั ก สู ต รการศึ กษาปฐมวั ย พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๖๐ เมื ่ อ วั น ที ่ ๓ สิ ง หาคม พ.ศ.๒๕๖๐ เพื ่ อ ให้
สถานศึกษา สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง นำไปใช้เป็ นกรอบและทิศทางในการพัฒนา
หลักสูตรสถานศึกษาอย่างมีประสิท ธิภาพและได้มาตรฐานตามจุดหมายของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
พุทธศักราช ๒๕๖๐ ที่กำหนดเป้าหมายในการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ -จิตใจ
สังคมและสติปัญญา เป็นคนดี มีวินัย สำนึกความเป็นไทยและมีความรับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน
สังคม และประเทศชาติในอนาคต
โรงเรียนบ้านหน้าควนลัง (ราษฎร์สามัคคี ) ได้ดำเนินการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาการศึกษา
ปฐมวัย ขึ้นโดยใช้หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ เป็นแนวทางในการกำหนดปรัชญา วิสัยทัศน์
พันธกิจ เป้าหมาย มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์และสาระการเรียนรู้ที่เหมาะสมสอดคล้องกับบริบทของ
โรงเรียน บริบททางวัฒนธรรม วิถีชีวิตทางสังคมของเด็กและได้มีการนำหลักสูตรสู่การปฏิบัติโดยได้ทดลองใช้
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ในปีการศึกษา ๒๕๖6 ทางโรงเรียนบ้านหน้าควนลัง(ราษฎร์สามัคคี) ได้
มีการปรับหลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย เพื่อใช้ในการจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ในการจั ด ทำหลั ก สู ต รครั ้ ง นี้ ขอขอบคุ ณ ผู ้ บ ริ ห าร ที ่ ใ ห้ ค ำแนะนำปรึ ก ษา และขอบคุ ณ
คณะกรรมการผู้จัดทำ คณะครูปฐมวัย ที่ได้ร่วมมือกันเป็นอย่างดี จนหลักสูตรสถานศึกษาสำเร็จลุล่วงมา
ณ โอกาสนี้

กลุ่มบริหารงานวิชาการปฐมวัย
โรงเรียนบ้านหน้าควนลัง(ราษฎร์สามัคคี)

หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6


สารบัญ
หน้า
คำนำ ก
สารบัญ ข
ปรัชญาการศึกษาปฐมวัย 1
วิสัยทัศน์ 1
ภารกิจ/พันธกิจ 1
หลักการและจุดหมายของหลักสูตร 1
มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ 3
หน่วยการจัดประสบการณ์ 4
ตารางตรวจสอบวิเคราะห์มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้/สภาพที่พึงประสงค์ 6
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวบ่งชี้ 31
การจัดชั้นหรือกลุ่มเด็ก 65
สาระการเรียนรูร้ ายปี 65
การจัดประสบการณ์ ๗0
การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ ๗3
สื่อ และแหล่งเรียนรู้ ๗5
การประเมินพัฒนาการ 81
ภาคผนวก
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา พุทธศักราช 2560 ระดับปฐมวัย

หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6

ประกาศโรงเรียนโรงเรียนบ้านหน้าควนลัง (ราษฎร์สามัคคี)
เรื่อง ให้ใช้หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐
----------------------------------------
เนื่องด้วยกระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายในการพัฒนาการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย ในปีพ.ศ. ๒๕๖๐
ได้มีการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ให้มีความสอดคล้องกับสภาพการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคม
และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนบ้านหน้าควนลัง(ราษฎร์สามัคคี) จึงได้ปรับปรุงหลักสูตร
สถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายดังกล่าว
ทั้งนี้หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น
พื้นฐานเมื่อวันที่ 1๖ พฤษภาคม ๒๕๖6 จึงประกาศให้ใช้หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัยตั้งแต่บัดนี้
เป็นต้นไป

ประกาศ ณ วันที่ ๑๖ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖6

(นางธัญลักษณ์ ทวีผ่อง) (นางเรวดี เชาวนาสัย)


ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหน้าควนลัง (ราษฎร์สามัคคี)
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ปรัชญาการศึกษาปฐมวัย
การศึกษาปฐมวัย เป็นการพัฒนาเด็กตั้งแต่แรกเกิดถึง ๖ ปีบริบูรณ์ อย่างเป็นองค์รวมบนพื้นฐานการ
อบรมเลี้ยงดู และส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่สนองต่อธรรมชาติและพัฒนาการตามวัยของเด็กแต่ละคนให้
เต็มตามศักยภาพ ภายใต้บ ริบทสังคมและวัฒนธรรมที่เด็กอาศัยอยู่ ด้วยความรัก ความเอื้ออาทร และความ
เข้าใจของทุกคน เพื่อสร้างรากฐานคุณภาพชีวิตให้เด็กพัฒนาไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เกิดคุณค่าต่อ
ตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ
วิสัยทัศน์
โรงเรียนบ้านหน้าควนลัง (ราษฎร์สามัคคี) มุ่งพัฒนาเด็กปฐมวัยอย่างสมดุลทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ -
จิตใจ สังคมและสติปัญญา อย่างมีคุณภาพ และมีความสุข มีคุณธรรม จริยธรรมที่ดีงาม ส่งเสริมความคิด
สร้างสรรค์บนวิถีชีวิตของเด็กตามสภาพครอบครัวบริบทชุมชน สังคมและวัฒนธรรมไทย
ภารกิจ/พันธกิจ
๑.พัฒนาผู้เรียนในระดับปฐมวัยให้มีคุณภาพทั้งด้านร่างกายจิตใจสังคมและสิปัญญา พร้อมที่จะศึกษา
ในระดับประถม
๒.พัฒนาผู้เรียน เก่ง ดี มีสุข สู่สังคม สู่สากล
๓.ส่งเสริมผู้เรียนดำรงชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอพียง
หลักการและจุดหมายของหลักสูตร
หลักการของหลักสูตร
เด็กทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับการอบรมเลี้ยงดู และการส่งเสริมพัฒนาการตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก
ตลอดจนได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างเหมาะสม ด้วยปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเด็กกับพ่อแม่ เด็กกับ
ผู้สอน เด็กกับผู้เลี้ยงดูหรือ ผู้เกี่ยวข้องกับการอบรมเลี้ยงดู การพัฒนา และให้การศึกษาแก่เด็กปฐมวัยเพื่อให้
เด็กมีโอกาสพัฒนาตนเองตามลำดับขั้นตอนของพัฒนาการทุกด้าน อย่างเป็นองค์รวม มีคุณภาพ และเต็มตาม
ศักยภาพ โดยกำหนดหลักการ ดังนี้
๑.ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาการที่ครอบคลุมเด็กปฐมวัยทุกคน
๒.ยึดหลักการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาที่เน้นเด็ กเป็นสำคัญ โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่าง
บุคคลและวิถีชีวิตของเด็ก ตามบริบทของชุมชน สังคม และ วัฒนธรรมไทย
๓.ยึดพัฒนาการและการพัฒนาเด็กโดยองค์รวม ผ่านการเล่นอย่างมีความหมาย และมีกิจกรรมที่
หลากหลาย ได้ลงมือกระทำในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้เหมาะสมกับวัย และมี การพักผ่อนเพียงพอ
๔.จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้เด็กมีทักษะชีวิต และสามารถปฏิบัติตน ตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นคนดี มีวินัย และมีความสุข
๕.สร้างความรู้ ความเข้าใจ และประสานความร่วมมือในการพัฒนาเด็กระหว่างสถานศึกษากับพ่อแม่
ครอบครัว ชุมชน และทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเด็กปฐมวัย
จุดหมายของหลักสูตร
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัยมุ่งให้เด็กมีพัฒนาการตามวัยเต็มตามศักยภาพ และมีความ
พร้อมในการเรียนรู้ต่อไป จึงกำหนดจุดหมายเพื่อให้เกิดกับเด็กเมื่อจบการศึกษาระดับปฐมวัย ดังนี้
๑.ร่างกายเจริญเติบโตตามวัย แข็งแรง และมีสุขนิสัยที่ดี
๒.สุขภาพจิตดี มีสุนทรียภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม และจิตใจที่ดีงาม
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
๓.มีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีวินัย และอยู่ร่วมกับ ผู้อื่นได้
อย่างมีความสุข
๔.มีทักษะการคิด การใช้ภาษาสื่อสาร และการแสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกับวัย
พัฒนาการเด็กปฐมวัย
พัฒนาการของเด็กปฐมวัยด้า นร่างกาย อารมณ์ -จิตใจ สังคม และสติปัญญาแสดงให้เห็นถึงการ
เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตามวุฒิภาวะและสภาพแวดล้อมที่เด็กได้รับ พัฒนาการเด็กในแต่ละช่วงวัยอาจเร็วหรือ
ช้าแตกต่างกันไป
ในเด็กแต่ละคน มีรายละเอียด ดังนี้
๑. พัฒนาการด้านร่างกาย เป็นพัฒนาการที่เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้นของร่างกาย
ในด้านโครงสร้างของร่างกาย ด้านความสามารถในการเคลื่อนไหว และด้านการมีสุขภาพอนามัยที่ดี รวมถึง
การใช้สัมผัสรับรู้ การใช้ตาและมือประสานกันในการทำกิจกรรมต่างๆ เด็ กอายุ ๓-๕ ปีมีการเจริญเติบโต
รวดเร็วโดยเฉพาะในเรื่องน้ำหนักและส่วนสูง กล้ามเนื้อใหญ่จะมีความก้าวหน้ามากกว่ากล้ามเนื้อเล็ก สามารถ
บังคับการเคลื่อนไหวของร่างกายได้ดี มีความคล่องแคล่วว่องไวในการเดิน สามารถวิ่ง กระโดด ควบคุมและ
บังคับการทรงตัวได้ดีจึงชอบเคลื่อนไหว ไม่หยุดนิ่ง พร้อมที่จะออกกำลังและเคลื่อนไหวในลักษณะต่างๆส่วน
กล้ามเนื้อเล็กและความสัมพันธ์ระหว่างตาและมือยังไม่สมบูรณ์ การสัมผัสหรือการใช้มือมีความละเอียดขึ้น ใช้
มือหยิบจับสิ่งของต่างๆได้มากขึ้น ถ้าเด็กไม่เครียดหรือกังวลจะสามารถทำกิจกรรมที่พัฒนากล้ามเนื้ อเล็กได้ดี
และนานขึ้น
๒. พัฒนาการด้า นอารมณ์ จิตใจ เป็นความสามารถในการรู้สึกและแสดงความรู้สึกของเด็ก เช่น
พอใจ ไม่พอใจ รัก ชอบ สนใจ เกียด โดยที่เด็กรู้จักควบคุมการแสดงออกอย่างเหมาะสมกับวัยและสถานการณ์
เผชิญกับเหตุการณ์ต่างๆ ตลอดจนการสร้างความรู้สึกที่ดีและการนับถือตนเอง เด็กอายุ ๓-๕ ปีจะแสดง
ความรู้สึกอย่างเต็มที่ไม่ปิดบัง ช่อนเร้น เช่น ดีใจ เสียใจ โกรธแต่จะเกิดเพียงชั่วครู่แล้วหายไปการที่เด็ก
เปลี่ยนแปลงอารมณ์ง่ายเพราะมีช่วงความสนใจระยะสั้น เมื่อมีสิ่งใดน่าสนใจก็จะเปลี่ยนความสนใจไปตามสิ่ง
นั้น เด็กวันนี้มักหวาดกลัวสิ่งต่างๆ เช่น ความมืด หรือสัตว์ ต่างๆ ความกลัวของเด็กเกิดจากจินตนาการ ซึ่งเด็ก
ว่าเป็นเรื่องจริงสำหรับตน เพราะยังสับสนระหว่างเรื่องปรุงแต่งและเรื่องจริง ความสามารถแสดงอารมณ์ได้
สอดคล้องกับสถานการณ์อย่างเหมาะสมกับวัย รวมถึงชื่นชมความสามารถและผลงานของตนเองและผู้อื่น
เพราะยึดตัวเองเป็นศูนย์กลางน้อยลงและต้องการความสนใจจากผู้อื่นมากขึ้น
๓. พัฒนาการด้านสังคม เป็นความสามารถในการสร้างความสัมพันธ์ทางสังคมครั้งแรกในครอบครัว
โดยมีปฏิสัมพันธ์กับพ่อแม่และพี่น้อง เมื่อโตขึ้นต้องไปสถานศึกษา เด็กเริ่มเรียนรู้การติดต่อและ การมีสัมพันธ์
กับบุคคลนอกครอบครัว โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กในวัยเดียวกัน เด็กได้เรียนรู้การปรับตัวให้เข้าสังคมกับเด็กอื่น
พร้อมๆกับรู้จักร่วมมือในการเล่นกับกลุ่มเพื่อน เจตคติและพฤติกรรมทางสังคมของเด็กจะก่อขึ้นในวัยนี้และจะ
แฝงแน่นยากที่จะเปลี่ยนแปลงในวัยต่อมา ดัง นั้น จึงอาจกล่าวได้ว่าพฤติกรรมทางสั งคมของเด็กวัยนี้ มี ๒
ลักษณะ คือลักษณะแรกนั้น เป็นความสัมพันธ์กับผู้ใหญ่และลักษณะที่สองเป็นความสัมพันธ์กับเด็กในวัย
ใกล้เคียงกัน
๔. ด้านสติปัญญา ความคิดของเด็กวัยนี้มีลักษณะยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง ยังไม่สามารถเข้าใจ
ความรู้สึกของคนอื่น เด็กมีความคิดเพียงแต่ว่าทุกคนมองสิ่งต่างๆรอบตัว และรู้สึกต่อสิ่งต่า งๆ เหมือนตนเอง
ความคิดของตนเองเป็นใหญ่ที่สุด เมื่ออายุ ๔-๕ ปี เด็กสามารถโต้ตอบหรือมีปฏิสัมพันธ์กับวั ตถุสิ่งของที่อยู่
รอบตัวได้ สามารถจำสิ่งต่างๆ ที่ได้กระทำซ้ำกันบ่อยๆ ได้ดี เรีย นรู้สิ่งต่างๆ ได้ดีขึ้น แต่ยังอาศัยการรับรู้เป็น
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ส่วนใหญ่ แก้ปัญหาการลองผิดลองถู กจากการรับรู้มากกว่าการใช้เหตุผลความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่
อยู่รอบตัวพัฒนาอย่างรวดเร็วตามอายุที่เพิ่มขึ้น ในส่วนของพัฒนาการทางภาษา เด็กวัยนี้เป็นระยะเวลาของ
การพัฒนาภาษาอย่างรวดเร็ว โดยมีการฝึกฝนการใช้ภาษาจากการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในรูปของการพูดคุย การ
ตอบคำถาม การเล่าเรื่อง การเล่านิทานและการทำกิจกรรมต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาในสถานศึกษา
เด็กปฐมวัยสามารถ ใช้ภาษาแทนความคิดของตนและใช้ภาษาในการติดต่อสัมพันธ์กับคนอื่นคำพูด ของเด็กวัย
นี้ อาจจะทำให้ผู้ใหญ่บางคนเข้าใจว่าเด็กรู้มากแต่ที่จริงเด็กยังไม่เข้าใจความหมายของคำและเรื่องราวลึกซึ้งนัก
มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์
หลั ก สู ต รการศึ ก ษาปฐมวั ย กำหนดมาตรฐานคุ ณ ลั ก ษณะที ่ พ ึ ง ประสงค์ จ ำนวน ๑๒ มาตรฐาน
ประกอบด้วย
๑.พัฒนาการด้านร่างกาย ประกอบด้วย ๒ มาตรฐานคือ
มาตรฐานที่ ๑ ร่างกายเจริญเติบโตตามวัยและมีสุขนิสัยที่ดี
มาตรฐานที่ ๒ กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรงใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและประสาน
สัมพันธ์กัน
๒.พัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ประกอบด้วย ๓ มาตรฐานคือ
มาตรฐานที่ ๓ มีสุขภาพจิตดีและมีความสุข
มาตรฐานที่ ๔ ชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว
มาตรฐานที่ ๕ มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจที่ดีงาม
๓.พัฒนาการด้านสังคม ประกอบด้วย ๓ มาตรฐานคือ
มาตรฐานที่ ๖ มีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มาตรฐานที่ ๗ รักธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม และความเป็นไทย
มาตรฐานที่ ๘ อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมใน
ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
๔.พัฒนาการด้านสติปัญญา ประกอบด้วย ๔ มาตรฐานคือ
มาตรฐานที่ ๙ ใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย
มาตรฐานที่ ๑๐ มีความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานการเรียนรู้
มาตรฐานที่ ๑๑ มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
มาตรฐานที่ ๑๒ มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้และมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ได้
เหมาะสมกับวัย
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
หน่วยการจัดประสบการณ์
หน่วยการเรียนรู้
สาระที่ควรรู้
ชั้นอนุบาลปีที่ 1 ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ชั้นอนุบาลปีที่ 3
1.เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก 1.ปฐมนิเทศ 1.ปฐมนิเทศ 1.ปฐมนิเทศ
2.ตัวเรา 2.ตัวเรา 2.ร่างกายของเรา
3.หนูทำได้ 3.หนูทำได้ 3.หนูทำได้
4.ปลอดภัยไว้ก่อน 4.ปลอดภัยไว้ก่อน 4.ปลอดภัยไว้ก่อน
5.อาหารดีมีประโยชน์ 5.อาหารดีมีประโยชน์ 5.อาหารดีมีประโยชน์
2.เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคล 6.โรงเรียนของเรา 6.โรงเรียนของเรา 6.โรงเรียนของเรา
สถานที่และสิ่งแวดล้อม 7.วันเฉลิมพระชนมพรรษาฯ 7.วันเฉลิมพระชนมพรรษาฯ 7.วันสำคัญของชาติ
8.ครอบครัวสุขสันต์ 8.ครอบครัวสุขสันต์ 8.ครอบครัวแสนสุข
9.วันแม่ 9.วันแม่ 9.วันแม่
10.ชุมชนของเรา 10.ชุมชนน่าอยู่ 10.ชุมชนของเรา
11.รักเมืองไทย 11.รักเมืองไทย 11.รักเมืองไทย
12.อาชีพในฝัน 12.อาชีพในฝัน 12.อาชีพในฝัน
13.ลอยกระทง 13.ลอยกระทง 13.ลอยกระทง
14.ค่านิยมไทย 14.ค่านิยมไทย 14.ค่านิยมไทย
15.วันชาติ 15.วันชาติ 15.วันชาติ
16.เศรษฐกิจพอเพียง 16.เศรษฐกิจพอเพียง 16.เศรษฐกิจพอเพียง
17.วันขึ้นปีใหม่ 17.วันขึ้นปีใหม่ 17.วันขึ้นปีใหม่
18.วันเด็ก-วันครู 18.วันเด็ก-วันครู 18.วันเด็ก-วันครู
3.ธรรมชาติรอบตัว 19.ข้าว 19.ข้าว 19.ข้าวของไทย
20.ผัก 20.ผัก 20.ผักในท้องถิ่น
21.ผลไม้ 21.ผลไม้ 21.ผลไม้ไทย
22.สัตว์น่ารัก 22.สัตว์น่ารัก 22.สัตว์โลกน่ารัก
23.ผีเสื้อแสนสวย 23.โลกของแมลง 23.วัฏจักรชีวิตสัตว์
24.ต้นไม้ที่รัก 24.ต้นไม้ที่รัก 24.พืชน่ารู้
25.หิน ดิน ทราย 25.หิน ดิน ทราย 25.หิน ดิน ทราย
26.ฝนจ๋า 26.ฝนจ๋า 26.เรียนรูเ้ รื่องฝน
27.กลางวัน กลางคืน 27.กลางวัน กลางคืน 27.กลางวัน กลางคืน
28.ฤดูกาล 28.ฤดูกาล 28.ฤดูกาล
4.สิ่งต่างๆรอบตัว 29.ของเล่นของใช้ 29.ของเล่นของใช้ 29.ของเล่นของใช้
30.คมนาคม 30.คมนาคม 30.คมนาคม
31.โลกสวยด้วยสีสัน 31.โลกสวยด้วยสีสัน 31.โลกสวยด้วยสีสัน
32.เสียงรอบตัว 32.เสียงรอบตัว 32.เสียงรอบตัว
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
หน่วยการจัดประสบการณ์ (ต่อ)
หน่วยการเรียนรู้
สาระที่ควรรู้
ชั้นอนุบาลปีที่ 1 ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ชั้นอนุบาลปีที่ 3
33.เทคโนโลยีและการ 33.เทคโนโลยีและการ 33.เทคโนโลยีและการ
สื่อสาร สื่อสาร สื่อสาร
34.แรงและพลังงาน 34.แรงและพลังงานใน 34.แรงและพลังงาน
35.สนุกกับตัวเลข ชีวิตประจำวัน ชีวิตประจำวัน
36.รูปร่าง รูปทรง 35.สนุกกับตัวเลข 35.สนุกกับตัวเลข
37.ปริมาตร น้ำหนัก 36.รูปร่าง รูปทรง 36.รูปร่าง รูปทรง
38.วิทยาศาสตร์น่ารู้ 37.ปริมาตร น้ำหนัก 37.ปริมาตร น้ำหนัก
38.วิทยาศาสตร์น่ารู้ 38.วิทยาศาสตร์น่ารู้
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ตารางตรวจสอบการวิเคราะห์มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้/สภาพที่พึงประสงค์ อนุบาลปีที่ 1 ภาคเรียนที่ ๑
โรงเรียนบ้านหน้าควนลัง(ราษฎร์สามัคคี) สพป.สงขลา เขต 2
ชื่อหน่วยการจัดประสบการณ์

11.วันเฉลิมพระชนมพรรษาฯ
7.อาหารดีมีประโยชน์

12.ครอบครัวสุขสันต์
มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้

6.ปลอดภัยไว้ก่อน
3.โรงเรียนของเรา

17.ผีเสื้อแสนสวย

19.หิน ดิน ทราย


14.ชุมชนของเรา
4.ของเล่นของใช้
และสภาพที่พึงประสงค์

15.รักเมืองไทย

18.ต้นไม้ที่รัก
16.สัตว์น่ารัก

20.คมนาคม
1.ปฐมนิเทศ

5.หนูทำได้

13.วันแม่
10.ผลไม้
2.ตัวเรา

8.ข้าว
9.ผัก
มาตรฐานที่ 1 ร่างกายเจริญเติบโตตามวัยและมีสุข
นิสัยดี
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 มีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์
1.1.1 น้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ของกรมอนามัย √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 มีสุขภาพอนามัย สุขนิสัยที่ดี
1.2.1 ยอมรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และดื่มน้ำ √ √ √ √ √
สะอาดเมื่อมีผู้ชี้แนะ
1.2.2 ล้างมือก่อนรับประทานอาหารและหลังจากใช้ √ √ √ √ √ √ √
ห้องน้ำห้องส้วม เมื่อมีผู้ชี้แนะ
1.2.3 นอนพักผ่อนเป็นเวลา √ √
1.2.4 ออกกำลังกายเป็นเวลา √ √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 รักษาความปลอดภัยของตนเองและ
ผู้อื่น
1.3.1 เล่นและทำกิจกรรมอย่างปลอดภัยเมื่อมีผู้ชี้แนะ √ √ √ √ √ √ √
มาตรฐานที่ 2 กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็ก
แข็งแรงใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 เคลื่อนไหวร่างกายอย่างคล่องแคล่ว
ประสานสัมพันธ์และทรงตัวได้
2.1.1 เดินตามแนวที่กำหนดได้ √ √ √
2.1.2 กระโดดสองขาขึ้นลงอยู่กับที่ได้ √ √ √ √
2.1.3 วิ่งแล้วหยุดได้ √ √ √ √
2.1.4 รับลูกบอลโดยใช้มือและลำตัวช่วย √ √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 ใช้มือ-ตา ประสานสัมพันธ์กัน
2.2.1 ใช้กรรไกรตัดกระดาษขาดจากกันได้โดยใช้มือ √ √ √ √
เดียว
2.2.2 เขียนรูปวงกลมตามแบบได้ √ √ √ √
2.2.3 ร้อยวัสดุที่มีรูขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 √ √ √
เซนติเมตรได้
มาตรฐานที่ 3 มีสุขภาพจิตดีและมีความสุข
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 แสดงออกทางอารมณ์ได้อย่างเหมาะสม
3.1.1 แสดงอารมณ์ความรู้สึกได้เหมาะสมกับบาง √ √ √ √ √
สถานการณ์
ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อนื่
3.2.1 กล้าพูดกล้าแสดงออก √ √ √ √ √ √ √
3.2.2 แสดงความพอใจในผลงานตนเอง √ √ √ √
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ชื่อหน่วยการจัดประสบการณ์

11.วันเฉลิมพระชนมพรรษาฯ
7.อาหารดีมีประโยชน์

12.ครอบครัวสุขสันต์
มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้

6.ปลอดภัยไว้ก่อน
3.โรงเรียนของเรา

17.ผีเสื้อแสนสวย

19.หิน ดิน ทราย


14.ชุมชนของเรา
4.ของเล่นของใช้
และสภาพที่พึงประสงค์

15.รักเมืองไทย

18.ต้นไม้ที่รัก
16.สัตว์น่ารัก

20.คมนาคม
1.ปฐมนิเทศ

5.หนูทำได้

13.วันแม่
10.ผลไม้
2.ตัวเรา

8.ข้าว
9.ผัก
มาตรฐานที่ 4 ชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ
ดนตรี และการเคลือ่ นไหว
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 สนใจ มีความสุขและแสดงออกผ่าน
งานศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว
4.1.1 สนใจ มีความสุขและแสดงออกผ่านงานศิลปะ √ √ √
4.1.2 สนใจ มีความสุขและแสดงออกผ่านเสียงเพลง √ √ √
ดนตรี
4.1.3 สนใจ มีความสุขและแสดงท่าทาง/เคลื่อนไหว √ √ √ √
ประกอบเพลง จังหวะและดนตรี
มาตรฐานที่ 5 มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจที่ดี
งาม
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 ซื่อสัตย์สุจริต
5.1.1 บอกหรือชี้ได้ว่าสิ่งใดเป็นของตนเองและสิ่งใดเป็น √ √ √ √ √
ของผู้อื่น
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 มีความเมตตากรุณา มีน้ำใจและ
ช่วยเหลือแบ่งปัน
5.2.1 แสดงความรักเพื่อนและมีเมตตาสัตว์เลี้ยง √ √ √
5.2.2 แบ่งปันผู้อื่นได้เมื่อมีผู้ชี้แนะ √ √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 มีความเห็นอกเห็นใจผูอ้ ื่น
5.3.1 แสดงสีหน้าหรือท่าทางรับรู้ความรู้สึกผู้อื่น √ √ √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 5.4 มีความรับผิดชอบ
5.4.1 ทำงานที่ได้รับมอบหมายจนสำเร็จเมื่อมีผู้ช่วย √ √ √ √ √ √
เหลือ
มาตรฐานที่ 6 มีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 ช่วยเหลือตนเอง ในการปฏิบัติกิจวัตร
ประจำวัน
6.1.1 แต่งตัวโดยมีผู้ช่วยเหลือ √ √ √
6.1.2 รับประทานอาหารด้วยตนเอง √ √ √ √
6.1.3 ใช้ห้องน้ำห้องส้วมโดยมีผู้ช่วยเหลือ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 6.2 มีวินัยในตนเอง
6.2.1 เก็บของเล่นของใช้เข้าที่เมื่อมีผู้ชี้แนะ √ √ √ √
6.2.2 เข้าแถวตามลำดับก่อนหลังได้เมื่อมีผู้ชี้แนะ √ √ √ √ √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 6.3 ประหยัดและพอเพียง
6.3.1 ใช้สิ่งของเครื่องใช้อย่างประหยัดและพอเพียง √ √ √ √ √
เมื่อมีผู้ชี้แนะ
มาตรฐานที่ 7 รักธรรมชาติสิ่งแวดล้อมวัฒนธรรมและ
ความเป็นไทย
ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 ดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ชื่อหน่วยการจัดประสบการณ์

11.วันเฉลิมพระชนมพรรษาฯ
7.อาหารดีมีประโยชน์

12.ครอบครัวสุขสันต์
มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้

6.ปลอดภัยไว้ก่อน
3.โรงเรียนของเรา

17.ผีเสื้อแสนสวย

19.หิน ดิน ทราย


14.ชุมชนของเรา
4.ของเล่นของใช้
และสภาพที่พึงประสงค์

15.รักเมืองไทย

18.ต้นไม้ที่รัก
16.สัตว์น่ารัก

20.คมนาคม
1.ปฐมนิเทศ

5.หนูทำได้

13.วันแม่
10.ผลไม้
2.ตัวเรา

8.ข้าว
9.ผัก
7.1.1 มีส่วนร่วมดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม √ √ √ √
เมื่อมีผู้ชี้แนะ
7.1.2 ทิ้งขยะได้ถูกที่ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทยและรัก
ความเป็นไทย
7.2.1 ปฏิบัติตนตามมารยาทไทยได้เมื่อมีผู้ชี้แนะ √ √ √
7.2.2 กล่าวคำขอบคุณและขอโทษเมือ่ มีผู้ชี้แนะ √ √ √
7.2.3 หยุดยืนเมื่อได้ยินเพลงชาติไทยและเพลง √ √ √
สรรเสริญพระบารมี
มาตรฐานที่ 8 อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและ
ปฏิบตั ติ นเป็นสมาชิกทีด่ ขี องสังคมในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ตัวบ่งชี้ที่ 8.1 ยอมรับความเหมือนและความ
แตกต่างระหว่างบุคคล
8.1.1 เล่นและทำกิจกรรมร่วมกับเด็กที่แตกต่างไป √ √
จากตน
ตัวบ่งชี้ที่ 8.2 มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อนื่
8.2.1 เล่นร่วมกับเพื่อน √ √ √
8.2.2 ยิ้มหรือทักทายผู้ใหญ่และบุคคลที่คุ้นเคยได้เมื่อ √ √ √ √
มีผู้ชี้แนะ
ตัวบ่งชี้ที่ 8.3 ปฏิบตั ติ นเบือ้ งต้นในการเป็นสมาชิก
ที่ดีของสังคม
8.3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อมีผู้ชี้แนะ √ √ √
8.3.2 ปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ตามเมื่อมีผู้ชี้แนะ √ √ √
8.3.3 ยอมรับการประนีประนอมแก้ไขปัญหาเมื่อมีผู้ √ √ √
ชี้แนะ
มาตรฐานที่ 9 ใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย
ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 สนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องให้ผู้อื่น
เข้าใจ
9.1.1 ฟังผู้อื่นพูดจนจบและพูดโต้ตอบเกี่ยวกับเรื่องที่ √ √ √
ฟัง
9.1.2 เล่าเรื่องด้วยประโยคสั้นๆ √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 9.2 อ่าน เขียนภาพ และสัญลักษณ์ได้
9.2.1 อ่านภาพและพูดข้อความด้วยภาษาของตน √ √ √ √ √
9.2.2 เขียนขีดเขี่ยอย่างมีทิศทาง √ √ √ √ √
มาตรฐานที่ 10 มีความสามารถในการคิดที่เป็น
พื้นฐานในการเรียนรู้
ตัวบ่งชี้ที่ 10.1 มีความสามารถในการคิดรวบยอด
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ชื่อหน่วยการจัดประสบการณ์

11.วันเฉลิมพระชนมพรรษาฯ
7.อาหารดีมีประโยชน์

12.ครอบครัวสุขสันต์
มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้

6.ปลอดภัยไว้ก่อน
3.โรงเรียนของเรา

17.ผีเสื้อแสนสวย

19.หิน ดิน ทราย


14.ชุมชนของเรา
4.ของเล่นของใช้
และสภาพที่พึงประสงค์

15.รักเมืองไทย

18.ต้นไม้ที่รัก
16.สัตว์น่ารัก

20.คมนาคม
1.ปฐมนิเทศ

5.หนูทำได้

13.วันแม่
10.ผลไม้
2.ตัวเรา

8.ข้าว
9.ผัก
10.1.1 บอกลักษณะของสิ่งต่างๆ จากการสังเกตโดย √ √ √ √ √
ใช้ประสาทสัมผัส
10.1.2 จับคู่หรือเปรียบเทียบสิ่งต่างๆ โดยใช้ลักษณะ √ √ √ √ √
หรือหน้าที่งานเพียงลักษณะเดียว
10.1.3 คัดแยกสิ่งต่างๆตามลักษณะหรือหน้าที่การใช้ √ √ √ √
งาน
10.1.4 เรียงลำดับสิ่งของหรือเหตุการณ์อย่างน้อย 3 √ √ √
ลำดับ
ตัวบ่งชี้ที่ 10.2 มีความสามารถในการคิดเชิงเหตุผล
10.2.1 ระบุผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์หรือการกระทำ √ √ √
เมื่อมีผู้ชี้แนะ
10.2.2 คาดเดาหรือคาดคะเนสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้น √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 10.3 มีความสามารถในการคิดแก้ปัญหา
และตัดสินใจ
10.3.1 ตัดสินใจในเรื่องง่ายๆ √ √ √
10.3.2 แก้ปัญหาโดยลองผิดลองถูก √ √
มาตรฐานที่ 11 มีจินตนาการและความคิด
สร้างสรรค์
ตัวบ่งชี้ที่ 11.1 ทำงานศิลปะตามจินตนาการและ
ความคิดสร้างสรรค์
11.1.1 สร้างผลงานศิลปะเพื่อสื่อสารความคิด √ √ √ √ √
ความรู้สึกของตนเอง
ตัวบ่งชี้ที่ 11.2 แสดงท่าทาง / เคลือ่ นไหวตาม
จินตนาการอย่างสร้างสรรค์
11.2.1 เคลื่อนไหวท่าทางเพื่อสื่อสารความคิด √ √ √
ความรู้สึกของตนเอง
มาตรฐานที่ 12 มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ และมี
ความสามารถ ในการแสวงหาความรู้
ได้เหมาะสมกับวัย
ตัวบ่งชี้ที่ 12.1 มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้
12.1.1 สนใจหรืออ่านหนังสือด้วยตนเอง √ √ √ √
12.1.2 กระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม √ √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 12.2 มีความสามารถในการแสวงหาความรู้
12.2.1 ค้นหาคำตอบของข้อสงสัยต่างๆ ตามวิธีการ √ √ √ √
เมื่อมีผู้ชี้แนะ
12.2.2 ใช้ประโยคคำถามว่า “ใคร” “อะไร” ในการ √ √ √ √
ค้นหาคำตอบ
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ตารางตรวจสอบการวิเคราะห์มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้/สภาพที่พึงประสงค์ อนุบาลปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2
โรงเรียนบ้านหน้าควนลัง(ราษฎร์สามัคคี) สพป.สงขลา เขต 2
ชื่อหน่วยการจัดประสบการณ์

33.เทคโนโลยีและการ
26.เศรษฐกิจพอเพียง
มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้

30.โลกสวยด้วยสีสัน

37.ปริมาตร น้ำหนัก
27.กลางวันกลางคืน

38.วิทยาศาสตร์น่ารู้
34.แรงและพลังงาน

36.รูปร่าง รูปทรง
35.สนุกกับตัวเลข
31.วันเด็ก-วันครู
และสภาพที่พึงประสงค์

32.เสียงรอบตัว
29.วันขึ้นปีใหม่
21.อาชีพในฝัน

24.ค่านิยมไทย
22.ลอยกระทง

28.ฤดูกาล
25.วันชาติ
23.ฝนจ๋า

สื่อสาร
มาตรฐานที่ 1 ร่างกายเจริญเติบโตตามวัยและมีสุขนิสัยดี
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 มีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์
1.1.1 น้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ของกรมอนามัย √
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 มีสุขภาพอนามัย สุขนิสัยที่ดี
1.2.1 ยอมรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และดื่มน้ำสะอาดเมื่อมี √ √ √
ผู้ชี้แนะ
1.2.2 ล้างมือก่อนรับประทานอาหารและหลังจากใช้ห้องน้ำห้อง √
ส้วม เมื่อมีผู้ชี้แนะ
1.2.3 นอนพักผ่อนเป็นเวลา √ √
1.2.4 ออกกำลังกายเป็นเวลา √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 รักษาความปลอดภัยของตนเองและผูอ้ ื่น
1.3.1 เล่นและทำกิจกรรมอย่างปลอดภัยเมื่อมีผู้ชี้แนะ √
มาตรฐานที่ 2 กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรงใช้ได้
อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 เคลื่อนไหวร่างกายอย่างคล่องแคล่วประสาน
สัมพันธ์และทรงตัวได้
2.1.1 เดินตามแนวที่กำหนดได้ √ √
2.1.2 กระโดดสองขาขึ้นลงอยู่กับที่ได้ √
2.1.3 วิ่งแล้วหยุดได้ √ √ √
2.1.4 รับลูกบอลโดยใช้มือและลำตัวช่วย √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 ใช้มือ-ตา ประสานสัมพันธ์กัน
2.2.1 ใช้กรรไกรตัดกระดาษขาดจากกันได้โดยใช้มือเดียว √ √ √
2.2.2 เขียนรูปวงกลมตามแบบได้ √ √
2.2.3 ร้อยวัสดุที่มีรูขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 เซนติเมตรได้ √ √
มาตรฐานที่ 3 มีสุขภาพจิตดีและมีความสุข
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 แสดงออกทางอารมณ์ได้อย่างเหมาะสม
3.1.1 แสดงอารมณ์ความรู้สึกได้เหมาะสมกับบางสถานการณ์ √ √ √ √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น
3.2.1 กล้าพูดกล้าแสดงออก √ √ √ √
3.2.2 แสดงความพอใจในผลงานตนเอง √ √ √ √
มาตรฐานที่ 4 ชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการ
เคลื่อนไหว
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 สนใจ มีความสุขและแสดงออกผ่านงานศิลปะ
ดนตรี และการเคลือ่ นไหว
4.1.1 สนใจ มีความสุขและแสดงออกผ่านงานศิลปะ √ √
4.1.2 สนใจ มีความสุขและแสดงออกผ่านเสียงเพลง ดนตรี √ √ √
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ชื่อหน่วยการจัดประสบการณ์

33.เทคโนโลยีและการ
26.เศรษฐกิจพอเพียง
มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้

30.โลกสวยด้วยสีสัน

37.ปริมาตร น้ำหนัก
27.กลางวันกลางคืน

38.วิทยาศาสตร์น่ารู้
34.แรงและพลังงาน

36.รูปร่าง รูปทรง
35.สนุกกับตัวเลข
31.วันเด็ก-วันครู
และสภาพที่พึงประสงค์

32.เสียงรอบตัว
29.วันขึ้นปีใหม่
21.อาชีพในฝัน

24.ค่านิยมไทย
22.ลอยกระทง

28.ฤดูกาล
25.วันชาติ
23.ฝนจ๋า

สื่อสาร
4.1.3 สนใจ มีความสุขและแสดงท่าทาง/เคลื่อนไหวประกอบ √ √ √ √
เพลง จังหวะและดนตรี
มาตรฐานที่ 5 มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจที่ดีงาม
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 ซื่อสัตย์สุจริต
5.1.1 บอกหรือชี้ได้ว่าสิ่งใดเป็นของตนเองและสิ่งใดเป็นของผู้อื่น √ √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 มีความเมตตากรุณา มีน้ำใจและช่วยเหลือ
แบ่งปัน
5.2.1 แสดงความรักเพื่อนและมีเมตตาสัตว์เลี้ยง √ √
5.2.2 แบ่งปันผู้อื่นได้เมื่อมีผู้ชี้แนะ √ √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 มีความเห็นอกเห็นใจผูอ้ ื่น
5.3.1 แสดงสีหน้าหรือท่าทางรับรู้ความรู้สึกผู้อื่น √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 5.4 มีความรับผิดชอบ
5.4.1 ทำงานที่ได้รับมอบหมายจนสำเร็จเมื่อมีผู้ช่วยเหลือ √ √ √ √ √ √ √
มาตรฐานที่ 6 มีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 ช่วยเหลือตนเอง ในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
6.1.1 แต่งตัวโดยมีผู้ช่วยเหลือ √ √ √
6.1.2 รับประทานอาหารด้วยตนเอง √ √
6.1.3 ใช้ห้องน้ำห้องส้วมโดยมีผู้ช่วยเหลือ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 6.2 มีวินัยในตนเอง
6.2.1 เก็บของเล่นของใช้เข้าที่เมื่อมีผู้ชี้แนะ √ √
6.2.2 เข้าแถวตามลำดับก่อนหลังได้เมื่อมีผู้ชี้แนะ √
ตัวบ่งชี้ที่ 6.3 ประหยัดและพอเพียง
6.3.1 ใช้สิ่งของเครื่องใช้อย่างประหยัดและพอเพียงเมื่อมีผู้ชี้แนะ √ √ √ √
มาตรฐานที่ 7 รักธรรมชาติสิ่งแวดล้อมวัฒนธรรมและความเป็น
ไทย
ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 ดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
7.1.1 มีส่วนร่วมดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม √ √ √ √
เมื่อมีผู้ชี้แนะ
7.1.2 ทิ้งขยะได้ถูกที่ √ √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทยและรักความเป็น
ไทย
7.2.1 ปฏิบัติตนตามมารยาทไทยได้เมื่อมีผู้ชี้แนะ √ √ √
7.2.2 กล่าวคำขอบคุณและขอโทษเมือ่ มีผู้ชี้แนะ √
7.2.3 หยุดยืนเมื่อได้ยินเพลงชาติไทยและเพลงสรรเสริญพระ √ √
บารมี
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ชื่อหน่วยการจัดประสบการณ์

33.เทคโนโลยีและการ
26.เศรษฐกิจพอเพียง
มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้

