Material Ch.1 Insulation 03122023

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 232

Power and Energy Series 2020

บทที 1
ฉนวน

Dr.techn. Norasage Pattanadech 1


2020

ฉนวน ฉนวนในระบบไฟฟ้ากําลัง

https://docplayer.net/docs-images/97/133447297/images/240-0.jpg

Dr.techn. Norasage Pattanadech 2


2020

ฉนวน ฉนวนในระบบไฟฟ้ากําลัง

Dr.techn. Norasage Pattanadech 3


2020

ฉนวน ฉนวนในระบบไฟฟ้ากําลัง

1.1 คุณสมบัติของฉนวน
1.2 วัสดุประเภทฉนวนก๊าซ
1.3 วัสดุประเภทฉนวนเหลว
1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง

Dr.techn. Norasage Pattanadech 4


2020

1.1 คุณสมบัติของฉนวน

1. ความต้านทาน (R)
2. เปอร์มิตติวติ ี ()
3. แฟคเตอร์พลังงานสู ญเปล่าไดอิเล็กตริ ก (tan)
4. ความคงทนต่อแรงดันไฟฟ้า

Dr.techn. Norasage Pattanadech 5


2020

1.1 คุณสมบัติของฉนวน 1. ความต้านทาน (R)

I I
υd υd υd υd

υd υd υd υd
E E
υd υd υd υd

(ก) (ข)

รูปที 1-1 การเคลือนทีของประจุเมือฉนวนหรื อตัวนําอยูภ่ ายใต้สนามไฟฟ้า

Dr.techn. Norasage Pattanadech 6


2020

1.1 คุณสมบัติของฉนวน 1. ความต้านทาน (R)

รูปที 1-2 ตัวนําทีมีรูปร่ างทีสมําเสมอ


Dr.techn. Norasage Pattanadech 7
2020

1.1 คุณสมบัติของฉนวน 1. ความต้านทาน (R)

ค่าความหนาแน่นกระแส (Current density), J สามารถคํานวณ


ได้ดงั สมการที 1-1
I
J = A/m2 (1-1)
A

สภาพความต้านทานไฟฟ้า (resistivity ), ρ สามารถคํานวณได้ดงั


สมการที 1-2
E (1-2)
ρ = Ω.m
J
Dr.techn. Norasage Pattanadech 8
ตารางที 1-1 ค่าความต้านทานจําเพาะของวัตถุต่างๆ ทีอุณหภูมิหอ้ ง(20 oC)
ชนิดของวัสดุ สสาร ρ (Ω.m)
Silver 1.47×10-8
Copper 1.72×10-8
Gold 2.44×10-8
Aluminum 2.75×10-8
Tungsten 5.25×10-8
Conductors Steel 20×10-8
Lead 22×10-8
Mercury 95×10-8
Manganin(Cu 84%,Mn 12%,Ni 4% ) 44×10-8
Constantan (Cu 60%,Ni 40%) 49×10-8
Nichrome 100×10-8
Pure Carbon (graphite) 3.5×10-5
Semiconductors Pure Germanium 0.6
Pure Silicon 2300
Amber 5×1014
Glass 1010-1014
Lucite >1013

Insulators Mica 1011-1015


Quartz(fused) 75×1016
Sulfur 1015
Teflon >1013
Wood 108-1011
Dr.techn. Norasage Pattanadech 9
2020

1.1 คุณสมบัติของฉนวน 1. ความต้านทาน (R)

V
เพราะว่า E = (1-3)
L
และจากสมการที 1-1 และ 1-2 จะได้
E V /L
 = =
J I/A

V L
ดังนัน = 
A
(1-4)
I

Dr.techn. Norasage Pattanadech 10


2020

1.1 คุณสมบัติของฉนวน 1. ความต้านทาน (R)

ป้อนแรงดันให้กบั วัสดุโดยมีแรงดันสู งต่ออยูด่ า้ นในของ


ทรงกระบอก และแรงดันตําต่ออยูก่ บั ด้านนอกของทรงกระบอก
กระแสจะไหลจากพืนผิวด้านในไปยังพืนผิวด้านนอกของ
ทรงกระบอก

พืนทีหน้าตัดทีกระแสไหลผ่านก็คือ 2 rL ความยาวของเส้นทางทีกระแสไหลผ่านก็คือ dr
ความต้านทานในส่ วนเล็กๆ dR dr
dR   
2 rL
b
 dr  b dr
R   dR    
a
2 rL 2 L a
r

 b
 ln 
2 L a
Dr.techn. Norasage Pattanadech 11
2020

1.1 คุณสมบัติของฉนวน 1. ความต้านทาน (R)

(ก) Insulation tester (ข) HVM Megohmmeter


รูปที 1-4 เครื องมือวัดค่าความต้านทานของฉนวน

Dr.techn. Norasage Pattanadech 12


2020

1.1 คุณสมบัติของฉนวน 1. ความต้านทาน (R)

Dr.techn. Norasage Pattanadech 13


2020

1.1 คุณสมบัติของฉนวน 2. เปอร์มิตติวติ ี ( )

ค่าเปอร์มิตติวิตีของวัสดุแต่ละชนิดจะคํานวณได้จาก
   o r F/m (1-7)
เมือ  คือ ค่าเปอร์มิตติวิตีของวัสดุ
 o คือ ค่าเปอร์มิตติวิตีของสุ ญญากาศ = 8.854×10-12 F/m
 r คือ ค่าเปอร์มิตติวิตีสัมพัทธ์ของวัสดุ
 r   r'  j r''
 '
r ค่าคงทีไดอิเล็กตริ กของฉนวน
 r'' สัมพันธ์โดยตรงกับค่าแฟคเตอร์กาํ ลังสู ญเสี ยไดอิเล็กตริ ก
Dr.techn. Norasage Pattanadech 14
2020

1.1 คุณสมบัติของฉนวน 2. เปอร์มิตติวติ ี ( )

The polarization spectrum with orientational, ionic and electronic polarization


mechanism

Dr.techn. Norasage Pattanadech 15


2020

1.1 คุณสมบัติของฉนวน 2. เปอร์มิตติวติ ี ( )

วัสดุ r วัสดุ r
Vacuum 1 Polyvinyl chloride 3.18
Air(1 atm) 1.00059 Plexiglas 3.40
Air(100 atm) 1.0548 Glass 5-1.0
Teflon 2.1 Neoprene 6.70
Polyethylene 2.25 Germanium 16
Banzere 2.28 Glycerin 42.5
Mica 3-6 Water 80.4
Mylar 3-1 Strontium titanate 310

Dr.techn. Norasage Pattanadech 16


2020

1.1 คุณสมบัติของฉนวน 2. เปอร์มิตติวติ ี ( )

A
C = (1-8)
d

รูปที 1-5 ตัวเก็บประจุแบบขนานทีมีพืนทีหน้าตัดของตัวนํา A


Dr.techn. Norasage Pattanadech 17
2020

1.1 คุณสมบัติของฉนวน 2. เปอร์มิตติวติ ี ( )


Polarization in a static electric field
Polarization arises from a finite displacement of charges in a steady electric field.

a) b)
Polarization phenomena
a) Vacuum as a dielectric b) Polarization process

Dr.techn. Norasage Pattanadech 18


2020

1.1 คุณสมบัติของฉนวน 2. เปอร์มิตติวติ ี ( )

 t
P( t )  P   P  P0  exp   
 
E

P∞

P0

0
t

Dr.techn. Norasage Pattanadech 19


2020

1.1 คุณสมบัติของฉนวน 2. เปอร์มิตติวติ ี ( )


The polarization P (C/m2) is defined as the quantity indicating the electric moment per unit volume
induced in the material by the applied field. The magnitude of P is directly proportion to the field,
if the field is not very high to cause the insulation degradation.

P = ( r 1) 0 E =  0 E
1 dielectric susceptibility of the medium. χ presents the ability of the material to
 =  r iscalled
response to electric field. P will have the same dimension as D.

D can be rewritten as D = 0E  P

Dr.techn. Norasage Pattanadech 20


2020

1.1 คุณสมบัติของฉนวน 2. เปอร์มิตติวติ ี ( )


Dipole moment
The simple case of two point charges, one with charge +q and the other one with
charge - q, the electric dipole moment p is:
p = qd
where d is the displacement vector pointing from the negative charge to the
positive charge. Thus, the electric dipole moment vector p points from the negative
charge to the positive charge.

Dr.techn. Norasage Pattanadech 21


2020

1.1 คุณสมบัติของฉนวน 2. เปอร์มิตติวติ ี ( )


Dipole moment
A molecule of water is polar because
of the unequal sharing of its electrons
in a "bent" structure. A separation of
charge is present with negative charge
in the middle (red shade), and positive
charge at the ends (blue shade).

Dr.techn. Norasage Pattanadech 22


2020

1.1 คุณสมบัติของฉนวน 2. เปอร์มิตติวติ ี ( )


Dipole moment

An important feature of water is its polar nature. The water molecule forms an angle, with hydrogen atoms at
the tips and oxygen at the vertex. This angle formed is 104.48º as opposed to the typical tetrahedral angle of
109º. Because oxygen has a higher electronegativity than hydrogen, the side of the molecule with the oxygen
atom has a partial negative charge. Also the presence of the lone pairs tend to push the oxygen away. An
object with such a charge difference is called a dipole meaning two poles. The oxygen end is partially negative
and the hydrogen end is partially positive, because of this the direction of the dipole moment points from the
oxygen towards the center of the hydrogens. The charge differences cause water molecules to be attracted to
each other (the relatively positive areas being attracted to the relatively negative areas) and to other polar
molecules. This attraction contributes to hydrogen bonding, and explains many of the properties of water, such
as solvent action.

Dr.techn. Norasage Pattanadech 23


2020

1.1 คุณสมบัติของฉนวน 3. แฟคเตอร์พลังงานสู ญเปล่าไดอิเล็กตริ ก (tan )

• สู ญเสี ยจากสภาพนําไฟฟ้า
• สู ญเสี ยจากโพลาไรเซซัน
• สู ญเสี ยเนืองจากการไอออไนเซชัน

Dr.techn. Norasage Pattanadech 24


2020

1.1 คุณสมบัติของฉนวน 3. แฟคเตอร์พลังงานสู ญเปล่าไดอิเล็กตริ ก (tan )

พิจารณาวงจรสมมูลย์ของฉนวน อาจจะแบ่งออกเป็ น 2 แบบ


I I

IC IR Rs
U CP RP U
Cs

(ก) วงจรขนาน (ข) วงจรอนุกรม


รูปที 1-6 วงจรสมมูลย์ของฉนวน
Dr.techn. Norasage Pattanadech 25
2020

1.1 คุณสมบัติของฉนวน 3. แฟคเตอร์พลังงานสู ญเปล่าไดอิเล็กตริ ก (tan )

1  (Cs Rs )
2

โดยที Rp  (1-9)
Rs (Cs ) 2

Cs
Cp  (1-10)
1  (Cs Rs ) 2

ทํานองเดียวกัน
Rp
Rs  (1-11)
1  (C p R p ) 2

1  (C p R p ) 2
Cs  (1-12)
 C p Rp
2 2

Dr.techn. Norasage Pattanadech 26


2020

1.1 คุณสมบัติของฉนวน 3. แฟคเตอร์พลังงานสู ญเปล่าไดอิเล็กตริ ก (tan )

เมือป้อนแรงดันรู ปคลืนไซน์ให้กบั ฉนวน

U  U m sin t

จะได้

I  I m sin t   

Dr.techn. Norasage Pattanadech 27


2020

1.1 คุณสมบัติของฉนวน 3. แฟคเตอร์พลังงานสู ญเปล่าไดอิเล็กตริ ก (tan )

รูปที 1-7 ความสัมพันธ์ระหว่างกระแสกับแรงดันทีป้อนให้กบั ฉนวน


Dr.techn. Norasage Pattanadech 28
2020

1.1 คุณสมบัติของฉนวน 3. แฟคเตอร์พลังงานสู ญเปล่าไดอิเล็กตริ ก (tan )

กําลังสู ญเสี ยคือ Pd = UI cos  (1-15)


= UI sin  (1-16)

เพราะว่า sin  = tan  เมือ  มีค่าน้อยๆ

ดังนัน Pd = UI tan  (1-17)

Dr.techn. Norasage Pattanadech 29


2020

1.1 คุณสมบัติของฉนวน 3. แฟคเตอร์พลังงานสู ญเปล่าไดอิเล็กตริ ก (tan )

ตารางที 1-3 ค่าของ sin  กับ tan  เมือมุม  มีค่าน้ อยๆ


 0 1 2 3 4 5 10 15 20
sin  0 0.017 0.035 0.052 0.0698 0.0872 0.174 0.259 0.342
tan  0 0.017 0.035 0.052 0.0699 0.0875 0.176 0.267 0.363

พิจารณาวงจรสมมูลย์ของฉนวน
1
วงจรขนาน tan  
R P C P
วงจรอนุกรม tan   R S CS
Dr.techn. Norasage Pattanadech 30
2020

1.1 คุณสมบัติของฉนวน 3. แฟคเตอร์พลังงานสู ญเปล่าไดอิเล็กตริ ก (tan )

Fre
qu
re ( C) 80
o 160
(Hz) 4 10
6
510
160
p erat u 120 10 4 ency
3

uen cy
310
120
80 Temp Tem 40 10 5 (Hz
10 6 )
Freq 10 2 10 40 eratur o -40 0 10 7
0 e ( C) -80 10
-40
0 .0 4 -80 3 .8
0. 0 3 3 .6

Relative permittivity,ε
0. 0 2 3.4
0 .0 1 3.2
Dissipation factor, tan δ

0 3 .0
0

รู ปที 1-8 ผลของอุณหภูมิและความถีต่อค่าเพอร์ มิตติวิตีและการสู ญเสี ยไดอิเล็กตริ กของ


Polyethylene terephthalate
Dr.techn. Norasage Pattanadech 31
2020

1.1 คุณสมบัติของฉนวน 3. แฟคเตอร์พลังงานสู ญเปล่าไดอิเล็กตริ ก (tan )

Frequency (Hz)
10-4 10-2 100 102 104 106 108 1010 1012 1014

DC step response
Ultra-low Audio-frequency
Frequency bridges
bridges Resonant
circuit
Cavities and
waveguides Refract-
ometers

รูปที 1-9 ไดอะแกรมวิธีการวัดค่าการสู ญเสี ยไดอิเล็กตริ กของฉนวน


Dr.techn. Norasage Pattanadech 32
2020

1.1 คุณสมบัติของฉนวน 3. แฟคเตอร์พลังงานสู ญเปล่าไดอิเล็กตริ ก (tan )

รูปที 1-10 อุปกรณ์วดั ค่าคาปาซิแตนซ์และค่าความสู ญเสี ยไดอิเล็กตริ กของฉนวน


Dr.techn. Norasage Pattanadech 33
2020

1.1 คุณสมบัติของฉนวน 3. แฟคเตอร์พลังงานสู ญเปล่าไดอิเล็กตริ ก (tan )