30.โลกสวยด้วยสีสัน

37.ปริมาตร น้ำหนัก
27.กลางวันกลางคืน

38.วิทยาศาสตร์น่ารู้
34.แรงและพลังงาน

36.รูปร่าง รูปทรง
35.สนุกกับตัวเลข
31.วันเด็ก-วันครู
และสภาพที่พึงประสงค์

32.เสียงรอบตัว
29.วันขึ้นปีใหม่
21.อาชีพในฝัน

24.ค่านิยมไทย
22.ลอยกระทง

28.ฤดูกาล
25.วันชาติ
23.ฝนจ๋า

สื่อสาร
มาตรฐานที่ 8 อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตน
เป็นสมาชิกที่ดีของสังคมในระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ตัวบ่งชี้ที่ 8.1 ยอมรับความเหมือนและความแตกต่างระหว่าง
บุคคล
8.1.1 เล่นและทำกิจกรรมร่วมกับเด็กที่แตกต่างไปจากตน √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 8.2 มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อนื่
8.2.1 เล่นร่วมกับเพื่อน √ √ √ √ √
8.2.2 ยิ้มหรือทักทายผู้ใหญ่และบุคคลที่คุ้นเคยได้เมื่อมีผู้ชี้แนะ √ √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 8.3 ปฏิบตั ติ นเบือ้ งต้นในการเป็นสมาชิกทีด่ ขี อง
สังคม
8.3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อมีผู้ชแี้ นะ √ √ √
8.3.2 ปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ตามเมื่อมีผู้ชี้แนะ √ √ √
8.3.3 ยอมรับการประนีประนอมแก้ไขปัญหาเมื่อมีผู้ชี้แนะ √
มาตรฐานที่ 9 ใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย
ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 สนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจ
9.1.1 ฟังผู้อื่นพูดจนจบและพูดโต้ตอบเกี่ยวกับเรื่องที่ฟัง √ √ √ √
9.1.2 เล่าเรื่องด้วยประโยคสั้นๆ √ √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 9.2 อ่าน เขียนภาพ และสัญลักษณ์ได้
9.2.1 อ่านภาพและพูดข้อความด้วยภาษาของตน √ √ √ √
9.2.2 เขียนขีดเขี่ยอย่างมีทิศทาง √ √ √
มาตรฐานที่ 10 มีความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการ
เรียนรู้
ตัวบ่งชี้ที่ 10.1 มีความสามารถในการคิดรวบยอด
10.1.1 บอกลักษณะของสิ่งต่างๆ จากการสังเกตโดยใช้ประสาท √ √ √ √ √
สัมผัส
10.1.2 จับคู่หรือเปรียบเทียบสิ่งต่างๆ โดยใช้ลักษณะหรือหน้าที่ √ √
งานเพียงลักษณะเดียว
10.1.3 คัดแยกสิ่งต่างๆตามลักษณะหรือหน้าที่การใช้งาน √ √ √
10.1.4 เรียงลำดับสิ่งของหรือเหตุการณ์อย่างน้อย 3 ลำดับ √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 10.2 มีความสามารถในการคิดเชิงเหตุผล
10.2.1 ระบุผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์หรือการกระทำเมื่อมีผู้ √ √ √ √
ชี้แนะ
10.2.2 คาดเดาหรือคาดคะเนสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้น √ √ √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 10.3 มีความสามารถในการคิดแก้ปัญหาและ
ตัดสินใจ
10.3.1 ตัดสินใจในเรื่องง่ายๆ
10.3.2 แก้ปัญหาโดยลองผิดลองถูก
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ชื่อหน่วยการจัดประสบการณ์

33.เทคโนโลยีและการ
26.เศรษฐกิจพอเพียง
มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้

30.โลกสวยด้วยสีสัน

37.ปริมาตร น้ำหนัก
27.กลางวันกลางคืน

38.วิทยาศาสตร์น่ารู้
34.แรงและพลังงาน

36.รูปร่าง รูปทรง
35.สนุกกับตัวเลข
31.วันเด็ก-วันครู
และสภาพที่พึงประสงค์

32.เสียงรอบตัว
29.วันขึ้นปีใหม่
21.อาชีพในฝัน

24.ค่านิยมไทย
22.ลอยกระทง

28.ฤดูกาล
25.วันชาติ
23.ฝนจ๋า

สื่อสาร
มาตรฐานที่ 11 มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
ตัวบ่งชี้ที่ 11.1 ทำงานศิลปะตามจินตนาการและความคิด
สร้างสรรค์
11.1.1 สร้างผลงานศิลปะเพื่อสื่อสารความคิด ความรู้สึกของ √ √ √
ตนเอง
ตัวบ่งชี้ที่ 11.2 แสดงท่าทาง / เคลือ่ นไหวตามจินตนาการ
อย่างสร้างสรรค์
11.2.1 เคลื่อนไหวท่าทางเพื่อสื่อสารความคิด ความรู้สึกของ √ √ √
ตนเอง
มาตรฐานที่ 12 มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ และมีความสามารถ
ในการแสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกับวัย
ตัวบ่งชี้ที่ 12.1 มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้
12.1.1 สนใจหรืออ่านหนังสือด้วยตนเอง √ √
12.1.2 กระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม √ √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 12.2 มีความสามารถในการแสวงหาความรู้
12.2.1 ค้นหาคำตอบของข้อสงสัยต่างๆ ตามวิธีการเมื่อมีผู้ชี้แนะ √ √
12.2.2 ใช้ประโยคคำถามว่า “ใคร” “อะไร” ในการค้นหา √ √ √ √ √ √
คำตอบ
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ตารางตรวจสอบการวิเคราะห์มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้/สภาพที่พึงประสงค์ อนุบาลปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ 1
โรงเรียนบ้านหน้าควนลัง(ราษฎร์สามัคคี) สพป.สงขลา เขต 2
ชื่อหน่วยการจัดประสบการณ์

11.วันเฉลิมพระชนมพรรษาฯ
7.อาหารดีมีประโยชน์

12.ครอบครัวสุขสันต์
มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้

6.ปลอดภัยไว้ก่อน
3.โรงเรียนของเรา

17.ผีเสื้อแสนสวย

19.หิน ดิน ทราย


14.ชุมชนของเรา
4.ของเล่นของใช้
และสภาพที่พึงประสงค์

15.รักเมืองไทย

18.ต้นไม้ที่รัก
16.สัตว์น่ารัก

20.คมนาคม
1.ปฐมนิเทศ

5.หนูทำได้

13.วันแม่
10.ผลไม้
2.ตัวเรา

8.ข้าว
9.ผัก
มาตรฐานที่ 1 ร่างกายเจริญเติบโตตามวัยและมีสุขนิสัยดี
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 มีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์
๑.๑.๑ น้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ของกรมอนามัย √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 มีสุขภาพอนามัย สุขนิสัยที่ดี
๑.๒.๑ รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และดื่มน้ำสะอาด √ √ √ √ √
ด้วยตนเอง
๑.๒.๒ ล้างมือก่อนรับประทานอาหารและหลังจากใช้ √ √ √ √ √ √ √
ห้องน้ำห้องส้วมด้วยตนเอง
๑.๒.๓ นอนพักผ่อนเป็นเวลา √ √
๑.๒.4 ออกกำลังกายเป็นเวลา √ √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 รักษาความปลอดภัยของตนเองและผูอ้ ื่น
๑.๓.๑ เล่นและทำกิจกรรมอย่างปลอดภัยด้วยตนเอง √ √ √ √ √ √ √
มาตรฐานที่ 2 กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรง
ใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 เคลื่อนไหวร่างกายอย่างคล่องแคล่ว
ประสานสัมพันธ์และทรงตัวได้
๒.๑.๑ เดินต่อเท้าไปข้างหน้าเป็นเส้นตรงได้โดยไม่ต้องกาง √ √ √
แขน
๒.๑.๒ กระโดดขาเดียว อยู่กับที่ได้โดยไม่เสียการทรงตัว √ √ √ √
2.1.3 วิ่งหลบหลีกสิง่ กีดขวาง ได้ √ √ √ √
2.1.4 รับลูกบอลโดยใช้มือทั้งสองข้าง √ √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 ใช้มือ-ตา ประสานสัมพันธ์กัน
๒.๒.๑ ใช้กรรไกรตัดกระดาษตามแนวเส้นตรงได้ √ √ √ √
๒.๒.๒ เขียนรูปสี่เหลี่ยมตามแบบได้อย่างมีมุมชัดเจน √ √ √ √
๒.๒.๓ ร้อยวัสดุที่มีรูขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5 ซม.ได้ √ √ √
มาตรฐานที่ 3 มีสุขภาพจิตดีและมีความสุข
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 แสดงออกทางอารมณ์ได้อย่างเหมาะสม
๓.๑.1 แสดงอารมณ์ ความรู้สึกได้ตามสถานการณ์ √ √ √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น
๓.๒.๑ กล้าพูดกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมบาง √ √ √ √ √ √ √
สถานการณ์
๓.๒.๒ แสดงความพอใจในผลงานและความสามารถของ √ √ √ √
ตนเอง
มาตรฐานที่ 4 ชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และ
การเคลื่อนไหว
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ชื่อหน่วยการจัดประสบการณ์

11.วันเฉลิมพระชนมพรรษาฯ
7.อาหารดีมีประโยชน์

12.ครอบครัวสุขสันต์
มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้

6.ปลอดภัยไว้ก่อน
3.โรงเรียนของเรา

17.ผีเสื้อแสนสวย

19.หิน ดิน ทราย


14.ชุมชนของเรา
4.ของเล่นของใช้
และสภาพที่พึงประสงค์

15.รักเมืองไทย

18.ต้นไม้ที่รัก
16.สัตว์น่ารัก

20.คมนาคม
1.ปฐมนิเทศ

5.หนูทำได้

13.วันแม่
10.ผลไม้
2.ตัวเรา

8.ข้าว
9.ผัก
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 สนใจ มีความสุขและแสดงออกผ่านงาน
ศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว
๔.๑.๑ สนใจ มีความสุข และแสดงออกผ่านงานศิลปะ √ √ √
๔.๑.๒ สนใจ มีความสุข และแสดงออกผ่านเสียงเพลง √ √ √
ดนตรี
๔.๑.3 สนใจ มีความสุข และแสดงท่าทาง /เคลื่อนไหว √ √ √ √
ประกอบเพลง จังหวะ และดนตรี
มาตรฐานที่ 5 มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจที่ดีงาม
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 ซื่อสัตย์สุจริต
๕.๑.๑ ขออนุญาตหรือรอคอยเมื่อต้องการสิ่งของของผู้อื่นเมื่อมี √ √ √ √ √
ผู้ชี้แนะ
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 มีความเมตตากรุณา มีน้ำใจและ
ช่วยเหลือแบ่งปัน
๕.๒.๑ แสดงความรักเพื่อนและมีเมตตาสัตว์เลี้ยง √ √ √
๕.๒.2 ช่วยเหลือและแบ่งปันผู้อื่นได้เมื่อมีผู้ชี้แนะ √ √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 มีความเห็นอกเห็นใจผูอ้ ื่น
5.3.1 แสดงสีหน้าหรือท่าทางรับรู้ความรู้สึกผู้อื่น √ √ √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 5.4 มีความรับผิดชอบ
๕.๔.๑ ทำงานที่ได้รับมอบหมายจนสำเร็จเมื่อมีผู้ชี้แนะ √ √ √
มาตรฐานที่ 6 มีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 ช่วยเหลือตนเอง ในการปฏิบัติกิจวัตร
ประจำวัน
๖.๑.๑ แต่งตัวด้วยตนเอง √ √ √
๖.๑.๒ รับประทานอาหารด้วยตนเอง √ √ √ √
๖.๑.๓ ใช้ห้องน้ำห้องส้วมด้วยตนเอง √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 6.2 มีวินัยในตนเอง
๖.๒.๑ เก็บของเล่นของใช้เข้าที่ด้วยตนเอง √ √ √ √
๖.๒.๒ เข้าแถวตามลำดับก่อนหลังได้ด้วยตนเอง √ √ √ √ √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 6.3 ประหยัดและพอเพียง
๖.๓.๑ ใช้สิ่งของเครื่องใช้อย่างประหยัดและพอเพียง เมื่อ √ √ √ √ √
มีผู้ชี้แนะ
มาตรฐานที่ 7 รักธรรมชาติสิ่งแวดล้อมวัฒนธรรมและความ
เป็นไทย
ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 ดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
๗.๑.๑ มีส่วนร่วมดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เมื่อ √ √ √ √
มีผู้ชี้แนะ
๗.๑.๒ ทิ้งขยะได้ถูกที่ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทยและรักความ
เป็นไทย
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ชื่อหน่วยการจัดประสบการณ์

11.วันเฉลิมพระชนมพรรษาฯ
7.อาหารดีมีประโยชน์

12.ครอบครัวสุขสันต์
มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้

6.ปลอดภัยไว้ก่อน
3.โรงเรียนของเรา

17.ผีเสื้อแสนสวย

19.หิน ดิน ทราย


14.ชุมชนของเรา
4.ของเล่นของใช้
และสภาพที่พึงประสงค์

15.รักเมืองไทย

18.ต้นไม้ที่รัก
16.สัตว์น่ารัก

20.คมนาคม
1.ปฐมนิเทศ

5.หนูทำได้

13.วันแม่
10.ผลไม้
2.ตัวเรา

8.ข้าว
9.ผัก
๗.๒.๑ ปฏิบัติตนตามมารยาทไทยได้ด้วยตนเอง √ √ √
๗.๒.๒ กล่าวคำขอบคุณและ ขอโทษด้วยตนเอง √ √ √
๗.๒.๓ ยืนตรงเมื่อได้ยินเพลงชาติไทยและเพลงสรรเสริญ √ √ √
พระบารมี
มาตรฐานที่ 8 อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและ
ปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ตัวบ่งชี้ที่ 8.1 ยอมรับความเหมือนและความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล
๘.๑.๑ เล่นและทำกิจกรรมร่วมกับเด็กที่แตกต่างไปจากตน √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 8.2 มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อนื่
๘.๒.๑ เล่นหรือทำงานร่วมกับเพื่อนเป็นกลุ่ม √ √ √
๘.๒.๒ ยิ้ม ทักทายหรือพูดคุยกับผู้ใหญ่และบุคคลที่คุ้นเคย √ √ √ √
ได้ด้วยตนเอง
ตัวบ่งชี้ที่ 8.3 ปฏิบตั ติ นเบื้องต้นในการเป็นสมาชิกที่ดี
ของสังคม
๘.๓.๑ มีส่วนร่วมสร้างข้อตกลงและปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อ √ √ √
มีผู้ชี้แนะ
๘.๓.๒ ปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ตามได้ด้วยตนเอง √ √ √
๘.๓.๓ ประนีประนอมแก้ไขปัญหาโดยปราศจากการใช้ √ √ √
ความรุนแรงเมื่อมีผู้ชี้แนะ
มาตรฐานที่ 9 ใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย
ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 สนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจ
๙.๑.๑ ฟังผู้อื่นพูดจนจบและสนทนาโต้ตอบ สอดคล้องกับ √ √ √
เรื่องที่ฟัง
๙.๑.๒ เล่าเรื่องเป็นประโยคอย่างต่อเนื่อง √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 9.2 อ่าน เขียนภาพ และสัญลักษณ์ได้
9.2.1 อ่านภาพ สัญลักษณ์ คำ พร้อมทัง้ ชี้หรือกวาดตามองข้อความ √ √ √ √ √
ตามบรรทัด
๙.๒.๒ เขียนคล้ายตัวอักษร √ √ √ √ √
มาตรฐานที่ 10 มีความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานใน
การเรียนรู้
ตัวบ่งชี้ที่ 10.1 มีความสามารถในการคิดรวบยอด
๑๐.๑.๑ บอกลักษณะ และส่วนประกอบของสิ่งต่างๆจาก √ √ √ √ √
การสังเกตโดยใช้ประสาทสัมผัส
๑๐.๑.๒ จับคู่และเปรียบเทียบความแตกต่างหรือความ √ √ √ √ √
เหมือนของสิ่งต่างๆ โดยใช้ลักษณะที่สังเกตพบเพียง
ลักษณะเดียว
๑๐.๑.๓ จำแนกและจัดกลุ่มสิ่งต่างๆ โดยใช้อย่างน้อยหนึ่ง √ √ √ √
ลักษณะเป็นเกณฑ์
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ชื่อหน่วยการจัดประสบการณ์

11.วันเฉลิมพระชนมพรรษาฯ
7.อาหารดีมีประโยชน์

12.ครอบครัวสุขสันต์
มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้

6.ปลอดภัยไว้ก่อน
3.โรงเรียนของเรา

17.ผีเสื้อแสนสวย

19.หิน ดิน ทราย


14.ชุมชนของเรา
4.ของเล่นของใช้
และสภาพที่พึงประสงค์

15.รักเมืองไทย

18.ต้นไม้ที่รัก
16.สัตว์น่ารัก

20.คมนาคม
1.ปฐมนิเทศ

5.หนูทำได้

13.วันแม่
10.ผลไม้
2.ตัวเรา

8.ข้าว
9.ผัก
๑๐.๑.๔ เรียงลำดับสิ่งของหรือเหตุการณ์ อย่างน้อย ๔ √ √ √
ลำดับ
ตัวบ่งชี้ที่ 10.2 มีความสามารถในการคิดเชิงเหตุผล
๑๐.๒.๑ ระบุสาเหตุหรือผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์หรือการ √ √ √
กระทำเมื่อมีผู้ชี้แนะ
๑๐.๒.๒ คาดเดา หรือคาดคะเนสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้น หรือมี √ √ √
ส่วนร่วมในการลงความเห็นจากข้อมูล
ตัวบ่งชี้ที่ 10.3 มีความสามารถในการคิดแก้ปัญหาและ
ตัดสินใจ
10.3.1 ตัดสินใจในเรื่องง่าย ๆ และเริ่มเรียนรู้ผลที่เกิดขึ้น √ √ √
๑๐.๓.2 ระบุปัญหา และ แก้ปัญหาโดยลองผิดลองถูก √ √
มาตรฐานที่ 11 มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
ตัวบ่งชี้ที่ 11.1 ทำงานศิลปะตามจินตนาการและ
ความคิดสร้างสรรค์
๑๑.๑.๑ สร้างผลงานศิลปะเพื่อสื่อสารความคิด ความรู้สึก √ √ √ √ √
ของตนเองโดยมีการดัดแปลง และแปลกใหม่จากเดิมหรือมี
รายละเอียดเพิ่มขึ้น
ตัวบ่งชี้ที่ 11.2 แสดงท่าทาง / เคลือ่ นไหวตาม
จินตนาการอย่างสร้างสรรค์
๑๑.๒.๑ เคลื่อนไหวท่าทางเพื่อสื่อสารความคิด ความรู้สึก √ √ √
ของตนเองอย่างหลากหลาย หรือแปลกใหม่
มาตรฐานที่ 12 มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ และมี
ความสามารถ ในการแสวงหาความรู้ได้
เหมาะสมกับวัย
ตัวบ่งชี้ที่ 12.1 มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้
๑๒.๑.๑ สนใจซักถามเกี่ยวกับสัญลักษณ์หรือตัวหนังสือที่ √ √ √ √
พบเห็น
๑๒.๑.๒ กระตือรือร้น ในการเข้าร่วมกิจกรรม √ √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 12.2 มีความสามารถในการแสวงหาความรู้
๑๒.๒.๑ ค้นหาคำตอบของข้อสงสัยต่างๆ ตามวิธีการของ √ √ √ √
ตนเอง
๑๒.๒.๒ ใช้ประโยคคำถามว่า “ที่ไหน” “ทำไม” ในการ √ √ √ √
ค้นหาคำตอบ
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ตารางตรวจสอบการวิเคราะห์มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้/สภาพที่พึงประสงค์ อนุบาลปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ 2
โรงเรียนบ้านหน้าควนลัง(ราษฎร์สามัคคี) สพป.สงขลา เขต 2

ชื่อหน่วยการจัดประสบการณ์

33.เทคโนโลยีและการ
26.เศรษฐกิจพอเพียง
มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้

30.โลกสวยด้วยสีสัน

37.ปริมาตร น้ำหนัก
27.กลางวันกลางคืน

38.วิทยาศาสตร์น่ารู้
34.แรงและพลังงาน

36.รูปร่าง รูปทรง
35.สนุกกับตัวเลข
31.วันเด็ก-วันครู
และสภาพที่พึงประสงค์

32.เสียงรอบตัว
29.วันขึ้นปีใหม่
21.อาชีพในฝัน

24.ค่านิยมไทย
22.ลอยกระทง

28.ฤดูกาล
25.วันชาติ
23.ฝนจ๋า

สื่อสาร
มาตรฐานที่ 1 ร่างกายเจริญเติบโตตามวัยและมีสุขนิสัยดี
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 มีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์
๑.๑.๑ น้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ของกรมอนามัย √
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 มีสุขภาพอนามัย สุขนิสัยที่ดี
๑.๒.๑ รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และดื่มน้ำสะอาดด้วยตนเอง √ √
๑.๒.๒ ล้างมือก่อนรับประทานอาหารและหลังจากใช้ห้องน้ำห้องส้วม √
ด้วยตนเอง
๑.๒.๓ นอนพักผ่อนเป็นเวลา √
๑.๒.4 ออกกำลังกายเป็นเวลา √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 รักษาความปลอดภัยของตนเองและผูอ้ ื่น
๑.๓.๑ เล่นและทำกิจกรรมอย่างปลอดภัยด้วยตนเอง √
มาตรฐานที่ 2 กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรงใช้ได้อย่าง
คล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 เคลื่อนไหวร่างกายอย่างคล่องแคล่วประสานสัมพันธ์
และทรงตัวได้
๒.๑.๑ เดินต่อเท้าไปข้างหน้าเป็นเส้นตรงได้โดยไม่ต้องกางแขน √ √
2.1.2 กระโดดขาเดียว อยู่กับที่ได้โดยไม่เสียการทรงตัว √
2.1.3 วิ่งหลบหลีกสิง่ กีดขวาง ได้ √ √
2.1.4 รับลูกบอลโดยใช้มือทั้งสองข้าง √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 ใช้มือ-ตา ประสานสัมพันธ์กัน
๒.๒.๑ ใช้กรรไกรตัดกระดาษตามแนวเส้นตรงได้ √ √
๒.๒.๒ เขียนรูปสี่เหลี่ยมตามแบบได้อย่างมีมุมชัดเจน √ √
๒.๒.๓ ร้อยวัสดุที่มีรูขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5 ซม.ได้ √ √
มาตรฐานที่ 3 มีสุขภาพจิตดีและมีความสุข
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 แสดงออกทางอารมณ์ได้อย่างเหมาะสม
๓.๑.1 แสดงอารมณ์ ความรู้สึกได้ตามสถานการณ์ √ √ √ √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น
๓.๒.๑ กล้าพูดกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมบางสถานการณ์ √ √ √
๓.๒.๒ แสดงความพอใจในผลงานและความสามารถของตนเอง √ √ √ √
มาตรฐานที่ 4 ชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการ
เคลื่อนไหว
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 สนใจ มีความสุขและแสดงออกผ่านงานศิลปะ ดนตรี
และการเคลื่อนไหว
๔.๑.๑ สนใจ มีความสุข และแสดงออกผ่านงานศิลปะ √ √
๔.๑.๒ สนใจ มีความสุข และแสดงออกผ่านเสียงเพลง ดนตรี √ √
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ชื่อหน่วยการจัดประสบการณ์

33.เทคโนโลยีและการ
26.เศรษฐกิจพอเพียง
มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้

30.โลกสวยด้วยสีสัน

37.ปริมาตร น้ำหนัก
27.กลางวันกลางคืน

38.วิทยาศาสตร์น่ารู้
34.แรงและพลังงาน

36.รูปร่าง รูปทรง
35.สนุกกับตัวเลข
31.วันเด็ก-วันครู
และสภาพที่พึงประสงค์

32.เสียงรอบตัว
29.วันขึ้นปีใหม่
21.อาชีพในฝัน

24.ค่านิยมไทย
22.ลอยกระทง

28.ฤดูกาล
25.วันชาติ
23.ฝนจ๋า

สื่อสาร
๔.๑.3 สนใจ มีความสุข และแสดงท่าทาง /เคลื่อนไหวประกอบเพลง √ √ √ √
จังหวะ และดนตรี
มาตรฐานที่ 5 มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจที่ดีงาม
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 ซื่อสัตย์สุจริต
๕.๑.๑ ขออนุญาตหรือรอคอยเมื่อต้องการสิ่งของของผู้อื่นเมื่อมีผู้ √ √
ชี้แนะ
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 มีความเมตตากรุณา มีน้ำใจและช่วยเหลือแบ่งปัน
๕.๒.๑ แสดงความรักเพื่อนและมีเมตตาสัตว์เลี้ยง √
๕.๒.2 ช่วยเหลือและแบ่งปันผู้อื่นได้เมื่อมีผู้ชี้แนะ √ √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 มีความเห็นอกเห็นใจผูอ้ ื่น
5.3.1 แสดงสีหน้าหรือท่าทางรับรู้ความรู้สึกผู้อื่น √
ตัวบ่งชี้ที่ 5.4 มีความรับผิดชอบ
๕.๔.๑ ทำงานที่ได้รับมอบหมายจนสำเร็จเมื่อมีผู้ชี้แนะ √ √ √ √ √ √ √
มาตรฐานที่ 6 มีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 ช่วยเหลือตนเอง ในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
๖.๑.๑ แต่งตัวด้วยตนเอง √ √ √
๖.๑.๒ รับประทานอาหารด้วยตนเอง √
๖.๑.๓ ใช้ห้องน้ำห้องส้วมด้วยตนเอง √
ตัวบ่งชี้ที่ 6.2 มีวินัยในตนเอง
๖.๒.๑ เก็บของเล่นของใช้เข้าที่ด้วยตนเอง √ √
๖.๒.๒ เข้าแถวตามลำดับก่อนหลังได้ด้วยตนเอง √
ตัวบ่งชี้ที่ 6.3 ประหยัดและพอเพียง
๖.๓.๑ ใช้สิ่งของเครื่องใช้อย่างประหยัดและพอเพียง เมื่อมีผู้ชี้แนะ √ √ √ √
มาตรฐานที่ 7 รักธรรมชาติสิ่งแวดล้อมวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 ดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม √
๗.๑.๑ มีส่วนร่วมดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เมื่อมีผู้ชี้แนะ √ √ √ √
๗.๑.๒ ทิ้งขยะได้ถูกที่ √ √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทยและรักความเป็นไทย
๗.๒.๑ ปฏิบัติตนตามมารยาทไทยได้ด้วยตนเอง √ √ √
๗.๒.๒ กล่าวคำขอบคุณและ ขอโทษด้วยตนเอง √
๗.๒.๓ ยืนตรงเมื่อได้ยินเพลงชาติไทยและเพลงสรรเสริญพระบารมี √ √
มาตรฐานที่ 8 อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็น
สมาชิกที่ดีของสังคมในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเป็นประมุข
ตัวบ่งชี้ที่ 8.1 ยอมรับความเหมือนและความแตกต่างระหว่างบุคคล
๘.๑.๑ เล่นและทำกิจกรรมร่วมกับเด็กที่แตกต่างไปจากตน √ √ √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 8.2 มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อนื่ √ √ √ √ √
๘.๒.๑ เล่นหรือทำงานร่วมกับเพื่อนเป็นกลุ่ม √ √ √ √
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ชื่อหน่วยการจัดประสบการณ์

33.เทคโนโลยีและการ
26.เศรษฐกิจพอเพียง
มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้

30.โลกสวยด้วยสีสัน

37.ปริมาตร น้ำหนัก
27.กลางวันกลางคืน

38.วิทยาศาสตร์น่ารู้
34.แรงและพลังงาน

36.รูปร่าง รูปทรง
35.สนุกกับตัวเลข
31.วันเด็ก-วันครู
และสภาพที่พึงประสงค์

32.เสียงรอบตัว
29.วันขึ้นปีใหม่
21.อาชีพในฝัน

24.ค่านิยมไทย
22.ลอยกระทง

28.ฤดูกาล
25.วันชาติ
23.ฝนจ๋า

สื่อสาร
๘.๒.๒ ยิ้ม ทักทายหรือพูดคุยกับผู้ใหญ่และบุคคลที่คุ้นเคยได้ด้วย √ √ √ √
ตนเอง
ตัวบ่งชี้ที่ 8.3 ปฏิบตั ติ นเบือ้ งต้นในการเป็นสมาชิกทีด่ ขี องสังคม
๘.๓.๑ มีส่วนร่วมสร้างข้อตกลงและปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อมีผู้ชี้แนะ √ √ √
๘.๓.๒ ปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ตามได้ด้วยตนเอง √ √ √
๘.๓.๓ ประนีประนอมแก้ไขปัญหาโดยปราศจากการใช้ความรุนแรง √
เมื่อมีผู้ชี้แนะ
มาตรฐานที่ 9 ใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย
ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 สนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจ
๙.๑.๑ ฟังผู้อื่นพูดจนจบและสนทนาโต้ตอบ สอดคล้องกับเรื่องที่ฟัง √ √ √ √
๙.๑.๒ เล่าเรื่องเป็นประโยคอย่างต่อเนื่อง √ √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 9.2 อ่าน เขียนภาพ และสัญลักษณ์ได้
9.2.1 อ่านภาพ สัญลักษณ์ คำ พร้อมทัง้ ชี้หรือกวาดตามองข้อความตามบรรทัด √ √ √ √
๙.๒.๒ เขียนคล้ายตัวอักษร √ √ √
มาตรฐานที่ 10 มีความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้
ตัวบ่งชี้ที่ 10.1 มีความสามารถในการคิดรวบยอด
๑๐.๑.๑ บอกลักษณะ และส่วนประกอบของสิ่งต่างๆจากการสังเกต √ √ √ √ √
โดยใช้ประสาทสัมผัส
๑๐.๑.๒ จับคู่และเปรียบเทียบความแตกต่างหรือความเหมือนของสิ่ง √ √
ต่างๆ โดยใช้ลักษณะที่สังเกตพบเพียงลักษณะเดียว
๑๐.๑.๓ จำแนกและจัดกลุ่มสิ่งต่างๆ โดยใช้อย่างน้อยหนึ่งลักษณะเป็น √ √ √
เกณฑ์
๑๐.๑.๔ เรียงลำดับสิ่งของหรือเหตุการณ์ อย่างน้อย ๔ ลำดับ √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 10.2 มีความสามารถในการคิดเชิงเหตุผล
๑๐.๒.๑ ระบุสาเหตุหรือผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์หรือการกระทำเมื่อมี √ √ √
ผู้ชี้แนะ
๑๐.๒.๒ คาดเดา หรือคาดคะเนสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้น หรือมีส่วนร่วมใน √ √ √ √ √
การลงความเห็นจากข้อมูล
ตัวบ่งชี้ที่ 10.3 มีความสามารถในการคิดแก้ปัญหาและตัดสินใจ
10.3.1 ตัดสินใจในเรื่องง่าย ๆ และเริ่มเรียนรู้ผลที่เกิดขึ้น √ √ √
๑๐.๓.2 ระบุปัญหา และ แก้ปัญหาโดยลองผิดลองถูก √ √ √
มาตรฐานที่ 11 มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
ตัวบ่งชี้ที่ 11.1 ทำงานศิลปะตามจินตนาการและความคิด √
สร้างสรรค์
๑๑.๑.๑ สร้างผลงานศิลปะเพื่อสื่อสารความคิด ความรู้สึกของตนเอง √
โดยมีการดัดแปลง และแปลกใหม่จากเดิมหรือมีรายละเอียดเพิ่มขึ้น
ตัวบ่งชี้ที่ 11.2 แสดงท่าทาง / เคลือ่ นไหวตามจินตนาการอย่าง
สร้างสรรค์
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ชื่อหน่วยการจัดประสบการณ์

33.เทคโนโลยีและการ
26.เศรษฐกิจพอเพียง
มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้

30.โลกสวยด้วยสีสัน

37.ปริมาตร น้ำหนัก
27.กลางวันกลางคืน

38.วิทยาศาสตร์น่ารู้
34.แรงและพลังงาน

36.รูปร่าง รูปทรง
35.สนุกกับตัวเลข
31.วันเด็ก-วันครู
และสภาพที่พึงประสงค์

32.เสียงรอบตัว
29.วันขึ้นปีใหม่
21.อาชีพในฝัน

24.ค่านิยมไทย
22.ลอยกระทง

28.ฤดูกาล
25.วันชาติ
23.ฝนจ๋า

สื่อสาร
๑๑.๒.๑ เคลื่อนไหวท่าทางเพื่อสื่อสารความคิด ความรู้สึกของตนเอง √ √ √
อย่างหลากหลาย หรือแปลกใหม่
มาตรฐานที่ 12 มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ และมีความสามารถ
ในการแสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกับวัย
ตัวบ่งชี้ที่ 12.1 มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้
๑๒.๑.๑ สนใจซักถามเกี่ยวกับสัญลักษณ์หรือตัวหนังสือที่พบเห็น √ √
๑๒.๑.๒ กระตือรือร้น ในการเข้าร่วมกิจกรรม √ √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 12.2 มีความสามารถในการแสวงหาความรู้
๑๒.๒.๑ ค้นหาคำตอบของข้อสงสัยต่างๆ ตามวิธีการของตนเอง √ √
๑๒.๒.๒ ใช้ประโยคคำถามว่า “ที่ไหน” “ทำไม” ในการค้นหาคำตอบ √ √ √ √ √ √
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ตารางตรวจสอบการวิเคราะห์มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้/สภาพที่พึงประสงค์ อนุบาลปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1
โรงเรียนบ้านหน้าควนลัง(ราษฎร์สามัคคี) สพป.สงขลา เขต 2
ชื่อหน่วยการจัดประสบการณ์

11.วันสำคัญของชาติ

17.วัฏจักรชีวิตสัตว์
12.ครอบครัวแสน
6.ปลอดภัยไว้ก่อน

16.สัตว์โลกน่ารัก
14.ชุมชนของเรา

19.หิน ดิน ทราย


2.ร่างกายของเรา

4.ของเล่นของใช้
3.โรงเรียนน่าอยู่

15.รักเมืองไทย
9.ผักในท้องถิ่น
มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้

8.ข้าวของไทย

10.ผลไม้ไทย

20.คมนาคม
1.ปฐมนิเทศ

7.อาหารดีมี

18.พืชน่ารู้
5.หนูทำได้
และสภาพที่พึงประสงค์

13.วันแม่
ประโยชน์

สุข
มาตรฐานที่ 1 ร่างกายเจริญเติบโตตามวัยและมีสุขนิสัยดี
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 มีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์
1.1.1 น้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ของกรมอนามัย √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 มีสุขภาพอนามัย สุขนิสัยที่ดี
1.2.1 รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ได้หลายชนิดและดื่มน้ำ √ √ √ √ √
สะอาดได้ด้วยตนเอง
1.2.2 ล้างมือก่อนรับประทานอาหารและหลังจากใช้ห้องน้ำ √ √ √ √
ห้องส้วมด้วยตนเอง
1.2.3 นอนพักผ่อนเป็นเวลา √ √ √
1.2.4 ออกกำลังกายเป็นเวลา √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 รักษาความปลอดภัยของตนเองและผูอ้ ื่น
1.3.1 เล่น ทำกิจกรรมและปฏิบัติต่อผู้อื่นอย่างปลอดภัย √ √ √ √ √
มาตรฐานที่ 2 กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรงใช้ได้
อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 เคลื่อนไหวร่างกายอย่างคล่องแคล่วประสาน
สัมพันธ์และทรงตัวได้
2.1.1 เดินต่อเท้าถอยหลังเป็นเส้นตรงได้โดยไม่ต้องกางแขน √ √ √ √
2.1.2 กระโดดขาเดียว ไปข้างหน้าได้อย่างต่อเนื่องโดยไม่เสียการ √ √ √ √
ทรงตัว
2.1.3 วิ่งหลบหลีกสิ่งกีดขวางได้อย่างคล่องแคล่ว √ √ √ √
2.1.4 รับลูกบอลที่กระดอนขึ้นจากพื้นได้ √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 ใช้มือ-ตา ประสานสัมพันธ์กัน
2.2.1 ใช้กรรไกรตัดกระดาษตามแนวเส้นโค้งได้ √ √ √ √
2.2.2 เขียนรูปสามเหลี่ยมตามแบบได้อย่างมีมุมชัดเจน √ √ √ √
2.2.3 ร้อยวัสดุที่มีรูขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง๐.๒๕ ซม.ได้ √ √ √
มาตรฐานที่ 3 มีสุขภาพจิตดีและมีความสุข
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 แสดงออกทางอารมณ์ได้อย่างเหมาะสม
3.1.1 แสดงอารมณ์ ความรู้สึกได้สอดคล้องกับสถานการณ์ √ √ √ √
อย่างเหมาะสม
ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น
3.2.1 กล้าพูดกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมตามสถานการณ์ √ √ √ √ √
3.2.2 แสดงความพอใจในผลงานและความสามารถของตนเอง √ √ √ √ √ √
และผู้อื่น
มาตรฐานที่ 4 ชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และ
การเคลื่อนไหว
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 สนใจ มีความสุขและแสดงออกผ่านงานศิลปะ
ดนตรี และการเคลือ่ นไหว
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ชื่อหน่วยการจัดประสบการณ์

11.วันสำคัญของชาติ

17.วัฏจักรชีวิตสัตว์
12.ครอบครัวแสน
6.ปลอดภัยไว้ก่อน

16.สัตว์โลกน่ารัก
14.ชุมชนของเรา

19.หิน ดิน ทราย


2.ร่างกายของเรา

4.ของเล่นของใช้
3.โรงเรียนน่าอยู่

15.รักเมืองไทย
9.ผักในท้องถิ่น
มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้

8.ข้าวของไทย

10.ผลไม้ไทย

20.คมนาคม
1.ปฐมนิเทศ

7.อาหารดีมี

18.พืชน่ารู้
5.หนูทำได้
และสภาพที่พึงประสงค์

13.วันแม่
ประโยชน์

สุข
4.1.1 สนใจและมีความสุขและแสดงออกผ่านงานศิลปะ √ √ √ √
4.1.2 สนใจ มีความสุขและแสดงออกผ่านเสียงเพลง ดนตรี √ √ √ √
4.1.3 สนใจ มีความสุขและแสดงท่าทาง/เคลื่อนไหวประกอบ √ √ √ √
เพลง จังหวะและดนตรี
มาตรฐานที่ 5 มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจที่ดีงาม
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 ซื่อสัตย์สุจริต
5.1.1 ขออนุญาตหรือรอคอยเมื่อต้องการสิ่งของของผูอ้ ื่นด้วย √ √ √ √
ตนเอง
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 มีความเมตตากรุณา มีน้ำใจและช่วยเหลือ
แบ่งปัน
5.2.1 แสดงความรักเพื่อนและมีเมตตาสัตว์เลี้ยง √ √ √ √
5.2.2 ช่วยเหลือและแบ่งปันผู้อื่นได้ด้วยตนเอง √ √ √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 มีความเห็นอกเห็นใจผูอ้ ื่น
5.3.1 แสดงสีหน้าหรือท่าทางรับรู้ความรู้สึกผู้อื่นอย่าง √ √ √ √ √
สอดคล้องกบสถานการณ์
ตัวบ่งชี้ที่ 5.4 มีความรับผิดชอบ
5.4.1 ทำงานที่ได้รับมอบหมายจนสำเร็จด้วยตนเอง √ √ √ √
มาตรฐานที่ 6 มีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 ช่วยเหลือตนเอง ในการปฏิบัติกิจวัตร
ประจำวัน
6.1.1 แต่งตัวด้วยตนเองได้อย่างคล่องแคล่ว √ √ √ √
6.1.2 รับประทานอาหารด้วยตนเองอย่างถูกวิธี √ √ √ √ √
6.1.3 ใช้และทำความสะอาดหลังใช้ห้องน้ำห้องส้วมด้วยตนเอง √ √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 6.2 มีวินัยในตนเอง
6.2.1 เก็บของเล่นของใช้เข้าที่อย่างเรียบร้อยด้วยตนเอง √ √ √
6.2.2 เข้าแถวตามลำดับก่อนหลังได้ด้วยตนเอง √ √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 6.3 ประหยัดและพอเพียง
6.3.1 ใช้สิ่งของเครื่องใช้อย่างประหยัดและพอเพียงด้วยตนเอง √ √ √ √ √
มาตรฐานที่ 7 รักธรรมชาติสิ่งแวดล้อมวัฒนธรรมและความเป็น
ไทย
ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 ดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
7.1.1 มีส่วนร่วมดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมด้วยตนเอง √ √ √ √ √
7.1.2 ทิ้งขยะได้ถูกที่ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทยและรักความเป็น
ไทย
7.2.1 ปฏิบัติตนตามมารยาทไทยได้ตามกาลเทศะ √ √ √ √
7.2.2 กล่าวคำขอบคุณและขอโทษด้วยตนเอง √ √ √
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ชื่อหน่วยการจัดประสบการณ์

11.วันสำคัญของชาติ

17.วัฏจักรชีวิตสัตว์
12.ครอบครัวแสน
6.ปลอดภัยไว้ก่อน

16.สัตว์โลกน่ารัก
14.ชุมชนของเรา

19.หิน ดิน ทราย


2.ร่างกายของเรา

4.ของเล่นของใช้
3.โรงเรียนน่าอยู่

15.รักเมืองไทย
9.ผักในท้องถิ่น
มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้

8.ข้าวของไทย

10.ผลไม้ไทย

20.คมนาคม
1.ปฐมนิเทศ

7.อาหารดีมี

18.พืชน่ารู้
5.หนูทำได้
และสภาพที่พึงประสงค์

13.วันแม่
ประโยชน์

สุข
7.2.3 ยืนตรงและร่วมร้องเพลงชาติไทยและเพลงสรรเสริญ √ √ √ √
พระบารมี
มาตรฐานที่ 8 อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติ
ตนเป็นสมาชิกที่ดขี องสังคมในระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ตัวบ่งชี้ที่ 8.1 ยอมรับความเหมือนและความแตกต่างระหว่าง
บุคคล
8.1.1 เล่นและทำกิจกรรมร่วมกับเด็กที่แตกต่างไปจากตน √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 8.2 มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อนื่
8.2.1 เล่นหรือทำงานร่วมกับเพื่อนอย่างมีเป้าหมาย √ √ √
8.2.2 ยิ้มหรือทักทายหรือพูดคุยกับผู้ใหญ่และบุคคลที่คุ้นเคย √ √ √
ได้เหมาะสมกับสถานการณ์
ตัวบ่งชี้ที่ 8.3 ปฏิบตั ติ นเบือ้ งต้นในการเป็นสมาชิกทีด่ ขี อง
สังคม
8.3.1 มีส่วนร่วมสร้างข้อตกลงและปฏิบัติตามข้อตกลงด้วย √ √ √ √
ตนเอง
8.3.2 ปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ตามได้เหมาะสมกับสถานการณ์ √ √ √
8.3.3 ประนีประนอมแก้ไขปัญหาโดยปราศจากการใช้ความ √ √ √ √ √
รุนแรงด้วยตนเอง
มาตรฐานที่ 9 ใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย
ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 สนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจ
9.1.1 ฟังผู้อื่นพูดจนจบและสนทนาโต้ตอบอย่างต่อเนื่อง √ √ √
เชื่อมโยงกับเรื่องที่ฟัง
9.1.2 เล่าเป็นเรื่องราวต่อเนื่องได้ √ √ √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 9.2 อ่าน เขียนภาพ และสัญลักษณ์ได้
9.2.1 อ่านภาพ สัญลักษณ์ คำ ด้วยการชี้ หรือกวาดตามอง √ √ √
จุดเริ่มต้นและจุดจบของข้อความ
9.2.2 เขียนชื่อของตนเอง ตามแบบเขียนข้อความด้วยวิธีที่คิด √ √ √ √ √
ขึ้นเอง
มาตรฐานที่ 10 มีความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการ
เรียนรู้
ตัวบ่งชี้ที่ 10.1 มีความสามารถในการคิดรวบยอด
10.1.1 บอกลักษณะ ส่วนประกอบ การเปลี่ยนแปลง หรือ √ √ √ √ √ √
ความสัมพันธ์ของสิ่งของต่างๆจากการสังเกตโดยใช้ประสาท
สัมผัส
10.1.2 จับคู่และเปรียบเทียบความแตกต่างหรือความเหมือน √ √ √ √ √ √
ของสิ่งต่างๆโดยใช้ลักษณะที่สังเกตพบสองลักษณะขึ้นไป
10.1.3 จำแนกและจัดกลุ่มสิ่งต่างๆโดยใช้ตั้งแต่สองลักษณะขึ้น √ √ √
ไปเป็นเกณฑ์
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ชื่อหน่วยการจัดประสบการณ์

11.วันสำคัญของชาติ

17.วัฏจักรชีวิตสัตว์
12.ครอบครัวแสน
6.ปลอดภัยไว้ก่อน

16.สัตว์โลกน่ารัก
14.ชุมชนของเรา

19.หิน ดิน ทราย


2.ร่างกายของเรา

4.ของเล่นของใช้
3.โรงเรียนน่าอยู่

15.รักเมืองไทย
9.ผักในท้องถิ่น
มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้

8.ข้าวของไทย

10.ผลไม้ไทย

20.คมนาคม
1.ปฐมนิเทศ

7.อาหารดีมี

18.พืชน่ารู้
5.หนูทำได้
และสภาพที่พึงประสงค์

13.วันแม่
ประโยชน์

สุข
10.1.4 เรียงลำดับสิ่งของหรือเหตุการณ์อย่างน้อย ๕ ลำดับ √ √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 10.2 มีความสามารถในการคิดเชิงเหตุผล
10.2.1 อธิบายเชื่อมโยงสาเหตุและผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์ √ √ √
หรือการกระทำด้วยตนเอง
10.2.2 คาดคะเนสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้น และมีส่วนร่วมในการลง √ √ √ √ √
ความเห็นจากข้อมูลอย่างมีเหตุผล
ตัวบ่งชี้ที่ 10.3 มีความสามารถในการคิดแก้ปัญหาและ
ตัดสินใจ
10.3.1 ตัดสินใจในเรื่องง่ายๆและยอมรับผลที่เกิดขึ้น √ √ √
10.3.2 ระบุปัญหาสร้างทางเลือกและเลือกวิธีแก้ปัญหา √ √ √ √
มาตรฐานที่ 11 มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
ตัวบ่งชี้ที่ 11.1 ทำงานศิลปะตามจินตนาการและความคิด
สร้างสรรค์
11.1.1 สร้างผลงานศิลปะเพื่อสื่อสารความคิด ความรู้สึกของ √ √ √ √
ตนเองโดยมีการดัดแปลงและแปลกใหม่จากเดิมและมี
รายละเอียดเพิ่มขึ้น
ตัวบ่งชี้ที่ 11.2 แสดงท่าทาง / เคลือ่ นไหวตามจินตนาการ
อย่างสร้างสรรค์
11.2.1 เคลื่อนไหวท่าทางเพื่อสื่อสารความคิด ความรู้สึกของ √ √ √ √
ตนเองอย่างหลากหลายและแปลกใหม่
มาตรฐานที่ 12 มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ และมีความสามารถ
ในการแสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกับวัย
ตัวบ่งชี้ที่ 12.1 มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้
12.1.1 หยิบหนังสือมาอ่านและเขียนสื่อความคิดด้วยตนเอง √ √ √ √
เป็นประจำอย่างต่อเนื่อง
12.1.2 กระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรมตั้งแต่ต้นจนจบ √ √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 12.2 มีความสามารถในการแสวงหาความรู้
12.2.1 ค้นหาคำตอบของข้อสงสัยต่างๆ ตามวิธีการที่ √ √ √ √ √
หลากหลายด้วยตนเอง
12.2.2 ใช้ประโยคคำถามว่า “เมื่อไร” อย่างไร” ในการค้นหา √ √ √ √
คำตอบ
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ตารางตรวจสอบการวิเคราะห์มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้/สภาพที่พึงประสงค์ อนุบาลปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2
โรงเรียนบ้านหน้าควนลัง(ราษฎร์สามัคคี) สพป.สงขลา เขต 2
ชื่อหน่วยการจัดประสบการณ์

33.เทคโนโลยีและการสื่อสาร

39.ประเมินพัฒนาการ
40.ประเมินพัฒนาการ
26.เศรษฐกิจพอเพียง
27.กลางวัน กลางคืน

30.โลกสวยด้วยสีสัน

37.ปริมาตร น้ำหนัก
38.วิทยาศาสตร์น่ารู้
34.แรงและพลังงาน
มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้

35.สนุกกับตัวเลข
36.รูปร่าง รูปทรง
23.เรียนรู้เรื่องฝน

31.วันเด็ก-วันครู
32.เสียงรอบตัว
29.วันขึ้นปีใหม่
21.อาชีพในฝัน
และสภาพที่พึงประสงค์

24.ค่านิยมไทย
22.ลอยกระทง

25.วันชาติ

28.ฤดูกาล
มาตรฐานที่ 1 ร่างกายเจริญเติบโตตามวัยและมีสุขนิสัย
ดี
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 มีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ √ √
1.1.1 น้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ของกรมอนามัย √
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 มีสุขภาพอนามัย สุขนิสัยที่ดี
1.2.1 รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ได้หลายชนิดและ √ √
ดื่มน้ำสะอาดได้ด้วยตนเอง
1.2.2 ล้างมือก่อนรับประทานอาหารและหลังจากใช้ √ √
ห้องน้ำห้องส้วมด้วยตนเอง
1.2.3 นอนพักผ่อนเป็นเวลา √
1.2.4 ออกกำลังกายเป็นเวลา √
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 รักษาความปลอดภัยของตนเองและผูอ้ ื่น
1.3.1 เล่น ทำกิจกรรมและปฏิบัติต่อผู้อื่นอย่างปลอดภัย √ √ √
มาตรฐานที่ 2 กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรง
ใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 เคลื่อนไหวร่างกายอย่างคล่องแคล่ว
ประสานสัมพันธ์และทรงตัวได้
2.1.1 เดินต่อเท้าถอยหลังเป็นเส้นตรงได้โดยไม่ต้องกาง √
แขน
2.1.2 กระโดดขาเดียว ไปข้างหน้าได้อย่างต่อเนื่องโดยไม่ √
เสียการทรงตัว
2.1.3 วิ่งหลบหลีกสิ่งกีดขวางได้อย่างคล่องแคล่ว √ √
2.1.4 รับลูกบอลที่กระดอนขึ้นจากพื้นได้ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 ใช้มอื -ตา ประสานสัมพันธ์กัน
2.2.1 ใช้กรรไกรตัดกระดาษตามแนวเส้นโค้งได้ √ √ √
2.2.2 เขียนรูปสามเหลี่ยมตามแบบได้อย่างมีมุมชัดเจน √ √
2.2.3 ร้อยวัสดุที่มีรูขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง๐.๒๕ ซม.ได้ √ √
มาตรฐานที่ 3 มีสุขภาพจิตดีและมีความสุข
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 แสดงออกทางอารมณ์ได้อย่างเหมาะสม
3.1.1 แสดงอารมณ์ ความรู้สึกได้สอดคล้องกับ √ √ √
สถานการณ์อย่างเหมาะสม
ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อนื่
3.2.1 กล้าพูดกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมตาม √ √ √
สถานการณ์
3.2.2 แสดงความพอใจในผลงานและความสามารถของ √ √ √
ตนเองและผู้อื่น
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ชื่อหน่วยการจัดประสบการณ์

33.เทคโนโลยีและการสื่อสาร

39.ประเมินพัฒนาการ
40.ประเมินพัฒนาการ
26.เศรษฐกิจพอเพียง
27.กลางวัน กลางคืน

30.โลกสวยด้วยสีสัน

37.ปริมาตร น้ำหนัก
38.วิทยาศาสตร์น่ารู้
34.แรงและพลังงาน
มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้

35.สนุกกับตัวเลข
36.รูปร่าง รูปทรง
23.เรียนรู้เรื่องฝน

31.วันเด็ก-วันครู
32.เสียงรอบตัว
29.วันขึ้นปีใหม่
21.อาชีพในฝัน
และสภาพที่พึงประสงค์

24.ค่านิยมไทย
22.ลอยกระทง

25.วันชาติ

28.ฤดูกาล
มาตรฐานที่ 4 ชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี
และการเคลื่อนไหว
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 สนใจ มีความสุขและแสดงออกผ่านงาน
ศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว
4.1.1 สนใจและมีความสุขและแสดงออกผ่านงานศิลปะ √ √ √
4.1.2 สนใจ มีความสุขและแสดงออกผ่านเสียงเพลง √ √ √
ดนตรี
4.1.3 สนใจ มีความสุขและแสดงท่าทาง/เคลื่อนไหว √ √ √ √
ประกอบเพลง จังหวะและดนตรี
มาตรฐานที่ 5 มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจที่ดี
งาม
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 ซื่อสัตย์สุจริต
5.1.1 ขออนุญาตหรือรอคอยเมื่อต้องการสิ่งของของผู้อื่น √ √
ด้วยตนเอง
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 มีความเมตตากรุณา มีน้ำใจและ
ช่วยเหลือแบ่งปัน
5.2.1 แสดงความรักเพื่อนและมีเมตตาสัตว์เลี้ยง √ √
5.2.2 ช่วยเหลือและแบ่งปันผู้อื่นได้ด้วยตนเอง √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 มีความเห็นอกเห็นใจผูอ้ ื่น
5.3.1 แสดงสีหน้าหรือท่าทางรับรู้ความรู้สึกผู้อื่นอย่าง √ √ √
สอดคล้องกบสถานการณ์
ตัวบ่งชี้ที่ 5.4 มีความรับผิดชอบ
5.4.1 ทำงานทีไ่ ด้รับมอบหมายจนสำเร็จด้วยตนเอง √ √ √
มาตรฐานที่ 6 มีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 ช่วยเหลือตนเอง ในการปฏิบัติกิจวัตร
ประจำวัน
6.1.1 แต่งตัวด้วยตนเองได้อย่างคล่องแคล่ว √ √ √
6.1.2 รับประทานอาหารด้วยตนเองอย่างถูกวิธี √
6.1.3 ใช้และทำความสะอาดหลังใช้ห้องน้ำห้องส้วม √
ด้วยตนเอง
ตัวบ่งชี้ที่ 6.2 มีวินัยในตนเอง
6.2.1 เก็บของเล่นของใช้เข้าที่อย่างเรียบร้อยด้วย √ √
ตนเอง
6.2.2 เข้าแถวตามลำดับก่อนหลังได้ด้วยตนเอง √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 6.3 ประหยัดและพอเพียง
6.3.1 ใช้สิ่งของเครื่องใช้อย่างประหยัดและพอเพียง √ √ √
ด้วยตนเอง
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ชื่อหน่วยการจัดประสบการณ์

33.เทคโนโลยีและการสื่อสาร

39.ประเมินพัฒนาการ
40.ประเมินพัฒนาการ
26.เศรษฐกิจพอเพียง
27.กลางวัน กลางคืน

30.โลกสวยด้วยสีสัน

37.ปริมาตร น้ำหนัก
38.วิทยาศาสตร์น่ารู้
34.แรงและพลังงาน
มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้

35.สนุกกับตัวเลข
36.รูปร่าง รูปทรง
23.เรียนรู้เรื่องฝน

31.วันเด็ก-วันครู
32.เสียงรอบตัว
29.วันขึ้นปีใหม่
21.อาชีพในฝัน
และสภาพที่พึงประสงค์

24.ค่านิยมไทย
22.ลอยกระทง

25.วันชาติ

28.ฤดูกาล
มาตรฐานที่ 7 รักธรรมชาติสิ่งแวดล้อมวัฒนธรรมและ
ความเป็นไทย
ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 ดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
7.1.1 มีส่วนร่วมดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมด้วย √ √ √
ตนเอง
7.1.2 ทิ้งขยะได้ถูกที่ √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทยและรัก
ความเป็นไทย
7.2.1 ปฏิบัติตนตามมารยาทไทยได้ตามกาลเทศะ √ √ √
7.2.2 กล่าวคำขอบคุณและขอโทษด้วยตนเอง √ √
7.2.3 ยืนตรงและร่วมร้องเพลงชาติไทยและเพลง √ √
สรรเสริญพระบารมี
มาตรฐานที่ 8 อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและ
ปฏิบตั ติ นเป็นสมาชิกทีด่ ขี องสังคมในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ตัวบ่งชี้ที่ 8.1 ยอมรับความเหมือนและความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล
8.1.1 เล่นและทำกิจกรรมร่วมกับเด็กที่แตกต่างไปจาก √ √ √ √
ตน
ตัวบ่งชี้ที่ 8.2 มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อนื่
8.2.1 เล่นหรือทำงานร่วมกับเพื่อนอย่างมีเป้าหมาย √ √ √
8.2.2 ยิ้มหรือทักทายหรือพูดคุยกับผู้ใหญ่และบุคคลที่ √ √
คุ้นเคยได้เหมาะสมกับสถานการณ์
ตัวบ่งชี้ที่ 8.3 ปฏิบตั ติ นเบือ้ งต้นในการเป็นสมาชิกที่
ดีของสังคม
8.3.1 มีส่วนร่วมสร้างข้อตกลงและปฏิบัติตามข้อตกลง √ √ √
ด้วยตนเอง
8.3.2 ปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ตามได้เหมาะสมกับ √ √ √
สถานการณ์
8.3.3 ประนีประนอมแก้ไขปัญหาโดยปราศจากการใช้ √ √
ความรุนแรงด้วยตนเอง
มาตรฐานที่ 9 ใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย
ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 สนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องให้ผู้อื่น
เข้าใจ
9.1.1 ฟังผู้อื่นพูดจนจบและสนทนาโต้ตอบอย่าง √ √ √
ต่อเนื่องเชื่อมโยงกับเรื่องที่ฟัง
9.1.2 เล่าเป็นเรื่องราวต่อเนื่องได้ √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 9.2 อ่าน เขียนภาพ และสัญลักษณ์ได้
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ชื่อหน่วยการจัดประสบการณ์

33.เทคโนโลยีและการสื่อสาร

39.ประเมินพัฒนาการ
40.ประเมินพัฒนาการ
26.เศรษฐกิจพอเพียง
27.กลางวัน กลางคืน

30.โลกสวยด้วยสีสัน

37.ปริมาตร น้ำหนัก
38.วิทยาศาสตร์น่ารู้
34.แรงและพลังงาน
มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้

35.สนุกกับตัวเลข
36.รูปร่าง รูปทรง
23.เรียนรู้เรื่องฝน

31.วันเด็ก-วันครู
32.เสียงรอบตัว
29.วันขึ้นปีใหม่
21.อาชีพในฝัน
และสภาพที่พึงประสงค์

24.ค่านิยมไทย
22.ลอยกระทง

25.วันชาติ

28.ฤดูกาล
9.2.1 อ่านภาพ สัญลักษณ์ คำ ด้วยการชี้ หรือกวาดตา √ √
มองจุดเริ่มต้นและจุดจบของข้อความ
9.2.2 เขียนชื่อของตนเอง ตามแบบเขียนข้อความด้วย √ √
วิธีที่คิดขึ้นเอง
มาตรฐานที่ 10 มีความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐาน
ในการเรียนรู้
ตัวบ่งชี้ที่ 10.1 มีความสามารถในการคิดรวบยอด
10.1.1 บอกลักษณะ ส่วนประกอบ การเปลี่ยนแปลง √ √ √
หรือความสัมพันธ์ของสิ่งของต่างๆจากการสังเกตโดยใช้
ประสาทสัมผัส
10.1.2 จับคู่และเปรียบเทียบความแตกต่างหรือความ √ √ √
เหมือนของสิ่งต่างๆโดยใช้ลักษณะที่สังเกตพบสอง
ลักษณะขึ้นไป
10.1.3 จำแนกและจัดกลุ่มสิ่งต่างๆโดยใช้ตั้งแต่สอง √ √
ลักษณะขึ้นไปเป็นเกณฑ์
10.1.4 เรียงลำดับสิ่งของหรือเหตุการณ์อย่างน้อย ๕ √ √ √
ลำดับ
ตัวบ่งชี้ที่ 10.2 มีความสามารถในการคิดเชิงเหตุผล
10.2.1 อธิบายเชื่อมโยงสาเหตุและผลที่เกิดขึ้นใน √ √ √
เหตุการณ์หรือการกระทำด้วยตนเอง
10.2.2 คาดคะเนสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้น และมีส่วนร่วมใน √ √ √ √
การลงความเห็นจากข้อมูลอย่างมีเหตุผล
ตัวบ่งชี้ที่ 10.3 มีความสามารถในการคิดแก้ปัญหา
และตัดสินใจ
10.3.1 ตัดสินใจในเรื่องง่ายๆและยอมรับผลที่เกิดขึ้น √ √ √
10.3.2 ระบุปัญหาสร้างทางเลือกและเลือกวิธีแก้ปัญหา √ √ √
มาตรฐานที่ 11 มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
ตัวบ่งชี้ที่ 11.1 ทำงานศิลปะตามจินตนาการและ
ความคิดสร้างสรรค์
11.1.1 สร้างผลงานศิลปะเพื่อสื่อสารความคิด √ √ √ √ √
ความรู้สึกของตนเองโดยมีการดัดแปลงและแปลกใหม่
จากเดิมและมีรายละเอียดเพิ่มขึ้น
ตัวบ่งชี้ที่ 11.2 แสดงท่าทาง / เคลือ่ นไหวตาม
จินตนาการอย่างสร้างสรรค์
11.2.1 เคลื่อนไหวท่าทางเพื่อสื่อสารความคิด √ √
ความรู้สึกของตนเองอย่างหลากหลายและแปลกใหม่
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ชื่อหน่วยการจัดประสบการณ์

33.เทคโนโลยีและการสื่อสาร

39.ประเมินพัฒนาการ
40.ประเมินพัฒนาการ
26.เศรษฐกิจพอเพียง
27.กลางวัน กลางคืน

30.โลกสวยด้วยสีสัน

37.ปริมาตร น้ำหนัก
38.วิทยาศาสตร์น่ารู้
34.แรงและพลังงาน
มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้

35.สนุกกับตัวเลข
36.รูปร่าง รูปทรง
23.เรียนรู้เรื่องฝน

31.วันเด็ก-วันครู
32.เสียงรอบตัว
29.วันขึ้นปีใหม่
21.อาชีพในฝัน
และสภาพที่พึงประสงค์

24.ค่านิยมไทย
22.ลอยกระทง

25.วันชาติ

28.ฤดูกาล
มาตรฐานที่ 12 มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ และมี
ความสามารถ ในการแสวงหาความรู้ได้
เหมาะสมกับวัย
ตัวบ่งชี้ที่ 12.1 มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้
12.1.1 หยิบหนังสือมาอ่านและเขียนสื่อความคิดด้วย √ √
ตนเองเป็นประจำอย่างต่อเนื่อง
12.1.2 กระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรมตั้งแต่ต้นจนจบ √ √ √ √
ตัวบ่งชี้ที่ 12.2 มีความสามารถในการแสวงหาความรู้
12.2.1 ค้นหาคำตอบของข้อสงสัยต่างๆ ตามวิธีการที่ √ √ √
หลากหลายด้วยตนเอง
12.2.2 ใช้ประโยคคำถามว่า “เมื่อไร” อย่างไร” ในการ √ √ √ √
ค้นหาคำตอบ
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ตารางการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวบ่งชี้
พัฒนาการด้านร่างกาย
มาตรฐานที่ 1 ร่างกายแข็งแรง เจริญเติบโตตามวัยและมีสุขภาพดี
ตังบ่งชี้ที่ 1.1 มีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์
สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
1.1.1 น้ำหนัก ๑.๑.๑ น้ำหนักและ 1.1.1 น้ำหนักและ 1.การดูแลสุขภาพ 1.การปฏิบัติกิจวัตร 1.การปฏิบัติกิจวัตร 1.การปฏิบัติตนตาม 1.การปฏิบัติตนตาม 1.การปฏิบัติตนตาม
และส่วนสูงตาม ส่วนสูงตามเกณฑ์ ส่วนสูงตามเกณฑ์ อนามัย ประจำวัน ประจำวัน สุขอนามัย สุขนิสัยที่ดี สุขอนามัย สุขนิสัยที่ดี สุขอนามัยสุขนิสัยที่ดี
เกณฑ์ของกรม ของกรมอนามัย ของกรมอนามัย - การเจริญเติบโต 2.การเจริญเติบโต ในกิจวัตประจำวัน ในกิจวัตรประจำวัน ในกิจวัตรประจำวัน
อนามัย ของร่างกาย ของร่างกาย ๒.การมีส่วนร่วมใน
๓.ปัจจัยในการ การเลือกวีแก้ปัญหา
เจริญเติบโต ๓.การเคลื่อนไหวอยู่
กับที่
๔.การเคลื่อนไหว
เคลื่อนที
๕.เล่นเครื่องเล่นสนาม

ตังบ่งชี้ที่ 1.2 มีสุขภาพอนามัย สุขนิสัยที่ดี


สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
1.2.1 ยอม ๑.๒.๑ รับประทาน 1.2.1 รับประทาน 1.อาหารหลัก 5 หมู่ การปฏิบัติกิจวัตร การปฏิบัติกิจวัตร 1.การคัดแยก การจัด 1.การคัดแยก การจัด ๑.การปฏิบัติตนตาม
รับประทานอาหาร อาหารที่มีประโยชน์ อาหารที่มีประโยชน์ 2.สุขนิสัยในการ ประจำวัน ประจำวัน กลุ่ม การจำแนกสิ่ง กลุ่มการจำแนกสิ่งต่างๆ สุขอนามัย สุขนิสัยที่ดีใน
ที่มีประโยชน์และ และดื่มน้ำสะอาด ได้หลายชนิดและดื่ม บริโภคอาหาร ๑.อาหารที่มี ๑.อาหารที่มี ต่างๆ ตามลักษณะและ ตามลักษณะและรูปร่าง กิจวัตรประจำวัน
ดื่มน้ำสะอาดเมื่อมี ด้วยตนเอง น้ำสะอาดได้ด้วย 3.หน้าที่ของอวัยวะ ประโยชน์และไม่มี ประโยชน์และไม่มี รูปร่าง รูปทรง รูปทรง
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ตังบ่งชี้ที่ 1.2 มีสุขภาพอนามัย สุขนิสัยที่ด (ต่อ)
สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
ผู้ชี้แนะ ๑.๒.๒ ล้างมือก่อน ตนเอง สำคัญ ประโยชน์ ประโยชน์ 2.การประกอบอาหาร 2.การประกอบอาหาร ป้องกัน และรักษาความ
1.2.2 ล้างมือก่อน รับประทานอาหาร 1.2.2 ล้างมือก่อน 4.การดูแลรักษา ๒.อาหารหลัก ๕ หมู่ ๒.อาหารหลัก ๕ หมู่ ไทย 3.การปฏิบัติตนตาม ปลอดภัย
รับประทานอาหาร และหลังจากใช้ รับประทานอาหาร และป้องกันอันตราย ๓.การมีเจตคติที่ดี ๓.การมีเจตคติที่ดี 3.การปฏิบัติตนตาม สุขอนามัย สุขนิสัยที่ดี 3.การช่วยเหลือตนเอง
และหลังจากใช้ ห้องน้ำห้องส้วมด้วย และหลังจากใช้ - การล้างมือ 7 ต่อการรับประทาน ต่อการรับประทาน สุขอนามัย สุขนิสัยที่ดีใน ในกิจวัตรประจำวัน ในการปฏิบัติกิจวัตร
ห้องน้ำห้องส้วมเมื่อ ตนเอง ห้องน้ำห้องส้วมด้วย ขั้นตอน อาหารที่มีประโยชน์ อาหารที่มีประโยชน์ กิจวัตประจำวัน 4.การเล่นบทบาทสมมุติ ประจำวัน
มีผู้ชี้แนะ 1.2.3 นอนพักผ่อน ตนเอง - การแปรงฟัน ๔.การดูแลรักษาและ 4.อวัยวะต่างๆของ 4.การเล่นบทบาทสมมุติ เหตุการณ์ต่างๆ 4.การปฏิบัติตนให้
1.2.3 นอนพักผ่อน เป็นเวลา 1.2.3 นอนพักผ่อน การป้องกันอันตราย ร่างกายและการ เหตุการณ์ต่างๆ 5.การช่วยเหลือตนเอง ปลอดภัยในกิจวัตร
5.การออกกำลังกาย
เป็นเวลา 1.2.4 ออกกำลัง เป็นเวลา - การล้างมือ 7 รักษาความปลอดภัย 5.การเล่นเครื่องเล่น ในการปฏิบัติกิจวัตร ประจำวัน
อย่างสม่ำเสมอ
1.2.4 ออกกำลัง กายเป็นเวลา 1.2.4 ออกกำลัง ขั้นตอน 5.วิธีรักษาร่างกาย สนามอย่างอิสระ ประจำวัน 5.การฟังนิทานเรื่องราว
กายเป็นเวลา กายเป็นเวลา 6.การเข้าใช้ห้องน้ำ - การแปรงฟัน ให้สะอาดและมี 6.การปฏิบัติตนให้ เหตุการณ์เกี่ยวกับการ
ห้องส้วม 5.อวัยวะต่างๆของ สุขอนามัยที่ดี ปลอดภัยในกิจวัตร 6.การเล่นอิสระ
ร่างกายและการ 6.ประโยชน์ของการ ประจำวัน 7.การเคลื่อนไหวข้าม
รักษาความปลอดภัย ออกกำลังกาย 7.การฟังนิทาน เรื่อง สิ่งกีดขวาง
6.วิธีรักษาร่างกายให้ 7.การเล่นเครื่องเล่น ราว เหตุการณ์เกี่ยวกับ 8.การเล่นเครื่องเล่น
สะอาดและมี สนามอย่างถูกวิธี การป้องกัน และรักษา อย่างปลอดภัย
สุขอนามัยที่ดี ๘.การเล่นและ ความปลอดภัย 9.การละเล่นพื้นบ้านไทย
7.ประโยชน์ของการ ปฏิบัติต่อผู้อื่นอย่าง 8.การเล่นอิสระ 10.การเล่นนอก
ออกกำลังกาย ปลอดภัย 19.การเคลื่อนไหวข้าม ห้องเรียน
8.การเล่นเครื่องเล่น สิ่งกีดขวาง 11.การเล่นเครื่องเล่น
สนามอย่างถูกวิธี 11.การเล่นเครื่องเล่น สนามอย่างอิสระ
อย่างปลอดภัย
12.การละเล่น
พื้นบ้านไทย
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 รักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อนื่
สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
1.3.1 เล่นและทำ ๑.๓.๑ เล่นและทำ 1.3.1 เล่นและทำ 1.การระมัดระวัง ๑.การรักษาความ ๑.การรักษาความ 1.การปฏิบัติตนให้ 1.การปฏิบัติตนให้ ๑.การปฏิบัติตนให้
กิจกรรมอย่าง กิจกรรมอย่าง กิจกรรมร่วมกับผู้อื่น ความปลอดภัยของ ปลอดภัยของตนเอง ปลอดภัยของตนเอง ปลอดภัยในกิจวัตร ปลอดภัยในกิจวัตร ปลอดภัยใน กิจวัตร
ปลอดภัยเมื่อมีผู้ ปลอดภัยด้วยตนเอง ด้วยความ ตนเองและผู้อื่น และการปฏิบัติต่อ และการปฏิบัติต่อ ประจำวัน ประจำวัน ประจำวัน
ชี้แนะ ระมัดระวังอย่าง - ความปลอดภัยใน ผู้อื่นอย่างปลอดภัย ผู้อื่นอย่างปลอดภัย 2.การฟังนิทาน 2.การฟังนิทาน ๒.การฟังนิทาน
ปลอดภัย การเล่น ในชีวิตประจำวัน ในชีวิตประจำวัน เรื่องราว เหตุการณ์ เรื่องราว เหตุการณ์ เรื่องราวเหตุการณ์
- ความปลอดภัยใน ๒.การปฏิบัติตน เกี่ยวกับการป้องกันและ เกี่ยวกับการป้องกัน เกี่ยวกับการป้องกันและ
การเดินทาง อย่างเหมาะสมเมื่อ รักษาความปลอดภัย และรักษาความ รักษาความปลอดภัย
- การป้องกันโรค เจ็บป่วย 3.การเล่นเครื่องเล่น ปลอดภัย
ติดต่อ ๓.การระวังภัยจาก อย่างปลอดภัย 3.การเล่นเครื่องเล่น
2.การปฏิบัติตนเมื่อ คนแปลกหน้าและ 4.การเล่นบทบาทสมมุติ อย่างปลอดภัย
เกิดอุบัติเหตุ เจ็บป่วย อุบัติภัยต่างๆ เหตุการณ์ต่างๆ 4.การเล่นบทบาท
พลัดหลงหรือพบคน สมมุติเหตุการณ์ต่างๆ
แปลกหน้า
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
มาตรฐานที่ 2 กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรง ใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 เคลื่อนไหวร่างกายอย่างคล่องแคล่วประสานสัมพันธ์และทรงตัวได้
สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
2.1.1 เดินตาม ๒.๑.๑ เดินต่อเท้าไป 2.1.1 เดินต่อเท้า 1.ความสามารถใน ๑.การออกกำลังกาย ๑.การออกกำลังกาย 1.การเคลื่อนไหวโดย 1.การเคลื่อนไหวโดย ๑.การเคลื่อนไหวอยู่
แนวที่กำหนดได้ ข้างหน้าเป็นเส้นตรง ถอยหลังเป็น การควบคุมอวัยวะ ๒.การเคลื่อนไหว ๒.การเคลื่อนไหว ควบคุมตนเองไปในทิศ ควบคุมตนเองไปในทิศ กับที่
2.1.2 กระโดดสอง ได้โดยไม่ต้องกางแขน เส้นตรงได้อย่าง ร่างกายของตนเอง ร่างกาย ร่างกาย ทาง ระดับ และพื้นที่ ทาง ระดับ และพื้นที่ ๒.การเคลื่อนไหว
ขาขึ้นลงอยู่กับที่ได้ ๒.๑.๒ กระโดดขา คล่องแคล่ว - การกระโดด ๓.การระมัดระวัง 2.การเคลื่อนไหวข้าม 2.การเคลื่อนไหวข้าม เคลื่อนที่
2.1.3 วิ่งแล้ว เดียวอยู่กับที่ได้โดยไม่ 2.1.2 กระโดดขา - การวิ่ง ความปลอดภัยของ สิ่งกีดขวาง สิ่งกีดขวาง ๓.การเคลื่อนไหว
2.1.4 รับลูกบอล เสียการทรงตัว เดียว ไปข้างหน้าได้ - การโยนรับบอล ตนเองจากผู้อื่น 3.การเคลื่อนไหวอยู่ 3.การเคลื่อนไหวอยู่ พร้อมอุปกรณ์
๒.๑.๓ วิ่งหลบหลีก อย่างต่อเนื่องโดยไม่ กับที่ ๔.การเคลื่อนไหวทีใ่ ช้
โดยใช้มือและลำตัว ๔. การคมนาคมทาง กับที่
สิ่งกีดขวาง ได้ เสียการทรงตัว 4.การเคลื่อนไหว การประสานสัมพันธ์
ช่วยหยุดได้ บก ทางน้ำ ทาง 4.การเคลื่อนไหว
2.1.4 รับลูกบอล 2.1.3 วิ่งหลบหลีก เคลื่อนที่ ของกล้ามเนื้อใหญ่ใน
สิ่งกีดขวางได้อย่าง อากาศ เคลื่อนที่ 5.การเคลื่อนไหวพร้อม การขว้าง การจับ การ
โดยใช้มือทั้งสองข้าง
คล่องแคล่ว ๕. การกระโดดขา 5.การเคลื่อนไหวพร้อม วัสดุอุปกรณ์ โยน การเตะ
2.1.4 โยนรับลูก เดียว วัสดุอุปกรณ์ 6.การเคลื่อนไหวที่ใช้ ๕.การเล่นเครื่องเล่น
บอลที่กระดอนขึ้น ๖.การวิ่งหลบหลีก 6.การเคลื่อนไหวที่ใช้ การประสานสัมพันธ์ สนามอย่างอิสระ
จากพื้นโดยใช้มือทั้ง สิ่งกีดขวาง การประสานสัมพันธ์ ของ ๖.การเคลื่อนไหวข้าม
๒ ข้างได้ ๗.วิธีการรับบอล ของการใช้กล้ามเนื้อ ๗.การเคลื่อนไหวโดย สิ่งกีดขวาง
๘.การปฏิบัติต่อผุ้อื่น ใหญ่ในการขว้าง การ ควบคุมตนเองไปใน
อย่างปลอดภัย จับ การโยน การเตะ ทิศทาง ระดับ และ
พื้นที่
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 ใช้มือ-ตา ประสานสัมพันธ์กัน
สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
2.2.1 ใช้กรรไกร ๒.๒.๑ ใช้กรรไกรตัด 2.2.1 ใช้กรรไกรตัด 1.การตระหนักถึง ๑.การเล่นและการ ๑.การเล่นและการ 1.การเล่นเครื่องเล่น 1.การเล่นเครื่องเล่น ๑.การเล่นเครื่องเล่น
ตัดกระดาษขาด กระดาษตามแนว กระดาษตามแนว ความสามารถในการ ทำงานร่วมกับผู้อื่น ทำงานร่วมกับผู้อื่น สัมผัสและการสร้างสิ่ง สัมผัสและการสร้างสิ่ง สัมผัส และการสร้าง
จากกันได้โดยใช้ เส้นตรงได้ เส้นโค้งได้ ควบคุมอวัยวะ ๒.การทำงานศิลปะ ๒.การทำงานศิลปะ ต่างๆ จากแท่งไม้ ต่างๆ จากแท่งไม้ สิ่งต่างๆจากแท่งไม้
มือเดียว ๒.๒.๒ เขียนรูป 2.2.2 เขียนรูป - การจับดินสอ ๓.การตระหนักถึง ๓.แผนผังโรงเรียน บล็อก บล็อก บล็อก
2.2.2 เขียนรูป สี่เหลี่ยมตามแบบได้ สามเหลี่ยมตามแบบ - การจับสีเทียนแท่ง ความสามารถในการ ๔.บุคคลในโรงเรียน 2.การเขียนภาพและ 2.การเขียนภาพและ ๒.การเขียนภาพและ
วงกลมตามแบบได้ อย่างมีมุมชัดเจน ได้อย่างมีมุมชัดเจน ใหญ่ ควบคุมอวัยวะ ๕.สถานที่ต่างๆใน การเล่นสี การเล่นสี การเล่นกับสี
๒.๒.๓ ร้อยวัสดุที่มีรู 2.2.3 ร้อยวัสดุที่มีรู ๔.การประสาน โรงเรียน 3.การปั้น ๓.การประดิษฐ์สิ่ง
2.2.3 ร้อยวัสดุที่ 2.การประสาน 3.การปั้น
ขนาดเส้นผ่าน ขนาดเส้นผ่าน สัมพันธ์ของกล้ามเนื้อ ๖.การเลือกใช้สิ่งของ 4.การประดิษฐ์สิ่งต่างๆ ต่างๆด้วยเศษวัสดุ
มีรูขนาด สัมพันธ์ของ 4.การประดิษฐ์สิ่ง
ศูนย์กลาง 0.5 ซม. ศูนย์กลาง๐.๒๕ ซม. เล็กและระบบ เครื่องใช้ต่างๆที่ใช้อยู่ ด้วยเศษวัสดุ ๔.การหยิบจับ การใช้
เส้นผ่าศูนย์กลาง ได้ ได้ กล้ามเนื้อเล็กและ ประสาท ต่างๆ ด้วยเศษวัสดุ 5.การหยิบจับ การใช้ กรรไกร การฉีก การ
1 เซนติเมตรได้ ระบบประสาท ใน ชีวิตประจำวัน 5.การหยิบจับ การใช้ กรรไกร การฉีก การ ตัด การปะ การร้อย
- การวาดภาพ ๗.การรู้จักชื่อ กรรไกร การฉีก การ ตัด การปะ และการ วัสดุ
ระบายสี ลักษณะ สี ผิวสัมผัส ตัด การปะ และการ ร้อยวัสดุ
- การพิมพ์ภาพ ขนาด รูปร่าง ร้อยวัสดุ
- การร้อยลูกปัด รูปทรง ปริมาตร
ร้อยดอกไม้ น้ำหนัก จำนวน
ส่วนประกอบ
๘.การเลือกวัสดุร้อย
วัสดุ
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
พัฒนาการด้านอารมณ์ – จิตใจ
มาตรฐานที่ 3 มีสุขภาพจิตดีและมีความสุข
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 แสดงออกทางอารมณ์ได้อย่างเหมาะส
สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
3.1.1 แสดง ๓.๑.1 แสดงอารมณ์ 3.1.1 แสดงอารมณ์ 1.การแสดง ๑.การแสดงทาง 1.การแสดงทาง 1.การฟังนิทาน 1.การฟังนิทานเกี่ยวกับ ๑.การพูดสะท้อน
อารมณ์ความรู้สึก ความรู้สึกได้ตาม ความรูส้ ึกได้ ความรู้สึกและ อารมณ์และ อารมณ์และ เกี่ยวกับคุณธรรม คุณธรรม จริยธรรม ความรู้สึกของตนเอง
ได้เหมาะสมกับ สถานการณ์ สอดคล้องกับ อารมณ์ของตน ความรู้สึกอย่าง ความรู้สึกอย่าง จริยธรรม 2.การเล่นอิสระ และผู้อื่น
บางสถานการณ์ สถานการณ์อย่าง 2.การควบคุม เหมาะสมกับ เหมาะสมกับ 2.การเล่นอิสระ 3.การเล่นรายบุคคล ๒.การเล่นบทบาท
เหมาะสม อารมณ์ของตนเอง สถานการณ์ สถานการณ์ 3.การเล่นรายบุคคล กลุ่มย่อย และกลุ่มใหญ่ สมมุติ
2.การควบคุม กลุ่มย่อย และกลุ่มใหญ่ 4.การเล่นตามมุม ๓.การเคลื่อนไหวตาม
อารมณ์ ประสบการณ์/มุมเล่น เสียงเพลง ดนตรี
4.การเล่นตามมุม
ต่างๆ ๔.การร้องเพลง
ประสบการณ์/มุมเล่น
5.การเล่นนอกห้อง 5.การทำงานศิลปะ
ต่างๆ 6.การเล่นบทบาทสมมติ ๖.การแสดงความยินดี
5.การเล่นนอกห้อง เมื่อผู้อื่นมีความสุข
6.การเล่นบทบาท เห็นอกเห็นใจเมื่อผู้อื่น
สมมติ เศร้าหรือเสียใจและ
การช่วยเหลือ
ปลอบโยนเมื่อผู้อื่น
ได้รับบาดเจ็บ
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น
สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
3.2.1 กล้าพูด ๓.๒.๑ กล้าพูดกล้า 3.2.1 กล้าพูดกล้า 1.การเห็นคุณค่า ๑.การรู้จักแสดง 1.การรู้จักแสดง 1.การปฏิบัติกิจกรรม 1.การปฏิบัติกิจกรรม ๑.การสะท้อน
กล้าแสดงออก แสดงออกอย่าง แสดงออกอย่าง ของตนเองและผู้อื่น ความคิดเห็นอย่าง ความคิดเห็นอย่าง ต่างๆ ตามความสามารถ ต่างๆ ตามความ ความรู้สึกของตนเอง
3.2.2 แสดงความ เหมาะสมบาง เหมาะสมตาม 2.การเข้าใจ เหมาะสมกับ เหมาะสมกับ ของตน สามารถของตน และผู้อื่น
พอใจในผลงาน สถานการณ์ สถานการณ์ ความรู้สึกของผู้อื่น สถานการณ์ สถานการณ์ 2.การฟังเพลง การร้อง 2.การฟังเพลง การ ๒.การแสดงบทบาท
ตนเอง ๓.๒.๒ แสดงความ 3.2.2 แสดงความ 3.การออกมานำเสนอ 2.การเห็นคุณค่า 2.การประสบ เพลง และการแสดง ร้องเพลง และการ สมมุติ
พอใจในผลงาน พอใจในผลงานและ ผลงานของตนเอง ของตนเองและผู้อื่น ความสำเร็จในสิ่ง ปฏิกิริยาโต้ตอบเสียง แสดงปฏิกิริยาโต้ตอบ ๓.การปฏิบัติกิจกรรม
และความสามารถ ความสามารถของ ต่างๆที่ทำด้วยตนเอง เสียงดนตรี
ดนตรี ต่างๆตามความสามารถ
ของตนเอง ตนเองและผู้อื่น ๓.การสะท้อนการรับ 3.การเล่นเครื่องดนตรี
3.การเล่นเครื่องดนตรี ของตนเอง
รู้อารมณ์และความ ประกอบจังหวะ
ประกอบจังหวะ ๔.การแสดงความยินดี
รู้สึกของตนเองและ
4.การเล่นบทบาทสมมติ 4.การเล่นบทบาท เมื่อผู้อื่นมีความสุข
ผู้อื่น
5.การทำกิจกรรมศิลปะ สมมติ เห็นอกเห็นใจเมื่อผู้อื่น
๔.การแสดงออกทาง
ต่างๆ 6.การทำกิจกรรม เศร้าหรือเสียใจและ
อารมณ์และความรู้สึก
6.การสร้างสรรค์สิ่ง ศิลปะต่างๆ การช่วยเหลือ
อย่างเหมาะสม
สวยงาม 7.การสร้างสรรค์สิ่ง ปลอบโยนเมื่อผู้อื่น
7.การพูดสะท้อนความ สวยงาม ได้รับบาดเจ็บ
รู้สึกของตนเองและผู้อื่น 8.การพูดสะท้อน
8.การเล่นบทบาทสมมติ ความรู้สึกของตนเอง
9.การร่วมสนทนา และ และผู้อื่น
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น 9.การเล่นบทบาทสมมติ
10.การร่วมสนทนา
เชิงจริยธรรม
และแลกเปลี่ยนความ
คิดเห็นเชิงจริยธรรม
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
มาตรฐานที่ 4 ชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 สนใจ มีความสุขและแสดงออกผ่านงานศิลปะ ดนตรีและการเคลื่อนไหว
สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
4.1.1 สนใจ มี ๔.๑.๑ สนใจ มี 4.1.1 สนใจและมี 1.การรู้จักและ ๑.การทำกิจกรรม 1.การทำกิจกรรม 1.การเคลื่อนไหวตาม 1.การเคลื่อนไหวตาม 1.การเคลื่อนไหวตาม
ความสุขและ ความสุข และ ความสุขและแสดง เข้าใจตนเอง ศิลปะสร้างสรรค์ ศิลปะสร้างสรรค์ เสียงเพลง/ดนตรี เสียงเพลง/ดนตรี เสียงเพลง/ดนตรี
แสดงออกผ่านงาน แสดงออกผ่านงาน ออกผ่านงานศิลปะ 2.การแสดงออก ๒.การรู้จักและเข้าใจ 2.การฟัง การร้อง 2.การร้องเพลง 2.การร้องเพลง 2.การร้องเพลง
ศิลปะ ศิลปะ 4.1.2 สนใจ มีความ ความรู้สึกผ่านงาน ตนเอง เพลง 3.การทำงานศิลปะ 3.การทำงานศิลปะ 3.การทำกิจกรรมศิลปะ
4.1.2 สนใจ มี ๔.๑.๒ สนใจ มี สุขและแสดงออกผ่าน ศิลปะ ๓.การแสดงออก 3.การแสดงท่าทาง 4.การเล่นบทบาทสมมติ 4.การเล่นบทบาท ต่างๆ
ความสุขและ ความสุขและ เสียงเพลง ดนตรี 3.การแสดงออก ความรู้สึกผ่านงาน เคลื่อนไหวประกอบ 5.การทำกิจกรรมศิลปะ สมมติ 4.การรับรู้และแสดง
แสดงออกผ่าน แสดงออกผ่าน 4.1.3 สนใจ มี ความรู้สึกผ่าน ศิลปะ เพลง จังหวะและ 5.การทำกิจกรรม
ต่างๆ ความคิด ความรู้สึก
เสียงเพลง ดนตรี เสียงเพลง ดนตรี ความสุขและแสดง เสียงเพลง ดนตรี 4.การฟัง การร้อง ดนตรี ศิลปะต่างๆ
6.การสร้างสรรค์สิ่ง ผ่านสื่อ วัสดุ ของเล่น
4.1.3 สนใจ มี ๔.๑.3 สนใจ มี ท่าทาง/เคลื่อนไหว 4.การแสดงท่าทาง เพลง ๔.การแสดงออกทาง 6.การสร้างสรรค์สิ่ง
ความสุข และแสดง ประกอบเพลงตาม 5.การแสดงออก สวยงาม สวยงาม และชิ้นงาน
ความสุขและแสดง ประกอบเพลง อารมณ์และความรู้สึก
ท่าทาง /เคลื่อนไหว ความรู้สึกของตนเอง ความรู้สึกผ่าน 7.การปฏิบัติกิจกรรม 7.การปฏิบัติกิจกรรม 5.การปฏิบัติกิจกรรม
ท่าทาง/เคลื่อนไหว จังหวะและ ดนตรี อย่างเหมาะสม
ประกอบเพลง เสียงเพลง ดนตรี ต่างๆ ตามความสามารถ ต่างๆ ตาม ต่างๆ ตามความ
ประกอบเพลง ของตน สามารถของตนเอง
จังหวะ และดนตรี 6.การแสดงท่าทาง ความสามารถของตน
จังหวะและดนตรี เคลื่อนไหวประกอบ 8.การฟังเพลง การ 6.การเขียนภาพและ
เพลง จังหวะและ ร้องเพลง และการ การเล่นสี
ดนตรี แสดงปฏิกิริยาโต้ตอบ 7.การปั้น
เสียงดนตรี 8.การประดิษฐ์สิ่ง
9.การเล่นเครื่องดนตรี ต่างๆด้วยเศษวัสดุ
ประกอบจังหวะ 9.การหยิบจับการใช้
กรรไกรการฉีก การตัด
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 สนใจ มีความสุขและแสดงออกผ่านงานศิลปะ ดนตรีและการเคลื่อนไหว (ต่อ)
สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
การปะ และการร้อย
วัสดุ
๑0.การฟังเพลง การ
ร้องเพลง และการ
แสดงปฏิกิริยาโต้ตอบ
เสียงดนตรี
๑1.การเล่ น เครื ่ อ ง
ดนตรีประกอบจังหวะ