รูปที 1-11 การเกิดวาบไฟตามผิวลูกถ้วย


Dr.techn. Norasage Pattanadech 34
2020

1.1 คุณสมบัติของฉนวน 4. ความคงทนต่อแรงดันไฟฟ้า

AG Er
Gospe
oneurostar
e zies modernsite e

ตารางที 1-4 ค่าเพอร์มิตติวิตีและความคงทนต่อแรงดันไฟฟ้าของฉนวน


- entide we wen T8 Meg
วัสดุ ค่ าเพอร์ มติ ติวติ ี ความคงทนต่ อแรงดันไฟฟ้า (V/m)
Polycarbonate 2.8 3  107
Polyester 3.3 6  107
Polypropylene 2.2 7  107
Polystyrene 2.6 2  107
Pyrex glass 4.7 1  107

Dr.techn. Norasage Pattanadech 35


2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน

ก๊าซ 1.2.1 การใช้อากาศเป็ นฉนวน


1.2.2 สนามไฟฟ้า
1.2.3 ทฤษฎีการเกิดเบรกดาวน์ในก๊าซ
1.2.4 การคํานวณแรงดันเบรกดาวน์ในอากาศ
1.2.5 การใช้ก๊าซ SF6 (Sulphur Hexafluoride) เป็ นฉนวน
1.2.6 การคํานวณแรงดันเบรกดาวน์ในก๊าซ SF6
1.2.7 ตัวอย่างการใช้งานก๊าซ SF6 ในระบบไฟฟ้ากําลัง

Dr.techn. Norasage Pattanadech 36


2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.1 การใช้อากาศเป็ นฉนวน


ตารางที 1-5 ตัวอย่างการใช้อากาศเป็ นฉนวนในอุปกรณ์ไฟฟ้าแรงสู ง
ก๊าซ ลักษณะการใช้ งาน หน้ าที
1. ฉนวนระหว่างเฟสของระบบไฟฟ้ากําลัง เป็ นฉนวนระหว่างตัวนําต่างเฟสกันเช่นเฟส A กับ
เฟส B ในระบบส่ งจ่า ยไฟฟ้ า กําลัง กระแสสลับ
เป็ นฉนวนระหว่ า งตัว นํ า ที มี ข ัวตรงกัน ข้ า มเช่ น
ขัวบวกกับ ขัวลบของระบบส่ ง จ่ า ยแรงดัน ไฟฟ้ า
กระแสตรง
2. ฉนวนเฟสกับกราวด์หรื อเสาส่ งในระบบไฟฟ้า เป็ นฉนวนระหว่ า งตั ว นํ า ที มี แ รงดั น กั บ เสาส่ ง
กําลัง กําลังไฟฟ้าซึงต่อลงกราวด์หรื อระบบกราวด์อืนๆ
3. ฉนวนระหว่างช่องว่างทรงกลม เป็ นฉนวนระหว่างช่องว่างทรงกลม (Sphere – sphere
gap) ใช้สาํ หรับการวัดแรงดันสู งกระแสสลับและ
แรงดันสู งอิมพัลส์

Dr.techn. Norasage Pattanadech 37


2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.1 การใช้อากาศเป็ นฉนวน


ตารางที 1-5 ตัวอย่างการใช้อากาศเป็ นฉนวนในอุปกรณ์ไฟฟ้าแรงสู ง(ต่อ)
ก๊าซ
ลักษณะการใช้ งาน หน้ าที
4. ฉนวนระหว่างช่องว่างของแท่งตัวนํา (Rod) เป็ นฉนวนระหว่ า งช่ อ งว่ า งของแท่ ง ตัว นํา
(Rod-rod gap) ใช้สําหรั บการวัดแรงดันสู ง
กระแสตรงและใช้ในการสร้างรู ปคลืนอิมพัล ส์ตดั
สําหรับการทดสอบความคงทนต่อแรงดันอิมพัลส์
(BIL) ของอุปกรณ์ไฟฟ้าแรงสู ง เช่น หม้อแปลง

5. ฉนวนระหว่างช่องว่างป้องกันของแท่งตัวนํา ใช้ในการส่ งผ่านแรงดันเกิ น (High voltage


(Rod) surges) ไปยังระบบกราวด์โดยการสปาร์ ค ใช้ใน
ระบบป้ องกันอุปกรณ์ไฟฟ้ าแรงสู งเช่นหม้อแปลง
หรื อระบบส่ งจ่ายกําลังไฟฟ้า

Dr.techn. Norasage Pattanadech 38


2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.1 การใช้อากาศเป็ นฉนวน


ฉนวนระบบส่ งจ่ายกําลังไฟฟ้า
ก๊าซ

รู ปที 1-12 การใช้อากาศเป็ นฉนวนในระบบไฟฟ้าแรงสู ง


https://media.istockphoto.com/photos/row-of-pylons-picture-id501773545?k=6&m
Dr.techn. Norasage Pattanadech 39
=501773545&s=612x612&w=0&h=BU5pnZkAtq7FdrnV16QhIL0jont42fzI-jwqDFshKjc=
2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.1 การใช้อากาศเป็ นฉนวน

ก๊าซ

รู ปที 1-12 การใช้อากาศเป็ นฉนวนในระบบไฟฟ้าแรงสู ง


Dr.techn. Norasage Pattanadech 40
2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.1 การใช้อากาศเป็ นฉนวน

ก๊าซ ฉนวนสําหรับป้องกันหม้อแปลงไฟฟ้าเนืองจากแรงดันเกิน

รู ปที 1-12 การใช้อากาศเป็ นฉนวนในระบบไฟฟ้าแรงสู ง

Dr.techn. Norasage Pattanadech https://al-qandeel.com/wp-content/uploads/2013/07/distribution-transformer.jpg


https://5.imimg.com/data5/KN/RD/MY-6089537/transformer-arcing-horns-500x500.jpg
41
2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.2 สนามไฟฟ้า

ก๊าซ
V = 100 % U

75 75
50 50

25 25
เส้นสนามไฟฟา
เส้นศักดิไฟฟา
V=0

รูปที 1-13 สนามไฟฟ้าและเส้นศักย์เท่า

Dr.techn. Norasage Pattanadech 42


2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.2 สนามไฟฟ้า

ก๊าซ ความเครี ยดสนามไฟฟ้าสู งสุ ดจะเกิดขึนทีผิวของอิเลคโตรดทรงกลม ซึง


อาจคํานวณได้จากสมการ
U
Emax  (1-20)
d *

U คือ แรงดันทีป้อนให้กบั อิเลคโตรดทรงกลม


d คือ ระยะระหว่างอิเลคโตรด
 คือ แฟคเตอร์สนามไฟฟ้า (Field utilization factor) มีคาํ นิยามว่า

Dr.techn. Norasage Pattanadech 43


2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.2 สนามไฟฟ้า

ก๊าซ

Eav
*  1 (1-21)
Emax

U
Eav คื อ ค่ าเฉลี ยของสนามไฟฟ้ ามี ค่ าเท่ ากั

d

Dr.techn. Norasage Pattanadech 44


2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.2 สนามไฟฟ้า

ก๊าซ
การศึกษาสนามไฟฟ้านันสนามไฟฟ้าสามารถแบ่งออกเป็ น 3 ประเภท

1. สนามไฟฟ้าสมําเสมอ (Uniform Field)


2. สนามไฟฟ้าไม่สมําเสมอเล็กน้อย (Slightly Nonuniform Field)
3. สนามไฟฟ้าไม่สมําเสมอสู ง (Highly Nonuniform Field)

Dr.techn. Norasage Pattanadech 45


2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.2 สนามไฟฟ้า

ก๊าซ
E
III

II

X d

รูปที 1-14 เปรี ยบเทียบสนามไฟฟ้าของอิเล็กโตรดลักษณะต่างๆ


Dr.techn. Norasage Pattanadech 46
2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.2 สนามไฟฟ้า


Voltage V
ก๊าซ
Diameter
D

x Emax

d E(x)
Plane

รูปที 1-15 การจัดวางอิเล็กโตรด Rod – to – plane


V
(ค่า Field factor ของสนามไฟฟ้าทีมีรูปแบบต่างกันโดย η* = )
dEmax
Dr.techn. Norasage Pattanadech 47
2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.2 สนามไฟฟ้า

ก๊าซ
สมการซึงจะนําไปใช้คาํ นวณหาความเครี ยดสนามไฟฟ้าทีแรงดัน
โคโรนาเริ มเกิด โดยทีสนามไฟฟ้าแห่งเรขาคณิ ตยังไม่เปลียนแปลง

Ui
Ei  (1-22)
d *

Ei คือ ความเครี ยดสนามไฟฟ้าโคโรนาเริ มเกิด


U i คือ แรงดันป้อนทีโคโรนาเริ มเกิด (corona inception voltage)

Dr.techn. Norasage Pattanadech 48


2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.2 สนามไฟฟ้า

ก๊าซ การจัดวางอิเลคโตรด Rod – to – plane จะสามารถคํานวณค่า Vb ได้


ตามสมการ
Vb  Emax d *

 Eb d * เมือ ( Emax  Eb ) (1-23)

R1
 *sphere  (1-24)
R2
เมือ R1 คือ รัศมีของทรงกลม
R2 คือ รัศมีหรื อความกว้างของระนาบ
Dr.techn. Norasage Pattanadech 49
2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.2 สนามไฟฟ้า


300
ก๊าซ 266 kV
Neg. + pos.pol.
200
Neg. d.c.
Voltage (kV)

Pos. d.c.

100
Breakdown, neg. pol.
Breakdown, pos. pol.
Corona – inception.
Pos. polarity
0
0 20 40 60 80 100
η* (%)
0 10 25 50 100 250 500
D (mm)
รู ปที 1-16 ค่าแรงดันเบรกดาวน์และโคโรนาเริ มต้นของอิเล็กโตรดตามรู ปที 1-15
ทีมีระยะ d = 10 cm
Dr.techn. Norasage Pattanadech 50
ตารางที 1-6 สนามไฟฟ้า สนามไฟฟ้าสู งสุ ด และค่า η* ของรู ปทรงทัวไปทีมีใช้
ในระบบไฟฟ้าแรงสู ง
Configuration Potential E Emax Eav
η* Emax Field application

Concentric spheres Spherical capacitors,


Capacitance
Ub a
a a V (b-r)
Ф (r) = (b-a) r E(r) = rUba
2 (b-a)
E max =a(b- a) b Representation of the dome
r b of Van de Graaff generator
and the structure of the
Coaxial cylinders room
aln(b/a)
2a 2b Ф (r) = Uln(b/r) E(r) = U
rln(b/a)
U
E max = Aln(b/a) b-a Cable bushing and GIS
ln(b/a)

Separated equal spheres

R
E max = U if d >> R 2R if d
d E max Two-dimensional Two-dimensional 2R d R >> 1 Sphere gap for HV
R field field Measurement.ect

Equal parallel
cylinders 2R

U Overhead
E max d Two-dimensional Two-dimensional E max = 2Rln[(d+2R)/R] 2Rln(d/R) if d > > 4
d R Transmission line
field field arrangements
Dr.techn. Norasage Pattanadech 51
2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.3 ทฤษฎีการเกิดเบรกดาวน์ในก๊าซ

ก๊าซ

1. ทฤษฎีของทาวน์เซนต์ (Townsend s theory)

2. ทฤษฎีสตรี มเมอร์ (Streamer theory)

Dr.techn. Norasage Pattanadech 52


2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.3 ทฤษฎีการเกิดเบรกดาวน์ในก๊าซ


1. ทฤษฎีของทาวน์เซนต์ (Townsend s theory)
ก๊าซ
กระบวนการขันต้น จํานวนอิเลคตรอนในอะวาลานซ์ในแก๊ปทีระยะ x
จากแคโทดคือ
N x  N o ex (1-25)

No คือ จํานวนอิเลคตรอนทีปล่อยจากแคโทดต่อวินาที
Nx คือ จํานวนอิเลคตรอนทีระยะ x จากแคโทด

ดังนัน จํานวนอิเลคตรอนทีวิงเข้าหาแอโนด (x = d) ต่อวินาที จะเป็ น


d
N d  Noe (1-26)
Dr.techn. Norasage Pattanadech 53
2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.3 ทฤษฎีการเกิดเบรกดาวน์ในก๊าซ


1. ทฤษฎีของทาวน์เซนต์ (Townsend s theory)
ก๊าซ
แคโทด Noeαx e Noeαd แอโนด
e
e I+
e
e e
e
อิเล็คตรอนอิสระ e
I+ I+
อะตอม e
e
ไอออนบวก e
e

I+
x d

รูปที 1-17 การสร้างอิเล็กตรอนอิสระโดยกระบวนการ α


Dr.techn. Norasage Pattanadech 54
2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.3 ทฤษฎีการเกิดเบรกดาวน์ในก๊าซ


1. ทฤษฎีของทาวน์เซนต์ (Townsend s theory)
ก๊าซ
กระบวนการขันสองหรื อกระบวนการ γ สามารถอธิบายได้ดงั นี

N0 คือ จํานวนอิเลคตรอนทีปล่อยจากแคโทดต่อวินาที
N0 คือ จํานวนอิเลคตรอนทีปล่อยจากกระบวนการขันทีสองต่อ
วินาทีทีแคโทด
N0 คือ จํานวนอิเลคตรอนรวมทังหมดทีออกจากแคโทดต่อวินาที
ฉะนัน
N0  N0  N0 (1-27)

Dr.techn. Norasage Pattanadech 55


2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.3 ทฤษฎีการเกิดเบรกดาวน์ในก๊าซ

ก๊าซ 1. ทฤษฎีของทาวน์เซนต์ (Townsend s theory)


อิเลคตรอนแต่ละตัวทีออกจากแคโทดจะชนไอออไนเซชันเท่ากับ ed 1
ครัง จํานวนครังของการชนไอออไนเซชันในแกปทังหมดจะเป็ น
 
N 0  N 0 ed  1 (1-28)

มีอิเลคตรอนเกิดขึนจากกระบวนการขันสองออกจากแคโทดเป็ น


N 0  N 0 ed  1  (1-29)

Dr.techn. Norasage Pattanadech 56


2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.3 ทฤษฎีการเกิดเบรกดาวน์ในก๊าซ

ก๊าซ 1. ทฤษฎีของทาวน์เซนต์ (Townsend s theory)


แคโทด e Noeαx e แอโนด
e e

αx
No(e -1) αx
γNo(e -1)

x d
รูปที 1-18 การสร้างอิเล็กตรอนอิสระโดยกระบวนการ γ
Dr.techn. Norasage Pattanadech 57
2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.3 ทฤษฎีการเกิดเบรกดาวน์ในก๊าซ


1. ทฤษฎีของทาวน์เซนต์ (Townsend s theory)
ก๊าซ
เมือ γ เป็ นสัมประสิ ทธิไอออไนเซชันทีสองของทาวน์เซนต์
ดังนัน
N 0  N 0  N 0 ed 1
N0
N 0  (1-30)
 
1   ed  1
จํานวนอิเลคตรอนทีวิงไปถึงแอโนดจึงเป็ น
d

N d  N 0e
N 0ed (1-31)
Nd 

1   ed  1 
Dr.techn. Norasage Pattanadech 58
2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.3 ทฤษฎีการเกิดเบรกดาวน์ในก๊าซ


1. ทฤษฎีของทาวน์เซนต์ (Townsend s theory)
ก๊าซ
เพราะว่าการเคลือนทีของประจุต่อเวลาคือกระแสไฟฟ้า จะได้สมการ
ของกระแสเป็ น
Nd I ed
 