มาตรฐานที่ 5 มีคุณธรรม จริยธรรมและมีจิตใจที่ดีงาม


ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 ซื่อสัตย์สุจริต
สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
5.1.1 บอกหรือชี้ ๕.๑.๑ ขออนุญาต 5.1.1 ขออนุญาต 1.รู้จักสิ่งของ 1.ความซื่อสัตย์ 1. ความซื่อสัตย์ 1.การปฏิบัติตนตามหลัก 1.การปฏิบัติตนตาม ๑.ปฏิบัติตนเป็นสมาชิก
ได้ว่าสิ่งใดเป็นของ หรือรอคอยเมื่อ หรือรอคอยเมื่อ เครื่องใช้ของตนเอง สุจริต สุจริต ศาสนาที่นับถือ หลักศาสนาที่นับถือ ที่ดีของห้องเรียน
ตนเองและสิ่งใด ต้องการสิ่งของของ ต้องการสิ่งของของ และผู้อื่น 2.ความเกรงใจ 2.ความเกรงใจ 2.การฟังนิทานเกี่ยวกับ 2.การฟังนิทาน ๒.การฟังนิทานเกี่ยวกับ
เป็นของผู้อื่น ผู้อื่นเมื่อมีผู้ชี้แนะ ผู้อื่นด้วยตนเอง 3.การเคารพสิทธิ 3.การเคารพสิทธิ คุณธรรม จริยธรรม เกี่ยวกับคุณธรรม คุณธรรม จริยธรรม
ของตนเองและผู้อื่น ของตนเองและผู้อื่น 3.การร่วมสนทนา และ จริยธรรม ๓.การร่วมสนทนาและ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น 3.การร่วมสนทนา แลกเปลี่ยนความ
และแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นเชิงจริยธรรม
เชิงจริยธรรม
คิดเห็นเชิงจริยธรรม
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 ซื่อสัตย์สุจริต (ต่อ)
สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
4.การใช้วัสดุและสิ่งของ 4.การใช้วัสดุและสิ่งของ ๔.เล่นบทบาทสมมุติ
เครื่องใช้อย่างคุ้มค่า เครื่องใช้อย่างคุ้มค่า ๕.การเล่นและทำงาน
๕.ปฏิบัติตนเป็นสมาชิก ร่วมกับผู้อื่น
ที่ดีของห้องเรียน ๖.การปฏิบัติตนตาม
หลักศาสนาที่นับถือ

ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 มีความเมตตากรุณา มีน้ำใจและช่วยเหลือแบ่งปัน


สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
5.2.1 แสดงความ ๕.๒.๑ แสดงความ 5.2.1 แสดงความ 1.ความซื่อสัตย์สุจริต 1.ความเมตตากรุณา 1.ความเมตตากรุณา 1.การแสดงความยินดีเมื่อ 1.การแสดงความยินดี 1.การฟังนิทานเกี่ยวกับ
รักเพื่อนและมี รักเพื่อนและมี รักเพื่อนและมี 2.ความเมตตากรุณา 2.ความมีน้ำใจ 2.ความมีน้ำใจ ผู้อื่นมีความสุข เห็นใจเมื่อ เมื่อผู้อนื่ มีความสุขเห็น คุณธรรม จริยธรรม
เมตตาสัตว์เลี้ยง เมตตาสัตว์เลี้ยง เมตตาสัตว์เลี้ยง 3.ความมีน้ำใจ เอื้อเฟื้อเผือ่ แผ่ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ผู้อื่นเศร้าหรือเสียใจและ ใจ เมื่อผู้อื่นเศร้าหรือ 2.เล่นบทบาทสมมุติ
5.2.2 แบ่งปัน ๕.๒.๒ ช่วยเหลือ 5.2.2 ช่วยเหลือ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ 3.ความมีน้ำใจ 3.ความมีน้ำใจ การช่วยเหลือปลอบโยน เสียใจและการช่วยเหลือ 3.การเลี้ยงสัตว์
ผู้อื่นได้เมื่อมีผู้ และแบ่งปันผู้อื่น และแบ่งปันผู้อื่นได้ ช่วยเหลือแบ่งปัน ช่วยเหลือแบ่งปัน เมื่อผู้อื่นได้รับบาดเจ็บ ปลอบโยนเมื่อผู้อื่นได้รับ 4.ปฏิบัติตนเป็นสมาชิก
ชี้แนะ ได้เมื่อมีผู้ชี้แนะ ด้วยตนเอง 4.ความกตัญญู 4.ความกตัญญู 2.การฟังนิทานเกี่ยวกับ บาดเจ็บ ที่ดีของห้องเรียน
5.ความมีน้ำใจ 2.การฟังนิทานเกี่ยวกับ 5.การเล่นรายบุคคล
คุณธรรม จริยธรรม
เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ คุณธรรม จริยธรรม กลุ่มย่อยและกลุ่มใหญ่
3.การเล่นบทบาทสมมติ
6.การปฏิสัมพันธ์ใน 3.การเล่นบทบาทสมมติ 6.การเล่นตามมุม
ชีวิตประจำวัน 4.การเล่นหรือทำกิจกรรม ประสบการณ์/มุมเล่น
4.การเล่นหรือทำ
ร่วมกับกลุ่มเพื่อน ต่างๆ
กิจกรรมร่วมกับกลุ่ม
5.การปฏิบัติตนเป็น
เพื่อน
สมาชิกที่ดีของห้องเรียน
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 มีความเมตตากรุณา มีน้ำใจและช่วยเหลือแบ่งปัน (ต่อ)
สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
6.การเลี้ยงสัตว์ 5.การปฏิบัติตนเป็น
7.การเล่นรายบุคคล สมาชิกที่ดีของห้องเรียน
กลุ่มย่อย และกลุ่มใหญ่ 6.การเลี้ยงสัตว์
8.การเล่นตามมุม 7.การเล่นรายบุคคล
ประสบการณ์/มุมเล่น กลุ่มย่อย และกลุ่มใหญ่
ต่างๆ

ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 มีความเห็นอกเห็นใจผู้อนื่


สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
5.3.1 แสดงสี 5.3.1 แสดงสี 5.3.1 แสดงสีหน้า 1.ความเข้าอกเข้าใจ 1.ความเข้าอกเข้าใจ 1.ความเห็นอกเห็น 1.การแสดงความยินดีเมื่อ 1.การแสดงความยินดี 1.การแสดงความยินดี
หน้าหรือท่าทาง หน้าหรือท่าทาง หรือท่าทางรับรู้ ผู้อื่น ผู้อื่น ใจผู้อื่น ผู้อื่นมีความสุข เห็นใจเมื่อ เมื่อผู้อื่นมีความสุข เห็น เมื่อผู้อื่นมีความสุข
รับรู้ความรู้สึก รับรู้ความรู้สึกผู้อื่น ความรู้สึกผู้อ่นื อย่าง 2.ความมีน้ำใจ ผู้อื่นเศร้าหรือเสียใจและ ใจเมื่อผู้อื่นเศร้าหรือ เห็นใจเมื่อผู้อื่นเศร้า
ผู้อื่น สอดคล้องกับ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ การช่วยเหลือปลอบโยน เสียใจและการช่วย หรือเสียใจและการ
สถานการณ์ 3.การสะท้อนการรับรู้ เมื่อผู้อื่นได้รับบาดเจ็บ เหลือปลอบโยนเมื่อผู้ ช่วยเหลือปลอบโยน
อารมณ์และความรู้สึก 2.การพูดสะท้อนความ อื่นได้รับบาดเจ็บ เมื่อผู้อื่นได้รับบาดเจ็บ
ของตนเองและผู้อื่น 2.การพูดสะท้อนความ 2.การเล่นและทำงาน
รู้สึกของตนเองและผู้อื่น
รู้สึกของตนเองและผู้อื่น ร่วมกับผู้อื่น
3.การมีส่วนร่วมในการ
3.การมีส่วนร่วมในการ 3.การเล่นบทบาท
เลือกวิธีการแก้ปัญหา เลือกวิธีการแก้ปัญหา สมมุติ
4.การมีส่วนร่วมในการ แก้ปัญหาความขัดแย้ง
แก้ปัญหาความขัดแย้ง
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6

ตัวบ่งชี้ที่ 5.4 มีความรับผิดชอบ


สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
5.4.1 ทำงานที่ ๕.๔.๑ ทำงานที่ 5.4.1 ทำงานที่ได้รับ 1.ความรับผิดชอบ 1.ความรับผิดชอบ 1.ความรับผิดชอบ 1.การให้ความร่วมมือใน 1.การให้ความร่วมมือ 1.การให้ความร่วมมือ
ได้รับมอบหมายจน ได้รับมอบหมาย มอบหมายจนสำเร็จ 2.ความอดทน มุ่งมั่น 2.ความอดทน มุ่งมั่น การปฏิบตั ิกิจกรรมต่างๆ ในการปฏิบัติกิจกรรม ในการปฏิบัติกิจกรรม
สำเร็จ เมื่อมีผู้ช่วย จนสำเร็จเมื่อมีผู้ ด้วยตนเอง 3.ความเพียร 3.ความเพียร 2.การปฏิบัติตนเป็น ต่างๆ ต่างๆ
เหลือ ชี้แนะ สมาชิกที่ดีของห้องเรียน 2.การปฏิบัติตนเป็น 2.การทำกิจกรรม
สมาชิกที่ดีของห้องเรียน ศิลปะต่างๆ
3.การดูแลห้องเรียน
ร่วมกัน
4.การมีส่วนร่วม
รับผิดชอบ ดูแลรักษา
สิ่งแวดล้อมทั้งภายใน
และภายนอก
ห้องเรียน
5.การร่วมกำหนด
ข้อตกลงของห้องเรียน
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
พัฒนาการด้านสังคม
มาตรฐานที่ 6 มีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 ช่วยเหลือตนเอง ในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
6.1.1 แต่งตัวโดย ๖.๑.๑ แต่งตัว 6.1.1 แต่งตัวด้วย 1.การปฏิบัติกิจวัตร 1.การปฏิบัติกิจวัตร ๑.การช่วยเหลือ 1.การช่วยเหลือตนเองใน 1.การช่วยเหลือตนเอง ๑.การช่วยเหลือ
มีผู้ช่วยเหลือ ด้วยตนเอง ตนเองได้อย่าง ประจำวัน ประจำวัน ตนเอง กิจวัตรประจำวัน ในกิจวัตรประจำวัน ตนเองในกิจวัตร
6.1.2รับประทาน ๖.๑.๒ รับประทาน คล่องแคล่ว - การแต่งตัว - การแต่งตัว ๒.มารยาทในการ 2.การร่วมกำหนด 2.การร่วมกำหนด ประจำวัน
อาหารด้วยตนเอง อาหาร ด้วยตนเอง 6.1.2 รับประทาน - การจัดเก็บสิ่งของ - การจัดเก็บสิ่งของ รับประทานอาหาร ข้อตกลงของห้องเรียน ข้อตกลงของห้องเรียน ๒.การให้ความร่วมมือ
6.1.3 ใช้ห้องน้ำ ๖.๑.๓ ใช้ห้องน้ำ อาหารด้วยตนเอง เครื่องใช้ เครื่องใช้ ๓.วิธีดูแลร่างกายให้ 3.การดูแลห้องเรียน 3.การดูแลห้องเรียน ในการปฏิบัติกิจกรรม
ห้องส้วมโดยมีผู้ ห้องส้วมด้วยตนเอง อย่างถูกวิธี 2.วิธีการรับประทาน 2.วิธีการรับประทาน สะอาด ร่วมกัน ร่วมกัน ต่างๆ
ช่วยเหลือ 6.1.3 ใช้และทำ อาหารและมารยาทใน อาหารและมารยาท ๔.การรับประมทาน 4.การปฏิบัติตนตาม ๓.การปฏิบัติกิจกรรม
4.การปฏิบัติตนตาม
ความสะอาดหลังใช้ การรับประทาน ในการรับประทาน อาหารที่มีประโยชน์ สุขอนามัย สุขนิสัยที่ดี ต่างๆตามความสามารถ
สุขอนามัย สุขนิสัยที่ดีใน
ห้องน้ำห้องส้วมด้วย อาหาร อาหาร ๖.การมีสุขภาพ ในกิจวัตรประจำวัน ของตนเอง
ตนเอง 3.วิธีใช้ห้องน้ำ ห้อง 3.วิธีใช้ห้องน้ำ ห้อง กิจวัตรประจำวัน ๔.การเล่นบทบาท
อนามัยที่ดี
ส้วม ส้วม สมมุติ
4.วิธีการรับประทาน ๕.การฟังและปฏิบัติ
อาหารและมารยาท ตามคำแนะนำ
ในการรับประทาน
อาหาร
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ตัวบ่งชี้ที่ 6.2 มีวินัยในตนเอง
สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
6.2.1 เก็บของ ๖.๒.๑ เก็บของเล่น 6.2.1 เก็บของเล่น 1. ข้อตกลงในห้อง 1.ข้อตกลงในห้อง ๑.การเล่นและการ 1.การร่วมกำหนด 1.การร่วมกำหนด ๑.การร่วมกำหนด
เล่นของใช้เข้าที่ ของใช้เข้าที่ด้วย ของใช้เข้าที่อย่าง เรียนและโรงเรียน เรียนและโรงเรียน เก็บสิ่งของอย่างถูกวิธี ข้อตกลงของห้องเรียน ข้อตกลงของห้องเรียน ข้อตกลงของห้องเรียน
เมื่อมีผู้ชี้แนะ ตนเอง เรียบร้อยด้วยตนเอง 2. ลำดับก่อน - หลัง 2.การเล่นและการ 2.การรอคอย 2.การปฏิบัติตนเป็น 2.การปฏิบัติตนเป็น ๒.การปฏิบัติตนเป็น
6.2.2 เข้าแถว ๖.๒.๒ เข้าแถว 6.2.2 เข้าแถว เก็บสิ่งของอย่างถูกวิธี ตามลำดับก่อนหลัง สมาชิกที่ดีของห้องเรียน สมาชิกที่ดีของห้องเรียน สมาชิกที่ดีของห้องเรียน
ตามลำดับก่อนหลัง ตามลำดับก่อนหลัง ตามลำดับก่อนหลัง 3.การรอคอยตาม 3.การเข้าแถว 3.การให้ความร่วมมือใน 3.การให้ความร่วมมือ ๓.การให้ความร่วมมือ
ได้เมื่อมีผู้ชี้แนะ ได้ด้วยตนเอง ได้ด้วยตนเอง ลำดับก่อนหลัง ๔.การปฏิบัติตนเป็น การปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ในการปฏิบัติกิจกรรม ในการปฏิบัติกิจกรรม
4.การเข้าแถว สมาชิกที่ดีของครอบ ต่างๆ ต่างๆ
4. การดูแลห้องเรียน
5.การดูแลห้องเรียน ครัวและโรงเรียน ๔.การดูแลห้องเรียน
ร่วมกัน
ร่วมกัน ๕.การแสดงมารยาท ร่วมกัน
6.การเล่นบทบาท ที่ดี 5. การเล่นบทบาทสมมติ ๕.การเล่นเครื่องเล่น
สมมติการปฏิบัติตน ๖.การมีคุณธรรม การปฏิบัติตนในความเป็น สัมผัสและการสร้าง
ในความเป็นไทย จริยธรรม ไทย จากแท่งไม้ บล็อก
๖.การฟังและปฏิบัติ
ตามคำแนะนำ
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ตัวบ่งชี้ที่ 6.3 ประหยัดและพอเพียง
สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
6.3.1 ใช้สิ่งของ ๖.๓.๑ ใช้สิ่งของ 6.3.1 ใช้สิ่งของ 1.ความประหยัด 1.การเลือกใช้สิ่งของ 1.การเลือกใช้ 1.การปฏิบัติตนตาม 1.การปฏิบัติตนตาม ๑.การปฏิบัติตนตาม
เครื่องใช้อย่าง เครื่องใช้อย่าง เครื่องใช้อย่าง 2.การใช้สิ่งของ เครื่องใช้ น้ำ ไฟอย่าง สิ่งของเครือ่ งใช้ น้ำ แนวทางหลักปรัชญา แนวทางหลักปรัชญา แนวทางหลักปรัชญา
ประหยัดและพอ ประหยัดและ ประหยัดและพอเพียง เครื่องใช้ของตนเอง ประหยัด ไฟอย่างประหยัด เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง ของเศรษฐกิจพอเพียง
พอเพียง เมื่อมีผู้ พอเพียง เมื่อมีผู้ ด้วยตนเอง และผู้อื่น 2.การใช้ การเลือก 2.การใช้วัสดุและสิ่งของ 2.การใช้วัสดุและสิ่งของ ๒.การใช้วัสดุและสิ่ง
ชี้แนะ ชี้แนะ ใช้สิ่งของเครื่องใช้ใน เครื่องใช้อย่างคุ้มค่า เครื่องใช้อย่างคุ้มค่า ของเครื่องใช้อย่างคุ้มค่า
ชีวิตประจำวันอย่าง 3.การทำงานศิลปะที่นำ 3.การทำงานศิลปะที่นำ ๓.การทำงานศิลปะที่
ประหยัด ปลอดภัย วัสดุหรือสิ่งของ ใช้วัสดุหรือสิ่งของที่ใช้
วัสดุหรือสิ่งของเครื่องใช้
เครื่องใช้แล้ว มาใช้ซ้ำ แล้วมาใช้ซ้ำหรือแปร
แล้ว มาใช้ซ้ำหรือแปรรูป
หรือแปรรูปแล้วนำ รูป แล้วนำกลับมาใช้
แล้วนำกลับมาใช้ใหม่ กลับมาใช้ใหม่
4.การทำศิลปะแบบ ใหม่
4.การทำศิลปะแบบ
ร่วมมือ ร่วมมือ
5.การเล่นหรือทำกิจกรรม 5.การเล่นหรือทำ
ร่วมกับกลุ่มเพื่อน กิจกรรมร่วมกับกลุ่ม
เพื่อน
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
มาตรฐานที่ 7 รักธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม และความเป็นไทย
ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 ดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
7.1.1 มีส่วนร่วม ๗.๑.๑ มีส่วนร่วม 7.1.1 มีส่วนร่วมในการ1.สิ่งแวดล้อใน ๑.สิ่งแวดล้อมใน ๑.สิ่งแวดล้อมใน 1.การมีส่วนร่วม ๑.การคัดแยก การจัด ๑.การมีส่วนร่วมในการ
ดูแลรักษาธรรมชาติ ดูแลรักษาธรรมชาติ ดูแลรักษาธรรมชาติ โรงเรียนและชุมชน โรงเรียนและการดูแล โรงเรียนและการ รับผิดชอบดูแลรักษา กลุ่มและจำแนกสิ่ง ดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม
และสิ่งแวดล้อมเมื่อ และสิ่งแวดล้อมเมื่อ และสิ่งแวดล้อมด้วย และตามธรรมชาติ รักษา ดูแลรักษา สิ่งแวดล้อมทั้งภายในและ ต่างๆตามลักษณะและ ทั้งภายในและภายนอก
มีผู้ชี้แนะ มีผู้ชี้แนะ ตนเอง 2.การอนุรักษ์ ๒.สิ่งแวดล้อมตาม ๒.สิ่งแวดล้อมตาม ภายนอกห้องเรียน รูปร่าง รูปทรง ห้องเรียน
7.1.2 ทิ้งขยะได้ ๗.๑.๒ ทิ้งขยะได้ 7.1.2 ทิ้งขยะได้ถกู ที่ สิ่งแวดล้อม ธรรมชาติและการ ธรรมชาติและการ 2.การเพาะปลูกและดูแล ๒.การใช้วัสดุและสิ่งของ ๒.การสนทนาข่าวและ
ถูกที่ ถูกที่ 3.การคัดแยกขยะ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ต้นไม้ เครื่องใช้อย่างคุ้มค่า เหตุการณ์ที่เกี่ยวกับ
๓.การรักษาสาธารณ ๓.การรักษาสาธารณ ๓.การทำงานศิลปะที่ ธรรมชาติและสิ่งแวด
3.การสนทนาข่าวและ
สมบัติในห้องเรียน สมบัติในห้องเรียน นำวัสดุหรือสิ่งของ ล้อมในชีวิตประจำวัน
เหตุการณ์ที่เกี่ยวกับ
4.ขยะและการคัด 4.ขยะและการคัด เครื่องใช้ที่ใช้แล้วมาใช้ ๓.การเพาะปลูกและ
แยกขยะ แยกขยะ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซ้ำหรือแปรรูปแล้วนำ ดูแลต้นไม้
5.การดูแลรักษา 5.การดูแลรักษา ในชีวิตประจำวัน กลับมาใช้ใหม่ ๔.การอธิบายเชื่อมโยง
สิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม 4.การศึกษานอกสถานที่ ๔.การสร้างสรรค์ชิ้นงาน สาเหตุและผลที่เกิดขึ้น
๖.การปฏิสัมพันธ์ใน 5.การร่วมสนทนาและ โดยใช้รูปร่างรูปทรงจาก ในเหตุการณ์หรือการ
ชีวิตประจำวัน แลกเปลี่ยนความคิดเห็น วัสดุที่หลากหลาย กระทำ
๗.การอนุ ร ั ก ษ์ แ ละ ๕.การปฏิบัติตนเป็น ๕.การตัดสินใจและมี
รักษาสิ่งแวดล้อม สมาชิกที่ดขี อง ส่วนร่วมในกระบวนการ
ห้องเรียน แก้ปัญหา
6.การคัดแยก การจัด
กลุ่มและจำแนกสิ่ง
ต่างๆตามลักษณะและ
รูปร่าง รูปทรง
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 ดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ต่อ)
สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
7.การใช้วัสดุและสิ่งของ
เครื่องใช้อย่างคุ้มค่า
8.การทำงานศิลปะที่นำ
วัสดุหรือสิ่งของเครื่อง
ใช้ที่ใช้แล้วมาใช้ซ้ำหรือ
แปรรูปแล้วนำกลับมา
ใช้ใหม่
๑๑.การดูแลรักษา
ห้องเรียนร่วมกัน
๑๒.การสร้างสรรค์
ชิ้นงานโดยใช้รูปร่าง
รูปทรงจากวัสดุที่
หลากหลาย
1๓.การปฏิบัติตนเป็น
สมาชิกที่ดีของ
ห้องเรียน
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทยและรักความเป็นไทย
สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
7.2.1 ปฏิบัติตน ๗.๒.๑ ปฏิบัติตน 7.2.1 ปฏิบัติตน 1.มารยาทไทย ๑.การปฏิบัติตนตาม ๑.การปฏิบัติตนตาม 1.การเล่นบทบาทสมมติ 1.การเล่นบทบาท 1.การเล่นบทบาท
ตามมารยาทไทย ตามมารยาทไทย ตามมารยาทไทยได้ - การแสดงความ มารยาทและ มารยาทและ การปฏิบัติตนในความเป็น สมมติการปฏิบัติตนใน สมมุติการปฏิบัติตนใน
ได้เมื่อมีผู้ชี้แนะ ได้เมื่อมีผู้ชี้แนะ ตามกาลเทศะ เคารพ วัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมไทย ไทย ความเป็นไทย ความเป็นคนไทย
7.2.2 กล่าวคำ ๗.๒.๒ กล่าวคำ 7.2.2 กล่าวคำ - การพูดสุภาพ - การแสดงความ - การแสดงความ 2.การปฏิบัติตนตาม 2.การปฏิบัติตนตาม 2.การปฏิบัติตนตาม
ขอบคุณและขอ ขอบคุณและขอโทษ ขอบคุณและขอโทษ - การรับของจาก เคารพ เคารพ วัฒนธรรมท้องถิ่นที่อาศัย วัฒนธรรมท้องถิ่นที่ วัฒนธรรมท้องถิ่นที่
โทษเมื่อมีผู้ชี้แนะ เมื่อมีผู้ชี้แนะ ด้วยตนเอง ผู้ใหญ่ - การพูดสุภาพ - การพูดสุภาพ และประเพณีไทย อาศัยและประเพณีไทย อาศัยและประเพณีไทย
7.2.3 หยุดยืนเมื่อ .๗.๒.๓ ยืนตรงเมื่อ 7.2.3 ยืนตรงและ 2.ประเพณีไทยต่าง ๆ - การกล่าวคำ - การกล่าวคำ 3.การประกอบอาหาร 3.การพูดสะท้อน
3.การประกอบอาหาร
ได้ยินเพลงชาติไทย ได้ยินเพลงชาติไทย ร่วมร้องเพลงชาติ ได้แก่ การไหว้พระ ขอบคุณและขอโทษ ขอบคุณและขอโทษ ไทย ความรู้สึกของตนเอง
ไทย
และเพลงสรรเสริญ และเพลงสรรเสริญ ไทยและเพลง ทำบุญ ตักบาตร เวียน 2.วันสำคัญของชาติ 2.วันสำคัญของชาติ 4.การศึกษานอก และผู้อื่น
พระบารมี พระบารมี สรรเสริญพระบารมี เทียน ศาสนา ศาสนา 4.การศึกษานอกสถานที่ สถานที่ 6.การร่วมกิจกรรมวัน
3.วัฒนธรรมไทย พระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์ 5.การละเล่นพื้นบ้านของ 5.การละเล่นพื้นบ้าน สำคัญ
- การแสดงสัมมา 3.สัญลักษณ์สำคัญ 3.สัญลักษณ์สำคัญ ไทย ของไทย ๗.การฟังเพลง การ
คารวะต่อผู้ใหญ่ ของชาติไทย ของชาติไทย 6.การมีส่วนร่วมในการ 6.การมีส่วนร่วมในการ ร้องเพลงและการ
- การแสดงความ 4.การแสดงความจง 4.การแสดงความจง เลือกวิธีการแก้ปัญหา เลือกวิธีการแก้ปัญหา แสดงปฏิกิริยาโต้ตอบ
กตัญญู รักภัคดีต่อชาติ รักภัคดีต่อชาติศาสนา 7.การมีส่วนร่วมในการ 7.การมีส่วนร่วมในการ เสียงดนตรี
4.สัญลักษณ์ความ ศาสนา พระมหากษัตริย์ แก้ปัญหาความขัดแย้ง แก้ปัญหาความขัดแย้ง ๘.การฟังและปฏิบัติ
เป็นไทย เช่น การ พระมหากษัตริย์ ๕.การเป็นสมาชิกที่ 8.การพูดสะท้อน ตามคำแนะนำ
แต่งกาย ภาษา กิริยา ดีของครอบครัวและ ความรู้สึกของตนเอง
ท่าทาง โรงเรียน และผู้อื่น
5.การแสดงความ ๖.การเรียนรู้และมี
เคารพต่อชาติ ศาสนา ปฏิสัมพันธ์ในชีวิต
และพระมหากษัตริย์ ประจำวัน
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
มาตรฐานที่ 8 อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม ในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ตัวบ่งชี้ที่ 8.1 ยอมรับความเหมือนและความแตกต่างระหว่างบุคคล
สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
8.1.1 เล่นและทำ ๘.๑.๑ เล่นและทำ 8.1.1 เล่นและทำ 1.การปฏิบัติตนใน ๑.การเล่นและการทำ ๑.การเล่นและการทำ 1.การร่วมกำหนด 1.การร่วมกำหนดข้อ ๑.การเล่นและทำงาน
กิจกรรมร่วมกับ กิจกรรมร่วมกับเด็ก กิจกรรมร่วมกับเด็ก การอยู่ร่วมกัน กิจกรรมร่วมกับผู้อื่น กิจกรรมร่วมกับผู้อื่น ข้อตกลงของห้องเรียน ตกลงของห้องเรียน ร่วมกับผู้อื่น
เด็กที่แตกต่างไป ที่แตกต่างไปจากตน ที่แตกต่างไปจากตน 2.การมีสัมมาคารวะ ๒.การปฏิบัติตาม ๒.การเรียนรู้เกี่ยวกับ 2.การปฏิบัติตนเป็น 2.การปฏิบัติตนเป็น ๒.การเล่นพื้นบ้านของ
จากตน ต่อผู้ใหญ่ วัฒนธรรมท้องถิ่นและ บุคคลต่างๆที่เด็กต้อง สมาชิกที่ดีของห้องเรียน สมาชิกที่ดีของห้องเรียน ไทย
ความเป็นไทย เกี่ยวข้องหรือใกล้ชิด 3.การให้ความร่วมมือใน 3.การให้ความร่วมมือ ๓.การศึกษานอก
และปฏิสัมพันธ์ การปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ในการปฏิบัติกิจกรรม สถานที่
ในชีวิตประจำวัน 4.การดูแลห้องเรียน 4.การเล่นอิสระ/การ
4.การดูแลห้องเรียน
ร่วมกัน เล่นรายบุคคล กลุ่ม
ร่วมกัน
5.การเล่นหรือทำ ย่อย/กลุ่มใหญ่/การ
5.การเล่นหรือทำกิจกรรม
กิจกรรมร่วมกับกลุ่ม เล่นตามมุม
ร่วมกับกลุ่มเพื่อน
เพื่อน 5.การแสดงความยินดี
เมื่อผู้อื่นมีความสุขเห็น
อกเห็นใจเมื่อผู้อื่น
ประสบการณ์/การเล่น
นอกห้องเรียน เศร้า
หรือเสียใจ และการ
ช่วยเหลือ ปลอบโยน
เมื่อผู้อื่นได้รับบาดเจ็บ
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ตัวบ่งชี้ที่ 8.2 มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น
สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
8.2.1 เล่นร่วมกับ ๘.๒.๑ เล่นหรือ 8.2.1 เล่นและทำ 1. การแสดง 1. การแสดง ๑.การแสดงออกทาง 1.การเล่นอิสระในและ 1. การเล่นอิสระใน ๑.การเล่นอิสระ/การ
เพื่อน ทำงานร่วมกับ กิจกรรมร่วมกับเด็ก สัมพันธภาพเป็น สัมพันธภาพกับผู้อื่น อารมณ์และความรู้สึก นอกห้องเรียน และนอกห้องเรียน เล่นรายบุคคล กลุ่ม
8.2.2 ยิ้มหรือ เพื่อนเป็นกลุ่ม ที่แตกต่างไปจากตน มิตรไมตรีที่ดีกับผู้อื่น อย่างเหมาะสม 2.การมีส่วนร่วมในการ 2.การมีส่วนร่วมใน ย่อย/กลุ่มใหญ่/การ
ทักทายผู้ใหญ่และ ๘.๒.๒ ยิ้ม ทักทาย 8.2.2 ยิ้มหรือ ๒.การแสดงมารยาท เลือกวิธีการแก้ปัญหา การเลือกวิธีการ เล่นตามมุม
บุคคลที่คุ้นเคยได้ หรือพูดคุยกับผู้ใหญ่ ทักทายหรือพูดคุย ที่ดี 3.การมีส่วนร่วมในการ แก้ปัญหา ประสบการณ์/การเล่น
เมื่อมีผู้ชี้แนะ และบุคคลที่คุ้นเคย กับผู้ใหญ่บุคคลที่ ๓.การเล่นและทำสิ่ง แก้ปัญหาความขัดแย้ง 3. การมีส่วนร่วมใน นอกห้องเรียน
ได้ด้วยตนเอง คุ้นเคยได้เหมาะสม ต่างๆด้วยตนเองตาม 4.การเล่นบทบาทสมมติ การแก้ปัญหาความ ๒.การ่วมกำหนด
กับสถานการณ์ ลำพังหรือกับผู้อื่น การปฏิบัติตนในความเป็น ขัดแย้ง ข้อตกลงของห้องเรียน
๔.การเรียนรู้ ไทย 4. การเล่นบทบาท ๓.การปฏิบัติตนเป็น
เกี่ยวกับบุคคลต่างๆ 5.การปฏิบัติตนตาม สมมติการปฏิบัติตนใน สมาชิกที่ดีของห้องเรียน
ที่เด็กต้องเกี่ยวข้อง วัฒนธรรมท้องถิ่นที่อาศัย ความเป็นไทย ๔.การสะท้อนความรู้สึก
หรือใกล้ชิดและ และประเพณีไทย 5. การปฏิบัติตนตาม ของตนเองและผุ้อื่น
ปฏิสัมพันธ์ใน วัฒนธรรมท้องถิ่นที่ ๕.การแสดงความคิด
ชีวิตประจำวัน อาศัยและประเพณีไทย ความรู้สึก และความ
๕.การเรียนรู้ ต้องการ
เกี่ยวกับการใช้ภาษา ๖.การฟังและปฏิบัติ
เพื่อสือ่ ความหมาย ตามคำแนะนำ
ในชีวิตประจำวัน
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ตัวบ่งชี้ที่ 8.3 ปฏิบัติตนเบื้องต้นในการเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม
สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
8.3.1 ปฏิบัติตาม ๘.๓.๑ มีส่วนร่วม 8.3.1 มีส่วนร่วม 1.การปฏิบัติตนเป็น 1.การปฏิบัติตนเป็น 1.การปฏิบัติตนเป็น 1.การร่วมกำหนดข้อ 1.การร่วมกำหนด ๑.การร่วมกำหนด
ข้อตกลงเมื่อมีผู้ สร้างข้อตกลงและ สร้างข้อตกลงและ สมาชิกที่ดีของ สมาชิกที่ดีของ สมาชิกที่ดีของ ตกลงของห้องเรียน ข้อตกลงของห้องเรียน ข้อตกลงของห้องเรียน
ชี้แนะ ปฏิบัติตามข้อตกลง ปฏิบัติตามข้อตกลง ครอบครัว โรงเรียน ครอบครัว โรงเรียน ครอบครัวและ 2.การปฏิบัติตนเป็น 2.การปฏิบัติตนเป็น ๒.การปฏิบัติตนเป็น
8.3.2 ปฏิบัติตน เมื่อมีผู้ชี้แนะ ด้วยตนเอง และสังคม และสังคม โรงเรียน สมาชิกที่ดีของห้องเรียน สมาชิกที่ดีของห้องเรียน สมาชิกที่ดีของห้องเรียน
เป็นผู้นำและผู้ตาม ๘.๓.๒ ปฏิบัติตน 8.3.2 ปฏิบัติตนเป็น 2.การเป็นผู้นำ ผู้ 2.การเป็นผู้นำ ผู้ 2.การปฏิบัติตาม 3.การให้ความร่วมมือใน 3.การให้ความร่วมมือ ๓.การให้ความร่วมมือ
เมื่อมีผู้ชี้แนะ เป็นผู้นำและผู้ตาม ผู้นำและผู้ตามได้ ตามที่ดี ตามที่ดี กฎระเบียบและ การปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ในการปฏิบัติกิจกรรม ในการปฏิบัติกิจกรรม
8.3.3 ยอมรับการ ได้ด้วยตนเอง เหมาะสมกับ 3.ปัญหาที่พบในการ 3.ปัญหาที่พบในการ ข้อตกลง ต่างๆ ต่างๆ
4.การดูแลห้องเรียน
ประนีประนอม ๘.๓.๓ สถานการณ์ เรียนรู้และในชีวิต เรียนรู้และในชีวิต - ผู้นำผู้ตาม 4.การดูแลห้องเรียน ๔.การร่วมกิจกรรมวัน
ร่วมกัน
แก้ไขปัญหาเมื่อมีผู้ ประนีประนอม 8.3.3 ประจำวัน ประจำวัน 3.การแสดงออกทาง ร่วมกัน สำคัญ
ชี้แนะ แก้ไขปัญหาโดย ประนีประนอมแก้ไข 4.วิธีการแก้ปัญหา 4.วิธีการแก้ปัญหา 5.การร่วมสนทนาและ 5.การร่วมสนทนาและ ๕.การมีส่วนร่วมในการ
อารมณ์และความรู้สึก แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
ปราศจากการใช้ ปัญหาโดยปราศจาก ต่างๆในการเรียนรู้ ต่างๆในการเรียนรู้ อย่างเหมาะสม แลกเปลี่ยนความ เลือกวิธีการแก้ปัญหา
ความรุนแรงเมื่อมีผู้ การใช้ความรุนแรง และในชีวิตประจำวัน และในชีวิตประจำวัน 6.การเล่นและทำงาน คิดเห็น ๖.การมีส่วนร่วมใน
4.การแสดงมารยาท
ชี้แนะ ด้วยตนเอง ร่วมกับผู้อื่น 6.การเล่นและทำงาน การแก้ปัญหาความ
ที่ดี
๕.การเคารพสิทธิ 7.การทำศิลปะแบบ ร่วมกับผู้อื่น ขัดแย้ง
ของตนและผุ้อื่น ร่วมมือ 7.การทำศิลปะแบบ
8.การมีส่วนร่วมในการ ร่วมมือ
เลือกวิธีการแก้ปัญหา 8.การมีส่วนร่วมในการ
9.การมีส่วนร่วมในการ เลือกวิธีการแก้ปัญหา
แก้ปัญหาความขัดแย้ง 9.การมีส่วนร่วมใน
10.การศึกษานอก การแก้ปัญหาความ
ขัดแย้ง
สถานที่
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
พัฒนาการด้านสติปัญญา
มาตรฐานที่ 9 ใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย
ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 สนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจ
สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
9.1.1 ฟังผู้อื่นพูด ๙.๑.๑ ฟังผู้อื่นพูด 9.1.1 ฟังผู้อื่นพูดจน 1.การฟังและจับ 1.การฟังและจับ 1.มารยาทในการฟัง 1.การฟังเสียงต่างๆ ใน 1.การฟังเสียงต่างๆ ๑.การฟังเสียงต่างๆใน
จนจบและพูด จนจบและสนทนา จบและสนทนาโต้ตอบ ใจความ ใจความ - การรับฟัง สิ่งแวดล้อม ในสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม
โต้ตอบเกี่ยวกับ โต้ตอบ สอดคล้อง อย่างต่อเนื่องเชื่อม 2.การฟังและ 2.การฟังและถ่าย - การสนทนา 2.การฟังและปฏิบัติตาม 2.การฟังและปฏิบัติ ๒.การฟังและปฏิบัติ
เรือ่ งที่ฟัง กับเรื่องที่ฟัง โยงกับเรื่องที่ฟัง ถ่ายทอดเรื่องราว ทอดเรื่องราว เชื่อมโยงสิ่งต่างๆ คำแนะนำ ตามคำแนะนำ ตามคำแนะนำ
9.1.2 เล่าเรื่อง ๙.๑.๒ เล่าเรื่อง 9.1.2 เล่าเป็นเรื่อง 3.การพูด/เล่า 3.การพูด/เล่า 2.ความหมายใน 3.การฟังเพลง นิทาน คำ 3..การฟังเพลง นิทาน ๓.การฟังเพลง นิทาน
ด้วยประโยคสั้นๆ เป็นประโยคอย่าง ราวต่อเนือ่ งได้ เรื่องราวต่างๆ เรื่องราวต่างๆ ชีวิตประจำวัน ความรู้ คล้องจอง บทร้อยกรอง คำคล้องจอง บทร้อย คำคล้องจอง บทร้อย
ต่อเนื่อง 4.มารยาทในการฟัง 4.มารยาทในการฟัง พื้นฐานเกี่ยวกับการ กรอง หรือเรื่องราว กรอง หรือเรื่องราว
หรือเรื่องราวต่างๆ
และพูด และพูด ใช้หนังสือและตัว ต่างๆ ต่างๆ
4.การพูดแสดงความคิด
หนังสือ 4.การพูดแสดงความคิด 4.การพูดแสดงความคิด
๓.การรู้จักแสดงความ ความรู้สึก แความต้องการ ความรู้สึกความต้องการ ความรู้สึกความต้องการ
คิดเห็นของตนเอง 5.การพูดกับผู้อื่นเกี่ยวกับ 5.การพูดกับผู้อื่น 5.การพูดกับผู้อื่นเกี่ยว
และรับฟังความ ประสบการณ์ของตนเอง เกี่ยวกับประสบการณ์ กับประสบการณ์ของ
คิดเห็นของผู้อื่น หรือพูดเล่าเรื่องราว ของตนเอง หรือพูดเล่า ตนเอง หรือพูดเรื่องราว
๔.การใช้ภาษาเพื่อ เกี่ยวกับตนเอง เรื่องราวเกี่ยวกับตนเอง เกี่ยวกับตนเอง
สื่อความหมายใน 6.การพูดอธิบายเกี่ยวกับ 6.การพูดอธิบายเกี่ยว 6.การพูดอธิบายเกี่ยว
สิ่งของ เหตุการณ์ และ กับสิ่งของ เหตุการณ์ กับสิ่งของ เหตุการณ์
ชีวิตประจำวัน
ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ และความสัมพันธ์ของ และความสัมพันธ์ของ
7.การพูดอย่างสร้างสรรค์ สิ่งต่างๆ สิ่งต่างๆ
ในการเล่นและการกระทำ 7.การพูดอย่าง 7.การพูดอย่าง
สร้างสรรค์ในการเล่น สร้างสรรค์ในการเล่น
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 สนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจ (ต่อ)
สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
ต่างๆ และการกระทำต่างๆ และการกระทำต่างๆ
8.การรอจังหวะที่ 8.การรอจังหวะที่ 8.การรอจังหวะที่
เหมาะสมในการพูด เหมาะสมในการพูด เหมาะสมในการพูด
9.การพูดเรียงลำดับคำ 9. การพูดเรียงลำดับคำ 9.การพูดเรียงลำดับ
เพื่อใช้ในการสื่อสาร เพื่อใช้ในการสื่อสาร เพื่อใช้ในการสื่อสาร
10.การเล่นเกมทาง
ภาษา