N o I 0 1   ed  1 
d
I 0e
I
 d
1   e 1  (1-32)

d
เงือนไขในการเกิดเบรกดาวน์  (e  1)  1
Dr.techn. Norasage Pattanadech 59
2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.3 ทฤษฎีการเกิดเบรกดาวน์ในก๊าซ

ก๊าซ ความล้มเหลวของทฤษฎีทาวน์เซนต์

ทาวน์เซนต์ไม่สามารถอธิบายการเกิดเบรกดาวน์ได้ในทุกกรณี
เช่น การเกิดเบรกดาวน์ในช่องแกปกว้างๆด้วยแรงดันอิมพัลส์ฟ้าผ่าคลืนตัด
สันๆ หรื อไม่สามารถอธิบายผลของประจุคา้ ง(space charge) ซึงจําเป็ นทีจะ
ต้องใช้ทฤษฎีสตีมเมอร์มาอธิบายแทน

Dr.techn. Norasage Pattanadech 60


2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.3 ทฤษฎีการเกิดเบรกดาวน์ในก๊าซ


2. ทฤษฎีสตรี มเมอร์ (Streamer theory)
ก๊าซ
ทฤษฎีสตรี มเมอร์นาํ เสนอโดย
1. Meek และ Loeb (สตรี มเมอร์บวก, อาโนด → คาโถด)
2. Rather (สตรี มเมอร์ลบ, คาโถด→ อาโนด)
การเกิดไอออไนเซชันจํานวนมากเนืองจากการรวมตัวกันใหม่
(Recombimation)ระหว่างไอออนบวกกับอิเล็กตรอน แล้วปลดปล่อย
พลังงานออกมา เราเรี ยกไอออไนเซชันแบบนีว่าโฟโตไอออไนเซชัน

Dr.techn. Norasage Pattanadech 61


2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.3 ทฤษฎีการเกิดเบรกดาวน์ในก๊าซ


2. ทฤษฎีสตรี มเมอร์ (Streamer theory)
ก๊าซ

การเกิดโฟโตไอออไนเซชัน

Dr.techn. Norasage Pattanadech 62


2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.3 ทฤษฎีการเกิดเบรกดาวน์ในก๊าซ


2. ทฤษฎีสตรี มเมอร์ (Streamer theory)
ก๊าซ

รูปที 1-19 การเกิดสตรี มเมอร์

Dr.techn. Norasage Pattanadech 63


2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.3 ทฤษฎีการเกิดเบรกดาวน์ในก๊าซ

ก๊าซ 2. ทฤษฎีสตรี มเมอร์ (Streamer theory)


เงือนไขการเกิดสตรี มเมอร์ (การเปลียนสภาพจากอิเล็กตรอน อะวา
ลานซ์ไปสู่ สตรี มเมอร์)
1. สตรี มเมอร์เกิดขึนเมือสนามไฟฟ้าเนืองจากไอออนบวกทีหัวอะวาลานซ์มี
ค่าประมาณเท่ากับความเครี ยดสนามไฟฟ้าทีป้อนจากภายนอก (นําเสนอโดย
Meek และ Loeb)
2. สตรี มเมอร์เกิดขึนเมืออะวาลานซ์มีจาํ นวนอิเล็กตรอนหรื อไอออนบวกตาม
d
กระบวนการชนไอออไนเซชัน e ประมาณ 108 (นําเสนอโดย Rather)

Dr.techn. Norasage Pattanadech 64


2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.4 การคํานวณแรงดันเบรกดาวน์ในอากาศ

ก๊าซ

1. แรงดันเบรกดาวน์ของอากาศในสนามไฟฟ้าสมําเสมอ

2. แรงดันเบรกดาวน์ของอากาศในสนามไฟฟ้าไม่สมําเสมอ

Dr.techn. Norasage Pattanadech 65


2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.4 การคํานวณแรงดันเบรกดาวน์ในอากาศ

ก๊าซ
1. แรงดันเบรกดาวน์ของอากาศในสนามไฟฟ้าสมําเสมอ
ในสนามไฟฟ้าสมําเสมอ η* = 1 ดังนันจะได้ค่าแรงดันเบรกดาวน์

U b  Eb  d (1-34)

ค่า Eb ของอากาศหาได้จากตารางค่าความเครี ยดสนามไฟฟ้าเบรกดาวน์


ของอากาศทีสภาวะมาตรฐาน ( t = 20C , P = 760 mmHg)

Dr.techn. Norasage Pattanadech 66


2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.4 การคํานวณแรงดันเบรกดาวน์ในอากาศ


ตารางที 1-7 ค่าความเครี ยดสนามไฟฟ้าเบรกดาวน์ของอากาศทีสภาวะมาตรฐาน
ก๊า(tซ= 20oC, P = 760 mmHg)
d(mm) Eb(kV/cm) d(mm) Eb(kV/cm) d(mm) Eb(kV/cm) d(mm) Eb(kV/cm)

0.1 96.0 0.9 46.5 8 32.1 40 28.0

0.2 73.3 1 45.4 9 31.7 45 27.8

0.3 64.1 2 39.5 10 31.4 50 27.7

0.4 58.8 3 36.7 15 30.0 55 27.5

0.5 55.2 4 35.0 20 29.4 60 27.3

0.6 52.2 5 34.0 25 28.9 65 27.2

0.7 49.9 6 33.2 30 28.6 80 26.9

0.8 48.1 7 32.6 35 28.3 90 26.7

Dr.techn. Norasage Pattanadech 67


2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.4 การคํานวณแรงดันเบรกดาวน์ในอากาศ


1. แรงดันเบรกดาวน์ของอากาศในสนามไฟฟ้าสมําเสมอ
ก๊าซ พิจารณาจากการทดสอบหาค่าแรงดันเบรกดาวน์ของแกปทรงกลม d
D
2
คํานวณโดยอาศัยสมการที (1-34)
เมือ P คือ ความดันบรรยากาศของก๊าซ
d คือ ระยะแกป cm
จะได้ U b  24.4 pd  6.72 pd (1-35)
ถ้าความดันบรรยากาศ p = 1
U b  24.4d  6.72 d (1-36)
ค่าความคงทนของอากาศ
6.72
Eb  24.4  (1-37)
d
Dr.techn. Norasage Pattanadech 68
2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.4 การคํานวณแรงดันเบรกดาวน์ในอากาศ


1. แรงดันเบรกดาวน์ของอากาศในสนามไฟฟ้าสมําเสมอ
ก๊าซ
Ub

(Ub)min

(p.d)min p.d
รูปที 1-20 ความสัมพันธ์ระหว่าง pd กับ Ub
Dr.techn. Norasage Pattanadech 69
2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.4 การคํานวณแรงดันเบรกดาวน์ในอากาศ


1. แรงดันเบรกดาวน์ของอากาศในสนามไฟฟ้าสมําเสมอ
ก๊าซ 103

1 2
102

3
101
Ub
4
100

10-1 -3
10 10-2 10-1 100 101 102 bar mm 103
pd
รู ปที 1-21 เส้นโค้งพาเซนของก๊าซต่างๆ 1) SF6 2) อากาศ 3) H2 4) Ne
Dr.techn. Norasage Pattanadech 70
2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.4 การคํานวณแรงดันเบรกดาวน์ในอากาศ

ก๊าซ 1. แรงดันเบรกดาวน์ของอากาศในสนามไฟฟ้าสมําเสมอ

ตารางที 1- 8 เปรี ยบเทียบความสัมพันธ์ของ pdmin กับ Ubmin


รายการ Air N2 H2 O2 SF6 Co2 He Ne Na
(pd)min
0.55 0.65 1.05 0.7 0.26 0.51 4.0 4.0 0.55
Torr.cm
Ubmin (Volt) 352 240 230 450 507 420 155 245 320

Dr.techn. Norasage Pattanadech 71


2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.4 การคํานวณแรงดันเบรกดาวน์ในอากาศ

ก๊าซ 2. แรงดันเบรกดาวน์ของอากาศในสนามไฟฟ้าไม่สมําเสมอ
d r (1-38)
P
r
และ
R
q (1-39)
r

เมือ d คือ ระยะทางระหว่างแกป


r คือ รัศมีของอิเลคโตรดทรงกลมลูกเล็ก
R คือ รัศมีของอิเลคโตรดทรงกลมลูกใหญ่
Dr.techn. Norasage Pattanadech 72
Power and Energy Series 2020

ความสัมพันธ์ของ * กับ p และ q ของอิเล็กโตรดมีรูปทรงพืนฐาน

1.0
0.9
0.8
η* 0.7
0.6
0.5
q=1
0.4
q=p
0.3

q=1
0.2
q =∞
q=∞

0.1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 15 20
1 1.5
p
Dr.techn. Norasage Pattanadech “PD Measurement for UG Cables” 73
ตารางที 1-9 ความสัมพันธ์ของ * กับ p และ q ของอิเล็กโตรดมีรูปทรงพืนฐาน
SPHERE CONFIGURATIONS
2r S 2r 2r S
2r S 2r
2r 2R

P q=1 q=1 q= ∞ q=p


1 1 1 1 1
1.5 0.850 0.834 0.732 0.667
2 0.732 0.660 0.563 0.500

3 0.563 0.428 0.372 0.333


4 0.449 0.308 0.276 0.250
5 0.372 0.238 0.218 0.200

6 0.318 0.193 0.178 0.167


7 0.276 0.163 0.152 0.143
8 0.244 0.140 0.133 0.125

9 0.218 0.123 0.117 0.111


10 0.197 - 0.105 0.100
Dr.techn. Norasage Pattanadech 74
2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.5 การใช้ก๊าซ SF6


(Sulphur Hexafluoride) เป็ นฉนวน
ก๊าซ
Sheath to be Welded
to Adjacent Sheath
Insulating SF6 Gas
Semi-stop Join Spacer Silver-plated
Conductor Plug
Tri-post Spacer

Sheath Particle Trap


Conductor Finger Contacts
inside Conductor

รูปที 1-25 ไดอะแกรมความดัน – อุณหภูมิของ SF6พร้อมกับเส้นความหนาแน่น (g / dm3)


Dr.techn. Norasage Pattanadech 75
2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.5 การใช้ก๊าซ SF6


(Sulphur Hexafluoride) เป็ นฉนวน
ก๊าซ

รูปที 1-25 ไดอะแกรมความดัน – อุณหภูมิของ SF6พร้อมกับเส้นความหนาแน่น (g / dm3)


Dr.techn. Norasage Pattanadech 76
2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.5 การใช้ก๊าซ SF6


TEMPERATURE °C
(Sulphur Hexafluoride) เป็ นฉนวน
-80 -60 -40 -20 0 20 40
1000
900
ก๊าซ 800
700
600
500
CRITICAL
POINT
400
300
SOLID LIQUID
200

100
90
80
70
60
50
PRESSURE , PSIA

40 GAS
MELTING
30 POINT
SUBLIMATION
POINT
20

10
9
8
7
6
5
4
รู ปที 1-23 สถานะ SF6 ตามอุณหภูมิ
2
3
และความดัน
1
-112 -76 -40 -4 32 68 104
TEMPERATURE °F
SF6 Vapour and sublimation pressure
Dr.techn. Norasage Pattanadech 77
liquid phase gas phase
Critical point
36 45.55 ºC

pressure in bar
37.59 bar
34
32

density in kg/l
30
28 0.14
26 0.13
24 0.12
22 0.11
20 0.10
18 0.09
16 0.08
14 0.07
12 0.06
10 0.05
8 0.04
6 0.03
4 0.02
2 0.01
0
50 30 10 10 30 50 70 90 110 130
temperature in ºC

รูปที 1-24 ไดอะแกรมความดัน-อุณหภูมิของก๊าซ SF6 พร้อมกับเส้นความหนาแน่น(kg/l)


Dr.techn. Norasage Pattanadech 78
2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.5 การใช้ก๊าซ SF6


1000 g/dm3
(Sulphur Hexafluoride) เป็ นฉนวน
B 60
kPa
ก๊าซ 900 50
a
800
b
700 40
c
600
Pabs 30
500
400
20
300 A A : Liquefaction line
200 B - B : Density line
10 a : Filling line
100 B b : Topping – up line
c : Blocking line
-60 -40 -20 0 20 40 60 ํC
T
รูปที 1-25 ไดอะแกรมความดัน – อุณหภูมิของ SF6พร้อมกับเส้นความหนาแน่น (g / dm3)
Dr.techn. Norasage Pattanadech 79
2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.5 การใช้ก๊าซ SF6


(Sulphur Hexafluoride) เป็ นฉนวน
ก๊าซ

รู ปที 1-25 ไดอะแกรมความดัน – อุณหภูมิของ SF6พร้อมกับเส้นความหนาแน่น (g / dm3)


Dr.techn. Norasage Pattanadech 80
2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.5 การใช้ก๊าซ SF6


(Sulphur Hexafluoride) เป็ นฉนวน
ก๊าซ

• คุณสมบัติทางฟิ สิกส์และเคมีของก๊าซ SF6


• คุณสมบัติทางไฟฟ้าของก๊าซ SF6
• คุณสมบัติการระบายความร้อนของก๊าซ SF6

Dr.techn. Norasage Pattanadech 81


2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.5 การใช้ก๊าซ SF6


(Sulphur Hexafluoride) เป็ นฉนวน
ก๊าซ คุณสมบัติทางฟิ สิ กส์และเคมีของก๊าซ SF6
F

F S F

รูปที 1-26 โมเลกุลของ SF6


Dr.techn. Norasage Pattanadech 82
Power and Energy Series 2020

ตารางที 1-10 คุณสมบัติทวไปของ


ั SF6
Mechanical and caloric data
Sublimation point (1.0133 bar) -63.9 oC
Melting point (2.26 bar) -50.8 oC
Vapour pressure see page 39
Heat of sublimation 153.2 kJ/kg
Heat of fusion 34.37 kJ/kg
Heat of vaporization :
Temperature(oC) -20 0 +20 +40
Heat of vaporization (kJ/kg) 91.71 78.96 62.54 34.08
Critical data :
Critical temperature 45.58 oC
Critical pressure 37.59 bar
Critical density 0.74 kg/l
Density: (see fig.1-24)
Gas density(20 oC, 1 bar) 6.07g/l
Liquid density (0 oC,12.65 bar)
Dr.techn. Norasage Pattanadech
12.56 kg/l
“PD Measurement for UG Cables” 83
Critical temperature 45.58 C
Power and Energy Series
Critical pressure 37.59 bar 2020

ตารางทีCritical คุณสมบัติทวไปของ
1-10density ั SF6 (ต่อ) 0.74 kg/l
Mechanical and caloric data
Gas density(20 oC, 1 bar) 6.07g/l
Liquid density (0 oC,12.65 bar) 12.56 kg/l
Solid density (-100 oC) 2.77kg/l
Viscosity (see fig.1-33)
Thermal conductivity (see fig.1-34)
Heat transfer capacity (see fig.1-32)
Acoustic velocity in SF 6
(0 oC ,1.0bar) 129.06 m/sec
Isentropic exponent(K)
The dynamic compressibility of
SF6 is particularly high on account
of the low value of the isentropic
exponent: K=1.08(30 oC, 1.0bar)
Heat of formation (Δ Hg , 25 oC)* -1221.58 ±1.0kJ/mol
Entropy of reaction (ΔSg,25 oC) * -349.01J/mol k
*for formation from rhombic and
Dr.techn. Norasage Pattanadech
Gaseous fluorine “PD Measurement for UG Cables” 84
Power and Energy Series 2020