ตัวบ่งชี้ที่ 9.2 อ่าน เขียนภาพ และสัญลักษณ์ได้


สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
9.2.1 อ่านภาพ 9.2.1 อ่านภาพ 9.2.1 อ่านภาพ 1.ความรู้เกี่ยวกับการ ๑.การใช้ภาษาในการ ๑.การใช้ภาษาในการ 1.การอ่านหนังสือภาพ 1.การอ่านหนังสือภาพ ๑.การอ่านหนังสือ
และพูดข้อความ และพูดข้อความ สัญลักษณ์ คำ ด้วย ใช้หนังสือ สื่อความหมายในชีวิต สื่อความหมายในชีวิต นิทานหลากหลาย นิทานหลากหลาย ภาพ นิทานหลาก
ด้วยภาษาของตน ด้วยภาษาของตน การชี้ หรือกวาดตา 2.คำศัพท์ที่เกี่ยวกับ ประจำวัน ความรู้ ประจำวัน ความรู้ ประเภท/รูปแบบ ประเภท/รูปแบบ หลายประเภท/รูปแบบ
9.2.2 เขียนขีด 9.2.2 เขียนขีด มองจุดเริ่มต้นและ ชีวิตประจำวัน/ พื้นฐานเกี่ยวกับการ พื้นฐานเกี่ยวกับการ 2.การอ่านอย่างอิสระ 2.การอ่านอย่างอิสระ ๒.การอ่านอย่างอิสระ
เขี่ยอย่างมีทิศทาง เขี่ยอย่างมีทิศทาง จุดจบของข้อความ เรื่องราวที่สนใจ ใช้หนังสือและ ใช้หนังสือและตัว ตามลำพัง การอ่าน ตามลำพัง การอ่าน ตามลำพัง การอ่าน
3.ทิศทางการเขียน ตัวหนังสือ หนังสือ ร่วมกัน การอ่านโดยมีผู้ ร่วมกัน การอ่านโดยมี ร่วมกัน การอ่านโดยมี
4.การเขียนอิสระ - การเขียนภาพ - การอ่านภาพ ผู้ชี้แนะ ผู้ชี้แนะ
ชี้แนะ
สัญลักษณ์ ตัวอักษร สัญลักษณ์ นิทาน 3.การเห็นแบบอย่าง 3.การเห็นแบบอย่าง
3.การเห็นแบบอย่าง
ชื่อ- สกุลของตนเอง ของการอ่านที่ถูกต้อง การเขียนที่ถูกต้อง
ของการอ่านที่ถูกต้อง
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ตัวบ่งชี้ที่ 9.2 อ่าน เขียนภาพ และสัญลักษณ์ได้ (ต่อ)
สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
4.การสังเกตทิศทางการ 4.การสังเกตทิศทางการ 4.การสังเกตทิศ
อ่านตัวอักษร คำ และ อ่านตัวอักษร คำ และ ทางการอ่านตัวอักษร
ข้อความ ข้อความ คำและข้อความ
5.การอ่านและชี้ข้อความ 5.การอ่านและชี้ 5.การอ่านและชี้
โดยการกวาดตาตาม ข้อความ โดยการ ข้อความ โดยกวาด
บรรทัดจากซ้ายไปขวา กวาดตาตามบรรทัด สายตาตามบรรทัด
จากบนลงล่าง จากซ้ายไปขวาจากบน จากซ้ายไปขวา จาก
6.การสังเกตตัวอักษรใน ลงล่าง บนลงล่าง
ชื่อของตน หรือคำคุ้นเคย 6.การสังเกตตัวอักษร 6.การเขียนร่วมกัน
7.การสังเกตตัวอักษรที่ ในชื่อของตน หรือคำ ตามโอกาส และการ
ประกอบเป็นคำผ่านการ คุ้นเคย เขียนอิสระ
อ่านหรือเขียนของผู้ใหญ่ 7.การสังเกตตัวอักษร 7.การคิดสะกดคำและ
8.การคาดเดาคำ วลี หรือ ที่ประกอบเป็นคำผ่าน เขียนเพื่อสื่อ
ประโยคที่มีโครงสร้างซ้ำๆ การอ่านหรือเขียนของ ความหมายด้วยตนเอง
กัน จากนิทาน เพลง คำ ผู้ใหญ่ อย่างอิสระ
คล้องจอง 8.การคาดเดาคำ วลี
9.การเล่นเกมทางภาษา หรือประโยคที่มีโครง
10.การเห็นแบบอย่าง สร้างซ้ำๆ กัน จาก
ของการเขียนที่ถูกต้อง นิทาน เพลง คำคล้อง
11.การเขียนร่วมกันตาม จอง
9.การเล่นเกมทางภาษา
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ตัวบ่งชี้ที่ 9.2 อ่าน เขียนภาพ และสัญลักษณ์ได้ (ต่อ)
สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
โอกาส และการเขียน 10.การเห็นแบบอย่าง
อิสระ ของการเขียนที่ถูกต้อง
12.การเขียนคำที่มี 11.การเขียนร่วมกัน
ความหมายกับตัวเด็ก/ ตามโอกาส และการ
คำคุ้นเคย เขียนอิสระ
13.การคิดสะกดคำและ 12.การเขียนคำที่มี
เขียนเพื่อสื่อความหมาย ความหมายกับตัวเด็ก/
ด้วยตนเองอย่างอิสระ คำคุ้นเคย

มาตรฐานที่ 10 มีความสารถในการคิดที่เป็นพืน้ ฐานในการเรียนรู้


ตัวบ่งชี้ที่ 10.1 มีความสามารถในการคิดรวบยอด
สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
10.1.1 บอก ๑๐.๑.๑ บอก 10.1.1 บอกลักษณะ 1.ประสาทสัมผัสทั้ง ๑.การคิด ๑.การคิด 1.การสังเกตลักษณะ 1.การสังเกตลักษณะ ๑.การสังเกตลักษณะ
ลักษณะของสิ่ง ลักษณะ และ ส่วนประกอบ การ 5 - การจับคู่ - ประสาทสัมผัส ส่วนประกอบ การ ส่วนประกอบ การ ส่วนประกอบ การ
ต่างๆ จากการ ส่วนประกอบของสิ่ง เปลี่ยนแปลง หรือ 2.การจับคู่ภาพ - การเปรียบเทียบ - การสังเกต เปลี่ยนแปลง และ เปลี่ยนแปลง และ เปลี่ยนแปลง และ
สังเกตโดยใช้ ต่างๆจากการสังเกต ความสัมพันธ์ของ 3.การแยกหมวดหมู่ ลักษณะต่างๆ - การจับคู่ ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ ความสัมพันธ์ของสิ่ง ความสัมพันธ์ของสิ่ง
ประสาทสัมผัส โดยใช้ประสาท สิ่งของต่างๆจากการ 4.การเรียงลำดับ - การเรียงลำดับ - การเปรียบเทียบ ต่างๆ โดยใช้ประสาท ต่างๆโดยใช้ประสาท
สัมผัส อย่างน้อย ๕ ลำดับ ลักษณะต่างๆ สัมผัสอย่างเหมาะสม สัมผัสอย่างเหมาะสม
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ตัวบ่งชี้ที่ 10.1 มีความสามารถในการคิดรวบยอด (ต่อ)
สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
10.1.2 จับคู่หรือ ๑๐.๑.๒ จับคู่และ สังเกตโดยใช้ - การเรียงลำดับ โดยใช้ประสาทสัมผัส 2.การสังเกตสิ่งต่างๆ ๒.การสังเกตสิ่งต่างๆ
เปรียบเทียบสิ่ง เปรียบเทียบความ ประสาทสัมผัส อย่างน้อย ๕ ลำดับ อย่างเหมาะสม และสถานที่จากมุมมอง และสถานที่จากมุมมอง
ต่างๆ โดยใช้ แตกต่างหรือความ 10.1.2 จับคู่และ - จำนวนและตัวเลข 2.การสังเกตสิ่งต่างๆและ ทีต่ ่างกัน ทีต่ ่างกัน
ลักษณะหรือหน้าที่ เหมือนของสิ่งต่างๆ เปรียบเทียบความ ๒.การเปลี่ยนแปลง สถานที่จากมุมมองที่ 3.การบอกและแสดง 3.การบอกและแสดง
การใช้งานเพียง โดยใช้ลักษณะที่ แตกต่างหรือความ และความสัมพันธ์ ต่างกัน ตำแหน่ง ทิศทาง และ ตำแหน่ง ทิศทาง และ
ลักษณะเดียว สังเกตพบเพียง เหมือนของสิ่งต่างๆ ของสิ่งต่างๆรอบตัว 3.การบอกและแสดง ระยะทางของสิ่งต่างๆ ระยะทางของสิ่งต่างๆ
10.1.3 คัดแยกสิ่ง ลักษณะเดียว โดยใช้ ด้วยการกระทำภาพวาด ด้วยการกระทำภาพวาด
ตำแหน่ง ทิศทาง และ
ต่างๆตามลักษณะ ๑๐.๑.๓ จำแนก ลักษณะที่สังเกตพบ ภาพถ่าย และรูปภาพ ภาพถ่าย และรูปภาพ
ระยะทางของสิ่งต่างๆ
หรือหน้าที่การใช้ และจัดกลุ่มสิ่ง สองลักษณะขึ้นไป 4.การเล่นกับสื่อต่างๆ
ด้วยการกระทำ ภาพวาด 4.การเล่นกับสื่อต่างๆ
งาน ต่างๆ โดยใช้อย่าง 10.1.3 จำแนกและ ที่เป็นทรงกลม ทรง
ภาพถ่าย และรูปภาพ ที่เป็นทรงกลม ทรง
10.1.4 เรียงลำดับ น้อยหนึ่งลักษณะ จัดกลุ่มสิ่งต่างๆโดยใช้ สี่เหลี่ยมมุมฉาก
สิ่งของหรือ เป็นเกณฑ์ ตั้งแต่สองลักษณะขึ้น 4.การเล่นกับสื่อต่างๆ สี่เหลี่ยมมุมฉาก
ทรงกระบอก ทรงกรวย ทรงกระบอก ทรงกรวย
เหตุการณ์อย่างน้อย ๑๐.๑.๔ ไปเป็นเกณฑ์ ที่เป็นทรงกลม ทรง
5.การคัดแยก การจัด 5.การคัดแยก การจัด
3 ลำดับ เรียงลำดับสิ่งของ 10.1.4 เรียงลำดับ สี่เหลี่ยมมุมฉาก
กลุ่ม และการจำแนก
หรือเหตุการณ์ สิ่งของหรือเหตุการณ์ ทรงกระบอก ทรงกรวย กลุ่ม การจำแนกสิ่ง
สิ่งต่างๆตามลักษณะ
อย่างน้อย ๔ อย่างน้อย ๕ ลำดับ 5.การคัดแยก การจัด ต่างๆ ตามลักษณะและ
และรูปร่าง รูปทรง
ลำดับ กลุ่ม การจำแนกสิ่งต่างๆ รูปร่าง รูปทรง 6.การต่อของชิ้นเล็ก
ตามลักษณะและรูปร่าง 6.การต่อของชิ้นเล็กเติม ในชิ้นใหญ่ให้สมบูรณ์
รูปทรง ในชิ้นใหญ่ให้สมบูรณ์ และการแยกชิ้นส่วน
6.การต่อของชิ้นเล็กเติม และการแยกชิ้นส่วน 7.การทำซ้ำ การต่อเติม
ในชิ้นใหญ่ให้สมบูรณ์ 7.การทำซ้ำ การต่อเติม และการสร้างแบบรูป
และการแยกชิ้นส่วน และการสร้างแบบรูป 8.การนับและแสดง
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ตัวบ่งชี้ที่ 10.1 มีความสามารถในการคิดรวบยอด (ต่อ)
สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
7.การทำซ้ำ การต่อเติม 8.การนับและแสดง จำนวนของสิ่งต่างๆ ใน
และการสร้างแบบรูป จำนวนของสิ่งต่างๆ ใน ชีวิตประจำวัน
8.การนับและแสดง ชีวิตประจำวัน 9.การเปรียบเทียบและ
จำนวนของสิ่งต่างๆ ใน 9.การเปรียบเทียบและ เรียงลำดับจำนวนของ
ชีวิตประจำวัน เรียงลำดับจำนวนของ สิ่งต่างๆแยก
9.การเปรียบเทียบและ สิ่งต่างๆ 10.การรวมและการ
เรียงลำดับจำนวนของสิ่ง 10.การรวมและการ แยกสิ่งต่างๆ
ต่างๆ แยกสิ่งต่างๆ 11.การบอกและแสดง
10.การรวมและการ 11.การบอกและแสดง อันดับที่ของสิ่งต่าง ๆ
แยกสิ่งต่างๆ อันดับที่ของสิ่งต่างๆ 12.การจับคู่ การ
11.การบอกและแสดง 12.การจับคู่ การ เปรียบเทียบ และการ
อันดับที่ของสิ่งต่างๆ เปรียบเทียบ และการ เรียงลำดับสิ่งต่างๆ ตาม
12.การจับคู่ การ เรียงลำดับสิ่งต่างๆ ตาม ลักษณะความยาว/
เปรียบเทียบ และการ ลักษณะความยาว/ ความสูง น้ำหนัก
เรียงลำดับสิ่งต่างๆ ตาม ความสูง น้ำหนัก ปริมาตร
ลักษณะความยาว/ ปริมาตร 13.การบอกและเรียง
ความสูง น้ำหนัก 13.การบอกและ ลำดับกิจกรรมหรือ
ปริมาตร เรียงลำดับกิจกรรมและ เหตุการณ์ตามช่วงเวลา
13.การบอกและ เหตุการณ์ตามช่วงเวลา เหตุการณ์ในชีวิต
เรียงลำดับกิจกรรมและ 1๔.การใช้ภาษาทาง
เหตุการณ์ตามช่วงเวลา คณิตศาสตร์
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ตัวบ่งชี้ที่ 10.2 มีความสามารถในการคิดเชิงเหตุผล
สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
10.2.1 ระบุผลที่ ๑๐.๒.๑ ระบุสาเหตุ 10.2.1 อธิบาย 1.สิ่งมีชีวิตและ 1.สิ่งมีชีวิตและ ๑.การแสดงความ 1.การอธิบายเชื่อมโยง 1.การอธิบายเชื่อมโยง 1.การอธิบายเชื่อมโยง
เกิดขึ้นในเหตุการณ์ หรือผลที่เกิดขึ้นใน เชื่อมโยงสาเหตุและ สิ่งไม่มีชีวิต สิ่งไม่มีชีวิต คิดเห็น สาเหตุและผลที่เกิดขึ้นใน สาเหตุและผลที่เกิดขึ้น สาเหตุและผลที่เกิดขึ้น
หรือการกระทำเมื่อ เหตุการณ์หรือการ ผลที่เกิดขึ้นใน 2.วัฏจักรของสิ่งมีชีวิต 2.วัฏจักรของสิ่งมีชีวิต - การชั่ง เหตุการณ์หรือการกระทำ ในเหตุการณ์หรือการ ในเหตุการณ์หรือการ
มีผู้ชี้แนะ กระทำเมื่อมีผู้ชี้แนะ เหตุการณ์หรือการ 3.การเปลี่ยนแปลง 3.การเปลี่ยนแปลง - การตวง 2.การคาดเดาหรือการ กระทำ กระทำ
10.2.2 คาดเดา ๑๐.๒.๒ คาดเดา กระทำด้วยตนเอง สภาพของสิ่งต่างๆเช่น สภาพของสิ่งต่างๆ - การวัด คาดคะเนสิ่งที่อาจจะ 2.การคาดเดาหรือการ 2.การคาดเดาหรือการ
หรือคาดคะเนสิ่งที่ หรือคาดคะเนสิ่งที่ 10.2.2 คาดคะเนสิ่ง น้ำ อากาศ สสาร เช่น น้ำ อากาศ ๒.การเชื่อมโยงสิ่งต่างๆ เกิดขึ้นอย่างมีเหตุผล คาดคะเนสิ่งที่อาจจะ คาดคะเนสิ่งที่อาจจะ
อาจจะเกิดขึ้น อาจจะเกิดขึ้น หรือ ที่อาจจะเกิดขึ้น และ พลังงาน สสาร พลังงาน ในชีวิตประจำวัน เกิดขึ้นอย่างมีเหตุผล เกิดขึ้นอย่างมีเหตุผล
3.การมีส่วนร่วมในการลง
มีส่วนร่วมในการลง มีส่วนร่วมในการลง 4.ปรากฏการณ์ ตาม 4.ปรากฏการณ์ 3.การหาความ 3.การมีส่วนร่วมใน 3.การมีส่วนร่วมใน
ความเห็นจากข้อมูลอย่าง
ความเห็นจากข้อมูล ความเห็นจากข้อมูล ธรรมชาติ เช่น การ ตามธรรมชาติ เช่น สัมพันธ์อย่างมีเหตุผล การลงความเห็นจาก การลงความเห็นจาก
อย่างมีเหตุผล เกิดฝน รุ้งกินน้ำ ฯลฯ การเกิดฝน รุ้งกินน้ำ ๔.การเปลี่ยนแปลง มีเหตุผล ข้อมูลอย่างมีเหตุผล ข้อมูลอย่างมีเหตุผล
5.การเปลี่ยนแปลง ฯลฯ และความสัมพันธ์ 4.การตัดสินใจและมีส่วน 4.การตัดสินใจและมี 4.การชั่ง ตวง วัดสิ่ง
และความสัมพันธ์ของ 5.การหาความ ของสิ่งต่างๆรอบตัว ร่วมในกระบวนการ ส่วนร่วมในกระบวนการ ต่างๆโดยใช้เครื่องมือ
สิ่งต่างๆรอบตัว สัมพันธ์อย่างมีเหตุผล ๕.การเปลี่ยนแปลง แก้ปัญหา แก้ปัญหา และหน่วยที่ไม่ใช่
และความสัมพันธ์ 5.การใช้ภาษาทาง 5.การใช้ภาษาทาง หน่วยมาตรฐาน
ของมนุษย์ สัตว์ พืช คณิตศาสตร์กับเหตุการณ์ คณิตศาสตร์กับ ๕.การพูดกับผู้อื่น
เหตุการณ์ใน เกี่ยวกับประสบการณ์
๖. ดิน น้ำ อากาศ ในชีวิตประจำวัน
ชีวิตประจำวัน ของตนเองหรือพูดเล่า
ท้องฟ้า สภาพ
อากาศ เรื่องราวเกี่ยวกับตนเอง
๗.แรงและพลังงาน ๖.การพูดอธิบายเกี่ยว
ในชีวิตประจำวัน กับสิ่งของเหตุการณ์
และความสัมพันธ์ของ
สิ่งต่างๆ
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ตัวบ่งชี้ที่ 10.3 มีความสามารถในการคิดแก้ปัญหาและตัดสินใจ
สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
10.3.1 ตัดสินใจ 10.3.1 ตัดสินใจ 10.3.1 ตัดสินใจใน 1.ปัญหาที่พบในการ 1.ปัญหาที่พบในการ ๑.การตัดสินใจสิ่ง 1.การมีส่วนร่วมในการลง 1.การมีส่วนร่วมใน 1.การมีส่วนร่วมใน
ในเรื่องง่ายๆ ในเรื่องง่าย ๆ และ เรื่องง่ายๆและ เรียนรู้และในชีวิต เรียนรู้และใน ต่างๆด้วยตนเอง ความเห็นจากข้อมูลอย่าง การลงความเห็นจาก การลงความเห็นจาก
เริ่มเรียนรู้ผลที่ ยอมรับผลที่เกิดขึ้น ประจำวัน ชีวิตประจำวัน ๒.การเคารพสิทธิ มีเหตุผล ข้อมูลอย่างมีเหตุผล ข้อมูลอย่างมีเหตุผล
เกิดขึ้น 10.3.2 ระบุปัญหา 2.วิธีการแก้ปัญหา 2.วิธีการแก้ปัญหา ของตนเองและผู้อื่น 2.การตัดสินใจและมีส่วน 2.การตัดสินใจและมี 2.การตัดสินใจและมี
๑๐.๓.2 ระบุ สร้างทางเลือกและ ต่างๆในการเรียนรู้ ต่างๆในการเรียนรู้ ๓.การรู้จักแสดง ร่วมในกระบวนการ ส่วนร่วมในกระบวนการ ส่วนร่วมในกระบวนการ
ปัญหา และแก้ เลือกวิธีแก้ปัญหา และในชีวิตประจำวัน และในชีวิตประจำวัน ความคิดเห็นของ แก้ปัญหา แก้ปัญหา แก้ปัญหา
ปัญหาโดยลองผิด 3.การแก้ปัญหาด้วย ตนเอง 3.การสืบเสาะหา 3.การอธิบายเชื่อมโยง
3.การสืบเสาะหาความรู้
ลองถูก ตนเองอย่างมั่นใจ ๔.การตระหนักรู้ ความรู้เพื่อค้นหา สาเหตุและผลที่เกิดขึ้น
เพื่อค้นหาคำตอบของข้อ
คำตอบของข้อสงสัย ในเหตุการณ์หรือการ
เกี่ยวกับตนเอง สงสัยต่างๆ ต่างๆ กระทำ
4.การคาดเดาหรือการ
คาดคะเนสิ่งที่อาจจะ
เกิดขึ้นอย่างมีเหตุผล
5.การแสดงความคิ ด
ความรู้สึก และความ
ต้องการ
6.การมีส่วนร่วมใน
การเลือกวิธีแก้ปัญหา
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
มาตรฐานที่ 11 มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
ตัวบ่งชี้ที่ 11.1 ทำงานศิลปะตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
11.1.1 สร้าง ๑๑.๑.๑ สร้าง 11.1.1 สร้าง 1.การควบคุมและ 1.การควบคุมและ 1.สร้างผลงานศิลปะ 1.การแสดงความคิด 1.การแสดงความคิด ๑.การแสดงความคิด
ผลงานศิลปะเพื่อ ผลงานศิลปะเพื่อ ผลงานศิลปะเพื่อ การประสานสัมพันธ์ การประสานสัมพันธ์ เพื่อสื่อวสารความคิด สร้างสรรค์ผ่านภาษา สร้างสรรค์ผ่านภาษา สร้างสรรค์ผ่านภาษา
สื่อสารความคิด สื่อสารความคิด สื่อสารความคิด ของกล้ามเนื้อและ ของกล้ามเนื้อและ ความรู้สึกของตนเอง ท่าทาง การเคลื่อนไหว ท่าทาง การ ท่าทาง การเคลื่อนไหว
ความรู้สึกของ ความรู้สึกของ ความรู้สึกของตนเอง ระบบประสาท เช่น ระบบประสาท เช่น ๒.การแสดงความ และศิลปะ เคลื่อนไหว และศิลปะ และศิลปะ
ตนเอง ตนเองโดยมีการ โดยมีการดัดแปลง - การลากเส้นเป็นรูป - การลากเส้นเป็น คิดเห็นของตนเองและ 2.การทำกิจกรรมศิลปะ 2.การทำกิจกรรม 2.การทำกิจกรรม
ดัดแปลง และ และแปลกใหม่จาก ตามจินตนาการ รูปตามจินตนาการ รับฟังความคิดเห็นของ ต่างๆ ศิลปะต่างๆ ศิลปะต่างๆ
แปลกใหม่จากเดิม เดิมและมี - การตัดกระดาษ - การตัดกระดาษ ผู้อื่น 3.การสร้างสรรค์สิ่ง 3.การเขียนภาพและ
3.การสร้างสรรค์สิ่ง
หรือมีรายละเอียด รายละเอียดเพิ่มขึ้น หรือวัสดุต่างๆเป็นรูป หรือวัสดุต่างๆเป็น สวยงามการเล่น การเล่นกับสี
สวยงามการเล่นบทบาท
เพิ่มขึ้น ตามจินตนาการ รูปตามจินตนาการ บทบาทสมมติ 4.การปั้น
- การพิมพ์ภาพจาก - การพิมพ์ภาพ สมมติ 4.การทำงานศิลปะ 5.การประดิษฐ์สิ่ง
วัสดุต่างๆ จากวัสดุต่างๆ 4.การทำงานศิลปะ
ต่างๆด้วยเศษวัสดุ
- การเล่นสี - การเล่นสี 6.การทำงานศิลปะที่
- การนวดคลึงวัสดุ - การนวดคลึงวัสดุ นำวัสดุหรือสิ่งของ
ต่างๆเป็นรูปตาม ต่างๆเป็นรูปตาม เครื่องใช้ที่ใช้แล้วมาใช้
จินตนาการ จินตนาการ ซ้ำหรือแปรรูปแล้วนำ
- การประดิษฐ์สิ่ง - การประดิษฐ์สิ่ง กลับมาใช้ใหม่
ต่างๆตาม ต่างๆตามจินตนาการ 7.การหยิบจับ การใช้
จินตนาการ - การร้อยอิสระ กรรไกร การฉีก การ
- การร้อยอิสระ ตัด การปะและการ
ร้อยวัสดุ
๘.การทำงานศิลปะ
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ตัวบ่งชี้ที่ 11.1 ทำงานศิลปะตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ (ต่อ)
สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
๙.การสร้างสรรค์
ชิ้นงานโดยใช้รูปร่าง
รูปทรง จากวัสดุที่
หลากหลาย
๑๐.การทำงานศิลปะ
แบบร่วมมือ
๑2.การรับรู้และแสดง
ความคิด ความรู้สึก
ผ่านสื่อ วัสดุ ของเล่น
และชิ้นงาน

ตัวบ่งชี้ที่ 11.2 แสดงท่าทาง / เคลื่อนไหวตามจินตนาการอย่างสร้างสรรค์


สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
11.2.1 เคลื่อนไหว ๑๑.๒.๑ เคลื่อนไหว 11.2.1 เคลื่อนไหว 1.การเคลื่อนไหวส่วน 1.การเคลื่อนไหว ๑.การเคลื่อนไหว 1.การแสดงความคิด 1.การแสดงความคิด ๑.การเคลื่อนไหวอยู่
ท่าทางเพื่อสื่อสาร ท่าทางเพื่อสื่อสาร ท่าทางเพื่อสื่อสาร ต่างๆของร่างกาย ส่วนต่างๆของ ร่างกายในทิศทาง สร้างสรรค์ผ่านภาษา สร้างสรรค์ผ่านภาษา กับที่
ความคิด ความรู้สึก ความคิด ความรู้สึก ความคิด ความรู้สึก - การทำท่าทางตาม ร่างกาย ระดับและพื้นที่ต่างๆ ท่าทาง การเคลื่อนไหว ท่าทาง การเคลื่อนไหว ๒.การเคลื่อนไหว
ของตนเอง ของตนเองอย่าง ของตนเองอย่าง จินตนาการและตาม - การทำท่าทางตาม ๒.การแสดงท่าทาง และศิลปะ และศิลปะ เคลื่อนที่
หลากหลาย หรือ หลากหลายและแปลก คำบรรยาย จินตนาการและตาม ต่างๆตามความคิด 2.การเคลื่อนไหวอยู่กับที่ 2.การเคลื่อนไหวอยู่กับ ๓.การเคลื่อนไหว
แปลกใหม่ ใหม่ - การเคลื่อนไหวตาม คำบรรยาย ของตนเอง 3.การเคลื่อนไหวเคลื่อนที่ ที่ พร้อมวัสดุอปุ กรณ์
เสียงดนตรีและเพลง ๓.การแสดงออกทาง 3.การเคลื่อนไหว 4.การฟังเพลง การ
4.การเคลื่อนไหวพร้อม
เคลื่อนที่ ร้องเพลงและการ
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ตัวบ่งชี้ที่ 11.2 แสดงท่าทาง / เคลื่อนไหวตามจินตนาการอย่างสร้างสรรค์ (ต่อ)
สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
- การทำท่ากาย - การเคลื่อนไหว ความรู้สึกอย่าง วัสดุอุปกรณ์ 4.การเคลื่อนไหว แสดงปฏิกิริยาโต้ตอบ
บริหารต่างๆ ตามเสียงดนตรีและ เหมาะสม 5.การฟังเพลง การร้อง พร้อม เสียงดนตรี
- การทำท่าเป็นผู้นำ เพลง เพลง และการแสดง วัสดุอุปกรณ์ 5.การแสดงความคิด
ผู้ตาม - การทำท่ากาย ปฏิกิริยาโต้ตอบ 5.การฟังเพลง การ สร้างสรรค์ผ่านภาษา
บริหารต่างๆ เสียงดนตรี ร้องเพลง และการ ท่าทาง การเคลื่อนไหว
- การทำท่าเป็น 6.การเล่นเครื่องดนตรี แสดงปฏิกิริยาโต้ตอบ 6.การเคลื่อนไหวโดย
ผู้นำ ผู้ตาม เสียงดนตรี ควบคุมตนเองไปใน
ประกอบจังหวะ
6.การเล่นเครื่องดนตรี ทิศทาง ระดับและ
7.การเคลื่อนไหวตาม
ประกอบจังหวะ พื้นที่
เสียงเพลง/ดนตรี
7.การเคลื่อนไหวตาม 7.การเคลื่อนไหวตาม
เสียงเพลง/ดนตรี เสียงเพลง/ดนตรี

มาตรฐานที่ 12 มีเจตคติที่ดตี ่อการเรียนรู้ และมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกับวัย


ตัวบ่งชี้ที่ 12.1 มีเจตคติที่ดตี ่อการเรียนรู้
สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
12.1.1 สนใจฟัง ๑๒.๑.๑ สนใจ 12.1.1 หยิบ 1.การอ่านภาพจาก ๑.ความรู้พื้นฐาน ๑.ความรู้พื้นฐาน 1.การสำรวจสิ่งต่างๆ 1.การสำรวจสิ่งต่างๆ ๑.การสำรวจสิ่งต่างๆ
หรืออ่านหนังสือ ซักถามเกี่ยวกับ หนังสือมาอ่านและ หนังสือ เกี่ยวกับการใช้หนังสือ เกี่ยวกับการใช้หนังสือ และแหล่งเรียนรู้รอบตัว และแหล่งเรียนรู้รอบตัว และแหล่งเรียนรู้รอบตัว
ด้วยตนเอง สัญลักษณ์หรือ เขียนสื่อความคิด 2.การทดลองทาง และตัวหนังสืออย่าง และตัวหนังสืออย่าง 2.การตั้งคำถามในเรื่องที่ 2.การตั้งคำถามใน ๒.การตั้งคำถามใน
ตัวหนังสือที่พบเห็น ด้วยตนเองเป็น วิทยาศาสตร์ อิสระ อิสระ สนใจ เรื่องที่สนใจ เรื่องที่สนใจ
ประจำอย่างต่อเนื่อง 3.การสืบเสาะหาความ 3.การสืบเสาะหา
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ตัวบ่งชี้ที่ 12.1 มีเจตคติที่ดตี ่อการเรียนรู้ (ต่อ)
สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
12.1.2 ๑๒.๑.๒ 12.1.2 ๒.การอ่านภาพจาก 2.การแสดงออกทาง 3.การสืบเสาะหาความรู้ รู้เพื่อค้นหาคำตอบของ ความรู้เพื่อค้นหา
กระตือรือร้นใน กระตือรือร้น ใน กระตือรือร้นในการ หนังสือ อารมณ์และความ เพื่อค้นหาคำตอบของข้อ ข้อสงสัยต่างๆ คำตอบของข้อสงสัย
การร่วมกิจกรรม การเข้าร่วมกิจกรรม ร่วมกิจกรรมตั้งแต่ ๓.การทดลองทาง รู้สึกอย่างเหมาะสม สงสัยต่างๆ 4.การอ่านหนังสือภาพ ต่างๆ
ต้นจนจบ วิทยาศาสตร์ 3.ความสนใจในการ 4.การอ่านหนังสือภาพ นิทานหลากหลาย 4.การอ่านหนังสือภาพ
ทำกิจกรรม นิทานหลากหลาย ประเภท/รูปแบบ นิทานหลากหลาย
๔.การใช้ภาษาเพื่อ ประเภท/รูปแบบ 5.การอ่านอย่างอิสระ ประเภท/รูปแบบ
สื่อความหมายใน 5.การอ่านอย่างอิสระ ตามลำพัง การอ่าน 5.การให้ความร่วมมือ
ชีวิตประจำวัน ตามลำพัง การอ่าน ร่วมกัน การอ่านโดยมี ในการปฏิบัติกิจกรรม
๕.การเล่นและทำสิ่ง ร่วมกัน การอ่านโดยมีผู้ ผู้ชี้แนะ ต่างๆ
ต่างๆด้วยตนเอง ชี้แนะ 6.การตั้งคำถามใน
เรื่องที่สนใจ
7.การมีส่วนร่วมใน
การรวบรวมข้อมูล
และนำเสนอข้อมูล
จากการสืบเสาะหา
ความรู้ในรูปแบบ
ต่างๆและแผนภูมิ
อย่างง่าย
8.การสังเกตตัวอักษณ
ที่ประกอบเป็นคำผ่าน
การอ่านหรือเขียนของ
ผู้ใหญ่
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ตัวบ่งชี้ที่ 12.2 มีความสามารถในการแสวงหาความรู้
สภาพที่พึงประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ
อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
12.2.1 ค้นหา ๑๒.๒.๑ ค้นหา 12.2.1 ค้นหา 1.สำรวจธรรมชาติ ๑.การเรียนรู้ที่จะ 1.การเรียนรู้ที่จะ 1.การสำรวจสิ่งต่างๆ 1.การสำรวจสิ่งต่างๆ ๑.การสำรวจสิ่งต่างๆ
คำตอบของข้อ คำตอบของข้อสงสัย คำตอบของข้อสงสัย รอบตัว เล่นและทำสิ่งต่างๆ เล่นและทำสิ่งต่างๆ และแหล่งเรียนรู้รอบตัว และแหล่งเรียนรู้รอบตัว และแหล่งเรียนรู้รอบตัว
สงสัยต่างๆ ตาม ต่างๆ ตามวิธีการ ต่างๆ ตามวิธีการที่ 2.เรียนรู้วัฏจักรของ อย่างหลากหลาย อย่างหลากหลาย 2.การตั้งคำถามในเรื่องที่ 2.การตั้งคำถามใน ๒.การตั้งคำถามใน
วิธีการเมื่อมีผู้ชี้แนะ ของตนเอง หลากหลายด้วย สัตว์ ด้วยตนเอง ด้วยตนเอง สนใจ เรื่องที่สนใจ เรื่องที่สนใจ
12.2.2 ใช้ประโยค ๑๒.๒.๒ ใช้ประโยค ตนเอง 3.เรียนรู้วัฏจักรของ ๒.สำรวจธรรมชาติ 2.การสนใจซักถาม 3.การสืบเสาะหาความรู้ 3.การสืบเสาะหาความ ๓.การสืบเสาะหาความ
คำถามว่า “ใคร” คำถามว่า “ที่ไหน” 12.2.๒ ใช้ประโยค ต้นไม้ รอบตัว คำถามเพื่อค้นหา เพื่อค้นหาคำตอบของข้อ รู้เพื่อค้นหาคำตอบของ รู้เพื่อค้นหาคำตอบของ
“อะไร” ในการ “ทำไม” ในการ คำถามว่า “เมื่อไร” 4.ตั้งคำถาม ค้นหา ๓.เรียนรู้วัฏจักรของ คำตอบด้วยตนเอง ข้อสงสัยต่างๆ ข้อสงสัยต่างๆ
สงสัยต่างๆ
ค้นหาคำตอบ ค้นหาคำตอบ “อย่างไรในการ คำตอบ สัตว์ ๓.สัญลักษณ์วัน 4.การมีส่วนร่วมในการ ๔.การมีส่วนร่วมในการ
4.การมีส่วนร่วมในการ
ค้นหาคำตอบ” ๔.เรียนรู้วัฏจักรของ สำคัญของชาติ ร่วมในการรวบรวม รวบรวมข้อมูลและ
ต้นไม้ ร่วมในการรวบรวมข้อมูล ข้อมูลและนำเสนอ นำเสนอข้อมูลจากการ
๔.เรื่องราวเกี่ยวกับ
5.การสนใจซักถาม และนำเสนอข้อมูลจาก ข้อมูลจากการสืบเสาะ สืบเสาะหาความรู้ใน
ดิน น้ำ ท้องฟ้า
คำถามเพื่อค้นหา การสืบเสาะหาความรู้ใน หาความรู้ในรูปแบบ รูปแบบต่างๆและ
๕.ความเป็นมาของ
คำตอบด้วยตนเอง รูปแบบต่างๆ และ ต่างๆ และแผนภูมิอย่าง แผนภูมิอย่างง่าย
ตนเอง ครอบครัว
แผนภูมิอย่างง่าย ง่าย
ประเทศชาติ
5.การศึกษานอกสถานที่ 5.การศึกษานอก
๖.การปฏิบัติตาม
สถานที่
วัฒนธรรมท้องถิ่น
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
การจัดชั้นหรือกลุ่มเด็ก
1.โรงเรียนบ้านหน้าควนลัง(ราษฎร์สามัคคี) ได้กำหนดการจัดการศึกษาปฐมวัยเป็น 3 ระดับชั้น คือ
ชั้นอนุบาลปีที่ 1 กลุ่มเด็กอายุ 3 ปี
ชั้นอนุบาลปีที่ 2 กลุ่มเด็กอายุ 4 ปี
ชั้นอนุบาลปีที่ 3 กลุ่มเด็กอายุ 5 ปี
2.ระยะเวลาในจัดประสบการณ์ปีการศึกษาละ 2 ภาคเรียน
ภาคเรียนที่ 1 ประมาณ วันที่ 16 พฤษภาคม - 15 ตุลาคม
ภาคเรียนที่ 2 ประมาณ วันที่ 1 พฤศจิกายน - 31 มีนาคม
3.กำหนดตารางกิจกรรมประจำวัน
7.00 น. - 8.00 น. รับเด็กเป็นรายบุคคล
8.00 น. - 8.30 น. เคารพธงชาติ กิจกรรมหน้าเสาธง
8.30 น. - 8.40 น. สนทนาข่าวเหตุการณ์ต่างๆ
8.40 น. - 9.00 น. กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
9.00 น. - 9.20 น. พักดื่มนม
9.20 น. - 9.50 น. กิจกรรมเสริมประสบการณ์
9.50 น. - 10.20 น. กิจกรรมสร้างสรรค์
10.20 น. - 10.40 น. กิจกรรมเสรี
10.40 น. - 11.00 น. กิจกรรมกลางแจ้ง
11.00 น. - 12.30 น. รับประทานอาหารกลางวันและแปรงฟัน
12.30 น. - 14.00 น. นอนหลับพักผ่อน
14.00 น. - 14.20 น. เก็บที่นอน ล้างหน้า
14.20 น. - 14.35 น. พักรับประทานของว่างบ่าย
14.35 น. - 14.50 น. กิจกรรมเกมการศึกษา
14.50 น. - 15.00 น. สรุปกิจกรรมประจำวันและนักเรียนเตรียมตัวกลับบ้าน
หมายเหตุ ตารางกิจกรรมยืดหยุ่น และปรับได้ตามความเหมาะสม
การจัดเวลาเรียน
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยกำหนดกรอบโครงสร้างเวลาในการจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก ๑ -๓ ปี
การศึกษาโดยประมาณ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับอายุของเด็กที่เริ่มเข้าสถานศึกษาหรือสถาบันพัฒนาเด็กปฐมวัย เวลา
เรียนสำหรับเด็กปฐมวัยขึ้นอยู่กับสถานศึกษาแต่ละแห่ง โดยมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่า ๑๘๐ วันต่อ ๑ ปี
การศึกษา ในแต่ละวันจะใช้เวลาไม่น้อยกว่า ๕ ชั่วโมง โดยสามารถปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมตา มบริบทของ
สถานศึกษาและสถาบันพัฒนาเด็กปฐมวัย
สาระการเรียนรู้รายปี
สาระการเรียนรู้ใช้เป็นสื่อกลางในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับเด็กเพื่อส่งเสริมพัฒนาการทุก
ด้าน ให้เป็นไปตามจุดหมายของหลักสูตรที่กำหนด ประกอบด้วย ประสบการณ์สำคัญและสาระที่ควรเรียนรู้
ดังนี้
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
๑. ประสบการณ์สำคัญ
ประสบการณ์สำคัญเป็นแนวทางสำหรับผู้ สอนไปใช้ในการออกแบบการจัดประสบการณ์ ให้เด็ก
ปฐมวัยเรียนรู้ ลงมือปฏิบัติ และได้รับการส่งเสริมพัฒนาการครอบคลุมทุกด้าน ดังนี้
๑.๑ ประสบการณ์สำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้มีโอกาส
พัฒนาการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ กล้ามเนื้อเล็ก และการประสานสัมพันธ์ระหว่างกล้ามเนื้อและระบบประสาท ใน
การทำกิจวัตรประจำวันหรือทำกิจกรรมต่างๆและสนับสนุนให้เด็กมีโอกาสดูแลสุขภาพและสุขอนามัย และการ
รักษาความปลอดภัย ดังนี้
๑.๑.๑ การใช้กล้ามเนื้อใหญ่
- การเคลื่อนไหวอยู่กับที่
- การเคลื่อนไหวเคลื่อนที่
- การเคลื่อนไหวพร้อมวัสดุอุปกรณ์
- การเคลื่อนไหวที่ใช้การประสานสัมพันธ์ของการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ในการขว้าง
การจับ การโยน การเตะ
- การเล่นเครื่องเล่นสนามอย่างอิสระ
๑.๑.๒ การใช้กล้ามเนื้อเล็ก
- การเล่นเครื่องเล่นสัมผัสและการสร้างจากแท่งไม้ บล็อก
- การเขียนภาพและการเล่นกับสี
- การปั้น
- การประดิษฐ์สิ่งต่างๆด้วย เศษวัสดุ
- การหยิบจับ การใช้กรรไกร การฉีก การตัด การปะ และการร้อยวัสดุ
๑.๑.๓ การรักษาสุขภาพอนามัยส่วนตัว
- การปฏิบัติตนตามสุขอนามัย สุขนิสัยที่ดีในกิจวัตรประจำวัน
๑.๑.๔ การรักษาความปลอดภัย
- การปฏิบัติตนให้ปลอดภัยในกิจวัตรประจำวัน
- การฟังนิทาน เรื่องราว เหตุการณ์ เกี่ยวกับการป้องกันและรักษาความปลอดภัย
- การเล่นเครื่องเล่นอย่างปลอดภัย
- การเล่นบทบาทสมมติเหตุการณ์ต่างๆ
๑.๑.๕ การตระหนักรู้เกี่ยวกับร่างกายตนเอง
- การเคลื่อนไหวเพื่อควบคุมตนเองไปในทิศทาง ระดับ และพื้นที่
- การเคลื่อนไหวข้ามสิ่งกีดขวาง
๑.๒ ประสบการณ์สำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจเป็นการสนับสนุนให้เด็กได้
แสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกของตนเองที่เหมาะสมกับวัย ตระหนักถึงลักษณะพิ เศษเฉพาะที่เป็นอัต
ลักษณ์ ความเป็นตัวของตัวเอง มีความสุ ข ร่าเริงแจ่มใส การเห็นอกเห็นใจผู้อื่นได้พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม
สุนทรียภาพ ความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง และความเชื่อมั่นในตนเองขณะปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ดังนี้
๑.๒.๑ สุนทรียภาพ ดนตรี
- การฟังเพลง การร้องเพลง และการแสดงปฏิกิริยาโต้ตอบเสียงดนตรี
- การเคลื่อนไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี
- การเล่นบทบาทสมมติ
- การทำกิจกรรมศิลปะต่างๆ
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
- การสร้างสรรค์สิ่งสวยงาม
๑.๒.๒ การเล่น
- การเล่นอิสระ
- การเล่นรายบุคคล กลุ่มย่อย กลุ่มใหญ่
- การเล่นตามมุมประสบการณ์
- การเล่นนอกห้องเรียน
๑.๒.๓ คุณธรรม จริยธรรม
- การปฏิบัติตนตามหลักศาสนาที่นับถือ
- การฟังนิทานเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม
- การร่วมสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเชิงจริยธรรม
๑.๒.๔ การแสดงออกทางอารมณ์
- การสะท้อนความรู้สึกของตนเองและผู้อื่น
- การเล่นบทบาทสมมติ
- การเคลื่อนไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี
- การร้องเพลง
- การทำงานศิลปะ
๑.๒.๕ การมีอัตลักษณ์เฉพาะตนและเชื่อว่าตนเองมีความสามารถ
- การปฏิบัติกิจกรรมต่างๆตามความสามารถของตนเอง
๑.๒.๖ การเห็นอกเห็นใจผู้อื่น
- การแสดงความยินดีเมื่อผู้อื่นมีความสุข เห็นอกเห็นใจเมื่อผู้ อื่นเศร้าหรือเสียใจ และ
การช่วยเหลือปลอบโยนเมื่อผู้อื่นได้รับบาดเจ็บ
๑.๓ ประสบการณ์สำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคม เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้มีโอกาส
ปฏิสัมพันธ์กับบุคลและสิ่งแวดล้อมต่างๆรอบตัวจากการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ผ่านการเรียนรู้ทางสังคม เช่น
การเล่น การทำงานกับผู้อื่น การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน การแก้ปัญหาข้อขัดแย้งต่างๆ
๑.๓.๑ การปฏิบตั ิกิจวัตรประจำวัน
- การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจำวัน
- การปฏิบัติตนตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๑.๓.๒ การดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
- การมีส่วนร่วมรับผิดชอบดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน
- การทำงานศิลปะที่ใช้วัสดุหรือสิ่งของที่ใช้แล้วมาใช้ซ้ำหรือแปรรูปแล้วนำกลับมาใช้ใหม่
- การเพาะปลูกและดูแลต้นไม้
- การเลี้ยงสัตว์
- การสนทนาข่าวและเหตุการณ์ที่เกี่ยวกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชีวิตประจำวัน
๑.๓.๓ การปฏิบัติตามวัฒนธรรมท้องถิ่นที่อาศัยและความเป็นไทย
- การเล่นบทบาทสมมุติการปฏิบัติตนในความเป็นคนไทย
- การปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมท้องถิ่นที่อาศัยและประเพณีไทย
- การประกอบอาหารไทย
- การศึกษานอกสถานที่
- การละเล่นพื้นบ้านของไทย
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
๑.๓.๔ การมีปฏิสัมพันธ์ มีวินัย มีสวนร่วม และบทบาทสมาชิกของสังคม
- การร่วมกำหนดข้อตกลงของห้องเรียน
- การปฏิบัติตนเป็นสมาชิที่ดีของห้องเรียน
- การให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ
- การดูแลห้องเรียนร่วมกัน
- การร่วมกิจกรรมวันสำคัญ
๑.๓.๕ การเล่นแบบร่วมมือร่วมใจ
- การร่วมสนทนาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
- การเล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่น
- การทำศิลปะแบบร่วมมือ
๑.๓.๖ การแก้ปัญหาความขัดแย้ง
- การมีส่วนร่วมในการเลือกวิธีการแก้ปัญหา
- การมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาความขัดแย้ง
๑.๓.๗ การยอมรับในความเหมือนและความแตกต่างระหว่างบุคคล
- การเล่นหรือ ทำกิจกรรมร่วมกับกลุ่มเพื่อน
๑.๔ ประสบการณ์สำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้รับรู้
เรียนรู้สิ่งต่างๆรอบตัวผ่านการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม บุคคลและสื่อต่างๆ ด้วยกระบวนการเรียนรู้ที่
หลากหลาย เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กพัฒนาการใช้ภาษา จินตนาการความคิดสร้างสรรค์ การแก้ปัญหา การคิดเชิง
เหตุผล และการคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รอบตัวและมีความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานของ
การเรียนรู้ในระดับที่สูงขึ้นต่อไป
๑.๔.๑ การใช้ภาษา
- การฟังเสียงต่างๆ ในสิ่งแวดล้อม
- การฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ
- การฟังเพลง นิทาน คำคล้องจอง บทร้อยกรงหรือเรื่องราวต่างๆ
- การแสดงความคิด ความรู้สึก และความต้องการ
- การพูดกับผู้อื่นเกี่ยวกับประสบการณ์ของตนเอง หรือพูดเล่าเรือ่ งราวเกี่ยวกับตนเอง
- การพูดอธิบายเกี่ยวกับสิ่งของ เหตุการณ์ และความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ
- การพูดอย่างสร้างสรรค์ในการเล่น และการกระทำต่างๆ
- การรอจังหวะที่เหมาะสมในการพูด
- การพูดเรียงลำดับเพื่อใช้ในการสื่อสาร
- การอ่านหนังสือภาพ นิทาน หลากหลายประเภท/รูปแบบ
- การอ่านอิสระตามลำพัง การอ่านร่วมกัน การอ่านโดยมีผู้ชี้แนะ
- การเห็นแบบอย่างของการอ่านที่ถูกต้อง
- การสังเกตทิศทางการอ่านตัวอักษร คำ และข้อความ
- การอ่านและชี้ข้อความ โดยกวาดสายตาตามบรรทัดจากซ้ายไปขวา จากบนลงล่าง
- การสังเกตตัวอักษรในชื่อของตน หรือคำคุ้นเคย
- การสังเกตตัวอักษรที่ประกอบเป็นคำผ่านการอ่านหรือเขียนของผู้ใหญ่
- การคาดเดาคำวลี หรือประโยค ที่มีโครงสร้างซ้ำๆกัน จากนิทาน เพลง คำคล้องจอง
- การเล่นเกมทางภาษา
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
- การเห็นแบบอย่างของการเขียนที่ถูกต้อง
- การเขียนร่วมกันตามโอกาส และการเขียนอิสระ
- การเขียนคำที่มีความหมายกับตัวเด็ก/คำคุ้นเคย
- การคิดสะกดคำและเขียนเพื่อสื่อความหมายด้วยตนเองอย่างอิสระ
๑.๔.๒ การคิดรวบยอด การคิดเชิงเหตุผล การตัดสินใจและแก้ปัญหา
- การสังเกตลักษณะ ส่วนประกอบ การเปลี่ยนแปลง และความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ
โดยใช้ประสาทสัมผัสอย่างเหมาะสม
- การสังเกตสิ่งต่างๆ และสถานที่จากมุมมองที่ต่างกัน
- การบอกและแสดงตำแหน่ง ทิศทาง และระยะทางของสิ่งต่างๆด้วยการกระทำ
ภาพวาด ภาพถ่าย และรูปภาพ
- การเล่นกับสื่อต่างๆที่เป็นทรงกลม ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกระบอก กรวย
- การคัดแยก การจัดกลุ่ม และการจำแนกสิ่งต่างๆตามลักษณะและรูปร่าง รูปทรง
- การต่อของชิ้นเล็กเติมในชิ้นใหญ่ให้สมบูรณ์ และการแยกชิ้นส่วน
- การทำซ้ำ การต่อเติม และการสร้างแบบรูป
- การนับและแสดงจำนวนของสิ่งต่างๆในชีวิตประจำวัน
- การเปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนของสิ่งต่างๆ
- การรวมและการแยกสิ่งต่างๆ
- การบอกและแสดงอันดับที่ของสิ่งต่างๆ
- การชั่ง ตวง วัดสิ่งต่างๆโดยใช้เครื่องมือและหน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน
- การจับคู่ การเปรียบเทียบ และการเรียงลำดับ สิ่งต่างๆ ตามลักษณะความยาว/
ความสูงน้ำหนัก ปริมาตร
- การบอกและเรียงลำดับกิจกรรมหรือเหตูการณ์ตามช่วงเวลา
- การใช้ภาษาทางคณิตศาสตร์กับเหตุการณ์ในชีวิตประจำวัน
- การอธิบายเชื่อมโยงสาเหตุและผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์หรือการกระทำ
- การคาดเดาหรือการคาดคะเนสิ่งที่อาจเกิดขึ้นอย่างมีเหตุผล
- การมีส่วนร่วมในการลงความเห็นจากข้อมูลอย่างมีเหตุผล
- การตัดสินใจและมีส่วนร่วมในกระบวนการแก้ปัญหา
๑.๔.๓ จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
- การรับรู้ และแสดงความคิดความรู้สึกผ่านสื่อ วัสดุ ของเล่น และชิ้นงาน
- การแสดงความคิดสร้างสรรค์ผ่านภาษา ท่าทาง การเคลื่อนไหว และศิลปะ
- การสร้างสรรค์ชิ้นงานโดยใช้รูปร่างรูปทรงจากวัสดุที่หลากหลาย
๑.๔.๔ เจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้และการแสวงหาความรู้
- การสำรวจสิ่งต่างๆ และแหล่งเรียนรู้รอบตัว
- การตั้งคำถามในเรื่องที่สนใจ
- การสืบเสาะหาความรู้เพื่อค้นหาคำตอบของข้อสงสัยต่างๆ
- การมีส่วนร่วมในการรวบรวมข้อมูลและนำเสนอข้อมูลจากการสืบเสาะหาความรู้ใน
รูปแบบต่างๆและแผนภูมิอย่างง่าย
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
2. สาระทีค่ วรเรียนรู้
สาระที่ควรเรียนรู้ เป็นเรื่องราวรอบตัวเด็กที่นำมาเป็นสื่อกลางในการจัดกิจกรรมให้เด็กเกิดแนวคิด
หลังจากนำสาระการเรียนรู้นั้น ๆ มาจัดประสบการณ์ให้เด็ก เพื่อให้บรรลุจัดหมายที่กำหนดไว้ทั้งนี้ ไม่เน้นการ
ท่องจำเนื้อหา ครูสามารถกำหนดรายละเอียดขึ้นเองให้สอดคล้องกับวัย ความต้องการ และความสนใจของเด็ก
โดยให้เด็กได้เรียนรู้ผ่านประสบการณ์สำคัญ ทั้งนี้ อาจยืดหยุ่นเนื้อหาได้โดยคำนึงถึงประสบ การณ์และ
สิ่งแวดล้อมในชีวิตจริงของเด็ก ดังนี้
๒.๑ เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก เด็กควรรู้จักชื่อ นามสกุล รูปร่างหน้าตา รู้จักอวัยวะต่างๆ วิธีระวัง
รักษาร่างกายให้สะอาดและมีสุขภาพอนามัยที่ดี การรับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์ การระมัดระวังความ
ปลอดภัยของตนเองจากผู้อื่นและภัยใกล้ตัว รวมทั้งการปฏิบัติต่อผู้อื่นอย่างปลอดภัย การรู้จักความเ ป็นมา
ของตนเองและครอบครัว การปฏิบัติตนเป็ นสมาชิกที่ดีของครอบครัวและโรงเรียน การเคารพสิทธิของตนเอง
และผู้อื่น การรู้จักแสดงความคิดเห็นของตนเองและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น การกำกับตนเอง การเล่นและ
ทำสิ่งต่างๆด้วยตนเองตามลำพังหรือกับผู้อื่น การตระหนักรู้เกี่ยวกับตนเอง ความภาคภูมิใจในตนเอง การ
สะท้อนการรับรู้อารมณ์และความรู้สึกของตนเองและผู้อื่น การแสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกอย่าง
เหมาะสม การแสดงมารยาทที่ดี การมีคุณธรรมจริยธรรม
๒.๒ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานทีแ่ วดล้อมเด็ก เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกับครอบครัว สถานศึกษา
ชุมชน และบุคคลต่างๆ ที่เด็กต้อ งเกี่ยวข้องหรือใกล้ชิดและมีปฏิสัมพันธ์ในชีวิตประจำวัน สถานที่สำคัญ วัน
สำคัญ อาชีพของคนในชุมชน ศาสนา แหล่งวัฒนาธรรมในชุมชน สัญลักษณ์สำคัญของชาติไทยและการปฏิบัติ
ตามวัฒนธรรมท้องถิ่นและความเป็นไทย หรือแหล่งเรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นอื่นๆ
๒.๓ ธรรมชาติรอบตัว เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกับชื่อ ลักษณะ ส่วนประกอบ การเปลี่ยนแปลงและ
ความสัมพันธ์ของมนุษย์ สัตว์ พืช ตลอดจนการรู้จักเกี่ยวกับดิน น้ำ ท้องฟ้า สภาพอากาศ ภัยธรรมชาติ แรง
และพลังงานในชีวิตประจำวันที่แวดล้อมเด็ก รวมทั้งการอนุรกั ษ์สิ่งแวดล้อมและการรักษาสาธารณสมบัติ
๒.๔ สิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้ภาษาเพื่อสื่อความหมายในชีวิตประจำวัน
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการใช้หนังสือและตัวหนังสือ รู้จักชื่อ ลักษณะ สี ผิวสัมผัส ขนาด รูปร่าง รูปทรง
ปริมาตร น้ำหนัก จำนวน ส่ วนประกอบ การเปลี่ยนแปลงและความสัมพันธ์ ของสิ่งต่างๆรอบตัว เวลา เงิน
ประโยชน์ การใช้งาน และการเลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ ยานพาหนะ การคมนาคม เทคโนโลยีและการสื่อสาร
ต่างๆ ที่ใช้อยู่ในชีวิตประจำวันอย่างประหยัด ปลอดภัยและรักษาสิ่งแวดล้อม
การจัดประสบการณ์
การจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัยอายุ 3 - ๖ ปีเป็นการจัดกิจกรรมในลักษณะ บูรณาการผ่าน
การเล่น การลงมือกระทำจากประสบการณ์ตรงอย่างหลากหลาย เกิดความรู้ ทักษะ คุณธรรมจริยธรรม รวมทั้ง
เกิด การพัฒนาทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจสังคม และสติปัญญา ไม่จัดเป็นรายวิชาโดยมีหลักการ และ
แนวทาง การจัดประสบการณ์ ดังนี้
๑. หลักการจัดประสบการณ์
๑.๑ จัดประสบการณ์การเล่นและการเรียนรู้อย่างหลากหลายเพื่อพัฒนาเด็กโดยองค์รวมอย่าง สมดุล
และต่อเนื่อง
๑.๒ เน้นเด็กเป็นสำคัญสนองความต้องการความสนใจความแตกต่างระหว่างบุคคลและบริบท ของ
สังคมที่เด็กอาศัยอยู่
๑.๓ จัดให้เด็กได้รับการพัฒนาโดยให้ความสำคัญกับกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาของเด็ก
๑.๔ จัดการประเมินพัฒนาการให้เ ป็นกระบวนการอย่ า งต่ อเนื่ องและเป็ นส่ว นหนึ่ งของการจั ด
ประสบการณ์พร้อมทั้งนำผลการประเมินมาพัฒนาเด็กอย่างต่อเนื่อง
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
๑.๕ ให้พ่อแม่ครอบครัวชุมชน และทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็ก
๒. แนวทางการจัดประสบการณ์
๒.๑ จั ด ประสบการณ์ ใ ห้ ส อดคล้ อ งกั บ จิ ต วิ ท ยาพั ฒ นาการและการทำงานของสมอง แนวคิ ด ที่
เหมาะสมกับอายุวุฒิภาวะและระดับพัฒนาการ เพื่อให้เด็กทุกคนได้พัฒนาเด็กเต็มตามศักยภาพ
๒.๒ จัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับการเรียนรู้ของเด็ก ได้ลงมือกระทำ เรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง
ห้า ได้เคลื่อนไหวสำรวจ เล่น สังเกต สืบค้น ทดลอง และคิดแก้ปัญหาด้วยตนเอง โดยใช้กิจกรรมและรูปแบบ
การเรียนการสอน ดังนี้
การจัดการเรียนรู้แบบไฮ/สโคป (High Scope) เป็นการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการลงมือทำผ่านมุม
กิจกรรมที่หลากหลาย ที่มีสื่อและการจัดกิจกรรมที่เหมาะสมกับพัฒนาการของเด็กเป็นตัวช่วย โดย ปล่อยให้
เด็กเป็นผู้ริเริ่มการเล่นหรือกิจกรรมต่าง ๆ อย่างอิสระด้วยตัวเอง มีพื้นฐานแนวคิดมาจากทฤษฎีของเพียเจท์
(Piage’s Theory) ที่ว่าด้วยการพัฒนาทางสติปัญญา ที่เน้นการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติ ซึ่งเด็กสามารถ
สร้างความรู้ได้เองโดยใช้กระบวนการสร้างสรรค์การเรี ยนรู้ (Constructive process of learning) ผ่านการ
กระทำของตน และการประเมินผลงานอย่างมีแบบแผน
หลักปฏิบัติสำคัญที่ถือเป็นหัวใจของการจัดการเรียนรู้แบบไฮ/สโคปนั้น ประกอบด้วยกระบวนการ
3 กระบวนการ อันได้แก่
1. การวางแผน (Plan) เป็นการให้เด็กกำหนดแนวทางการปฏิบัติ หรือการดำเนินงานตามงานที่
ได้รับมอบหมายหรือตามสิ่งที่ตัวเองสนใจ โดยคุณครูจะต้องเปิดโอกาสให้เด็กสนทนากับครู หรือสนทนา
ระหว่างเพื่อนด้วยกัน เพื่อวางแผนการทำงานอย่างเหมาะสม ว่าจะทำอะไร อย่างไร การวางแผนกิจกรรมนี้เด็ก
ต้องมีโอกาสเลือกและตัดสินใจ ซึ่งอาจจะบันทึกด้วยภาพหรือสัญลักษณ์ประจำตัวเด็กหรือบอกให้ครูช่วย
บันทึกก็ได้ ซึ่งกระบวนการนี้จะช่วยส่งเสริ มความรู้สึกเชื่อมั่นในตนเองของเด็กและความรู้สึกในการควบคุม
ตนเอง ทําให้เด็กสนใจในกิจกรรมที่ตนเองได้วางแผนไว้
2. การปฏิบัติ (Do) คือ การให้เด็กลงมือทำกิจกรรมตามแผนที่วางไว้อย่างอิสระตามเวลาที่กำหนด
โดยเน้นให้เด็กได้ช่วยกันคิด ทดลองและแก้ปัญหาร่วมกันอย่างมีจุดมุ่งหมาย ได้เรียนรู้ตามประสบการณ์
ค้นพบความคิดใหม่ๆ โดยคุณครูจะทำหน้าที่เป็นผู้ชี้แนะและให้คำแนะนำ มากกว่าจะลงไปจัดการด้ วยตัวเอง
การทบทวน
3. (Review) คือกระบวนการที่ให้เด็กสะท้อนผลงานของตัวเองที่ได้ลงมือทำผ่านการพูดคุยหรือ
แสดงผลต่างๆ เพื่อทบทวนว่าตนเองนั้นได้ปฏิบัติงานตามแผนที่ได้วางไว้หรือไม่ มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร โดย
มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้เด็กได้เชื่อมโยงแผนการปฏิบัติงานกับผลงานที่ทำ รวมถึงการเล่าประสบการณ์ต่าง ๆ ที่ได้
ลงมือทำด้วยตนเอง
องค์ประกอบของการเรียนรู้แบบไฮ/สโคป
องค์ประกอบของการเรียนรู้แบบไฮ/สโคปที่นับว่าเป็นจุดเด่นของการจัดการเรียนรู้รูปแบบนี้ และทำ
ให้เป็นรูปแบบการเรียนรู้นี้แตกต่างจากแนวการจัดการเรียนรู้รูปแบบอื่น ๆ นั้น จำเป็นจะต้องมีองค์ประกอบที่
ต้องคำนึงถึง 6 องค์ประกอบด้วยกัน จึงจะทำให้การจัดการเรียนรู้แบบไฮ/สโคปประสบความสำเร็จและมี
ประสิทธิภาพ ซึ่งองค์ประกอบทั้ง 6 ข้อ มีดังนี้
1. เปิดโอกาสให้เด็กเป็นผู้ริเริ่มในการเลือกและตัดสินใจทำกิจกรรมและใช้เครื่องมือต่างๆตามความ
สนใจของตัวเอง ซึ่งจะทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้มากกว่าได้รับการบอกต่อความรู้จากผู้ใหญ่
2. จัดเตรียม สื่อและวัสดุอุปกรณ์ ในห้องเรียนให้มีความหลากหลาย และเหมาะสมกับอายุของเด็ก
เพื่อให้เด็กมีโอกาสเลือกวัสดุอุปกรณ์อย่างอิสระ และควรมีการจัดเก็บอย่างเหมาะสม เพื่อให้ง่ายต่อการใช้งาน
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ของเด็ก ซึ่งองค์ประกอบนี้ช่วยให้เด็กรู้จักการเชื่อ มโยงการกระทำต่าง ๆ การเรียนรู้ในเรื่องของความสัมพันธ์
และมีโอกาส ในการแก้ปัญหามากขึ้น
3. พื้นที่และเวลาในห้องเรียนแบบไฮ/สโคป ต้องมีพื้นที่เพียงพอต่อการทำกิจกรรมของเด็ก ทั้งการ
ทำกิจกรรมคนเดียวและการทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม รวมถึงมีการจัดมุมประสบการณ์ต่ าง ๆ เพื่อส่งเสริมให้เด็กได้
เรียนรู้ผ่านการเล่น ผ่านบทบาทสมมุติในมุมประสบการณ์ต่าง ๆ และควรจัดสรรเวลาในการดำเนินกิจกรรมใน
แต่ละวันให้เพียงพอ โดยไม่มากหรือน้อยเกินไป ซึ่งจะช่วยให้เด็กรู้จักการรักษาเวลาอีกด้วย
๒.๓ จัดประสบการณ์แบบบูรณาการ โดยบูรณาการทั้งกิจกรรม ทักษะ และสาระการเรียนรู้ จาก
หลักสูตรแกนกลาง และองค์ความรู้ในท้องถิ่นการละเล่นกลองยาว
๒.๔ จัดประสบการณ์ให้เด็กได้ริเริ่มคิด วางแผน ตัดสินใจ ลงมือกระทำ และนำเสนอความคิด โดย
ผู้สอนหรือผู้จัดประสบการณ์เป็นผู้สนับสนุนอำนวยความสะดวกและเรียนรู้ร่วมกับเด็ก
๒.๕ จัดประสบการณ์ให้เด็กมีปฏิสัม พันธ์กับเด็กอื่น กับผู้ใหญ่ ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อ การ
เรียนรู้ในบรรยากาศที่อบอุ่นมีความสุข และเรียนรู้การทำกิจกรรมแบบร่วมมือในลักษณะต่างๆ กัน
๒.๖ จัดประสบการณ์ให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับ สื่อและแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลายและอยู่ในวิถีชีวิต
ของเด็กสอดคล้องกับบริบทสังคม และวัฒนธรรมที่แวดล้อมเด็ก
๒.๗ จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมลักษณะนิสัยที่ดี และทักษะการใช้ชีวิตประจำวันตามแนวทาง หลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนสอดคล้องคุณธรรมจริยธรรมและวินัยในตนเองให้เป็นส่วนหนึ่งของ การจัด
ประสบการณ์การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
๒.๘ จัดประสบการณ์ทั้งในลักษณะที่มีการวางแผนไว้ล่วงหน้าและแผนที่เกิดขึ้นในสภาพจริง โดยไม่ได้
คาดการณ์ไว้
๒.๙ การทำสารนิ ท ั ศ น์ ด ้ ว ยการรวบรวมข้ อ มู ล เกี ่ ย วกั บ พั ฒ นาการและการเรี ย นรู ้ ข องเด็ ก เป็ น
รายบุคคลนำมาไตร่ตรองใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาเด็กและการวิจัยในชั้นเรียน
๒.๑๐ จัดประสบการณ์โดยให้พ่อแม่ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมทั้งการวางแผนการ สนับสนุนสื่อ
แหล่งเรียนรู้การเข้าร่วมกิจกรรมและการประเมินพัฒนาการ
๓. การจัดกิจกรรมประจำวัน
การจัดกิจกรรมประจำวันสามารถจัดได้หลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมในการนำไปใช้ ที่สำคัญ
ผู้สอนต้องคำนึงถึงการจัดประสบการณ์ให้ครอบคลุมพัฒนาการทุกด้าน การจัดกิจกรรมประจำวันมีหลักการจัด
และขอบข่ายของกิจกรรมประจำวัน ดังนี้
๓.๑ หลักการจัดกิจกรรมประจำวัน
๑) กำหนดระยะเวลาในการจัดกิจกรรมประจำวันแต่ละกิจกรรมให้เหมาะสมกับวัยของเด็กในแต่ละวันแต่
ยืดหยุ่นได้ตามความต้องการและความสนใจของเด็ก ดังนี้
วัย 3 - 4 ปี ความสนใจประมาณ 8-๑2 นาที
วัย ๔ - ๕ ปี ความสนใจประมาณ ๑๒-๑๕ นาที
วัย ๕ - ๖ ปี ความสนใจประมาณ ๑๕-๒๐ นาที
๒) กิจกรรมที่ต้องใช้ความคิดทางในกลุ่มและกลุม่ ใหญ่ไม่ควรใช้เวลาต่อเนื่องนานเกินกว่า ๒0 นาที
๓) กิจกรรมที่เด็กมีอิสระเลือกเล่นเสรีเพื่อช่วยให้เด็กรู้จักเลือกตัดสินใจคิดแก้ปัญหาคิด สร้างสรรค์
เช่น การเล่นตามมุม การเล่นการแจ้ง ฯลฯ ใช้เวลาประมาณ ๔๐ ถึง ๖๐ นาที
๔) กิจกรรมควรมีความสมดุลระหว่างกิจกรรมให้ห้องเรียนและนอกห้องเรียน กิจกรรมที่ใช้
กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กกิจกรรมที่เป็นรายบุคคล กลุ่มย่อยและกลุ่มใหญ่ กิจกรรมที่เด็กเป็นผู้ริเริ่ม
และผู้สอนหรือผู้จัดประสบการณ์เป็นผู้ริเริ่ม และกิจกรรมที่ใช้กำลังและไม่ใ ช้กำลัง จัดให้ครบทุกประเภททั้งนี้
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
กิจกรรมที่ต้องออกกำลังกายควรจะสลับกับกิจกรรมที่ไม่ต้องออกกำลังกายมากนัก เพื่อเด็กจ ะได้ไม่เหนื่อย
เกินไป
๓.๒ ขอบข่ายของกิจกรรมประจำวัน
การเลือกกิจกรรมที่จะนำมาจัดในแต่ละวันสามารถจัดได้หลายรูปแบบ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับความ
เหมาะสมในการนำไปใช้ของแต่ละหน่วยงานและสภาพชุมชน ที่สำคัญผู้สอนต้องคำนึงถึงการจัดกิจกรรม ให้
ครอบคลุมพัฒนาการทุกด้าน ดังต่อไปนี้
๑) การพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่ เป็นการพัฒนาความแข็งแรง การส่วนตัว การยืดหยุ่นความ
คล่องแคล่วในการใช้อวัยวะต่างๆ และจังหวะการเคลื่อนไหวในการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ โดยจัดกิจกรรมให้เด็กได้
เล่นอิสระกลางแจ้ง เล่นเครื่องเล่นสนาม ปีนป่ายเล่นอิสระ เคลื่อนไหวร่างกายตามจังหวะดนตรี
๒) การพัฒนากล้ามเนื้อเล็ ก เป็นการพัฒนาความแข็งแรงของกล้ามเนื้อเล็กกล้ามเนื้อมือนิ้วมือ
การประสาทสัมผัสระหว่างกล้ามเนื้อมือและระบบประสาทตามือได้อย่างคล่องแคล่วและประสาน สัมพันธ์กัน
โดยจัดกิจกรรมให้เด็กได้เล่นเครื่องเล่นสัมผัส เล่นเกมการศึกษา ฝึกช่วยเหลือตัวเอง ในการแต่ง กาย หยิบจั บ
ช้อนส้อม และใช้วัสดุอุปกรณ์ศิลปะ เช่น สีเทียน กรรไกร พู่กัน ดินเหนียว ฯลฯ
๓) การพัฒนาอารมณ์ จิตใจ และปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม เป็นการปลูกฝังให้เด็กมี ความรู้สึก
ที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น มีความเชื่อมั่น กล้าแสดงออก มีวินัย รับผิดชอบ ซื่อสัตย์ ประหยัด เมตตา กรุณา
เอื้อเฟื้อ แบ่งปัน มีมารยาทและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาที่นับถือโดยจัดกิจกรรมต่างๆ ผ่านการ
พัฒนาให้เด็กได้มีโอกาสตัดสินใจเลือก ได้รับการตอบสนองตามความต้องการ ได้ฝึก ปฏิบัติโดย สอดคล้อง
คุณธรรมจริยธรรม อย่างต่อเนื่อง
๔) การพัฒนาสังคมนิสัย เป็นการพัฒนาให้เด็กมีลักษณะนิสัยที่ดี แสดงออกอย่าง เหมาะสมและ
อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ช่วยเหลือตนเองในการทำกิจวัตรประจำวัน มีนิสัยรักการ ทำงานระมัดระวัง
ความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่น โดยรวมทางระมัดระวังอันตรายจากคนแปลกหน้าให้เด็ก ได้ปฏิบัติกิ จวัตร
ประจำวันอย่างสม่ำเสมอ รับประทานอาหาร พักผ่อนนอนหลับ ขับถ่าย ทำความสะอาด ร่างกาย เล่นและ
ทำงานร่วมกับผู้อื่น ปฏิบัติตามกฎกติกาข้อตกลงของส่วนรวม เก็บของเข้าที่เมื่อเล่นหรือ ทำงานเสร็จ
๕) การพัฒนาการคิด เป็นการพัฒนาให้เด็กมีความสามารถในการคิดแก้ปัญหา ความคิดรวบยอด
และคิดเชิงเหตุผลทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ โดยจัดกิจกรรมให้เด็กด้านสนทนา อภิปรายแลกเปลี่ยน
ความคิดเห็น เชิญวิทยากรมาพูดคุยกับเด็ก ศึกษานอกสถานที่ เล่นเกมการศึกษา ฝึ กการ แก้ปัญหาใน
ชีวิตประจำวัน ฝึกออกแบบและสร้างชิ้นงาน และทำกิจกรรมทำเป็นกลุ่มย่อย กลุ่มใหญ่และรายบุคคล
๖) การพัฒนาภาษา เป็นการพัฒนาให้เด็กใช้ภาษาสื่อสารถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด ความรู้ความ
เข้าใจในสิ่งต่างๆที่เด็กมีประสบการณ์โดยสามารถตั้งคำถามในสิ่งที่ สงสัยใคร่รู้จัดกิจกรรมทาง ภาษาให้มีความ
หลากหลายในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มุ่งปลูกฝังให้เด็กได้กล้าแสดงออกในการฟัง พูด อ่าน เขียน มี
นิสัยรักการอ่าน และบุคคลแวดล้อมต้องมีแบบอย่างที่ดีในการใช้ภาษา ทั้งนี้ต้องคำนึงถึง หลักการจัดกิจกรรม
ทางภาษาที่เหมาะสมกับเด็กเป็นสำคัญ
๗) การส่งเสริมจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ เป็นการส่ งเสริมให้เด็กมีความคิดริเริ่ม
สร้างสรรค์ ได้ถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกและเห็นความสวยงามของสิ่งต่างๆ โดยจัดกิจกรรมศิลปะ สร้างสรรค์
ดนตรี การเคลื่อนไหวและจังหวะตามจินตนาการ ประดิษฐ์สิ่งต่างๆ อย่างอิสระ เล่นบทบาทสมมุติ เล่นน้ำ เล่น
ทราย เล่นบล็อก และเล่นก่อสร้าง
การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้
การสร้ า งบรรยากาศการเรี ยนรู ้ ม ี ความสำคั ญ เนื ่อ งจากหลั กสู ต รกำหนดว่ า เด็ กจะเรี ยนรู้ ทั้งใน
สภาพแวดล้อมห้องเรียนและนอกห้องเรียน สถานศึกษาจำเป็นต้องสร้างบรรยากาศการเรียนรู้โดยคำนึงถึง
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ธรรมชาติ ความต้องการ ความสนใจ และการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยซึ่งเรียนรู้ผ่านการเล่น เรียนรู้จาก
ประสบการณ์ตรงซึ่งสถานศึกษาจะต้องแสดงภาพของสภาพแวดล้อมในห้องเรียนและนอกห้องเรียนที่มีทั้งด้าน
จิตภาพและกายภาพไว้เป็นแนวทางในการปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมเพื่อให้การพัฒนาเด็กบรรลุจุดมุ่งหมาย ของ
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๐ มีประเด็นสำคัญดังนี้

เล่นอิสระ
สะอาด
อย่างมี
ปลอดภัย
วินยั
สะดวกใน
เรียนรูผ้ ่าน บรรยากาศ การทา
การเล่น การเรียนรู ้ กิจกรรม