ตารางที 1-10 คุณสมบัติทวไปของ


ั SF6 (ต่อ)
Solubility
Solubility in water
Gas volume corrected
To 0 ํC,1.0133bar
Temperature( ํC) 5 10 15 20 25 30 40 50
Solubility (cm3SF6/kg H2O) 11.39 9.11 7.48 6.31 5.44 4.79 3.96 3.52
Solubility in
Transformer oil
(Esso-Univolt 35)
Gas volume under 0 ํC, 1.0133 bar
Temperature ( ํC) 27 50 70
Solubility (cm3SF6/cm3oil) 0.408 0.344 0.302
Specific heat(Cp)
Solid and liquid phase
Temperature(K) 200 210 220 225 230
Specific
Dr.techn. heat (J/mol
Norasage K)
Pattanadech 104.17 116.60 184.22 110.95 “PD
119.58
Measurement for UG Cables” 85
(Esso-Univolt 35)
Power and Energy Series 2020
Gas volume under 0 ํC, 1.0133 bar
Temperature ( ํC) 27 50 70
ตารางที 1-10 คุณสมบัต0.408
Solubility (cm3SF6/cm3oil)
ิทวไปของ
ั 0.344 0.302
SF6 (ต่อ)
Specific heat(Cp)
Solid and liquid phase
Temperature(K) 200 210 220 225 230
Specific heat (J/mol K) 104.17 116.60 184.22 110.95 119.58
Gas phase (1 bar)
Temperature(K) 298 373 400 473 500 573 600 673 700 773 1273
Specific heat (J/mol K) 97.26 112.45 116.39 125.89 128.54 134.51 136.07 140.21 141.1 144.35 152.62

Vapour pressure
(cf.fig. 1-24)
Temperature( ํC) -50 -45 -40 -35 -30 -25 -20 -15 -10 -5
Pressure (bar) 2.34 2.87 3.49 4.20 5.02 5.95 7.01 8.19 9.52 11.01
Temperature( ํC) 0 +5 +10 +15 +20 +25 +30 +35 +40 +45
Pressure (bar) 12.65 14.47 16.47 18.67 21.08 23.72 26.62 29.79 33.27 37.13

Dr.techn. Norasage Pattanadech “PD Measurement for UG Cables” 86


2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.5 การใช้ก๊าซ SF6


(Sulphur Hexafluoride) เป็ นฉนวน
ก๊คุาณ
ซ สมบัติทางไฟฟ้าของก๊าซ SF6
SF6

actual value of the breakdown voltage in kV


100
transformer oil
12.5 80

60 air
75 mm

40

12.5 20

1 1.5 2 2.5 3 3.5 4


gas pressure in bar
รูปที 1-27 ความสัมพันธ์ระหว่างค่าแรงดันเบรกดาวน์กบั ความดันของนํามันหม้อแปลง อากาศ และSF6
Dr.techn. Norasage Pattanadech 87
2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.5 การใช้ก๊าซ SF66


(Sulphur Hexafluoride) เป็ นฉนวน
ก๊าคุซณสมบัติทางไฟฟ้าของก๊าซ SF6
p = 5.0 bar 2.5 bar 2.0 bar 1.5 bar 1.0 bar

voltage in kV
225

200

175

150

s 125

p = 1.0 bar
100
200 mm

air
75

50

50 mm 25

0
10 20 30 40
distance between electrodes in mm
รูปที 1-28 แรงดันเบรกดาวน์ 50 Hz ของ SF6 ภายใต้สนามไฟฟ้าสมําเสมอ เมือมีการปรับเปลียน
ความดันก๊าซ และระยะห่างระหว่างอิเล็กโตรด
Dr.techn. Norasage Pattanadech 88
2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.5 การใช้ก๊าซ SF6


(Sulphur Hexafluoride) เป็ นฉนวน
คุณสมบัติทางไฟฟ้าของก๊าซ SF6
ก๊าซ 51 mm gap SF6
N2/CO 2

25 mm 51 mm

Voltage in MV
13 mm 25 mm

13 mm

64 mm

5 10 15 20 25 30
Gas pressure in bar
รูปที 1-29 ความสัมพันธ์ระหว่างค่าแรงดันเบรกดาวน์และความดันก๊าซทีระยะห่างระหว่างอิเล็กโตรดค่าต่างๆ
เปรี ยบเทียบกันระหว่าง SF6 กับก๊าซผสม N2/CO2
Dr.techn. Norasage Pattanadech 89
2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.5 การใช้ก๊าซ SF6


(Sulphur Hexafluoride) เป็ นฉนวน
ก๊าซคุณสมบัติทางไฟฟ้าของก๊าซ SF6 9
SF6

Voltage in MV
7
6
15 mm 5
4
3 air

2
1
rk = 0.025 mm
0
1 2 3 4 5 6
Gas pressure in bar
รูปที 1-30 ความสัมพันธ์ระหว่างค่าความดันก๊าซกับแรงดันโคโรนาออนเซต
(Corona-onset voltage) ของ SF6 และอากาศ
Dr.techn. Norasage Pattanadech 90
2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.5 การใช้ก๊าซ SF6


(Sulphur Hexafluoride) เป็ นฉนวน
คุ
ก๊าซ ณสมบั
ต ิ ท างไฟฟ้ าของก๊ าซ SF 6

20

Voltage in kV
SF6

15

20 mm
10
air

rk 0
10-2 2 4 6 8 10-1 2 4 6 100
Radius of curvature in mm
รู ปที 1-31 ผลของรัศมีความโค้ง K ต่อค่าแรงดันโคโรนาออนเซต (Corona-onset voltage)
Dr.techn. Norasage Pattanadech 91
2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.5 การใช้ก๊าซ SF6


(Sulphur Hexafluoride) เป็ นฉนวน
คุณสมบัติการระบายความร้อนของก๊าซ SF6
ก๊าซ
Heat -transfer coefficient in W/m2 k 100 Transformer oil

50

SF6
30 2 bar

SF6
20
1 bar

air
10
1 2 3 5 10 20 30
Flow velocity in m/s
รูปที1-32 สัมประสิ ทธิการถ่ายเทความร้อนของอากาศและ SF6 เปรี ยบเทียบกับนํามันหม้อแปลง
Dr.techn. Norasage Pattanadech 92
2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.5 การใช้ก๊าซ SF6


(Sulphur Hexafluoride) เป็ นฉนวน
ก๊คุาณซสมบัติการระบายความร้อนของก๊าซ SF6

0.04

Viscosity in mPa-s
Temperature (oC) Viscosity ( mPa-s)
0 0.0141
25 0.0153 0.03
100 0.0186
200 0.0228
300 0.0266 0.02
400 0.0302
500 0.0335
0.01
0 200 400 600
Temperature in c ํ

รู ปที 1-33 ผลของอุณหภูมิทีความดันบรรยากาศต่อความหนื ดของ SF6


Dr.techn. Norasage Pattanadech 93
2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.5 การใช้ก๊าซ SF6


(Sulphur Hexafluoride) เป็ นฉนวน
คุณสมบัติการระบายความร้อนของก๊าซ SF6
ก๊าซ
2.50 10-4

thermal conductivity in W/cm K


2.25
Thermal
Temperature (oC) conductivity
( W/cm·K) 2.00
0 1.0
25 1.3 1.75
100 1.9
200 2.5 1.50
300 3.1
400 3.6 1.25
500 4.1
1.00 40 80 120 160 200
0
temperature in ºC
รู ปที 1-34 ค่าการนําความร้อนของ SF6 ทีอุณหภูมิต่างๆ ทีระดับความดันบรรยากาศ
Dr.techn. Norasage Pattanadech 94
2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.5 การใช้ก๊าซ SF6


(Sulphur Hexafluoride) เป็ นฉนวน
คุณสมบัติการระบายความร้อนของก๊าซ SF6
ก๊าซ N2
11 103

temperature in K
10
9
8
7 SF6
6
5
4
3 lower limit of
2 ionisation temperature
1
1.0 0.5 0 0.5 1.0
arc radius
รู ปที 1-35 รัศมีและอุณหภูมิของอาร์ คเปรี ยบเทียบระหว่าง SF6 กับ N2
Dr.techn. Norasage Pattanadech 95
2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.5 การใช้ก๊าซ SF6


(Sulphur Hexafluoride) เป็ นฉนวน
คุณสมบัติการระบายความร้อนของก๊าซ SF6
ก๊าซ
SF6
125
arc current in amperes
100
50 % SF6
50 % Air
75

50

25
Air
0 2 4 6 8 10 12
pressure in bar

รู ปที 1-36 ค่า Quenching Capacity ของ SF6, อากาศ และ SF6 ผสมกับอากาศ
Dr.techn. Norasage Pattanadech 96
2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.6 การคํานวณแรงดันเบรกดาวน์ในก๊าซ SF6

ก๊าซ

1. แรงดันเบรกดาวน์ของ SF6 ในสนามไฟฟ้าสมําเสมอ

2. แรงดันเบรกดาวน์ของ SF6 ในสนามไฟฟ้าไม่สมําเสมอ

Dr.techn. Norasage Pattanadech 97


2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.6 การคํานวณแรงดันเบรกดาวน์ในก๊าซ SF6

ก๊าซ 1. แรงดันเบรกดาวน์ของ SF6 ในสนามไฟฟ้าสมําเสมอ

U = 87.8pd+0.67 kV (1-40)

เมือ d คือระยะแกป (cm)


p คือความดันก๊าซ มีหน่วยเป็ น bar

Dr.techn. Norasage Pattanadech 98


2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.6 การคํานวณแรงดันเบรกดาวน์ในก๊าซ SF6


1. แรงดันเบรกดาวน์ของ SF6 ในสนามไฟฟ้าสมําเสมอ
ก๊าซ

Dr.techn. Norasage Pattanadech 99


2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.6 การคํานวณแรงดันเบรกดาวน์ในก๊าซ SF6


2. แรงดันเบรกดาวน์ของ SF6 ในสนามไฟฟ้าไม่สมําเสมอ
ก๊าซ kV
160
cm
140 S
120

100 1
80
60 2
Eb
40 3
20 4
0
10 - 2 10- 1 10 0 10 1 cm 10 2
S
รู ปที 1-37 ความเครี ยดสนามไฟฟ้าเบรกดาวน์ของก๊าชชนิดต่างๆภายใต้อิเล็กโตรดแผ่นระนาบที
อุณหภูมิ 20 oC ความดันบรรยากาศ 1013 mbar โดยที 1) คือ SF6 2) คืออากาศ 3) คือ H2 4) คือ Ne
Dr.techn. Norasage Pattanadech 100
2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.6 การคํานวณแรงดันเบรกดาวน์ในก๊าซ SF6


2. แรงดันเบรกดาวน์ของ SF6 ในสนามไฟฟ้าไม่สมําเสมอ
ก๊าซ 160
kV r
140
cm 2
120
100
80 1

Eb 60
40
20
0
10 -2 -1
10 100 101 cm 102
r
รูปที 1-38 ความเครี ยดสนามไฟฟ้าเบรกดาวน์ของ 1) อากาศ 2) ก๊าซ SF6 ระหว่างตัวนํา ทรงกระบอกซ้อน
แกนร่ วมทีอุณหภูมิ 20 oC ความดันบรรยากาศ 1013 mbar เมือ r คือรัศมี ของทรงกระบอกเล็ก
Dr.techn. Norasage Pattanadech 101
2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.6 การคํานวณแรงดันเบรกดาวน์ในก๊าซ SF6


2. แรงดันเบรกดาวน์ของ SF6 ในสนามไฟฟ้าไม่สมําเสมอ
180
ก๊าซ kV
cm 160
r r
140 s

120
2
100
Ed
80

60 1

40
20

10 -1 100 r 101 cm 102


รู ปที 1-39 ความเครี ยดสนามไฟฟ้าเบรกดาวน์ของทรงกลม ทีอุณหภูมิ 20 oC
ความดัน บรรยากาศ 1013 mbar โดยที S/r = 0.1 … 1 และ 1) คืออากาศ 2) คือSF6
Dr.techn. Norasage Pattanadech 102
2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.7 ตัวอย่างการใช้งานก๊าซ SF6 ในระบบไฟฟ้ากําลัง

ก๊าซ
1. การใช้ SF6 เป็ นฉนวนในเซอร์กิตเบรคเกอร์
2. หม้อแปลง SF6
3. การใช้ SF6 เป็ นฉนวนใน สถานีไฟฟ้าย่อย GIS
(Gas Insulated Switchgear)
4. เปรี ยบเทียบการใช้พืนทีของสถานีไฟฟ้าย่อยGIS กับสถานี
ไฟฟ้าย่อยทีใช้อากาศเป็ นฉนวน (Air Insulated Substation, AIS)

Dr.techn. Norasage Pattanadech 103


2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.7 ตัวอย่างการใช้งานก๊าซ SF6 ในระบบไฟฟ้ากําลัง


1. การใช้ SF6 เป็ นฉนวนในเซอร์ กิตเบรคเกอร์
ก๊าซ

รู ปที 1-40 SF6 เป็ นฉนวนใน เซอร์ กิตเบรคเกอร์


Dr.techn. Norasage Pattanadech 104
2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.7 ตัวอย่างการใช้งานก๊าซ SF6 ในระบบไฟฟ้ากําลัง


2. หม้อแปลง SF6
ก๊าซ

รู ปที 1-41 SF6 insulated Transformer


Dr.techn. Norasage Pattanadech 105
2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.7 ตัวอย่างการใช้งานก๊าซ SF6 ในระบบไฟฟ้ากําลัง

ก๊า3.ซ การใช้ SF6 เป็ นฉนวนใน สถานีไฟฟ้าย่อย GIS (Gas Insulated Switchgear)

รู ปที 1-42 สถานีไฟฟ้าย่อย SF6


Dr.techn. Norasage Pattanadech 106
2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.7 ตัวอย่างการใช้งานก๊าซ SF6 ในระบบไฟฟ้ากําลัง


3. การใช้ SF6 เป็ นฉนวนใน สถานีไฟฟ้าย่อย GIS (Gas Insulated Switchgear)
ก๊าซ

รู ปที 1-42 สถานีไฟฟ้าย่อย SF6


Dr.techn. Norasage Pattanadech 107
2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.7 ตัวอย่างการใช้งานก๊าซ SF6 ในระบบไฟฟ้ากําลัง

ก๊าซ4. เปรี ยบเทียบการใช้พืนทีของสถานีไฟฟ้าย่อยGIS กับสถานีไฟฟ้าย่อยทีใช้อากาศเป็ น


ฉนวน (Air Insulated Substation, AIS)

(ก) AIS substation (ข) GIS replacement


รู ปที 1-43 พืนทีทีลดลงเมือนําสถานีไฟฟ้าย่อย GIS ไปติดตังแทนสถานีไฟฟ้าย่อย
แบบเดิมทีระบบ 75 kV – 1200 kV, 2 ×15 MVA
Dr.techn. Norasage Pattanadech 108
2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.7 ตัวอย่างการใช้งานก๊าซ SF6 ในระบบไฟฟ้ากําลัง

ก๊า5.ซ เปรี ยบเทียบระบบสายส่ งแบบเดิมกับระบบสายส่ ง GIL

(ก) A Typical 400 kV (ข) Gas Insulator Line


รู ปที1-44 Gas-Insulated Transmission Lines (GIL)

Dr.techn. Norasage Pattanadech 109


2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.7 ตัวอย่างการใช้งานก๊าซ SF6 ในระบบไฟฟ้ากําลัง

ก๊าซ ข้อดีของการใช้ GIS, GIL เมือเปรี ยบเทียบกับสถานีไฟฟ้าย่อยแบบ


ใช้อากาศเป็ นฉนวน
• มีความปลอดภัยทีเพิมขึน
• ขนาดของสถานีไฟฟ้าจะเล็กลง
• นําหนักของสถานีไฟฟ้าจะลดลง
• การออกแบบทําได้ง่าย มีความน่าเชือถือสู ง
• ปราศจากเสี ยงดังรบกวน
• ง่ายต่อการติดตัง ดําเนินการปฏิบตั ิงาน และบํารุ งรักษา

Dr.techn. Norasage Pattanadech 110


2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.7 ตัวอย่างการใช้งานก๊าซ SF6 ในระบบไฟฟ้ากําลัง


SF6 กับสภาวะเรื อนกระจก
ก๊าซ

(ก) (ข)
รูปที1-45 SF6 กับสภาวะเรื อนกระจก
Dr.techn. Norasage Pattanadech 111
2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.7 ตัวอย่างการใช้งานก๊าซ SF6 ในระบบไฟฟ้ากําลัง


SF6 กับสภาวะเรื อนกระจก
ก๊าซ

(ก) (ข)
รูปที1-45 SF6 กับสภาวะเรื อนกระจก
Dr.techn. Norasage Pattanadech 112
2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.7 ตัวอย่างการใช้งานก๊าซ SF6 ในระบบไฟฟ้ากําลัง

ก๊าซ SF6 กับสภาวะเรื อนกระจก


สารที เป็ นต้นเหตุ ของสภาวะเรื อนกระจกทีจะต้องถูกควบคุ มปริ มาณการปลดปล่อยตาม
|พิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocal ; December 1997 บังคับใช้ February 16,2005)
• CO2 (Carbon dioxide)
• CH4 (Methance)
• N2O (Nitrous oxide)
• PFC5 (Perfluoro carbons)
• HFC5 (Hydrofluoro carbons)
• SF6 (Sulphur Hexafluoride)
-SF6CF6 (Trifluoromethyl Sulphur pentafluoride)
เชือกันว่าเกิดจากการ break down ของ SF6ในอุปกรณ์ไฟฟ้าแรงสู ง

Dr.techn. Norasage Pattanadech 113


2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.7 ตัวอย่างการใช้งานก๊าซ SF6 ในระบบไฟฟ้ากําลัง

ก๊าซ SF6 กับสภาวะเรื อนกระจก


การใช้งาน SF6 (Environmental Project No.342 : The Danish EPA, 1997)
SF6 ถูกใช้ไปประมาณ 7,500 ตัน/ปี
ประกอบด้วย 6,000 ตัน ใช้ในอุตสาหกรรมไฟฟ้าแรงสู งโดยเฉพาะใน
เอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
500 ตัน ใช้ในอุตสาหกรรมการผลิต แมกนีเซียม
1,000 ตัน ใช้ในอุตสาหกรรมอืนๆเช่น อุตสาหกรรมกระจก, อุตสาหกรรมรองเท้า
ช่วงอายุของ SF6 ในชันบรรยากาศ ประมาณ 3,200 ปี
SF6 1 ปอนด์ มีผลต่อชันบรรยากาศเท่ากับ CO2 11 ตัน

Dr.techn. Norasage Pattanadech 114


2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.7 ตัวอย่างการใช้งานก๊าซ SF6 ในระบบไฟฟ้ากําลัง

ก๊าซ
SF6 กับสภาวะเรื อนกระจก

ทําไม SF6 ถูกปลดปล่อยไปสู่ สภาวะบรรยากาศ

• ความเสือมเนืองจากอายุของอุปกรณ์ไฟฟ้าแรงสูงทําให้ SF6 รัวไหล


ออกไป
• การบํารุ งรักษาตรวจซ่อมตรวจเช็คอุปกรณ์ไฟฟ้าแรงสูงทีกระทํา
โดยความไม่รอบคอบ

Dr.techn. Norasage Pattanadech 115


2020

1.2 วัสดุประเภทฉนวน 1.2.7 ตัวอย่างการใช้งานก๊าซ SF6 ในระบบไฟฟ้ากําลัง

ก๊าซ SF6 กับสภาวะเรื อนกระจก


กระบวนการแก้ปัญหา SF6 กับสภาวะเรื อนกระจก
• กระบวนการออกแบบจะต้องให้ความสําคัญกับการป้องกันการรัวไหลได้หรื อการชีลให้มากขึน
(more compact shield design)
• ติดตังอุปกรณ์ตรวจจับการรัวไหลของแก๊ส (gas leakage monitoring)
• หลังจากการใช้งานไปประมาณ 20-25 ปี ต้องมีกระบวนการปรับปรุงคุณสมบัติของแก๊สเพือนํากลับมา
ใช้ใหม่ (gas recovery and re-use)
• การฝึ กอบรมบุคลผูป้ ฏิบตั ิงานทีเกียวข้องกับอุปกรณ์ไฟฟ้าแรงสูงทีใช้ SF6 เป็ นฉนวนให้มีความรู้ความ
เข้าใจ รวมทังเพิมทักษะในการปฏิบตั ิคนดังกล่าว (training of personnal handling)
• การใช้ก๊าซ SF6 ผสมกับก๊าซชนิดอืน (SF6 mix gas) เพือลดปริ มาณการใช้ SF6 ลง
• การเลิกใช้ SF6 หรื อหันกลับไปใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าแรงสูงหรื อสถานีไฟฟ้าแบบเดิม

Dr.techn. Norasage Pattanadech 116


2020

1.3 วัสดุประเภทฉนวนเหลว

1.3.1 ประเภทของฉนวนเหลว
1.3.2 ชนิดของฉนวนเหลว
1.3.3. คุณสมบัติทางฟิ สิ กส์ โครงสร้างทางเคมี และความคงทน
ต่อแรงดันไฟฟ้าของฉนวนเหลว
1.3.4 กลไกการเกิดเบรกดาวน์ของฉนวนเหลว
1.3.5 ตัวอย่างการใช้งานฉนวนเหลว

Dr.techn. Norasage Pattanadech 117


2020

1.3 วัสดุประเภทฉนวนเหลว 1.3.1 ประเภทของฉนวนเหลว

• สารอินทรี ย ์
ได้แก่ นํามันแร่ (mineral oil) นํามันปโตรเลียม นํามันพืช
ไขมัน เรซินและ แอลฟัลส

• สารอนินทรี ย ์
ได้แก่ ไนโตรเจนเหลว อาร์กอน ออกซิเจนเหลวและ
นําบริ สุทธิ

Dr.techn. Norasage Pattanadech 118


ตารางที 1-11 คุณสมบัติทางฟิ สิ กส์ทางเคมีและทางไฟฟ้าของฉนวนเหลวทีจะต้องพิจารณา
คุณสมบัติทางฟิ สิ กส์ คุณสมบัติทางเคมี คุณสมบัติทางไฟฟ้ า
การระบายความร้อน องค์ประกอบทางเคมี - ความคงทนต่อแรงดันไฟฟ้า
- ความหนาแน่น - โครงสร้างโมเลกุล - ค่าความสู ญเสี ยไดอิเลคตริ ก
- ความหนืด - อัตราส่ วนปริ มาณของพารา - ค่าเปอร์มิติวตี ีสัมพัทธ์
-สัมประสิ ทธิการกระจายความร้อน ฟิ นิก,แนฟทีนิกและ อโรมาติก - ค่าความต้านทางไฟฟ้า
( coefficient of thermal expansion) - ค่าความเป็ นกลาง - ความคงทนต่อแรงดันอิมพัลล์
- ความนําไฟฟ้าเนืองจากความร้อน -แรงตึงผิว(interfacial tension ) - การดิสชาร์จบางส่ วนและ
(Thermal conductivity) แรงดันเริ มเกิดดิสชาร์จบางส่ วน
- ความถ่วงความร้อนจําเพาะ
(specific heat )
- การเก็บรักษาและปฏิบตั ิงาน
- จุดติดไฟ
- จุดวาบไฟ
- ความดันไอ
- อุณหภูมิติดไฟทันที (auto ignition
termperature)
Dr.techn. Norasage Pattanadech
2020

1.3 วัสดุประเภทฉนวนเหลว 1.3.2 ชนิดของฉนวนเหลว

1. นํามันปิ โตรเลียม
2. ไฮโดรคาร์บอนสังเคราะห์
3. กลอริ เนทไฮโดรคาร์บอน (Chlorinated Hydrocarbons)
4. นํามันซิลิโคน (Silicone Oil)
5. เอสเตอร์ (Esters)
6. ฉนวนเหลวชนิดอืนๆ

Dr.techn. Norasage Pattanadech 120


2020

1.3 วัสดุประเภทฉนวนเหลว 1.3.2 ชนิดของฉนวนเหลว


1. นํามันปิ โตรเลียม
CH3 (CH2 ) n CH3 CH3 (CH2 ) n CH CH3
CH3
(ก) พาราพินแบบลูกโซ่ (ข) พาราพินแบบกิง
H2 H2 H H
C H C C C
H2C C C H2 HC C CH

H2C C C H2 HC C CH
C H C C C
H2 H2 H H
(ค) แนพทิน (ง) อโรเมติกโครงสร้างวงแหวน
รู ปที 1-46 โครงสร้างโมเลกุลพืนฐานของนํามันแร่ (ฉนวนนํามัน)
Dr.techn. Norasage Pattanadech 121
2020

1.3 วัสดุประเภทฉนวนเหลว 1.3.2 ชนิดของฉนวนเหลว


2. โครงสร้างทางเคมีของฉนวนเหลว

โครงสร้างทางเคมีของฉนวน
เหลวมีผลต่อความคงทน
แรงดันไฟฟ้าอย่างยิงโดย
โครงสร้างโมเลกุลของ
องค์ประกอบทางเคมี มีผลต่อ
การเคลือนทีของสตรี มเมอร์ ซึง
นําไปสู่การเกิดเบรกดาวน์ได้

Dr.techn. Norasage Pattanadech 122


2020

1.3 วัสดุประเภทฉนวนเหลว 1.3.2 ชนิดของฉนวนเหลว

2. ไฮโดรคาร์บอนสังเคราะห์

H CH3

C C

H CH3

รูปที 1-47 โครงสร้างแบบโซ่กิงของโอโซบิวไตลีน

Dr.techn. Norasage Pattanadech 123


2020

1.3 วัสดุประเภทฉนวนเหลว 1.3.2 ชนิดของฉนวนเหลว

2. ไฮโดรคาร์บอนสังเคราะห์
ตารางที 1-12 คุณสมบัติทางเคมีและทางไฟฟ้าของ Poly – Butyleanes
Characteristic IEC ASTM
Breakdown voltage, kV (2.5mm) 40 > 35
Dielectric dissipation factor at 90 °C ≤ 0.0005 0.0003
Resistivity Ωm at 90 °C 1.5 × 1012 > 1010
Relative permittivity at 90 °C 2.2 2.2
Neutrallzation number mg KOH/g ≤ 0.03 < 0.04
Water content (ppm) - 40

Dr.techn. Norasage Pattanadech 124


2020

1.3 วัสดุประเภทฉนวนเหลว 1.3.2 ชนิดของฉนวนเหลว


2. ไฮโดรคาร์บอนสังเคราะห์
ตารางที 1-13 คุณสมบัติทีสําคัญของ Alkyl –Aromatic Hydrocarbons
Characteristic

Gassing Characteristics(hydrogen atmosphere) ml min-1 at 80 oC < 70


Breakdown voltage, kV (2.5 mm) >6
Impulse Breakdown voltage, kV (2.5 mm)
Positive 92
Negative 312
Dielectric dissipation factor at 90 oC 0.0004
Resistivity Ωm at 90 oC 10
Relative permittivity at 90 oC 2.15 – 2.5

Dr.techn. Norasage Pattanadech 125


2020

1.3 วัสดุประเภทฉนวนเหลว 1.3.2 ชนิดของฉนวนเหลว

3. กลอริ เนทไฮโดรคาร์บอน (Chlorinated Hydrocarbons)

H Cl Cl H
C C C C
Cl C C C C C Cl
C C C C
Cl H H Cl
รูปที 1-48 ตัวอย่างการจัดเรี ยงโครงสร้างอะตอมของเอสกาเรล (askarels)

Dr.techn. Norasage Pattanadech 126


2020

1.3 วัสดุประเภทฉนวนเหลว 1.3.2 ชนิดของฉนวนเหลว

3. กลอริ เนทไฮโดรคาร์บอน (Chlorinated Hydrocarbons)

รูปที 1-48 ป้ายปิ ดแสดงว่าอุปกรณ์มี PCB เป็ นส่ วนประกอบ


Dr.techn. Norasage Pattanadech 127
2020

1.3 วัสดุประเภทฉนวนเหลว 1.3.2 ชนิดของฉนวนเหลว

4. นํามันซิลิโคน (Silicone Oil)


CH 3 CH CH
3 3
CH Si O Si O Si CH
3 3
CH CH CH
3 3 3
n

รู ปที 1-49 การจัดเรี ยงทางอะตอมภายในโมเลกุลของนํามันซิลิโคนโดยที n มีค่าอยูใ่ นช่วง 10-1000

Dr.techn. Norasage Pattanadech 128


ตารางที 1-14 คุณสมบัติของนํามันแร่ เปรี ยบเทียบนํามันซิลิโคน
Property Unit Mineral oil Silicone oil
Breakdown field strength kV/mm 28 10
Volume resistivity (ρ) Ω-m 10 ~ 10 10
Dielectric constant ε - 2.2 2.8
Dissipation factor at 25 °C (1MHz)
tan δ - 0.001 0.0002
Density g/cm3 0.91 0.96
Thermal stability limit W/K°m 0.14 0.16
Specific heat (C) Cal/g/°C 0.53 0.36
Thermal stability limit °C 90 150
Flash point °C 145 > 300
Neutrallzation number (acidity) mg KOH/g < 0.03 -
Pour point °C -40 -55
Dielectric Impulse breakdown
Negative needle to sphere (25.4 mm gap) kV 145 -
Water content
Dr.techn. Norasage Pattanadech
ppm 25 50
129
2020

1.3 วัสดุประเภทฉนวนเหลว 1.3.2 ชนิดของฉนวนเหลว

5. เอสเตอร์ (Esters)

Dr.techn. Norasage Pattanadech 130


2020

1.3 วัสดุประเภทฉนวนเหลว 1.3.2 ชนิดของฉนวนเหลว


6. ฉนวนเหลวชนิดอืนๆ
ตารางที 1-15 คุณสมบัติของ HTH และ C2Cl4
Property HTH C2Cl4
Flash point, ºC 285 none
Fire point, ºC 312 none
Expansion coefficient cc/cc/ºC at 25ºC 0.0008 0.00102
Pour point, ºC -30 -22
Viscosity, cSt
100ºC 16 0.36
50ºC 85 0.42
25ºC 350 0.55
Specific gravity, g/cm3 0.877 1.620
Dielectric strength, ASTM D-877, kV 43 43
Dr.techn. Norasage Pattanadech 131
2020