ความ มีความ
พร้อมของ
เพียงพอ สถานที่

สภาพแวดล้อมในห้องเรียน
บรรยากาศภายในห้องเรียนด้านจิตภาพของเด็กปฐมวัยต้องมีความปลอดภัย ความสะอาด มีความ
เป็นระเบียบ เด็กมีความเป็นตัวของตัวเอง เด็กรู้สึกอบอุ่น มั่นใจ เป็นมิตร และเป็นสุข สำหรับบรรยากาศด้าน
กายภาพประกอบด้วย
๑. พื้นที่อำนวยความสะดวกเพื่อเด็กและผู้สอน
๑.๑ ที่เก็บแฟ้มผลงานของเด็ก อาจจัดทำเป็นกล่องหรือจัดใส่แฟ้มรายบุคคล
๑.๒ ที่เก็บเครื่องใช้ส่วนตัวของเด็ก อาจทำเป็นช่องตามจำนวนเด็ก
๑.๓ ที่เก็บเครื่องใช้ของผู้สอน เช่น อุปกรณ์การสอน ของส่วนตัวผู้สอน ฯลฯ
๑.๔ ป้ายนิเทศตามหน่วยการสอนหรือสิ่งที่เด็กสนใจ
๒. พื้นที่ปฏิบัติกิจกรรมและการเคลื่อนไหว ต้องกำหนดให้ชัดเจน ควรมีพื้นที่ที่เด็กสามารถจะทำงาน
ได้ด้วยตนเอง และทำกิจกรรมด้วยกันในกลุ่มเล็ก หรือกลุ่มใหญ่ เด็กสามารถเคลื่อนไหวได้อย่างอิสระ จาก
กิจกรรมหนึ่งไปยังกิจกรรมหนึ่งโดยไม่รบกวนผู้อื่น
๓. พื้นที่จัดมุมเล่นหรือมุมประสบการณ์ สามารถจัดได้ตามความเหมาะสมขึ้นอยู่กับสภาพของ
ห้องเรียน จัดแยกส่วนที่ใช้เสียงดังและเงียบออกจากกัน เช่น มุมบล็อกอยู่ห่างจากมุมหนังสือ มุมบทบาทสมมติ
อยู่ติดกับมุมบล็อก มุมวิทยาศาสตร์อยู่ใกล้กับมุมศิลปะ ฯลฯ ที่สำคัญจะต้องมีของเล่น วัสดุอุปกรณ์ในมุมอย่าง
เพียงพอต่อการเรียนรู้ของเด็ก การเล่นในมุมเล่นอย่างเสรี มักถูก กำหนดไว้ในตารางกิจกรรมประจำวัน เพื่อให้
โอกาสเด็กได้เล่นอย่างเสรีประมาณวันละ ๖๐ นาที การจัดมุมเล่นได้แก่ มุมบล็อก มุมหนังสือ มุมบทบาท
สมมุติ มุมวิทยาศาสตร์ มุมศิลปะ ผู้สอนควรคำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้
๓.๑ ในห้องเรียนควรมีมุมเล่นอย่างน้อย ๓ - ๕ มุม ทั้งนี้ขนึ้ อยู่กับพื้นที่ของห้อง
๓.๒ ควรมีการผลัดเปลี่ยนสื่อการเล่นตามมุมบ้างตามความสนใจของเด็ก
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
๓.๓ ควรจัดให้มีประสบการณ์ที่เด็กได้เรียนรู้ไปแล้วปรากฏอยู่ในมุมเล่น เช่น เด็กเรียนรู้เรื่อง ผีเสื้อ
ผู้สอนอาจจัดให้มีการเลี้ยงหนอน หรือมีผีเ สื้อจำลอง ใส่กล่องไว้ให้เด็กดูในมุมธรรมชาติศึกษาหรือมุม
วิทยาศาสตร์ ฯลฯ
๓.๔ ควรเปิดโอกาสให้เด็กมีส่วนร่วมในการจัดมุมเล่น ทั้งนี้เพื่อจูงใจให้เด็กรู้สึก เป็นเจ้าของ
อยากรู้ อยากเข้าเล่น
๓.๕ ควรเสริมสร้างวินัยให้กับเด็ก โดยมีข้อตกลงร่วมกันว่าเมื่อเล่นเสร็จแล้วจะต้องจัดเก็บ อุปกรณ์
ทุกอย่างเข้าที่ให้เรียบร้อย
สภาพแวดล้อมนอกห้องเรียน
สภาพแวดล้อมนอกห้องเรียน คือ การจัดสภาพแวดล้อมภายในอาคารบริเวณรอบๆ โรงเรียนรวมทั้ง
จัดสนามเด็กเล่นพร้อมเครื่องเล่นสนาม ระวังรักษาความปลอดภัยภายในบริเวณโรงเรียนและบริเวณรอบ นอก
โรงเรียน ดูแลรักษาความสะอาด ปลูกต้นไม้ให้ความร่มรื่นรอบๆ บริเวณสถานศึกษา สิ่งต่างๆ เหล่านี้เป็นส่วน
หนึ่งที่ส่งผลต่อการเรียนรู้และพัฒนาการของเด็ก
บริเวณสนามเด็กเล่น
ต้องจัดให้สอดคล้องกับหลักสูตร ดังนี้
สนามเด็กเล่น ควรมีพื้นผิวหลายประเภท เช่น ดิน ทราย หญ้า พื้นที่สำหรับเล่นของเล่นที่มีล้อ รวมทั้ง
ที่ร่ม ที่โล่งแจ้ง พื้นดินสำหรับขุด ที่เล่นน้ำ บ่อทราย พร้อมอุปกรณ์ประกอบการเล่น เครื่องเล่นสนามสำหรับ
ปีนป่าย ทรงตัว ฯลฯ ทั้งนี้ต้องไม่ติดกับบริเวณที่มีอันตราย ต้องหมั่นตรวจตราเครื่องเล่นให้อยู่ในสภาพแข็งแรง
ปลอดภัยอยู่เสมอ และหมั่นดูแลเรื่องความสะอาด ที่นั่งเล่นพักผ่อน จัดที่นั่งเล่นไว้ใต้ต้นไม้มีร่มเงา อาจใช้
กิจกรรมกลุ่มย่อยๆ หรือกิจกรรมที่ต้องการความสงบ หรืออาจจัดเป็นลานนิ ทรรศการให้ความรู้แก่เด็กและ
ผู้ปกครอง
บริเวณธรรมชาติ
ปลูกไม้ดอก ไม้ประดับ พืชผักสวนครัว หากบริเวณสถานศึกษามีไม่มากนักอาจปลูกพืชในกระบะหรือ
กระถาง
สื่อและแหล่งเรียนรู้
สื่อประกอบการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และ
สติปัญญา ควรมีสื่อทั้งที่เป็นประเภท ๒ มิติ และ/หรือ ๓ มิติ ที่เป็นสื่อของจริง สื่อธรรมชาติ สื่อที่อยู่ใกล้
ตัวเด็ก สื่อสะท้อนวัฒนธรรม สื่อที่ปลอดภัยต่อตัวเด็ก สื่อเพื่ อพัฒนาเด็กในด้านต่างๆให้ครบทุกด้านสื่อที่เอื้อ
ให้เด็กเรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้งห้า โดยการจัดการใช้สื่อเริ่มต้นจาก สื่อของจริง ภาพถ่าย ภาพโครง
ร่าง และ สัญลักษณ์ ทั้งนี้การใช้สื่อต้องเหมาะสมกับวัย วุฒิภาวะ ความแตกต่างระหว่างบุคคล ความสนใจ
และความต้องการของเด็กที่หลากหลาย ตัวอย่างสื่อประกอบการจัดกิจกรรม มีดังนี้
กิจกรรมเสรี /การเล่นตามมุม
๑. มุมบทบาทสมมติ อาจจัดเป็นมุมเล่น ดังนี้
๑.๑ มุมบ้าน
- ของเล่นเครื่องใช้ในครัวขนาดเล็ก หรือของจำลอง เช่น เตา กระทะ ครก กาน้ำ เขียง มีด
พลาสติก หม้อ จาน ช้อน ถ้วยชาม กะละมัง ฯลฯ
- เครื่องเล่นตุ๊กตา เสื้อผ้าตุ๊กตา เตียง เปลเด็ก ตุ๊กตา
- เครื่องแต่งบ้านจำลอง เช่น ชุดรั บแขก โต๊ะเครื่องแป้ง หมอนอิง กระจกขนาดเห็นเต็มตัวหวี
ตลับแป้ง ฯลฯ
- เครื่องแต่งกายบุคคลอาชีพต่าง ๆ ที่ใช้แล้ว เช่น ชุดเครื่องแบบทหาร ตำรวจ
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ชุดเสื้อผ้าผู้ใหญ่ชายและหญิง รองเท้า กระเป๋าถือที่ไม่ใช้แล้ว ฯลฯ
- โทรศัพท์ เตารีดจำลอง ที่รีดผ้าจำลอง
- ภาพถ่ายและรายการอาหาร
๑.๒ มุมหมอ
- เครื่องเล่นจำลองแบบเครื่องมือแพทย์และอุปกรณ์การรักษาผู้ป่วย เช่น หูฟัง เสื้อคลุมหมอ ฯลฯ
- อุปกรณ์สำหรับเลียนแบบการบันทึกข้อมูลผู้ป่วย เช่น กระดาษ ดินสอ ฯลฯ
๑.๓ มุมร้านค้า
- กล่องและขวดผลิตภัณฑ์ต่างๆที่ใช้แล้ว
- อุปกรณ์ประกอบการเล่น เช่น เครื่องคิดเลข ลูกคิด ธนบัตรจำลอง ฯลฯ
๒. มุมบล็อก
- ไม้บล็อกหรือแท่งไม้ที่มีขนาดและรูปทรงต่างๆกัน จำนวนตั้งแต่ ๕๐ ชิ้นขึ้นไป
- ของเล่นจำลอง เช่น รถยนต์ เครื่องบิน รถไฟ คน สัตว์ ต้นไม้ ฯลฯ
- ภาพถ่ายต่างๆ
- ที่จัดเก็บไม้บล็อกหรือแท่งไม้อาจเป็นชั้น ลังไม้หรือพลาสติก แยกตามรูปทรง ขนาด
๓. มุมหนังสือ
- หนังสือภาพนิทาน สมุดภาพ หนังสือภาพทีม่ ีคำและประโยคสั้น ๆพร้อมภาพ
- ชั้นหรือที่วางหนังสือ
- อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในการสร้างบรรยากาศการอ่าน เช่น เสื่อ พรม หมอน ฯลฯ
- สมุดเซ็นยืมหนังสือกลับบ้าน
- อุปกรณ์สำหรับการเขียน
- อุปกรณ์เสริม เช่น เครื่องเล่นเทป ตลับเทปนิทานพร้อมหนังสือนิทาน หูฟัง ฯลฯ
๔. มุมวิทยาศาสตร์ หรือมุมธรรมชาติศึกษา
- วัสดุต่าง ๆ จากธรรมชาติ เช่น เมล็ดพืชต่าง ๆ เปลือกหอย ดิน หิน แร่ ฯลฯ
- เครื่องมือเครื่องใช้ในการสำรวจ สังเกต ทดลอง เช่น แว่นขยาย แม่เหล็ก เข็มทิศ เครื่องชั่ง ฯลฯ
๕.มุมอาเซียน
- ธงของแต่ละประเทศในกลุ่มประเทศอาเซียน
- คำกล่าวทักทายของแต่ละประเทศ
- ภาพการแต่งกายประจำชาติในกลุ่มประเทศอาเซียน
กิจกรรมสร้างสรรค์ ควรมีวัสดุ อุปกรณ์ ดังนี้
๑. การวาดภาพและระบายสี
- สีเทียนแท่งใหญ่ สีไม้ สีชอล์ก สีน้ำ
- พู่กันขนาดใหญ่ (ประมาณเบอร์ ๑๒ )
- กระดาษ
- เสื้อคลุม หรือผ้ากันเปื้อน
๒. การเล่นกับสี
- การเป่าสี มี กระดาษ หลอดกาแฟ สีน้ำ
- การหยดสี มี กระดาษ หลอดกาแฟ พู่กัน สีน้ำ
- การพับสี มี กระดาษ สีน้ำ พู่กัน
- การเทสี มี กระดาษ สีน้ำ
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
- การละเลงสี มี กระดาษ สีน้ำ แป้งเปียก
๓. การพิมพ์ภาพ
- แม่พิมพ์ต่าง ๆ จากของจริง เช่น นิ้วมือ ใบไม้ ก้านกล้วย ฯลฯ
- แม่พิมพ์จากวัสดุอื่น ๆ เช่น เชือก เส้นด้าย ตรายาง ฯลฯ
- กระดาษ ผ้าเช็ดมือ สีโปสเตอร์ (สีน้ำ สีฝุ่น ฯลฯ)
๔. การปั้น เช่น ดินน้ำมัน ดินเหนียว แป้งโดว์ แผ่นรองปั้น แม่พิมพ์รูปต่าง ๆ ไม้นวดแป้ง ฯลฯ
๕. การพับ ฉีก ตัดปะ เช่น กระดาษ หรือวัสดุอื่นๆที่จะใช้พับ ฉีก ตัด ปะ กรรไกรขนาดเล็กปลายมน กาว
น้ำหรือแป้งเปียก ผ้าเช็ดมือ ฯลฯ
๖. การประดิษฐ์เศษวัสดุ เช่น เศษวัสดุต่าง ๆ มีกล่องกระดาษ แกนกระดาษ เศษผ้า เศษไหม กาว
กรรไกร สี ผ้าเช็ดมือ ฯลฯ
๗. การร้อย เช่น ลูกปัด หลอดกาแฟ หลอดด้าย ฯลฯ
๘. การสาน เช่น กระดาษ ใบตอง ใบมะพร้าว ฯลฯ
๙. การเล่นพลาสติกสร้างสรรค์ พลาสติกชิ้นเล็ก ๆ รูปทรงต่าง ๆ ผู้เล่นสามารถนำมาต่อเป็นรูปแบบ
ต่าง ๆ ตามความต้องการ
๑๐. การสร้างรูป เช่น จากกระดานปักหมุด จากแป้นตะปูที่ใช้หนังยางหรือเชือกผูกดึงให้เป็นรูปร่างต่าง ๆ
เกมการศึกษา ตัวอย่างสื่อประเภทเกมการศึกษามีดังนี้
๑. เกมจับคู่
- จับคู่รูปร่างที่เหมือนกัน
- จับคู่ภาพเงา
- จับคู่ภาพที่ซ่อนอยู่ในภาพหลัก
- จับคู่สิ่งที่มีความสัมพันธ์กัน สิ่งที่ใช้คู่กัน
- จับคู่ภาพส่วนเต็มกับส่วนย่อย
- จับคู่ภาพกับโครงร่าง
- จับคู่ภาพชิ้นส่วนที่หายไป
- จับคู่ภาพที่เป็นประเภทเดียวกัน
- จับคู่ภาพที่ซ่อนกัน
- จับคู่ภาพสัมพันธ์แบบตรงกันข้าม
- จับคู่ภาพที่สมมาตรกัน
๒. เกมภาพตัดต่อ
- ภาพตัดต่อที่สัมพันธ์กับหน่วยการเรียนต่าง ๆ เช่น ผลไม้ ผัก ฯลฯ
๓. เกมจัดหมวดหมู่
- ภาพสิ่งต่าง ๆ ที่นำมาจัดเป็นพวก ๆ
- ภาพเกี่ยวกับประเภทของใช้ในชีวิตประจำวัน
- ภาพจัดหมวดหมู่ตามรูปร่าง สี ขนาด รูปทรงเรขาคณิต
๔. เกมวางภาพต่อปลาย (โดมิโน)
- โดมิโนภาพเหมือน
- โดมิโนภาพสัมพันธ์
๕. เกมเรียงลำดับ
- เรียงลำดับภาพเหตุการณ์ต่อเนื่อง
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
- เรียงลำดับขนาด
๖. เกมศึกษารายละเอียดของภาพ (ล็อตโต้)
๗. เกมจับคู่แบบตารางสัมพันธ์ (เมตริกเกม)
๘. เกมพื้นฐานการบวก
กิจกรรมเสริมประสบการณ์ /กิจกรรมในวงกลม ตัวอย่างสื่อมีดังนี้
๑. สื่อของจริงที่อยู่ใกล้ตัวและสื่อจากธรรมชาติหรือวัสดุท้องถิ่น เช่น ต้นไม้ ใบไม้ เปลือกหอย เสื้อผ้าฯลฯ
๒. สื่อที่จำลองขึ้น เช่น ลูกโลก ตุ๊กตาสัตว์ ฯลฯ
๓. สื่อประเภทภาพ เช่น ภาพพลิก ภาพโปสเตอร์ หนังสือภาพ ฯลฯ
๔. สื่อเทคโนโลยี เช่น วิทยุ เครื่องบันทึกเสียง เครื่องขยายเสียง โทรศัพท์
กิจกรรมกลางแจ้ง ตัวอย่างสื่อมีดังนี้
๑. เครื่องเล่นสนาม เช่น เครื่องเล่นสำหรับปีนป่าย เครื่องเล่นประเภทล้อเลื่อน ฯลฯ
๒. ที่เล่นทราย มีทรายละเอียด เครื่องเล่นทราย เครื่องตวง ฯลฯ
๓. ที่เล่นน้ำ มีภาชนะใส่น้ำหรืออ่างน้ำวางบนขาตั้งที่มั่นคง ความสูงพอที่เด็กจะยืนได้พอดี เสื้อคลุมหรือ
ผ้ากันเปื้อนพลาสติก อุปกรณ์เล่นน้ำ เช่น ถ้วยตวง ขวดต่างๆ สายยาง กรวยกรอกน้ำ ตุ๊กตายาง ฯลฯ
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ ตัวอย่างสื่อมีดังนี้
๑. เครื่องเคาะจังหวะ เช่น ฉิ่ง เหล็กสามเหลี่ยม กรับ รำมะนา กลอง ฯลฯอุปกรณ์ประกอบการ
เคลื่อนไหว เช่น หนังสือพิมพ์ ริบบิ้น แถบผ้า ห่วง
๒. หวาย ถุงทราย ฯลฯ
การเลือกสื่อ มีวิธีการเลือกสื่อ ดังนี้
๑. เลือกให้ตรงกับจุดมุ่งหมายและเรื่องที่สอน
๒. เลือกให้เหมาะสมกับวัยและความสามารถของเด็ก
๓. เลือกให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของท้องถิ่นที่เด็กอยู่หรือสถานภาพของสถานศึกษา
๔. มีวิธีการใช้ง่าย และนำไปใช้ได้หลายกิจกรรม
๕. มีความถูกต้องตามเนื้อหาและทันสมัย
๖. มีคุณภาพดี เช่น ภาพชัดเจน ขนาดเหมาะสม ไม่ใช้สีสะท้อนแสง
๗. เลือกสื่อที่เด็กเข้าใจง่ายในเวลาสั้น ๆ ไม่ซับซ้อน
๘. เลือกสื่อที่สามารถสัมผัสได้
๙. เลือกสื่อเพื่อใช้ฝึก และส่งเสริมการคิดเป็น ทำเป็น และกล้าแสดงความคิดเห็นด้วยความมั่นใจ
การจัดหาสื่อ สามารถจัดหาได้หลายวิธี คือ
๑. จัดหาโดยการขอยืมจากแหล่งต่างๆ เช่น ศูนย์สื่อของสถานศึกษาของรัฐบาล หรือ สถานศึกษาเอกชน
๒. จัดซื้อสื่อและเครื่องเล่นโดยวางแผนการจัดซื้อตามลำดับความจำเป็น เพื่อให้สอดคล้องกับงบประมาณที่
ทางสถานศึกษาสามารถจัดสรรให้และสอดคล้องกับแผนการจัดประสบการณ์
๓. ผลิตสื่อและเครื่องเล่นขึ้นใช้เองโดยใช้วัสดุที่ปลอดภัยและหาง่ายเป็นเศษวัสดุเหลือใช้ ที่มีอยู่ในท้องถิ่น
นั้นๆ เช่น กระดาษแข็งจากลังกระดาษ รูปภาพจากแผ่นป้ายโฆษณา รูปภาพจากหนังสือนิตยสารต่าง ๆ เป็นต้น
ขั้นตอนการดำเนินการผลิตสื่อสำหรับเด็ก มีดังนี้
๑. สำรวจความต้องการของการใช้สื่อให้ตรงกับจุดประสงค์ สาระการเรียนรู้และกิจกรรมที่จัด
๒.วางแผนการผลิต โดยกำหนดจุดมุ่งหมายและรูปแบบของสื่อให้เหมาะสมกับวัยและความสามารถของเด็ก
สื่อนั้นจะต้องมีความคงทนแข็งแรง ประณีตและสะดวกต่อการใช้
๓. ผลิตสื่อตามรูปแบบที่เตรียมไว้
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
๔. นำสื่อไปทดลองใช้หลาย ๆ ครั้งเพื่อหาข้อดี ข้อเสียจะได้ปรับปรุงแก้ไขให้ดียิ่งขึ้น
๕. นำสื่อที่ปรับปรุงแก้ไขแล้วไปใช้จริง
การใช้สื่อ ดำเนินการดังนี้
๑.การเตรียมพร้อมก่อนใช้สื่อ มีขั้นตอน คือ
๑.๑ เตรียมตัวผู้สอน
๑.๒ เตรียมตัวเด็ก
- ศึกษาความรู้พื้นฐานเดิมของเด็กให้สัมพันธ์กับเรื่องที่จะสอน
- เร้าความสนใจเด็กโดยใช้สื่อประกอบการเรียนการสอน
- ให้เด็กมีความรับผิดชอบ รู้จักใช้สื่ออย่างสร้างสรรค์ ไม่ใช่ทำลายเล่นแล้วเก็บให้ถูกที่
๑.๓ เตรียมสื่อให้พร้อมก่อนนำไปใช้
- จัดลำดับการใช้สื่อว่าจะใช้อะไรก่อนหรือหลัง เพื่อความสะดวกในการสอน
- ตรวจสอบและเตรียมเครื่องมือให้พร้อมที่จะใช้ได้ทันที
- เตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ร่วมกับสื่อ
๒.การนำเสนอสื่อ เพื่อให้บรรลุผลโดยเฉพาะใน กิจกรรมเสริมประสบการณ์ / กิจกรรมวงกลม / กิจกรรม
กลุ่มย่อย ควรปฏิบัติ ดังนี้
๒.๑ สร้างความพร้อมและเร้าความสนใจให้เด็กก่อนจัดกิจกรรมทุกครั้ง
๒.๒ ใช้สื่อตามลำดับขั้นของแผนการจัดกิจกรรมที่กำหนดไว้
๒.๓ ไม่ควรให้เด็กเห็นสื่อหลายๆชนิดพร้อมๆกัน เพราะจะทำให้เด็กไม่สนใจกิจกรรมที่สอน
๒.๔ ผู้สอนควรยื น อยู่ ด้ า นข้ า งหรือด้านหลังของสื่อที่ใช้กับเด็ก ผู้สอนไม่ควรยืน หันหลังให้เด็ก จะต้อง
พูดคุยกับเด็กและสังเกตความสนใจ ของเด็ก พร้อมทั้งสำรวจข้อบกพร่องของสื่อที่ใช้ เพื่อนำไปปรับปรุงแก้ไข
ให้ดีขึ้น
๒.๕ เปิดโอกาสให้เด็กได้ร่วมใช้สื่อ
ข้อควรระวังในการใช้สื่อการเรียนการสอน การใช้สื่อในระดับปฐมวัยควรระวังในเรื่องต่อไปนี้
๑.วัสดุที่ใช้ ต้องไม่มีพิษ ไม่หัก และแตกง่าย มีพื้นผิวเรียบ ไม่เป็นเสี้ยน
๒.ขนาด ไม่ควรมีขนาดใหญ่เกินไป เพราะยากต่อการหยิบยก อาจจะตกลงมาเสียหาย แตก เป็นอันตราย
ต่อเด็กหรือใช้ไม่สะดวก เช่น กรรไกรขนาดใหญ่ โต๊ะ เก้าอี้ที่ใหญ่และสูงเกินไป และไม่ควรมีขนาดเล็กเกินไป
เด็กอาจจะนำไปอมหรือกลืนทำให้ติดคอหรือไหลลงท้องได้ เช่น ลูกปัดเล็ก ลูกแก้วเล็ก ฯลฯ
๓. รูปทรง ไม่เป็นรูปทรงแหลม รูปทรงเหลี่ยม เป็นสัน
๔. น้ำหนัก ไม่ควรมีน้ำหนักมาก เพราะเด็กยกหรือหยิบไม่ไหว อาจจะตกลงมาเป็นอันตรายต่อตัวเด็ก
๕. สื่อหลีกเลี่ยงสื่อที่เป็นอันตรายต่อตัวเด็ก เช่น สารเคมี วัตถุไวไฟ ฯลฯ
๖. สี หลีกเลี่ยงสีที่เป็นอันตรายต่อสายตา เช่น สีสะท้อนแสง ฯลฯ
การประเมินการใช้สื่อ
ควรพิจารณาจากองค์ประกอบ 3 ประการ คือ ผู้สอน เด็ก และสื่อ เพื่อจะได้ทราบว่าสื่อนั้นช่วยให้เด็ก
เรียนรู้ได้มากน้อยเพียงใด จะได้นำมาปรับปรุงการผลิตและการใช้สื่อให้ดียิ่งขึ้น โดยใช้วิธีสังเกต ดังนี้
๑. สื่อนั้นช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้เพียงใด
๒. เด็กชอบสื่อนั้นเพียงใด
๓. สื่อนั้นช่วยให้การสอนตรงกับจุดประสงค์หรือไม่ ถูกต้องตามสาระการเรียนรู้และทันสมัยหรือไม่
๔. สื่อนั้นช่วยให้เด็กสนใจมากน้อยเพียงใด เพราะเหตุใด
การเก็บ รักษา และซ่อมแซมสื่อ
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
การจัดเก็บสื่อเป็นการส่งเสริมให้เด็กฝึกการสังเกต การเปรียบเทียบ การจัดกลุ่ม ส่งเสริมความรับผิดชอบ
ความมีน้ำใจ ช่วยเหลือ ผู้สอนไม่ควรใช้การเก็บสื่อเป็นการลงโทษเด็ก โดยดำเนินการดังนี้
๑. เก็บสื่อให้เป็นระเบียบและเป็นหมวดหมู่ตามลักษณะประเภทของสื่อ สื่อที่เหมือนกันจัดเก็บหรือจัด
วางไว้ด้วยกัน
๒. วางสื่อในระดับสายตาของเด็ก เพื่อให้เด็กหยิบใช้ จัดเก็บได้ด้วยตนเอง
๓. ภาชนะที่จัดเก็บสื่อควรโปร่งใส เพื่อให้เด็กมองเห็นสิ่งที่อยู่ภายในได้ง่ายและควรมีมือจับเพื่อให้สะดวก
ในการขนย้าย
๔. ฝึกให้เด็กรู้ความหมายของรูปภาพหรือสีที่เป็นสัญลักษณ์แทนหมวดหมู่ ประเภทสื่อ เพื่อเด็กจะได้
เก็บเข้าที่ได้ถูกต้อง การใช้สัญลักษณ์ ควรมีความหมายต่อการเรียนรู้ของเด็ก สัญลักษณ์ควรใช้สื่อของจริง
ภาพถ่ายหรือสำเนา ภาพวาด ภาพโครงร่างหรือภาพประจุด หรือบัตรคำติดคู่กับสัญลักษณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง
๕. ตรวจสอบสื่อหลังจากที่ใช้แล้วทุกครั้งว่ามีสภาพสมบูรณ์ จำนวนครบถ้วนหรือไม่
๖. ซ่อมแซมสื่อชำรุด และทำเติมส่วนที่ขาดหายไปให้ครบชุด
การพัฒนาสื่อ
การพัฒนาสื่อเพื่อใช้ประกอบการจัดกิจกรรมในระดับปฐมวัยนั้น ก่อนอื่นควรได้สำรวจข้อมูล สภาพ
ปัญหาต่างๆของสื่อทุกประเภทที่ใช้อยู่ว่ามีอะไรบ้างที่จะต้องปรับปรุงแก้ไข เพื่อจะได้ปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับ
ความต้องการ
แนวทางการพัฒนาสื่อ ควรมีลักษณะเฉพาะ ดังนี้
๑. ปรับปรุงสื่อให้ทันสมัยเข้ากับเหตุการณ์ ใช้ได้สะดวก ไม่ซับซ้อนเกินไป เหมาะสมกับวัยของเด็ก
๒. รักษาความสะอาดของสื่อ ถ้าเป็นวัสดุที่ล้างน้ำได้ เมื่อใช้แล้วควรได้ล้างเช็ด หรือ ปัดฝุ่นให้สะอาด
เก็บไว้เป็นหมวดหมู่ วางเป็นระเบียบหยิบใช้ง่าย
๓. ถ้าเป็นสื่อที่ผู้สอนผลิตขึ้นมาใช้เองและผ่านการทดลองใช้มาแล้ว ควรเขียนคู่มือประกอบการใช้สื่อ
นั้น โดยบอกชื่อสื่อ ประโยชน์และวิธีใช้สื่อ รวมทั้งจำนวนชิ้นส่วนของสื่อในชุดนั้นและเก็บคู่มือไว้ในซองหรือถุง
พร้อมสื่อที่ผลิต
๔. พัฒนาสื่อที่สร้างสรรค์ ใช้ได้เอนกประสงค์ คือ เป็นได้ทั้งสื่อเสริมพัฒนาการ
และเป็นของเล่นสนุกสนานเพลิดเพลิน
แหล่งการเรียนรู้
โรงเรียนบ้านหน้าควนลัง(ราษฎร์สามัคคี) ได้แบ่งประเภทของแหล่งเรียนรู้ ได้ดังนี้
๑. แหล่งเรียนรู้ประเภทบุคคล ได้แก่ วิทยากรหรือผู้เชียวชาญเฉพาะด้าน ที่จัดหามาเพื่อให้ความรู้
ความเข้าใจอย่างกระจ่างแก่เด็กโดยสอดคล้องกับเนื้อหาสาระการเรียนรู้ต่างๆ ได้แก่
- เจ้าหน้าที่ใน อบต.
- เจ้าหน้าที่สาธารณสุข
- พระสงฆ์
- พ่อค้า – แม่ค้า
- เจ้าหน้าที่ตำรวจ
- ผู้ปกครอง
- ช่างตัดผม / ช่างเสริมสวย
- ครู
- ภารโรง
- ฯลฯ
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
๒. แหล่ ง เรี ย นรู ้ ภ ายในชุ ม ชน ได้ แ ก่ แหล่ ง ข้ อ มู ล หรื อ แหล่ ง วิ ท ยาการต่ า งๆ ที ่ อ ยู ่ ใ นชุ ม ชน มี
ความสัมพันธ์กับเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมและประเพณีช่วยให้เด็กสามารถเชื่อมโยงโลกภายในและโล ก
ภายนอก (inner world & outer world) ได้ และสอดคล้องกับวิถีการดำเนินชีวิตของเด็กปฐมวัย ได้แก่
1. วัดท่าเคียน
2. ศาลาทวดลัง
3. พะตงเครื่องปั้นดินเผา
4. วัดหาดใหญ่ในสิตาราม
5. มัสยิดควนสันติ
6. อุทยานแหล่งเรียนรู้ TK Park บ้านพรุ
๓. สถานที่สำคัญต่างๆ ได้แก่ แหล่งความรู้สำคัญต่างๆ ที่เด็กให้ความสนใจ ได้แก่
- พิพิธภัณฑ์ศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านคลองหอยโข่ง
- พิพิธภัณฑ์มายากล
- ศูนย์การเรียนรู้สู่อาเซียน
- ศูนย์เรียนรู้การร้อยลูกปัดมโนราห์
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา
- ภาคีคนรักเมืองสงขลาสมาคม
- พิพิธภัณฑ์ตราไปรษณียากร หาดใหญ่
- สงขลาอควาเรียม
- อุทยานการเรียนรู้นครหาดใหญ่
- อุทยานการเรียนรู้บ้านพรุ
- หอศิลป์นครหาดใหญ่ เฉลิมพระเกียรติฯ
- ห้องสมุดประชาชนเทศบาลนครหาดใหญ่
- ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ดาราศาสตร์นครหาดใหญ่
- ห้องสมุดประชาชนอำเภอบางกล่ำ
การประเมินพัฒนาการ
การประเมินพัฒนาการเด็กอายุ ๓ – ๖ ปี เป็นการประเมินพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ
สังคม และสติปัญญาของเด็ก โดยถือเป็นกระบวนการต่อตนเอง และเป็น ส่วนหนึ่งของกิจกรรมปกติที่จัดให้
เด็กในแต่ละวัน ผลที่ได้จากการสังเกตพัฒนาการเด็กต้องนำมาจัดทำสารนิทัศน์หรือจัดทำข้อมูลหลักฐานหรือ
เอกสารอย่างเป็นระบบ ด้วยการวบรวมผลงานสำหรับเด็กเป็นรายบุคคลที่สามารถบอกเรื่องราวหรือประสบ
การณ์ที่เด็กได้รับว่าเด็กเกิดการเรียนรู้และมีความก้าวหน้าเพียงใด ทั้งนี้ ให้นำข้อมูลผลการประเมินพัฒนาการ
เด็กมาพิจารณา ปรับปรุงวางแผล การจัดกิจกรรม และส่งเสริมให้เด็กแต่ละคนได้รับ การพัฒนาตามจุดหมาย
ของหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง การประเมินพัฒนาการควรยึดหลัก ดังนี้
1. วางแผนการประเมินพัฒนาการอย่างเป็นระบบ
2. ประเมินพัฒนาการเด็กครบทุกด้าน
3. ประเมินพัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคลอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่องตลอดปี
4. ประเมินพัฒนาการตามสภาพจริงจากกิจกรรมประจำวันด้วยเครื่องมือและวิธีการที่หลากหลาย ไม่
ควรใช้แบบทดสอบ
5. สรุปผลการประเมิน จัดทำข้อมูลและนำผลการประเมินไปใช้พัฒนาเด็ก
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
สำหรับวิธีการประเมินที่เ หมาะสมและควรใช้กับเด็กอายุ ๓ – ๖ ปี ได้แก่ การสังเกต การบันทึก
พฤติกรรม การสนทนากับเด็ก การสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลจากผลงานเด็กที่เก็บอย่างมีระบบ
แนวปฏิบัติการประเมินพัฒนาการ
การประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยเป็นกิจกรรมที่สอดแทรกอยู่ในการจัดประสบการณ์ทุกขั้ นตอนโดย
เริ่มตั้งแต่การประเมินพฤติกรรมของเด็กก่อนการจัดประสบการณ์ การประเมินพฤติกรรมเด็กขณะปฏิบัติ
กิจกรรม และการประเมินพฤติกรรมเด็กเมื่อสิ้นสุดการปฏิบัติกิจกรรม ทั้งนี้ พฤติ กรรมการเรียนรู้และ
พัฒนาการด้านต่างๆ ของเด็กที่ได้รับการประเมินนั้นต้องเป็นไปตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้
และสภาพที่พึงประสงค์ของหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัยที่ผู้สอนวางแผนและออกแบบไว้ การประเมิน
พัฒนาการจึงเป็นเครื่องมือสำคัญที่จะช่วยให้การเรี ยนรู้ของเด็กบรรลุตามเป้าหมายเพื่อนำผลการประเมินไป
ปรับปรุง พัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และใช้เป็นข้อมูลสำหรับการพัฒนาเด็กต่อไป สถานศึกษาควร
มีกระบวนการประเมินพัฒนาการและการจัดการอย่างเป็นระบบสรุปผลการประเมินพัฒนาการที่ตรงตาม
ความรู้ ความสามารถ ทักษะและพฤติกรรมที่แท้จริงของเด็กสอดคล้องตามหลักการประเมินพัฒนาการ รวมทั้ง
สะท้อนการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง แนวปฏิบัติการ
ประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยของสถานศึกษา มีดังนี้
๑. หลั ก การสำคั ญ ของการดำเนิ น การประเมิ น พั ฒ นาการตามหลั ก สู ต รการศึ ก ษาปฐมวั ย พุ ท ธศั ก ราช
๒๕๖๐
สถานศึ ก ษาที่ จั ด การศึ ก ษาปฐมวั ย ควรคำนึ ง ถึ ง หลั ก สำคั ญ ของการดำเนิ น งานการประเมิ น
พัฒนาการตามหลั กสู ตรการศึก ษาปฐมวัย สำหรับ เด็กปฐมวัยอายุ ๓-๖ ปี ดังนี้
๑.๑ ผู้ ส อนเป็ น ผู้ รั บ ผิ ด ชอบการประเมิ น พั ฒ นาการเด็ ก ปฐมวั ย โดยเปิ ด โอกาสให้ ผู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง
มีส่วนร่วม
๑.๒ การประเมิ น พั ฒ นาการ มี จุ ด มุ่ ง หมายของการประเมิ น เพื่ อ พั ฒ นาความก้ า วหน้ า ของเด็ ก
และสรุปผลการประเมิ นพั ฒนาการของเด็ก
๑.๓ การประเมิ น พั ฒ นาการต้ อ งมี ค วามสอดคล้ อ งและครอบคลุ ม มาตรฐานคุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง
ประสงค์ ตัวบ่งชี้ สภาพที่ พึงประสงค์แ ต่ล ะวั ยซึ่ ง กำหนดไว้ในหลั กสูตรสถานศึ กษาปฐมวั ย
๑.๔ การประเมิ น พั ฒ นาการเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของกระบวนการจั ด ประสบการณ์ ก ารเรี ย นรู้ ต้ อ ง
ดำเนิ น การด้ ว ยเทคนิ ค วิ ธี ก ารที่ ห ลากหลาย เพื่ อ ให้ ส ามารถประเมิ น พั ฒ นาการเด็ ก ได้ อ ย่ า งรอบด้ า น
สมดุ ล ทั้ ง ด้ า นร่ า งกาย อารมณ์ จิ ต ใจ สั ง คม และสติ ปั ญ ญา รวมทั้ ง ระดั บ อายุ ข องเด็ ก โดยตั้ ง อยู่ บ น
พื้นฐานของความเที่ ย งตรง ยุติธรรมและเชื่อ ถือได้
๑.๕ การประเมิ น พั ฒ นาการพิ จ ารณาจากพั ฒ นาการตามวั ย ของเด็ ก การสั ง เกตพฤติ ก รรมการ
เรี ย นรู้ แ ละการร่ ว มกิ จ กรรม ควบคู่ ไ ปในกระบวนการจั ด ประสบการณ์ ก ารเรี ย นรู้ ต ามความเหมาะสม
ของแต่ละระดับอายุ และรูปแบบการจัดการศึกษา และต้ องดำเนินการประเมิ นอย่า งต่ อ เนื่อ ง
๑.๖ การประเมิ น พั ฒ นาการต้ อ งเปิ ด โอกาสให้ ผ ู ้ ม ี ส ่ ว นเกี ่ ย วข้ อ งทุ ก ฝ่ า ยได้ ส ะท้ อ นและ
ตรวจสอบผลการประเมิ น พั ฒ นาการ
๑.๗ สถานศึ ก ษาควรจั ด ทำเอกสารบั น ทึ ก ผลการประเมิ น พั ฒ นาการของเด็ ก ปฐมวั ย ใน
ระดั บ ชั้ น เรี ย นและระดั บ สถานศึ ก ษา เช่ น แบบบั น ทึ ก การประเมิ น พั ฒ นาการตามหน่ ว ยการจั ด
ประสบการณ์ สมุ ด บั น ทึ ก ผลการประเมนพั ฒ นาการประจำชั้ น เพื่ อ เป็ น หลั ก ฐานการประเมิ น และ
รายงานผลพั ฒนาการและสมุ ดรายงานประจำตั ว นั ก เรี ยน เพื่อเป็นการสื่ อ สารข้ อมูล การพั ฒ นาการเด็ ก
ระหว่างสถานศึกษากั บบ้ าน
๒. ขอบเขตของการประเมิ นพั ฒนาการ
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
หลั ก สู ต รการศึ ก ษาปฐมวั ย พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๖๐ได้ ก ำหนดเป้ า หมายคุ ณ ภาพของเด็ ก ปฐมวั ย
เป็นมาตรฐานคุณลั กษณะที่ พึ ง ประสงค์ ซึ่ งถือเป็ นคุณ ภาพลัก ษณะที่พึ ง ประสงค์ที่ ต้ อ งการให้ เกิด ขึ้ น ตั ว
เด็ ก เมื่ อ จบหลั ก สู ต รการศึ ก ษาปฐมวั ย คุ ณ ลั ก ษณะที่ ร ะบุ ไว้ ใ นมาตรฐานคุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงค์ ถื อ
เป็ น สิ่ ง จำเป็ น สำหรั บ เด็ ก ทุ ก คน ดั ง นั้ น สถานศึ ก ษาและหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งมี ห น้ า ที่ แ ละความ
รั บ ผิ ด ชอบในการจั ด การศึ ก ษาเพื่ อ พั ฒ นาเด็ ก ให้ มี คุ ณ ภาพมาตรฐานที่ พึ ง ประสงค์ ก ำหนด ถื อ เป็ น
เครื่ อ งมื อ สำคั ญ ในการขั บ เคลื่ อ นและพั ฒ นาคุ ณ ภาพการศึ ก ษาปฐมวั ย แนวคิ ด ดั ง กล่ า วอยู่ บ นฐาน
ความเชื่ อ ที่ ว่ า เด็ ก ทุ ก คนสามารถพั ฒ นาอย่ า งมี คุ ณ ภาพและเท่ า เที ย มได้ ขอบเขตของการประเมิ น
พัฒนาการประกอบด้ ว ย
๒.๑ สิ่ งที่ จะประเมิ น
๒.๒ วิธีแ ละเครื่องมื อที่ ใช้ใ นการประเมิ น
๒.๓ เกณฑ์การประเมิ นพั ฒนาการ
๒.๑ สิ่ งที่จะประเมิน
การประเมินพัฒนาการสำหรับเด็กอายุ ๓-๖ ปี มีเป้าหมายสำคัญคือ มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์
จำนวน ๑๒ ข้อ ดังนี้
๑. พัฒนาการด้านร่างกาย ประกอบด้วย ๒ มาตรฐาน คือ
มาตรฐานที่ ๑ ร่างกายเจริญเติบโตตามวัยและมีสุขนิสัยที่ดี
มาตรฐานที่ ๒ กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรงใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน
๒. พัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ประกอบด้วย ๓ มาตรฐาน คือ
มาตรฐานที่ ๓ มีสุขภาพจิตดีและมีความสุข
มาตรฐานที่ ๔ ชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว
มาตรฐานที่ ๕ มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจที่ดีงาม
๓. พัฒนาการด้านสังคม ประกอบด้วย ๓ มาตรฐาน คือ
มาตรฐานที่ ๖ มีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มาตรฐานที่ ๗ รักธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม และความเป็นไทย
มาตรฐานที่ ๘ อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมในระบอบ
ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
๔. พัฒนาการด้านสติปัญญา ประกอบด้วย ๔ มาตรฐาน คือ
มาตรฐานที่ ๙ ใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย
มาตรฐานที่ ๑๐ มีความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้
มาตรฐานที่ ๑๑ มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
มาตรฐานที่ ๑๒ มีเจตคติทดี่ ีต่อการเรียนรู้และมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกับวัย
สิ่งที่จะประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัยแต่ละด้าน มีดังนี้
ด้านร่างกาย ประกอบด้วย การประเมินการมีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ สุขภาพอนามัย สุขนิสัยที่
ดี การรู้จักรักษาความปลอดภัย การเคลื่ อนไหวและการทรงตัว การเล่นและการออกกำลังกาย และการใช้มือ
อย่างคล่องแคล่วประสานสัมพันธ์กัน
ด้านอารมณ์ จิตใจ ประกอบด้วย การประเมินความสามารถในการแสดงออกทางอารมณ์อย่าง
เหมาะสมกับวัยและสถานการณ์ ความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น มีความรู้สึกเห็นอกเห็นใจผู้อื่น ความสนใจ/
ความสามารถ/และมีความสุขในการทำงานศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว ความรับผิดชอบในการทำงาน
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ความซื่อสัตย์สุจริตและรู้สึกถูกผิด ความเมตตากรุณา มีน้ำใจและช่วยเหลือแบ่งปัน ตลอดจนการประหยัดอด
ออม และพอเพียง
ด้านสังคม ประกอบด้วย การประเมินความมีวินัยในตนเอง การช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตร
ประจำวัน การระวังภัยจากคนแปลกหน้า และสถานการณ์ที่เสี่ยงอันตราย การดูแล รักษาธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม การมีสัมมาคารวะและมารยาทตามวัฒนธรรมไทย รักษาความเป็นไทย การยอมรับความเหมือน
และความแตกต่างระหว่างบุคคล การมีสัมพันธ์ที่ดีกั บผู้อื่น การปฏิบัติตนเบื้องต้นในการเป็นสมาชิกที่ดีของ
สังคมในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ด้านสติปัญญา ประกอบด้วย การประเมินความสามารถในการสนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องให้ผู้อื่น
เข้าใจ ความสามารถในการอ่าน เขียนภาพและสัญลักษณ์ ความสามารถในการคิดแก้ปัญหา คิดเชิงเหตุผล คิด
รวบยอด การเล่น/การทำงานศิลปะ/การแสดงท่าทาง/เคลื่อนไหวตามจินตนาการและความคิดสร้ างสรรค์ของ
ตนเอง การมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้และความสามารถในการแสวงหาความรู้
๒.๒ วิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินพัฒนาการ
การประเมินพัฒนาการเด็กแต่ละครั้งควรใช้วิธีการประเมินอย่างหลากหลายเพื่อให้ได้ข้อมูลที่สมบูรณ์
ที่สุด วิธีการที่เหมาะสมและนิยมใช้ในการประเมินเด็กปฐมวัยมีด้วยกันหลายวิธี ดังต่อไปนี้
๑. การสังเกตและการบันทึก การสังเกตมีอยู่ ๒ แบบคือ การสังเกตอย่างมีระบบ ได้แก่ การสังเกต
อย่างมจุดมุ่งหมายที่แน่นอนตามแผนที่วางไว้ และอีกแบบหนึ่งคือ การสังเกตแบบไม่เป็นทางการ เป็นการ
สังเกตในขณะที่เด็กทำกิจกรรมประจำวันและเกิดพฤติกรรมที่ไม่คาดคิดว่าจะเกิดขึ้นและผู้สอนจดบันทึกไว้การ
สังเกตเป็นวิธีการที่ผู้สอนใช้ในการศึกษาพัฒนาการของเด็ก เมื่อมีการสังเกตก็ต้องมีการบันทึก ผู้สอนควรทราบ
ว่าจะบันทึกอะไรการบันทึกพฤติกรรมมีความสำคัญอย่างยิ่งที่ต้องทำอย่างสม่ำเสมอ เนื่องจากเด็กเจริญเติบโต
และเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จึงต้องนำมาบันทึกเป็นหลักฐานไว้อย่างชัดเจน การสังเกตและการบันทึก
พัฒนาการเด็กสามารถใช้แบบง่ายๆคือ
๑.๑ แบบบันทึกพฤติกรรม ใช้บันทึกเหตุการณ์เฉพาะอย่างโดยบรรยายพฤติกรรมเด็ก ผู้บันทึกต้อง
บันทึกวัน เดือน ปีเกิดของเด็ก และวัน เดือน ปี ที่ทำการบันทึกแต่ละครั้ง
๑.๒ การบันทึกรายวัน เป็นการบันทึกเหตุการณ์หรือประสบการณ์หรือประสบการณ์ที่เกิดขึ้นในชั้น
เรียนทุกวัน ถ้าหากบันทึกในรูปแบบของการบรรยายก็มักจะเน้นเฉพาะเด็กรายที่ต้องการศึกษา ข้อดีของการ
บันทึกรายวันคือ การชี้ให้เห็นความสามารถเฉพาะอย่างของเด็ก จะช่วยกระตุ้นให้ผู้สอนได้พิจารณาปัญหาของ
เด็กเป็นรายบุคคลช่วยให้ผู้เชียวชาญมีข้อมูลมากขึ้นสำหรับวิ นิจฉัยเด็กว่าสมควรจะได้รับคำปรึกษาเพื่อลด
ปัญหาและส่งเสริมพัฒนาการของเด็กได้อย่างถูกต้อง นอกจากนั้นยังช่วยชี้ให้เห็นข้อเสียของการจัดกิจกรรม
และประสบการณ์ได้เป็นอย่างดี
๑.๓ แบบสำรวจรายการ ช่วยให้สามารถวิเคราะห์เด็กแต่ละคนได้ค่อนข้างละเอียด
๒. การสนทนา สามารถใช้การสนทนาได้ทั้งเป็นกลุ่มหรือรายบุคคล เพื่อประเมินความสามารถในการ
แสดงความคิดเห็น และพัฒนาการด้านภาษาของเด็กและบันทึกผลการสนทนาลงในแบบบันทึกพฤติกรรมหรือ
บันทึกรายวัน
๓. การสัมภาษณ์ ด้วยวิธีพูดคุยกับเด็กเป็นรายบุคคลและควรจัดในสภาวะแวดล้อมเหมาะสมเพื่อ
ไม่ให้เกิดความเครียดและวิตกกังวล ผู้สอนควรใช้คำถามที่เหมาะสมเปิดโอกาสให้เด็กได้คิดและตอบอย่างอิสระ
จะทำให้ผู้สอนสามารถประเมินความสามารถทางสติปัญญาของเด็กแต่ละคนและค้นพบศักยภาพในตัวเด็กได้
โดยบันทึกข้อมูลลงในแบบสัมภาษณ์
การเตรียมการก่อนการสัมภาษณ์ ผู้สอนควรปฏิบัติ ดังนี้
- กำหนดวัตถุประสงค์ของการสัมภาษณ์
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
- กำหนดคำพูด/คำถามที่จะพูดกับเด็ก ควรเป็นคำถามที่เด็กสามารถตอบโต้หลากหลาย ไม่ผิดถูก
การปฏิบัติขณะสัมภาษณ์
- ผู้สอนควรสร้างความคุ้นเคยเป็นกันเอง
- ผู้สอนควรสร้างสภาพแวดล้อมที่อบอุ่นไม่เคร่งเครียด
- ผู้สอนควรเปิดโอกาสเวลาให้เด็กมีโอกาสคิดและตอบคำถามอย่างอิสระ
- ระยะเวลาสัมภาษณ์ไม่ควรเกิน ๑๐-๒๐ นาที
๔. การรวบรวมผลงานที่แสดงออกถึงความก้าวหน้าแต่ละด้านของเด็กเป็นรายบุคคล โดยจัดเก็บ
รวบรวมไว้ในแฟ้มผลงาน (portfolio) ซึ่งเป็นวิธีรวบรวมและจัดระบบข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวกับตั วเด็กโดยใช้
เครื่องมือต่างๆรวบรวมเอาไว้อย่างมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน แสดงการเปลี่ยนแปลงของพัฒนาการแต่ละด้าน
นอกจากนี้ยังรวมเครื่องมืออื่นๆ เช่น แบบสอบถามผู้ปกครอง แบบสังเกตพฤติกรรม แบบบันทึกสุขภาพ
อนามัย ฯลฯ เอาไว้ในแฟ้มผลงาน เพื่อผู้สอนจะได้ข้อมูลเกี่ยวกับตั วเด็กอย่างชัดเจนและถูกต้อง การเก็บ
ผลงานของเด็กจะไม่ถือว่าเป็นการประเมินผลถ้างานแต่ละชิ้นถูกรวบรวมไว้โดยไม่ได้รับการประเมินจากผู้สอน
และไม่มีการนำผลมาปรับปรุงพัฒนาเด็กหรือปรับปรุงการสอนของผู้สอน ดังนั้นจึงเป็นแต่การสะสมผลงาน
เท่านั้น เช่นแฟ้มผลงานขีดเขียน งานศิลปะ จะเป็นเพียงแค่แฟ้มผลงานที่ไม่มีการประเมิน แฟ้มผลงานนี้จะเป็น
เครื่องมือการประเมินต่อเนื่องเมื่องานที่สะสมแต่ละชิ้นถูกใช้ในการบ่งบอกความก้าวหน้า ความต้องการของ
เด็ก และเป็นการเก็บสะสมอย่างต่อเนื่องที่สร้างสรรค์โดยผู้สอนและเด็ก
ผู้สอนสามารถใช้แฟ้มผลงานอย่างมีคุณค่าสื่อสารกับผู้ปกครองเพราะการเก็บผลงานเด็กอย่างต่อเนื่อง
และสม่ำเสมอในแฟ้มผลงานเป็นข้อมูลให้ผู้ปกครองสามารถเปรียบเทียบความก้าวหน้าที่ลูกของตนมีเพิ่มขึ้น
จากผลงานชิ้นแรกกับชิ้นต่อๆมาข้อมูลในแฟ้มผลงานประกอบด้วย ตัวอย่างผลงานการเขียดเขียน การอ่าน
และข้อมูลบางประการของเด็กที่ผู้สอนเป็นผู้บันทึก เช่นจำนวนเล่มของหนังสือที่เด็กอ่าน ความถี่ของการเลือก
อ่านที่มุมหนังสือในช่วงเวลาเลือกเสรี การเปลี่ยนแปลงอารมณ์ ทัศนคติ เป็นต้น ข้อมูลเหล่านี้จะสะท้อนภาพ
ของความงอกงามในเด็กแต่ละคนได้ชัดเจนกว่าการประเมินโดยการให้เ กรด ผู้สอนจะต้องชี้แจงให้ผู้ปกครอง
ทราบถึงที่มาของการเลือกชิ้นงานแต่ละชิ้นงานที่สะสมในแฟ้มผลงาน เช่น เป็นชิ้นงานที่ดีที่สุดในช่วงระยะเวลา
ที่เลือกชิ้นงานนั้น เป็นชิ้นงานที่แสดงความต่อเนื่องของงานโครงการ ฯลฯ ผู้สอนควรเชิญผู้ปกครองมามีส่วน
ร่วมในการคัดสรรชิ้นงานที่บรรจุลงในแฟ้มผลงานของเด็ก
๕. การประเมินการเจริญเติบโตของเด็ก ตัวชี้ของการเจริญเติบโตในเด็กที่ใช้ทั่วๆไป ได้แก่ น้ำหนัก
ส่วนสูง เส้นรอบศีรษะ ฟัน และการเจริญเติบโตของกระดูก แนวทางประเมินการเจริญเติบโต มีดังนี้
๕.๑ การประเมินการเจริญเติบโต โดยการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็กแล้วนำไปเปรียบเทียบกับ
เกณฑ์ปกติในกราฟแสดงน้ำหนักตามเกณฑ์อายุกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งใช้สำหรับติดตามการเจริญเติบโต
โดยรวม วิธีการใช้กราฟมีขั้นตอน ดังนี้
เมื่อชั่งน้ำหนักเด็กแล้ ว นำน้ำหนักมาจุดเครื่องหมายกากบาทลงบนกราฟ และอ่านการเจริญเติบโต
ของเด็ก โดยดูเครื่องหมายกากบาทว่าอยู่ในแถบสีใด อ่านข้อความบนแถบสีนั้น ซึ่งแบ่งภาวะโภชนาการเป็น ๓
กลุ่มคือ น้ำหนักที่อยู่ในเกณฑ์ปกติ น้ำหนักมากเกนเกณฑ์ น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ ข้อควรระวังสำหรับ
ผู้ปกครองและผู้สอนคือ ควรดูแลน้ำหนักเด็กอย่างให้แบ่งเบนออกจากเส้นประเมินมิเช่นนั้นเด็กมีโอกาส
น้ำหนักมากเกินเกณฑ์หรือน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ได้
๒.๓ เกณฑ์การประเมินพัฒนาการ
การสร้างเกณฑ์หรือพัฒนาเกณฑ์หรือกำหนดเกณฑ์การประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัย ผู้สอนควรให้
ความสนใจในส่วนที่เกี่ยวข้อ ดังนี้
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
๑. การวางแผนการสังเกตพฤติกรรมของเด็กอย่างเป็นระบบ เช่น จะสังเกตเด็กคนใดบ้างในแต่ละวัน
กำหนดพฤติกรรมที่สังเกตให้ชัดเจน จัดทำตารางกำหนดการสังเกตเด็กเป็นรายบุคคล รายกลุ่ม ผู้สอนต้อง
เลือกสรรพฤติกรรมที่ตรงกับระดับพัฒนาการของเด็กคนนั้นจริงๆ
๒. ในกรณีที่ห้องเรียนมีนักเรียนจำนวนมาก ผู้สอนอาจเลือกสังเกตเฉพาะเด็กที่ทำได้ดีแล้วและเด็กที่ยัง
ทำไม่ได้ ส่วนเด็กปานกลางให้ถือว่าทำได้ไปตามกิจกรรม
๓. ผู้สอนต้องสังเกตจากพฤติกรรม คำพูด การปฏิบัติตามขั้นตอนในระหว่างทำงาน/กิจกรรม และ
คุณภาพของผลงาน/ชิ้นงาน ร่องรอยที่นำมาใช้พิจารณาตัดสินผลของการทำงานหรือการปฏิบัติ ตัวอย่างเช่น
๑) เวลาที่ใช้ในการทำกิจกรรม/ทำงาน ถ้าเด็กไม่ชอบ ไม่ชำนาญจะใช้เวลามาก มีท่าทางอิดออด ไม่
กล้า ไม่เต็มใจทำงาน
๒) ความต่อเนื่อง ถ้าเด็กยังมีการหยุดชะงัก ลังเล ทำงานไม่ต่อเนื่อง แสดงว่าเด็กยังไม่ชำนาญหรือยัง
ไม่พร้อม
๓) ความสัมพันธ์ ถ้าการทำงาน/ปฏิบัตินั้นๆมีความสัมพันธ์ต่อเนื่อง ไม่ราบรื่น ท่าทางมือและเท้าไม่
สัมพันธ์กัน แสดงว่าเด็กยังไม่ชำนาญหรือยังไม่พร้อม ท่าที่แสดงออกจึงไม่สง่างาม
๔) ความภูมิใจ ถ้าเด็กยังไม่ชื่นชม ก็จะทำงานเพียงให้แล้วเสร็จอย่างรวดเร็ว ไม่มีความภูมิใจในการ
ทำงาน ผลงานจึงไม่ประณีต
ระดับคุณภาพผลการประเมินพัฒนาการเด็ก
การให้ระดับคุณภาพผลการประเมินพัฒนาการของเด็กทั้งในระดับชั้นเรียนและระดับสถานศึกษาควร
กำหนดในทิศทางหรือรูปแบบเดียวกัน สถานศึกษาสามารถให้ระดับคุณภาพผลการประเมินพัฒนาการของเด็ก
ที่สะท้อนมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ สภาพที่พึงประสงค์ หรือพฤติกรรมที่จะประเมิน เป็น
ระบบตัวเลข เช่น ๑ หรือ ๒ หรือ ๓ หรือเป็นระบบที่ใช้คำสำคัญ เช่น ดี พอดี หรือ ควรส่งเสริม ตามที่
สถานศึกษากำหนด ตัวอย่างเช่น

ระบบตัวเลข ระบบที่ใช้คำสำคัญ
๓ ดี
๒ พอใช้
๑ ควรส่งเสริม
สถานศึกษาอาจกำหนดระดับคุณภาพของการแสดงออกในพฤติกรรม เป็น ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ระบบที่ใช้คำสำคัญ
๑ หรือ ควรส่งเสริม เด็กมีความลังเล ไม่แน่ใจ ไม่ยอมปฏิบัติกิจกรรม ทั้งนี้ เนื่องจากเด็กยังไม่
พร้อม ยังมั่นใจ และกลัวไม่ป ลอดภัย ผู้สอนต้องยั่วยุหรือแสดงให้เห็นเป็น
ตัวอย่างหรือต้องคอยอยู่ใกล้ๆ ค่อยๆให้เด็กทำทีละขั้นตอน พร้อมต้องให้
กำลังใจ
๒ หรือ พอใช้ เด็กแสดงได้เอง แต่ยังไม่คล่อง เด็กกล้าทำมากขึ้นผู้สอนกระตุ้นน้อยลง ผู้สอน
ต้องคอยแก้ไขในบางครั้ง หรือคอยให้กำลังใจให้เด็กฝึกปฏิบัติมากขึ้น
๓ หรือ ดี เด็กแสดงได้อย่างชำนาญ คล่องแคล่ว และภูมิใจ เด็กจะแสดงได้เองโดยไม่ต้อง
กระตุ้น มีความสัมพันธ์ที่ดี
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
การสรุปผลการประเมินพัฒนาการเด็ก
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช... กำหนดเวลาเรียนสำหรับเด็กปฐมวัยต่อปีการศึกษาไม่น้อย
กว่า ๑๘๐ วัน สถานศึกษาจึงควรบริหารจัดการเวลาที่ได้รับนี้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนาเด็กอย่างรอบ
ด้านและสมดุล ผู้สอนควรมีเวลาในการพัฒนาเด็กและเติมเต็มศักยภาพของแด็ก เพื่อให้การจัดประสบการณ์
การเรียนรู้มีประสิทธิภาพ ผู้สอนต้องตรวจสอบพฤติกรรมที่แสดงพัฒนาการของเด็กต่อเนื่องมีการประเมินซ้ำ
พฤติกรรมนั้นๆอย่างน้อย ๑ ครั้งต่อภาคเรียน เพื่อยืนยันความเชื่อมั่นของผลการประเมินพฤติกรรมนั้นๆ และ
นำผลไปเป็นข้อมูลในการสรุปการประเมินสภาพที่พึงประสงค์ของเด็กในแต่ละสภาพที่พึงประสงค์ นำไปสรุป
การประเมินตัวบ่งชี้และมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามลำดับ
อนึ่ง การสรุประดับคุณภาพของการประเมินพัฒนาการเด็ก วิธีการทางสถิติที่เหมาะสมและสะดวกไม่
ยุ่งยากสำหรับผู้สอน คือการใช้ฐานนิยม (Mode) ในบางครั้งพฤติกรรม หรือสภาพที่พึงประสงค์หรือตัวบ่งชี้
นิยมมากว่า ๑ ฐานนิยม ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษา กล่าวคื อ เมื่อมีระดับคุณภาพซ้ำมากกว่า ๑ ระดับ
สถานศึกษาอาจตัดสินสรุปผลการประเมินพัฒนาการบนพื้นฐาน หลักพัฒนาการและการเตรียมความพร้อม
หากเป็นภาคเรียนที่ ๑ สถานศึกษาควรเลือกตัดสินใจใช้ฐานนิยมที่มีระดับคุณภาพต่ำกว่าเพื่อใช้เป็นข้อมูลใน
การพัฒนาเด็กให้พร้อมมากขึ้น หากเป็นภาคเรียนที่ ๒ สถานศึกษาควรเลือกตัดสินใจใช้ฐานนิยมที่มีระดับ
คุณภาพสูงกว่าเพื่อตัดสินและการส่งต่อเด็กในระดับชั้นที่สูงขึ้น
การเลื่อนชั้นอนุบาลและเกณฑ์การจบการศึกษาระดับปฐมวัย
เมื่อสิ้นปีการศึกษา เด็กจะได้รับการเลื่อนชั้นโดยเด็กต้องได้รับการประเมินมาตรฐานคุณลักษณะที่พึง
ประสงค์ทั้ง ๑๒ ข้อ ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย เพื่ อเป็นข้อมูลในการส่งต่อยอดการพัฒนาให้กับเด็กใน
ระดับสูงขึ้นต่อไป และเนื่องจากการศึกษาระดับอนุบาลเป็นการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ไม่นับเป็นการศึกษา
ภาคบังคับ จึงไม่มีการกำหนดเกณฑ์การจบชั้นอนุบาล การเทียบโนการเรียน และเกณฑ์การเรียนซ้ำชั้น และ
หากเด็กมีแนวโน้มว่าจะมีปัญหาต่อการเรียนรู้ในระดับที่สูงขึ้น สถานศึกษาอาจตั้งคณะกรรมการเพื่อพิจารณา
ปัญหา และประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการให้ความช่วยเหลือ เช่น เจ้าหน้าที่สาธารณสุขส่งเสริมตำบล
นักจิตวิทยา ฯลฯ เข้าร่วมดำเนินงานแก้ปัญหาได้
อย่างไรก็ตาม ทักษะที่นำไปสู่ความพร้อมในการเรียนรู้ที่สามารถใช้เป็นรอยเชื่อมต่อระหว่างชั้น
อนุบาลกับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ที่ควรพิจารณามีทักษะดังนี้
๑. ทักษะการช่วยเหลือตนเอง ได้แก่ ใช้ห้องน้ำ ห้องส้วมได้ด้วยตนเอง แต่งกายได้ เอง เก็บของเข้าที่
เมื่อเล่นเสร็จและช่วยทำความสะอาด รู้จักร้องขอให้ช่วยเมื่อจำเป็น
๒. ทักษะการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ ได้แก่ วิ่งได้อย่างราบรื่น วิ่งก้าวกระโดดได้ กระด้วยสองขาพ้นจากพื้น
ถือจับ ขว้าง กระดอนลูกบอลได้
๓. ทักษะการใช้กล้ามเนื้อเล็ก ได้แก่ ใช้มือหยิบ จับอุปกรณ์วาดภาพและเขียน วาดภาพคนมีแขน ขา
และส่วนต่างๆของร่างกาย ตัดตามรอยเส้นและรูปต่างๆ เขียนตามแบบอย่างได้
๔. ทักษะภาษาการรู้หนังสือ ได้แก่ พูดให้ผู้อื่นเข้าใจได้ ฟังและปฏิบัติตามคำชี้แจงงง่ายๆ ฟังเรื่องราว
และคำคล้องจองต่างๆอย่างสนใจ เข้าร่วมฟังสนทนาอภิ ปรายในเรื่องต่างๆ รู้จักผลัดกันพูดโต้ตอบ เล่าเรื่อง
และทบทวนเรื่องราวหรือประสบการณ์ต่างๆ ตามลำดับเหตุการณ์เล่าเรื่องจากหนังสือภาพอย่างเป็นเหตุเป็น
ผล อ่านหรือจดจำคำบางคำที่มีความหมายต่อตนเอง เขียนชื่อตนเองได้ เขียนคำที่มีความหมายต่อตนเอง
๕. ทักษะการคิด ได้แก่ แลกเปลี่ยนความคิดและให้เหตุผลได้ จดจำภาพและวัสดุที่เหมือนและต่ างกัน
ได้ ใช้คำใหม่ๆในการแสดงความคิด ความรู้สึก ถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังเปรียบเทียบจำนวนของ
วัตถุ ๒ กลุ่ม โดยใช้คำ “มากกว่า” “น้อยกว่า” “เท่ากัน” อธิบายเหตุการณ์/เวลา ตามลำดับอย่างถูกต้อง รู้จัก
เชื่อมโยงเวลากับกิจวัตรประจำวัน
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
๖. ทักษะทางสังคมและอารมณ์ ได้แก่ ปรับตัวตามสภาพการณ์ ใช้คำพูดเพื่อแก้ไขข้อขัดแย้งนั่งได้นาน
๕-๑๐ นาที เพื่อฟังเรื่องราวหรือทำกิจกรรม ทำงานจนสำเร็จ ร่วมมือกับคนอื่นและรู้จักผลัดกันเล่น ควบคุม
อารมณ์ตนเองได้เมื่อกังวลหรือตื่นเต้น หยุดเล่นและทำในสิ่งที่ผู้ใหญ่ต้องการให้ทำได้ ภูมิ ใจในความสำเร็จของ
ตนเอง
๓. การายงานผลการประเมินพัฒนาการ
การรายงานผลการประเมินพัฒนาการเป็นการสื่อสารให้พ่อแม่ ผู้ปกครองได้รับทราบความก้าวหน้าใน
การเรียนรู้ของเด็ก ซึ่งสถานศึกษาต้องสรุปผลการประเมินพัฒนาการ และจัดทำเอกสารรายงานให้ผู้ปกครอง
ทราบเป็นระยะๆ หรืออย่างน้อยภาคเรียนละ ๑ ครั้ง
การรายงานผลการประเมินพัฒนาการสามารถรายงานเป็นระดับคุณภาพที่แตกต่างไปตามพฤติกรรม
ที่แสดงออกถึงพัฒนาการแต่ละด้าน ที่สะท้อนมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ทั้ง ๑๒ ข้อ ตามห ลักสูตร
การศึกษาปฐมวัย
๓.๑ จุดมุ่งหมายการรายงานผลการประเมินพัฒนาการ
๑) เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้อง พ่อ แม่ และผู้ปกครองใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงแก้ไข ส่งเสริม และ
พัฒนาการเรียนรู้ของเด็ก
๒) เพื่อให้ผู้สอนใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
๓) เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับสถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา และหน่วยงานต้นสังกัดใช้ประกอบใน
การกำหนดนโยบายวางแผนในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
๓.๒ ข้อมูลในการรายงานผลการประเมินพัฒนาการ
๓.๒.๑ ข้อมูลระดับชั้นเรียน ประกอบด้วย เวลาเรียนแบบบันทึกการประเมินพัฒนาการตาม
หน่วยการจัดประสบการณ์ สมุดบันทึกผลการประเมินพัฒนาการประจำชั้น และสมุดรายงานประจำตัว
นักเรียน และสารนิทัศน์ที่สะท้อนการเรียนรู้ของเด็ก เป็นข้อมูลสำหรับรายงานให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่
ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้สอน และผู้ ปกครอง ได้รับทราบความก้าวหน้า ความสำเร็จในการเรียนรู้ของเด็กเพื่อ
นำไปในการวางแผนกำหนดเป้าหมายและวิธีการในการพัฒนาเด็ก
๓.๒.๒ ข้อมูลระดับสถานศึกษา ประกอบด้วย ผลการประเมินมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์
ทั้ง ๑๒ ข้อตามหลักสูตร เพื่อใช้เป็นข้อมูลและสารสนเทศในการพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนการสอน
และคุณภาพของเด็ก ให้เป็นไปตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์และแจ้งให้ผู้ปกครอง และผู้เกี่ยวข้อง
ได้รับทราบข้อมูล โดยผู้มีหน้าที่รับผิดชอบแต่ละฝ่ายนำไปปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาเด็กให้เกิดพัฒนาการอย่าง
ถูกต้อง เหมาะสม รวมทั้งนำไปจัดทำเอกสารหลักฐานแสดงพัฒนาการของผู้เรียน
๓.๒.๓ ข้อมูลระดับเขตพื้นที่การศึกษา ได้แก่ ผลการประเมินมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์
ทั้ง ๑๒ ข้อ ตามหลักสูตรเป็นรายสถานศึกษา เพื่อเป็นข้อมูลที่ศึกษานิเทศก์/ผู้เกี่ยวข้องใช้วางแผนและ
ดำเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อให้เกิดการยกระดับ
คุณภาพเด็กและมาตรฐานการศึกษา
๓.๓ ลักษณะข้อมูลสำหรับการรายงานผลการประเมินพัฒนาการ
การรายงานผลการประเมินพัฒนาการ สถานศึกษาสามารถเลือกลักษณะข้อมูลสำหรับการรายงานได้
หลายรูปแบบให้เหมาะสมกับวิธีการรายงานและสอดคล้องกับการให้ระดับผลการประเมินพัฒนาการโดย
คำนึงถึงประสิทธิภาพของการรายงานและการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ของผู้รายงานแต่ละฝ่ายลักษณะข้อมูลมี
รูปแบบ ดังนี้
๓.๓.๑ รายงานเป็นตัวเลข หรือคำที่เป็นตัวแทนระดับคุณภาพพัฒนาการของเด็กที่เกิดจากการ
ประมวลผล สรุปตัดสินข้อมูลผลการประเมินพัฒนาการของเด็ก ได้แก่
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
- ระดับผลการประเมินพัฒนาการมี ๓ ระดับ คือ ๓ ๒ ๑
- ผลการประเมินคุณภาพ “ดี” “พอใช้” และ “ควรส่งเสริม”
๓.๓.๒ รายงานโดยใช้สถิติ เป็นรายงานจากข้อมูลที่เป็นตัวเลข หรือข้อความให้เป็นภาพแผนภูมิ
หรือเส้นพัฒนาการ ซึ่งจะแสดงให้เห็นพัฒนาการความก้าวหน้าของเด็กว่าดีขึ้น หรือควรได้รับการพัฒนา
อย่างไร เมื่อเวลาเปลี่ยนแปลงไป
๓.๓.๓ รายงานเป็นข้อความ เป็นการบรรยายพฤติกรรมหรือคุณภาพที่ผู้สอนสังเกตพบ เพื่อ
รายงานให้ทราบว่าผู้เกี่ยวข้อง พ่อ แม่ และผู้ปกครองทราบว่าเด็กมีความสามารถ มีพฤติกรรมตามคุณลักษณะ
ที่พึงประสงค์ตามหลักสูตรอย่างไร เช่น
- เด็กรับลูกบอลที่กระดอนจากพื้นด้วยมือทั้ง ๒ ข้างได้โดยไม่ใช้ลำตัวช่วยและลูกบอลไม่
ตกพื้น
- เด็กแสดงสีหน้า ท่าทางสนใจ และมีความสุขขณะทำงานทุกช่วงกิจกรรม
- เด็กเล่นและทำงานคนเดียวเป็นส่วนใหญ่
- เด็กจับหนังสือไม่กลับหัว เปิด และทำท่าทางอ่านหนังสือและเล่าเรื่องได้
๓.4 วิธีการรายงานผลการประเมินพัฒนาการ
การรายงานผลการประเมินพัฒนาการให้ผู้เกี่ยวข้องรับทราบ สามารถดำเนินการ ได้ดังนี้
๓.4.๑ การรายงานผลการประเมินพั ฒนาการในดอกสารหลักฐานการศึกษา ข้อมูลจากแบบ
รายงาน สามารถใช้อ้างอิง ตรวจสอบ และรับรองผลพัฒนาการของเด็ก เช่น
- แบบบันทึกผลการประเมินพัฒนาการประจำชั้น
- แฟ้มสะสมงานของเด็กรายบุคคล
-สมุดรายงานประจำตัวนักเรียน
-สมุดบันทึกสุขภาพเด็ก
๓.4.๒ การรายงานคุณภาพการศึกษาปฐมวัยให้ผู้เกี่ยวข้องทราบสามารถรายงานได้หลายวิธี เช่น
- รายงานคุณภาพการศึกษาปฐมวัยประจำปี
- วารสาร/จุลสารของสถานศึกษา
-จดหมายส่วนตัว
-การให้คำปรึกษา
-การให้พบครูที่ปรึกษาหรือการประชุมเครือข่ายผู้ปกครอง
- การให้ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตผ่านเว็ปไซต์ของสถานศึกษา
ภารกิจของผู้สอนในการประเมินพัฒนาการ
การประเมินพัฒนาการตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพนั้น เกิดขึ้นใน
ห้องเรียนและระหว่างการจัดกิจกรรมประจำวันและกิจวัตรประจำวัน ผู้สอนต้องไม่แยกการประเมินพัฒนาการ
ออกจากการจั ด ประสบการณ์ ต ามตารางประจำวั น ควรมี ล ั ก ษณะการประเมิ น พั ฒ นาการในชั ้ น เรี ย น
(Classroom Assessment) ซึ่งหมายถึง กระบวนการและการสังเกต การบันทึกและรวบรวมข้อมูลจากการ
ปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน/กิจกรรมประจำวันตามสภาพจริง (Authentic Assessment) ผู้สอนควรจัดทำข้อมูล
หลักฐานหรือเอกสารอย่างเป็นระบบ เพื่อเป็นหลักฐานแสดงให้เห็นร่องรอยของการเจริญเติบโตพัฒนาการและ
การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย แล้วนำมาวิเคราะห์ ตีความ บันทึกข้อมูลที่ได้จากการประเมินพัฒนาการว่าเด็กรู้
อะไร สามารถทำอะไรได้ และจะทำต่อไปอย่างไร ด้วยวิธีการและเครื่องมือที่หลากหลายทั้งที่เป็นทางการและ
ไม่เป็นทางการ ทั้งนั้นการดำเนินการดังกล่าวเกิดขึ้นตลอดระยะเวลาของการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน/กิจกรรม
ประจำวันและการจัดประสบการณ์เรียนรู้
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
ดังนั้น ข้อมูลที่เกิดจากการประเมินที่มีคุณภาพเท่านั้น จึงสามารถนำไปใช้ประโยชน์ ตรงตามเป้าหมาย
ผู้สอนจำเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจอย่างถ่องแท้ในหลักการ แนวคิด วิธีดำเนินงานในส่วนต่างๆที่เกี่ยวข้องกับ
หลักสูตรการจัดประสบการเรียนรู้ เพื่อสามารถนำไปใช้ในการวางแผนและออกแบบการประเมินพัฒนาการได้
อย่างมีประสิทธิภาพบนพื้นฐานการประเมินพัฒนาการในชั้นเรียนที่มีความถูก ต้อง ยุติธรรม เชื่อถือได้ มีความ
สมบูรณ์ ครอบคลุม ตามจุดหมายของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย สะท้อนผลและสภาพความสำเร็จเมื่อ
เปรียบเทียบกับเป้าหมายของการดำเนินการจัดการศึกษาปฐมวัย ทั้งในระดับนโยบาย ระดับปฏิบัติการ และผู้
มีส่วนเกี่ยวข้องต่อไป
ขั้นตอนการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย
การประเมินพัฒนาการเด็กของผู้สอนระดับปฐมวัยจะมีขั้นตอนสำคัญๆคล้ายคลึงกับการประเมิน
การศึกษาทั่วไป ขั้นตอนต่างๆอาจปรับลด หรือเพิ่มได้ตามความเหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษาและ
สอดคล้องกับการจัดประสบการณ์ หรืออาจสลับลำดับก่อนหลังได้บ้าง ขั้นการประเมินพัฒ นาการเด็กปฐมวัย
โดยสรุปควรมี ๖ ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นตอนที่ ๑ การวิเคราะห์มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ และสภาพที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้
และสภาพที่พึงประสงค์ที่สัมพันธ์กับหน่วยการจัดประสบการณ์ต่างๆ อันจะเป็นประโยชน์ในการดำเนินงาน
การประเมินพัฒนาการอย่างเป็นระบบและครอบคลุมทั่วถึง
ขั้นตอนที่ ๒ การกำหนดสิ่งที่จะประเมินและวิธีการประเมิน ในขั้นตอนนี้สิ่งที่ผู้สอนต้องทำคือ ก าร
กำหนดการประเด็นการประเมิน ได้แก่ สภาพที่พึงประสงค์ในแต่ละวัยของเด็กที่เกิดจากกาจัดประสบการณ์ใน
แต่ การจัดประสบการณ์ มากำหนดเป็นจุดประสงค์การเรียนรู้ของหน่วยการเรียนรู้ จุดประสงค์ย่อยของ
กิจกรรมตามตารางประจำวัน ๖กิจกรรมหลัก หรือตามรูปแบบการจัดประสบการณ์ที่ กำหนด ผู้สอนต้อง
วางแผนและออกแบบวิธีการประเมินให้เหมาะสมกับกิจกรรม บางครั้งอาจใช้การสังเกตพฤติกรรม การ
ประเมินผลงาน/ชิ้นงาน การพูดคุยหรื อสัมภาษณ์เด็ก เป็นต้น ทั้งนี้วิธีการที่ผู้สอนเลือกใช้ต้องมีความหมาย
หลากหลาย หรือมากว่า ๒ วิธีการ
ขั้นตอนที่ ๓ การสร้างเครื่ องมือและเกณฑ์การประเมิน ในขั้นตอนนี้ ผู้สอนจะต้องกำหนดเกณฑ์การ
ประเมินพัฒนาการให้สอดคล้องกับพฤติกรรมที่จะประเมินในขั้นตอนที่ ๒ อาจใช้ แนวทางการกำหนดเกณฑ์ที่
กล่าวมาแล้วข้างต้นในส่วนที่ ๒ เป็นเกณฑ์การประเมินแยกส่วนของแต่ละพฤติกรรมและเกณฑ์สรุปผลการ
ประเมิน พร้อมกับจัดทำแบบบันทึกผลการสังเกตพฤติกรรมตามสภาพที่พึงประสงค์ของแต่ละหน่วยการจัด
ประสบการณ์นั้นๆ
ขั้นตอนที่ ๔ การดำเนินการเก็บรวบรวมข้ อมูล เป็นขั้นตอนที่ผู้สอนออกแบบ/วางแผนและทำการ
สังเกต พฤติกรรมของเด็กเป็นรายบุคคล รายกลุ่ม การพูดคุยหรือการสัมภาษณ์เด็ก หรื อการประเมินผลงาน/
ชิ้นงานของเด็ก อย่างเป็นระบบ เพื่อรวบรวมข้อมูลพัฒนาการของเด็กให้ทั่วถึงครบทุกคน สอดคล้องและตรง
ประเด็นการประเมินที่วางแผนไว้ในขั้นตอนที่ ๔ บันทึกลงในเครื่องมือที่ผู้สอนพัฒนาหรือจัดเตรียมไว้
การบันทึกผลการประเมินพัฒนาการตามสภาพที่พึงประสงค์ของแต่ละหน่วยการจัดประสบการณ์นั้น
ผู้สอนเป็นผู้ประเมินเด็กเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม อาจให้ระดับคุณภาพ ๓ หรือ ๒ หรือ ๑ หรือให้คำสำคัญ
ที่เป็นคุณภาพ เช่น ดี พอใช้ ควรส่งเสริม ก็ได้ ทั้งนี้ควรเป็นระบบเดียวกันเพื่อสะดวกในการวิเคราะห์ข้อมูล
และแปลผลการประเมิ นพัฒนาการเด็ก ในระยะต้นควรเป็นการประเมินเพื่อความก้าวหน้าไม่ควรเป็นการ
ประเมินเพื่อตัดสิ้นพัฒนาการเด็ก หากผลการประเมินพบว่า เด็กอยู่ในระดับ ๑ พฤติกรรมหนึ่งพฤติกรรมใด
ผู้สอนต้องทำความเข้าใจว่าเด็กคนนั้นมีพัฒนาการเร็วหรือช้า ผู้สอนจะต้องจัดประสบการณ์ส่งเสริมใน หน่วย
การจัดประสบการณ์ต่อไปอย่างไร ดังนั้น การเก็บรวบรวมข้อมูลผลการประเมินพัฒนาการในแต่ละหน่วยการ
จัดประสบการณ์ของผู้ส อน จึงเป็น การสะสมหรื อรวบรวมข้อ มูล ผลการประเมิน พัฒ นาการของเด็ก
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
รายบุคคล หรือรายกลุ่มนั่นเอง เมื่อผู้สอนจัดประสบการณ์ครบทุกหน่วยการจัดประสบการณ์ ตามที่วิเคราะห์
สาระการเรียนรู้รายปีของแต่ละภาคเรียน
ขั้นตอนที่ ๕ การวิเคราะห์ข้อมูลและแปลผล ในขั้นตอนนี้ ผู้สอนที่เป็นผู้ประเมิน ควรดำเนินการ ดังนี้
๑) การวิเคราะห์และแปลผลการประเมินพัฒนาการเมื่อสิ้นสุดหน่วยการจัดประสบการณ์
ผู้สอนจะบันทึกผลการประเมินพัฒนาการของเด็กลงในแบบบันทึกผลการสังเกตพฤติกรรมตามสภาพที่พึง
ประสงค์ของหน่วยการจัดประสบการณ์หน่วยที ๑ จนถึงหน่วยสุดท้ายของภาคเรียน
๒) การวิเคราะห์และแปลผลการประเมินประจำภาคเรียนหรือภาคเรียนที่ ๒ เมื่อสิ้นปี
การศึกษา ผู้สอนจะนำผลการประเมินพัฒนาการสะสมที่รวบรวมไว้จากทุกหน่วยการเรียนรู้สรุปลงในสมุด
บันทึกผลประเมินพัฒนาการประจำชั้น และสรุปผลพัฒนาการรายด้านทั้งชั้นเรียน
ขั้นตอนที่ ๖ การสรุปรายงานผลและการนำข้อมู ลไปใช้ เป็นขั้นตอนที่ผู้สอนซึ่งเป็นครูประจำชั้นจะ
สรุปผลเพื่อตัดสินพัฒนาการของเด็กปฐมวัยเป็นรายตัวบ่งชี้รายมาตรฐานและพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน เพื่อ
นำเสนอผู้บริหารสถานศึกษาอนุมัติการตัดสิน และแจ้งคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พร้อมกับค รู
ประจำชั้นจะจัดทำรายงานผลการประเมินประจำตัวนักเรียน นำข้อมูลไปใช้สรุปผลการประเมินคุณภาพเด็ก
ของระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาเมื่อสิ้นภาคเรียนที่ ๒ หรือเมื่อสิ้นปีการศึกษา
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6

ภาคผนวก
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖6

You might also like