1.3 วัสดุประเภทฉนวนเหลว 1.3.2 ชนิดของฉนวนเหลว


6. ฉนวนเหลวชนิดอืนๆ
ตารางที 1-15 คุณสมบัติของ HTH และ C2Cl4 (ต่อ)
Property HTH C2Cl4
Impulse breakdown, kV
Negative polarity 118 -
Positive polarity 85 -
Dielectric constant, r 2.38 2.365
Dissipation factor (%)
100ºC 0.4 -
50ºC 0.4 0.05
25ºC <10-3 -

Dr.techn. Norasage Pattanadech 132


2020

1.3 วัสดุประเภทฉนวนเหลว 1.3.3. คุณสมบัติทางฟิ สิ กส์ โครงสร้างทางเคมี


และความคงทนต่อแรงดันไฟฟ้าของฉนวนเหลว

1. คุณสมบัติการระบายความร้อนของฉนวนเหลว
2. โครงสร้างทางเคมีของฉนวนเหลว
3. ความคงทนต่อแรงดันไฟฟ้าของฉนวนเหลว
4. คุณสมบัติการย่อยสลายตามธรรมชาติ

Dr.techn. Norasage Pattanadech 133


2020

1.3 วัสดุประเภทฉนวนเหลว 1.3.3. คุณสมบัติทางฟิ สิ กส์ โครงสร้างทางเคมี


และความคงทนต่อแรงดันไฟฟ้าของฉนวนเหลว
1. คุณสมบัติการระบายความร้อนของฉนวนเหลว
1000 0.09

THERMAL CONDUCTIVITY Btu/hr ft ํF


C om pl e
100 x P ol yo
l Esters
50 Silic
o ne o
il (S
0.08 Silicone
20 o cS
t) Petroleu
Pe
tro
m Oil
VISCOSITY cSt

Co leu

10
m
pl
m
ex oil ( 0.07 clor
po SA
l yo E P y ro
l E 10)
BS

st
14

er
8

s
Tr

5 0.06
an
sf
or
m
er
oi
l

0.05
-20 0 20 40 60 80 100 120 40 80 120 160
TEMPERATURE ํC TEMPERATURE ํC

รูปที 1-51 ผลของอุณหภูมิต่อความหนืดของ รูปที 1-50 ผลของอุณหภูมิต่อคุณสมบัติการนําความร้อน


ฉนวนเหลวชนิดต่างๆ ของฉนวนชนิดต่างๆ
Dr.techn. Norasage Pattanadech 134
2020

1.3 วัสดุประเภทฉนวนเหลว 1.3.3. คุณสมบัติทางฟิ สิ กส์ โครงสร้างทางเคมี


และความคงทนต่อแรงดันไฟฟ้าของฉนวนเหลว
1. จุดวาบไฟและจุดติดไฟของฉนวนเหลว

Dr.techn. Norasage Pattanadech 135


2020

1.3 วัสดุประเภทฉนวนเหลว 1.3.3. คุณสมบัติทางฟิ สิ กส์ โครงสร้างทางเคมี


และความคงทนต่อแรงดันไฟฟ้าของฉนวนเหลว
2. โครงสร้างทางเคมีของฉนวนเหลว

โครงสร้างทางเคมีของฉนวนเหลวมี
ผลต่อความคงทนแรงดันไฟฟ้าอย่าง
ยิ งโดยโครงสร้ างโมเลกุ ล ของ
องค์ป ระกอบทางเคมี มี ผลต่ อ การ
เคลือนทีของสตรี มเมอร์ ซึ งนําไปสู่
การเกิดเบรกดาวน์ได้

Dr.techn. Norasage Pattanadech 136


2020

1.3 วัสดุประเภทฉนวนเหลว 1.3.3. คุณสมบัติทางฟิ สิ กส์ โครงสร้างทางเคมี


และความคงทนต่อแรงดันไฟฟ้าของฉนวนเหลว
3. ความคงทนต่อแรงดันไฟฟ้าของฉนวนเหลว
ปัจจัยทีมีผลกระทบต่อความคงทนแรงดันไฟฟ้าของฉนวนเหลวได้แก่ ชนิดและรู ปร่ างอิเล็กโตรด ระยะ
แกป อัตราการไหลของฉนวนเหลว ความดันอุณหภูมิอีกทังสิ งเจือปนทีปะปนอยูใ่ นฉนวนเหลวเช่น ฟอง
ก๊าซ อนุภาคเจือปนของเเข็ง และความชืนเป็ นต้น

Dr.techn. Norasage Pattanadech 137


2020

1.3 วัสดุประเภทฉนวนเหลว 1.3.3. คุณสมบัติทางฟิ สิ กส์ โครงสร้างทางเคมี


และความคงทนต่อแรงดันไฟฟ้าของฉนวนเหลว
3. ความคงทนต่อแรงดันไฟฟ้าของฉนวนเหลว

Dr.techn. Norasage Pattanadech 138


2020

1.3 วัสดุประเภทฉนวนเหลว 1.3.3. คุณสมบัติทางฟิ สิ กส์ โครงสร้างทางเคมี


และความคงทนต่อแรงดันไฟฟ้าของฉนวนเหลว
4. คุณสมบัติการย่อยสลายตามธรรมชาติ

Dr.techn. Norasage Pattanadech 139


Power and Energy Series 2020

ตารางที 1-16 ตัวอย่างและคุณสมบัติของฉนวนเหลวทีนําไปใช้งานในอุปกรณ์ไฟฟ้าแรงสู ง


Liquid Viscosity Dielectric Dissipation Breakdown
cSt Constant Factor Strength
(37.8 OC) (at 60 Hz, 25 OC) (at 60 Hz, 100 OC) (kV/cm)
Capacitor oil 21 2.2 0.001 >118
Pipe cable oil 170 2.15 0.001 >118
Self-contained cable oil 49.7 2.3 0.001 >118
Heavy cable oil 2365 2.23 0.001 >118
Transformer oil 9.75 2.25 0.001 >128
Alkyl benzene 6.0 2.1 0.0004 >138
Polybutene pipe cable oil 110 (SUS) 2.14 (at 1 MHz) 0.0003 >138
Polybutene capacitor oil 2200 2.22 (at 1 MHz) 0.0005 >138
(SUS at 100C)
Silicone fluid 50 2.7 0.00015 >138
Castor oil 98 (100C) 3.74 0.06 >138
C8F16O fluorocarbon 0.64 1.86 <0.0005 >138

Dr.techn. Norasage Pattanadech “PD Measurement for UG Cables” 140


Power and Energy Series 2020

ตารางที 1-17 คุณสมบัติของฉนวนเหลวบางชนิดทีนิยมใช้เป็ นฉนวนในอุปกรณ์ไฟฟ้า


Transformer Capacitor
Property Cable oil Askerals Silicone oil
oil oil
Flash point 130-180
Breakdown strength at 20ºC
on 2.5 mm standard sphere 20-25 kV/mm 30 kV/mm 20 kV/mm 20-25 kV/mm 30-40 kV/mm
gap
Relative permittivity (50Hz) 2.2-2.3 2.3-2.6 2.1 4.8 2.7-3.0
Tg (50 Hz) 0.001 0.002 0.2510-3 0.60 10-3 10-3
Tg  (1 kHz) 0.0005 0.0001 0.1010-3 0.50 10-3 10-4
Resistivity (ohm-cm) 1012-1013 1012-1013 1013-1014 2  1013 3  1014
Specific gravity at 20ºC 0.89 0.93 0.88-0.89 1.4 1.0-1.1

Dr.techn. Norasage Pattanadech “PD Measurement for UG Cables” 141


Power and Energy Series 2020

ตารางที 1-17 คุณสมบัติของฉนวนเหลวบางชนิดทีนิยมใช้เป็ นฉนวนในอุปกรณ์ไฟฟ้า(ต่อ)


Property Transformer Cable oil Capacitor oil Askerals Silicone oil
oil
Viscosity at 20ºC (cSt) 30 30 30 100-150 10-1000
Acid value(mg/gm of KOH) Nil Nil Nil Nil Nil
Refractive index 1.4820 1.4700 1.4740 1.6000 1.5000-1.6000
Saponification (mg of KOH/gm 0.01 0.01 0.01 <0.01 <0.01
of oil)
Thermal Expansion 7 10-4/ºC 7 10-4/ºC 7 10-4/ºC 7 10-1/ºC 5 10-4/ºC
(20-100ºC)
Max. permissible water 50 50 50 <30 <30
Content(ppm) (negligible) (negligible)
Thermal conductivity mw/cmºC 1.6

Dr.techn. Norasage Pattanadech “PD Measurement for UG Cables” 142


2020

1.3 วัสดุประเภทฉนวนเหลว 1.3.4 กลไกการเกิดเบรกดาวน์ของฉนวนเหลว

1.3.4.1 การเกิดเบรกดาวน์ของฉนวนเหลวบริ สุทธิ


1.3.4.2 กลไกการเกิดเบรกดาวน์ของฉนวนเหลวเชิงการค้า
1. เกิดเบรกดาวน์เนืองจากอนุภาคเจือปนของแข็ง
2. กลไกการเกิดเบรกดาวน์เนืองจากฟองก๊าซ
3. กลไกการเกิดเบรกดาวน์จากหยดของเหลวเจือปน
4. กลไกการเกิดเบรกดาวน์จากความร้อน

Dr.techn. Norasage Pattanadech 143


2020

1.3 วัสดุประเภทฉนวนเหลว 1.3.4 กลไกการเกิดเบรกดาวน์ของฉนวนเหลว

1.1. เกิดเบรกดาวน์เนืองจากอนุภาคเจือปนของแข็ง
สิ งเจือปนของแข็งทีปะปนอยูใ่ นฉนวนเหลวอาจเป็ นอนุ ภาคตัวนําไฟเบอร์ หรื อ
ฝุ่ นละออง ภายใต้สนาม ไฟฟ้ าอนุ ภาคเจื อปนเหล่านี จะถูกเหนี ยวนําให้เกิ ดขัว
ทางไฟฟ้ าขึนมา ถ้ากําหนดให้อนุภาคฉนวนแข็งมี รู ปร่ างเป็ นทรงกลมทีรัศมี rp
และมีค่าเปอร์ มิตติวิตี εp ฉนวนเหลวมีค่าเปอร์ มิตติวิตี εliq จะเกิดแรงทางไฟฟ้ า
Fe กระทาต่ออนุภาคโพลาไรซ์
 p   liq
Fe   r 3
E grad E
 p  2 liq
liq p

Dr.techn. Norasage Pattanadech 144


2020

1.3 วัสดุประเภทฉนวนเหลว 1.3.4 กลไกการเกิดเบรกดาวน์ของฉนวนเหลว

1. การเกิดเบรกดาวน์ของฉนวนเหลวบริ สุทธิ
1.1. เกิดเบรกดาวน์เนืองจากอนุภาคเจือปนของแข็ง
ถ้าหาก εr › εliq แรงทีเกิดขึนจะทาให้อนุภาคเคลือนทีไปยังบริ เวณทีมีความเครี ยดสนามไฟฟ้า
สู งสุ ด ถ้า εr < εliq แรงทีเกิดขึนจะกระทําต่ออนุภาคในทิศทางตรงกันข้าม กล่าวคือจะกระทํา
ให้อ นุ ภาคเคลื อนที ไปสู่ บริ เ วณที มี ค วามเครี ย ดของสนามไฟฟ้ า ตํา พบว่าแรงที กระทําบน
อนุภาคจะเป็ น สัดส่ วนโดยตรงกับค่าเปอร์มิตติวิตีของอนุภาค ในกรณี ของอนุภาคตัวนําเจือปน
อยู่ภายในฉนวนเหลว เนื องจากค่าเปอร์ มิตติ วิตีของอนุ ภาคเข้าใกล้อินฟิ นิ ต แรงทีเกิดขึนบน
อนุภาคตัวนํา จะมีค่าตามสมการ

Fe  F  rp3E grad E

Dr.techn. Norasage Pattanadech 145


2020

1.3 วัสดุประเภทฉนวนเหลว 1.3.4 กลไกการเกิดเบรกดาวน์ของฉนวนเหลว

1.1. เกิดเบรกดาวน์เนืองจากอนุภาคเจือปนของแข็ง

รู ปที 1-52 การเรี ยงตัวของอนุภาคไฟเบอร์ ระหว่างช่องว่าง (gap) ภายใต้แรงดันสู ง


Dr.techn. Norasage Pattanadech 146
2020

1.3 วัสดุประเภทฉนวนเหลว 1.3.4 กลไกการเกิดเบรกดาวน์ของฉนวนเหลว

2. กลไกการเกิดเบรกดาวน์เนืองจากฟองก๊าซ
ก๊าซสามารถละลายในฉนวนเหลวได้ในปริ มาณมากหรื อน้อย ขึนอยู่กบั สภาวะความดันและอุณหภูมิ ของฟองก๊าซ ใน
ฉนวนเหลว ฟองก๊าซอาจจะเกิ ดจากฉนวนทีมีคุณภาพต่าหรื อเสื อมคุณภาพ หรื อในขณะที เติมฉนวนเหลวในภาชนะ
บรรจุ ก๊าซอาจจะจับอยู่ทีผิวอิเล็กโตรดทีขรุ ขระหรื อร่ องผิวอิเล็กโตรด หรื ออาจจะ เกิ ดจากการเปลียนแปลงทางเคมี
ภายในฉนวนเหลว เนื องจากการเปลียนแปลงอุณหภูมิ ความดันและการ ชนของไอออนและอิเล็กตรอน ทาให้ฉนวน
เหลวสลายตัวเป็ นก๊าซออกมา หรื ออาจจะเกิดจากผลของการเกิดดิสชาร์ จบางส่ วนบริ เวณผิวอิเล็กโตรดทีมีความเครี ยด
สนามไฟฟ้าสูง ฟองก๊าซทีเกิดขึนเมือได้รับพลังงาน จากสนามไฟฟ้าก็จะขยายตัวยืดตามแนวสนามไฟฟ้าเพือลดพลังงาน
ศักย์ในสนามไฟฟ้า การเบรกดาวน์จะ เกิดเมือแรงดันตกคร่ อมความยาวของฟองก๊าซมีค่าเท่ากับค่าตําาสุดของเส้นโค้งพา
เชน เมือความเครี ยด สนามไฟฟ้าของฟองก๊าซมีค่าเท่ากับความเครี ยดสนามไฟฟ้าวิกฤตของก๊าซก็จะเกิดดิสชาร์จผ่านฟอง
ก๊าซ เป็ นผลให้เกิดการแยกตัวของโมเลกุลฉนวนเหลว นําไปสู่การเกิดเบรกดาวน์ได้ นอกจากสาเหตุทีกล่าวแล้ว ฟองก๊าซ
ยังสามารถเกิดทีบริ เวณทีมีความเครี ยดสนามไฟฟ้าสูงเช่น ปลายแหลมของอิเล็กโตรด เนืองจาก บริ เวณนันจะมีความร้อน
สูง ทาให้ฉนวนเหลวกลายเป็ นไอ และเกิดดิสชาร์จขึนและนําไปสู่การเกิด เบรกดาวน์ในทีสุด

Dr.techn. Norasage Pattanadech 147


2020

1.3 วัสดุประเภทฉนวนเหลว 1.3.4 กลไกการเกิดเบรกดาวน์ของฉนวนเหลว

2. กลไกการเกิดเบรกดาวน์เนืองจากฟองก๊าซ
3. กลไกการเกิดเบรกดาวน์จากหยดของเหลวเจือปน

Dr.techn. Norasage Pattanadech 148


2020

1.3 วัสดุประเภทฉนวนเหลว 1.3.4 กลไกการเกิดเบรกดาวน์ของฉนวนเหลว

2. กลไกการเกิดเบรกดาวน์เนืองจากฟองก๊าซ
3. กลไกการเกิดเบรกดาวน์จากหยดของเหลวเจือปน

Dr.techn. Norasage Pattanadech 149


2020

1.3 วัสดุประเภทฉนวนเหลว 1.3.4 กลไกการเกิดเบรกดาวน์ของฉนวนเหลว


3. กลไกการเกิดเบรกดาวน์จากหยดของเหลวเจือปน

Dr.techn. Norasage Pattanadech


2020

1.3 วัสดุประเภทฉนวนเหลว 1.3.4 กลไกการเกิดเบรกดาวน์ของฉนวนเหลว


4. กลไกการเกิดเบรกดาวน์จากความร้อน
การเกิดเบรกดาวน์เนื องจากความร้อน เกิดขึนในกรณี ทีมีการป้อนแรงดันชนิ ดพัลส์ จากการทดลอง
วัดพัลส์ กระแสในฉนวนเหลวพบว่า กระแสมี ค่ าสู ง ก่ อ นเกิ ดเบรกดาวน์ โดยมี ค่ าความหนาแน่ น
กระแส ประมาณ 1 A/cm3 ซึ งเชือว่ามีแหล่งกําเนิ ดจากปลายของผิวอิเล็กโตรดขัวลบหรื อแคโทด ทํา
ให้ฉ นวนเหลว บริ เ วณนันมี อุ ณ หภู มิ สู งและกลายเป็ นไอหรื อ ฟองก๊ า ซ เมื อฟองก๊ า ซมี การยืดตัว
จนกระทังมีความยาวเกิน ความยาววิกฤติหรื อเกิ ดโพรงตลอดแนวระยะแกปของอิเล็กโตรดจะเกิ ด
เบรกดาวน์ตามมา

Dr.techn. Norasage Pattanadech 151


2020

1.3 วัสดุประเภทฉนวนเหลว 1.3.4 กลไกการเกิดเบรกดาวน์ของฉนวนเหลว


การเกิดเบรกดาวน์ของฉนวนเหลวในสนามไฟฟ้าไม่สมําเสมอ

Dr.techn. Norasage Pattanadech 152


2020

1.3 วัสดุประเภทฉนวนเหลว 1.3.5 ตัวอย่างการใช้งานฉนวนเหลว

1. การใช้งานฉนวนเหลวเป็ นฉนวนหลักในหม้อแปลง

2. การใช้ฉนวนนํามันในเคเบิล

Dr.techn. Norasage Pattanadech 153


2020

1.3 วัสดุประเภทฉนวนเหลว 1.3.5 ตัวอย่างการใช้งานฉนวนเหลว

รู ปที 1-59 เส้นสมศักย์ทีเกิดขึนภายในฉนวนของหม้อแปลงกําลังหลังจากเติม


นํามันฉนวนลงไป

Dr.techn. Norasage Pattanadech 154


2020

1.3 วัสดุประเภทฉนวนเหลว 1.3.5 ตัวอย่างการใช้งานฉนวนเหลว

2. การใช้ฉนวนนํามันในเคเบิล

ฉนวนแข็ง XLPE

ท่อสําหรับฉนวนนํามัน

รูปที 1-60 เคเบิลฉนวนนํามัน


Dr.techn. Norasage Pattanadech 155
2020

1.3 วัสดุประเภทฉนวนเหลว 1.3.5 ตัวอย่างการใช้งานฉนวนเหลว


ตัวอย่างฉนวนเหลวทีใช้ ในหม้ อแปลง
ขอบเขตการใช้งาน ใช้ในหม้อแปลง OIL-FILLED TRANSFORMER

ความปลอดภัยและข้อพึงระวัง ควรใช้ให้ถูกต้องตามคําแนะนําของผูผ้ ลิตว่าด้วยมาตรฐานทาง


สุขลักษณะทีดีทงในด้
ั านส่วนบุลคล และอุตสาหกรรม
Shell Diala AX หรื อ AT
คุณสมบัติพืนฐาน
( * ) Dielectric strength kV minimum
ASTM D877-87 (89) 30
VDE 0375 50
Power factor,
ASTM D924-82 (90)
25 º C, % maximum : 0.05
100 º C, % maximum : 0.05

Dr.techn. Norasage Pattanadech 156


ตัวอย่างฉนวนเหลวทีใช้ ในหม้ อแปลง(ต่ อ)
Interfacial tension,
ASTM D971-91
mN/m minimum : 40
Color,
ASTM D1500-91
ASTM units maximum : 0.5
( * ) Visual examination,
ASTM D1524-84 Bright and clear
Acid number,
ASTM D974-87
mg KOH/g maximum : 0.03
( * ) Water content,
ASTM D1533-88
ppm maximum : 35
( * ) Vicosity
40 deg º C cst/sus 12.0/66 Max.
Dr.techn. Norasage Pattanadech 100 deg º C cst/sus 3.0/36 Max. 157
ตารางที 1-18 Physical Properties of shell Diala ROils
ASTM ANSI/ASTM/NENA Diala A/AX Oils
Method Limit – Type 1 and 11 Typical Values
Aniline Point, º C D611 63-84 74
Color D1500 0.5 max <0.5

Flash Point, º C D92 145 min 148


Interfacail Tension; dyne/cm D971
@ 25 º C 40 min 46
Pour Point, º C D97 -40 min -50
Specific Gravity, 15/15 º C D1298 0.91 max 0.885
Viscosity: D445/ D88
@ 0 º C, cSt/SUS 76.0/350 max 66/304
@ 40 º C, cSt/SUS 12.0/66 max 9.68/57.7
@ 100º C, cSt/SUS 3.0/36 max 2.34/34.3
Visual Examination D1524 Clear & Bright Clear & Bright
Dr.techn. Norasage Pattanadech 158
ตารางที 1-19 Electrical Properties of Shell Diala R Oils
ASTM ANSI/ASTM/NENA Diala A/AX Oils
Method Limit – Type 1 and 11 Typical Values
Dielectrical Breakdown Voltage
@ 60 Hz, Disc electrodes, kV D877 30 min > 35
@ 60 Hz, VDE electrodes D1816
0.040 – inch (1.02 mm) gap 28 min > 28
0.080 – inch (2.03 mm) gap 56 min > 56
Dielectric Breakdown Voltage Impulse
@ 25º C, needle-to-sphere grounded D3300
1 inch (25.4 mm) gap, kV 145 min > 190
Power Factor ,60 Hz: D927
@ 25 º C, % 0.05 max 0.01
@ 100 º C, % D2300 0.03 max 0.07
Gassing Tendency, µL/min D2300 +30 max +16

1 D1816 applies only new,filtered, dehydrated and degassed oil.


Dr.techn. Norasage Pattanadech 159
ตารางที 1-20 Chemical Properties of Shell Diala R Oils
ASTM Requirement
Method Type I Type II Diala A Diala AX
Oxidation Inhibitor Content, %w D2668 or
2.6-ditertiary butyl paracresol D1473 0.08 max 0.3 max None 0.19
Corrosive Sulfur D1275 Non-Corrosive Non-Corrosive
Water, ppm D1533 35 max 35 max 30 30
Neutralization No., mg KOH/g D974 0.03 max 0.03 max 0.01 0.01
Oxidation Stability @ 72 hrs. D2440
Sludge, %w 0.15 max 0.10 max 0.08 0.02
TAN-C, mg KOH/g 0.50 max 0.30 max 0.27 0.21
Oxidation Stability @ 164 hrs. D2440
Sludge, %w 0.30 0.20 0.15 0.10
TAN-C, mg KOH/g 0.60 0.40 0.35 0.35
Oxidation Stability
Rotating Bomb, min. D2112 N/A 195 min N/A 250
PCB Content, ppm D4059 ND ND ND ND
N/A- Not Applicable
ND - Not Detectable, which is reported as <2 ppm.

ตารางที 1-21 Supplemental Information on Shell DialaR Oils


Dr.techn. Norasage Pattanadech 160
ตารางที 1-21 Supplemental Information on Shell DialaR Oils
ASTM ANSI/ASTM/NEMA Diala A/AX Oils
Method Typital Values Typital Values
Coefficient of Thermal Expansion: D1903
mL/ C/mL 0.0007-0.0008 0.00075
Resistivity, cm D1169
@ 25 C 2000*1012
@100 C 50*1012
Relative Permittivity @ 25 C D924 2.2-2.3 2.2-2.3
Specific Heat, gm-cal/gm @ 20 C D2766 0.44 0.445
Thermal Conductivity, cal/cm/sec/ C D2717 0.0003-0.0004 0.0003
Gravity, API 60/60 F D287 28.4
Color, Saybolt D156 +15
Viscosity: D445/
@100 F, SUS D2161 58.8
@210 F, SUS 34.1
@100 F, cSt D445 10.5
@100 C, cSt 2.38
Steam Emulsion No. D1935 15
Sulfur, %w D2622 0.07
Molecular Weight D2503 261
Refractive Index D1218 1.4815
Viscosity-Gravity Constant D2140 0.865
Viscosity Index D2270 45
Dr.techn. Norasage Pattanadech 161
2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง

ตารางที 1-22 การแบ่งประเภทของฉนวนแข็ง


Organic Inorganic Synthetic polymers
Thermoplastic Thermosetting
Amber Ceramics Prespex Epocy
Paper Glass Polyethylene Phenolics
Pressboard Mica Polypropylene Melamine
Rubber Fiber glass Polystyrene Urea formaldehyde
Wood Enamel Polyvinyl chloride Crosslinked polystyrene
Resins Polyamic Elastomers
Polycarbonate

Dr.techn. Norasage Pattanadech 162


2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง

1. ความคงทนต่อแรงดันไฟฟ้า (dielectric strength)


2. เปอร์มิตติวิตี ( ε )
3. แฟคเตอร์พลังงานสู ญเปล่าในไดอิเลคตริ ก (tgδ)
4. ความคงทนต่อแรงกล
5. ความคงทนต่อปฏิกิริยาเคมีและความร้อน

Dr.techn. Norasage Pattanadech 163


2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง

1.4.1 ชนิดของฉนวนแข็ง
1.4.2 การใช้งานฉนวนแข็งในเครื องจักรกลไฟฟ้า
1.4.3 การเกิดเบรกดาวน์ในฉนวนของแข็ง

1.4.4 การใช้งานฉนวนแข็ง

Dr.techn. Norasage Pattanadech 164


2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.1 ชนิดของฉนวนแข็ง

1. กระดาษและกระดาษอัดแรง (Paper and Boards)


2.ไมก้า
3. แก้ว
4. เซรามิคส์
5. ยาง
6.โพลีเมอร์
7. อิพอ็ กซี – เรซิน

Dr.techn. Norasage Pattanadech 165


2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.1 ชนิดของฉนวนแข็ง

1.กระดาษและกระดาษอัดแรง (Paper and Boards)

รูปที 1-61 Polypropylene Laminated Paper


Dr.techn. Norasage Pattanadech 166
2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.1 ชนิดของฉนวนแข็ง

1.กระดาษและกระดาษอัดแรง (Paper and Boards)

รูปที 1-62 ลักษณะโครงสร้างของฉนวนกระดาษชุบนํามัน


Dr.techn. Norasage Pattanadech 167
2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.1 ชนิดของฉนวนแข็ง


1.กระดาษและกระดาษอัดแรง (Paper and Boards)
ตารางที 1-23 ค่าเปอร์มิตติวิตีของกระดาษชุบนํามันฉนวนที 20°C (εres)
เปอร์ มติ ติวติ ีของกระดาษชุ บฉนวนเหลว εres
ฉนวนเหลวทีใช้ ชุบ
0.8 g/cm3 1.0 g/cm3 1.2 g/cm3
Trichlorodiphenyl
 r = 6.1 6.28 6.30 6.40
Pentrachlorodiphenyl 5.71 5.88 6.06
Transformer oil 3.26 3.72 4.30

Dr.techn. Norasage Pattanadech 168


2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.1 ชนิดของฉนวนแข็ง


1.กระดาษและกระดาษอัดแรง (Paper and Boards)
ตารางที 1-24 คุณสมบัติทางไฟฟ้าของฉนวนผสม ( กระดาษและนํามัน )
Impregnating Average tan  at tan  at
Type Liquid Voltage Stress Room Operating
(kV cm-1) Temperature Temperature
Kraft paper Mineral oil 180 3.8  10-3 5.7  10-3
at 23 C at 85 C
Kraft paper Silicone liquid 180 2.7  10-3 3.1  10-3
at 23 C at 85 C
Paper-polypropylene-paper Dodecyl benzene 180 9.8 10-4 9.9  10-4
(PPP) at 18 C at 100 C
Kraft paper Polybutens 180 2.0  10-3 2.0  10-3
at 25 C at 85 C
Dr.techn. Norasage Pattanadech 169
2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.1 ชนิดของฉนวนแข็ง


ตัวอย่ างการใช้ งานกระดาษฉนวนในหม้ อแปลงไฟฟ้า
ขอบเขตการใช้งาน ลักษณะของกระดาษฉนวนทีใช้แบ่งออกเป็ น 4 ประเภท ดังนี
INSULATION PAPER(KRFT PAPER)
ใช้เป็ นฉนวนกันระหว่างชัน (Layer) ของขดลวด หรื อกันระหว่างขดลวดแรงตําและ
ขดลวดแรงสูง
PRESS BOARD
1.ใช้เป็ นฉนวนปิ ดหัวและท้ายของขดลวด
2.ใช้ทาํ กระดาษลูกฟูก หรื อกระดาษร่ องนํามัน เพือการไหลหมุนเวียนของนํามัน ช่วย
ในการระบายความร้อน
3. เป็ นลิม ในการรองรับระหว่างขดลวดและโครงสร้าง
4. ใช้เป็ นการม้วนขึนรู ป สําหรับพันขดลวดแรงตํา หรื อขดลวดแรงสูง
CREPED PAPER
ใช้สาํ หรับพันสายตัวนํา ทีต้องการความยืดหยุน่
THERMOPOX
ใช้เป็ นฉนวน (Insulation layer) สําหรับแผ่น Foil แบบ double sides

Dr.techn. Norasage Pattanadech 170


2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.1 ชนิดของฉนวนแข็ง

ตัวอย่างการใช้ งานกระดาษฉนวนในหม้ อแปลงไฟฟ้ า

การใช ้งานฉนวนกระดาษและเพรสบอร ์ดในหม้อแปลงไฟฟ้ า

Dr.techn. Norasage Pattanadech 171


2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.1 ชนิดของฉนวนแข็ง


INSULATION PAPER/PRESS BOARD ทีใช้ตามมาตรฐานดังต่อไปนี
ตารางที 1-26 JIS C-2305 (class 2)
Tenslle Moisture Dielectric Shrinkage
Elongation Ash
strength Breakdown %
Thickness Density % Content Content
MPa strength
(mm.) g/cm3 % % kV/mm
MD CD MD CD Max MD CD TD
Min. Min. Min. Min. Max AVE. Min. Max Max Max.
8.0
0.13-0.8 0.95-1.30 70 30 1.5 4.0 10.0 1.0 9.0 6.5 1.0 2.0

8.0
0.8<=t<=3 0.95-1.30 70 35 1.5 4.0 10.0 1.0 7.0 5.0 1.0 2.0

8.0
3.0<=t 0.95-1.30 60 35 1.5 5.0 10.0 1.0 6.0 4.0 1.0 2.0

MD: Machine direction, CD: Cross direction, TD: Thickness direction


Dr.techn. Norasage Pattanadech 172
2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.1 ชนิดของฉนวนแข็ง


2. ไมก้า
ตารางที 1-27 คุณสมบัติทางไฟฟ้าของไมก้า
Property Natural synthetic mica
Dielectric strength (at 30C) 1000 kV / mm 1000 kV / mm
Dielectric constant 6.5 – 8.7 6.5
(1 kHz -3 GHz)
Loss tangent ( tanδ)
50 Hz 0.03 -
1 MHz 0.001 0.0002
Surface resistivity (at 60 % humidity) 1012-1014 m -
Volume resistivity (constant up to 200C) 1015-1017 m 1015-1017 m
Maximum operating temperature 540C 980C

Dr.techn. Norasage Pattanadech 173


2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.1 ชนิดของฉนวนแข็ง

3.แก้ว
3.1 องค์ประกอบของแก้ว
•ซิลิกอนออกไซด์  70% เป็ นองค์ประกอบหลัก
•โบรอนไตรออกไซด์  16% เพิมคุณสมบัติทางไฟฟ้าและความ
ทนทานต่อการเปลียนแปลงทางอุณหภูมิ
•อลูมินา  0.5-0.7% เพิมความทนทานต่อสภาพภูมิอากาศ
•และสารชนิดอืนๆ

Dr.techn. Norasage Pattanadech 174


ตารางที 1-28 คุณสมบัติทางไฟฟ้าและทางกล ของวัสดุฉนวนประเภทแก้วทีใช้ในการทําเป็ นฉนวนไฟฟ้า
Dielectric
Electro Glass
Characteristics
Technical Small Alkali Alkaline
porcelain content
Puncture voltage of test
pieces, KVrms/mm 22.8 48 17.9
Dielectric permeability 5.5 - 7 5.5 10
Specific volume resistance at 20 C
ohm-cm 1 x 1013 4.5 x 1014 4 x 1012
Coefficient of linear Thermal expansion 4 x 10-6 5 x 10-6 9 x 10-6
Resistance Kg/cm3
in compression 4,500 7,000 7,000
in bending 700 650 (hardened up -
to 2,500)
in tension 300 600 500
Dr.techn. Norasage Pattanadech 175
2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.1 ชนิดของฉนวนแข็ง

4. เซรามิคส์
1. เซรามิคส์ประเภทมีค่าเปอร์มิตติวิตีตํา ( εr < 12) (traditional)
ใช้ทาํ ลูกถ้วยฉนวน มีจุดหลอมเหลวสู งและทนความร้อนได้ดี

2. เซรามิคส์ประเภทวัสดุมีค่าเปอร์มิตติวิตีสู ง (εr > 12) (Engineering


Ceramics, Technical Ceramic)ใช้เป็ นไดอิเล็กตริ กของคาปาซิเตอร์

Dr.techn. Norasage Pattanadech 176


ตารางที 1-29 คุณสมบัติของเซรามิคส์ค่าเปอร์มิตติวิตีตํา
คุณสมบัติ H.T. L.T. Low loss steatite Alumina Forsterite
Porcelain Porcelain
ส่ วนผสม ดินเหนียว50% ดินเหนียว50% 3MgO 95.7 2MgO
เฟลสปาร์ 50% เฟลสปาร์ 25% 4SiO2 SiO
ฟลินท์ 25% ฟลินท์ 25% H2O
ดูดความชืน 0 0.5-2 0 0 0
(ppm)
ขีดจํากัด
อุณหภูมิ(◦C)ที 1000 900 1050 1600 1050
ปลอดภัย
ความคงทนต่อ 2.5 3 8-25 16 8-12
แรงดันไฟฟ้า
(kV/mm)
r 5-7 5-7 6 9 6
tg  10-4 50-100 100-200 10 5 3-4
Dr.techn. Norasage Pattanadech 177
ตารางที 1-30 คุณสมบัติการเป็ นฉนวนของเซรามิคส์เปอร์มิตติวติ ีตําชนิดอืนๆ
Delectric strength Dielectric Dissipation
Ceramic V/mil Constant Factor
(ASTM D 149) 1 MHz 1 MHz
(kV / mm) (ASTM D 150) (ASTM D 150)
Alumina (99.9% Al2o3) 340(13.4) 10.1 0.000
Aluminum sillcate 150(6.0) 4.1 0.0027
Beryllia (99.9% BeO) 350(13.8) 6.4 0.001
Boron nitride 950(37.5) 4.2 .0034
Cordierte(2Mgo*2Al2O25*SiO2) 200(7.87) 4.8 0.0050
Magnesia (MgO) 5.4 0.0003
Porcelain(4K2O*Al2 O3*3SiO2) 8.5 0.005
Quartz (SiO2) 3.8 0.0038
Sapphire 9.3-11.54 0.0003-0.00086
Sillica (Fused) 3.2 0.0045
Steatite 5.5-7.2 0.001
Zircon(ZrSiO4) 5.0 0.0023
Dr.techn. Norasage Pattanadech 178
2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.1 ชนิดของฉนวนแข็ง


4. เซรามิคส์
ตารางที 1-31 เซรามิคส์ค่าเปอร์มิตติวติ ีสู ง
เซรามิคส์ ส่ วนประกอบทาง Tg 10-4
เคมี r 
Magnesium metatitanate MgTiO3 16 2
Strantium zirconate SrZrO3 38 3
Titanium oxide TiO2 90 5
Calcium titanate CaTiO3 150 3
Strantium titanate SrTiO3 200 5
Barium titanate BaTiO3 1500 150

Dr.techn. Norasage Pattanadech 179


2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.1 ชนิดของฉนวนแข็ง


5. ยาง
ตารางที 1-32 คุณสมบัติและการใช้ประโยชน์ของยาง
ชนิดของยาง ดูดซึมนํา % r tg  Eb การใช้ ประโยชน์ และขีดจํากัด
(50 Hz) (50 Hz) kV/cm
Natural rubber 0-4.8 2.9-6.6 0.02-0.1 100-390 ทนต่อการเกิดโคโรนาทนได้ดี
อุณหภูมิใช้งานสูงสุด 60C
Polysar Kryflex 0-4.5 3.8-6.2 0.02-0.09 80-380
ใช้กบั ระบบแรงดันตํา( 11 kV) ไม่
Rubber and styrene เหมาะกับอากาศชืนหรื อนํามัน
Butadiene rubber
ใช้กลางแจ้งทนดินฟ้าอากาศดี ใต้นาํ
Butyl rubber and 0-2 2.2-3.2 0.003-0.03 80-200 เคเบิลฝังดิน แต่ทนความร้อนได้ตาํ ทน
Polysar butyl ต่อปฏิกิริยาเคมีได้ดีและเหนียว
Rubber
ใช้งานเกียวกับเรื อ เครื องบิน หม้อ-
Silicone rubber 0-3 2.6-3.4 0.006-0.02 90-390
แปลง ทนอุณหภูมิได้สูงถึง 150C แต่ไม่
Dr.techn. Norasage Pattanadech ทนต่อกรด ด่าง และคลอริ เนท 180
2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.1 ชนิดของฉนวนแข็ง


5. ยาง
ตารางที 1-34 เปรี ยบเทียบคุณสมบัติของยางซิลิโคน และ EPDM
Property HTV silicone rubber EPDM
Dielectric strength (kV/mm) 20.0 19.7 – 31.5
Dielectric constant (1 MHz) 3.0 – 3.6 2.5 – 3.5
Dissipation factor (1 MHz) 0.005 0.007
Volum resistivity (m) 1013 1014
Specific gravity 1.15 – 1.55 0.85
Elongation.% (ASTM-D412) 200 200
Comparative abrasion resistance Fair Good
Water resistance Good Excellent
Maximum operating temp 200 C 177 C
Flame resistance Poor Poor
Resistance to ozone Excellent

Dr.techn. Norasage Pattanadech 181


2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.1 ชนิดของฉนวนแข็ง

6.โพลีเมอร์

H H H H

C C C C

H H H H
n
(ก) ethylene (เมอร์) (ข) polythylene (โพลีเมอร์)
รู ปที 1-63 การเกิดขึนของโพลีเอทีลีน

Dr.techn. Norasage Pattanadech 182


Power and Energy Series 2020

ตารางที 1-35 โครงสร้างทางเคมีของโพลีเมอร์ทีมีใช้งานทัวไป


Generic Name (abbreviation)
X X Polyethylene (PE)
X=H
C C Polyetetrafluoroethylene (PTFE)
X=F
X X

H X X = CH3 Polypropylene(PP)
X = Cl Poly (vinyl chloride)(PVC)
C C X = C6H5 Polystysrene(PS)
H H X = OCOCH3
Poly (vinl acetate)(PVA)

H X Poly(vinylidline chloride)(PVDC)
X = Cl
C C X=F Poly(vinylidline fluoride)(PVDF)
X = CH 2 Polyisobutylene (butyl rubber)
H X

Dr.techn. Norasage Pattanadech “PD Measurement for UG Cables” 183


ตารางที 1-35 โครงสร้างทางเคมีของโพลีเมอร์ ทีมีใช้งานทัวไป(ต่อ)
Generic Name (abbreviation)
H X
X = CH 3 Poly(methyl methacrylate)(PMMA)
C C Y = COOCH 3
H Y
H X Polybutadiene (BR)
X=H
C C X = CH 3 Polyisoprean(natural rubber)
CH 2 CH 2
CH O
Polycarbonate(PC)
C O C O
CH 3

O O C C Poly (ether ether ketone)(PEEK)


O O
(CH2)6 N C (CH2)4 C N
Nylon 6.6
H H
Dr.techn. Norasage Pattanadech 184
2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.1 ชนิดของฉนวนแข็ง

6.โพลีเมอร์
โครงสร้างโมเลกุลของโพลีเมอร์
1. โพลีเมอร์แบบเส้น (Linear Polymer)
2. โพลีเมอร์แบบกิง (Branched Polymer)
3. โพลีเมอร์แบบร่ างแหหรื อแบบเชือมโยง
(Network or cross linked polymer)

Dr.techn. Norasage Pattanadech 185


2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.1 ชนิดของฉนวนแข็ง


6.โพลีเมอร์

HDPE
LDPE
(ก) (ข)

XLPE LLDPE
(ค) (ง)
รู ปที 1-64 โครงสร้างของ HDPE , LDPE , XLPE , LLDPE
Dr.techn. Norasage Pattanadech 186
2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.1 ชนิดของฉนวนแข็ง

6.โพลีเมอร์
โพลีเมอร์ทีใช้งานอยูม่ ีดงั นี
6.1 โพลิเอทิลีน (Polyethylene, PE)
H H

C C

H H
n
รูปที 1-65 โครงสร้างทางเคมีของ PE
Dr.techn. Norasage Pattanadech 187
2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.1 ชนิดของฉนวนแข็ง

6.2 โพลิเอสเตอร์ (Polyesters)


H H O O

O C C O C C C C

H H H H n
รูปที 1-66 โครงสร้างเคมีของ Linear Polyester

Dr.techn. Norasage Pattanadech 188


2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.1 ชนิดของฉนวนแข็ง

6.3 โพลิสทีรีน (Polysterene, PS )


H C6 H5 H C6 H5 H C6 H 5

C C C C C C

H H H H H H

รูปที 1-67 โครงสร้างทางเคมีของ PS

Dr.techn. Norasage Pattanadech 189


Power and Energy Series 2020

ตารางที 1-36 คุณสมบัติทางไฟฟ้าของโพลิเมอร์ประเภทเทอร์โมพลาสติกทีใช้เป็ นฉนวนไฟฟ้า


Dielectric Dielectric Dissipation Maximum
Arc
Strength Constsnt factor Service
Polymer Resistance
Volt / mil Temperature
60Hz 10 6Hz 60Hz 10 6Hz (seconde)
(kV / mm) C
Polyphenylene 380(15.0) 3.1 3.2 0.0003 0.0007 205 34
sulphide
Polyether sulphide 400(15.7) 3.5 3.5 0.0001 0.004 180 70
Poly carbonate 380(15.0) 3.2 3.0 0.009 0.01 130 120
Acetal copolymer 380(15.0) 3.7 3.7 - 0.0048 90 220
polymer 380(15.0)
Acetal copolymer 380(15.0) 3.7 3.7 0.001 0.006 105 240(burns)
Acetal (PMMa) 500(19.7) 3.7 2.2 0.05 0.3 95 NO
Tracking

Dr.techn. Norasage Pattanadech “PD Measurement for UG Cables” 190


2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.1 ชนิดของฉนวนแข็ง

6.4 โพลิวินีลคลอไรด์ (Polyvinyl chloride, PVC)


H H H H H H

C C C C C C

H Cl H Cl H Cl

รูปที 1-68โครงสร้างทางเคมีของ PVC

Dr.techn. Norasage Pattanadech 191


ตารางที 1-37 เปรี ยบเทียบคุณสมบัติทางไฟฟ้าของ PVC กับ Polyethene ทีใช้เป็ นฉนวนของสายเคเบิล
Property PVC Polyethene Impregnated
Flexible semirigid Irradiated Low High Cross Kraft paper
density density linked (0.125 mm thick)
Specific gravity 1.37 1.31 1.34 0.92 0.95 0.92 0.65
Elongation (%) 30 300 150-200 600 400 500 2.6
Maximum Operating 60-105 80 105 80 90 125 -
Temperature (C)
Flame resistance Good Good Good Poor Poor Poor- -
(comparative) Good
Dielectric 6.2 max 4.3 2.7 2.8 2.34 2.3 3.3-3.9
Constant (1MHz)
Dissipation factor - 0.1 max - 0.0005 0.0007 0.0003 0.0026-0.003
(1 MHz) 20 C (0.4 at 80 C)
Volume resistivity 5  1011 21012 21010 1014 1014 1014 1014
(m)
Dielectric - - - 550 550 550 1884
Strength V/mil (21.6) (19.7) (21.6) (74)
(kV/mm)
Dr.techn. Norasage Pattanadech 192
2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.1 ชนิดของฉนวนแข็ง

6.5 ไนลอน (Nylon)


O H

C CH 2 CH 2 CH 2 CH 2 CH 2 N
n
รูปที 1-69 โครงสร้างทางเคมีของไนลอน

Dr.techn. Norasage Pattanadech 193


2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.1 ชนิดของฉนวนแข็ง

6.6 ฟลูออโรคาร์บอนพลาสติก (Fluorocabon plastics)

F F F F
C C C C
F F F F
รู ปที 1-70 โครงสร้างทางเคมีของ PTFE

Dr.techn. Norasage Pattanadech 194


2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.1 ชนิดของฉนวนแข็ง

6.6 ฟลูออโรคาร์บอนพลาสติก (Fluorocabon plastics)


ตารางที 1-38 คุณสมบัติของฟลูออโรคาร์บอนพลาสติก
คุณสมบัติ PTFE PCTFE PVF2
ความต้านจําเพาะเชิงปริ มาตร(  -cm) >1018 1.2 × 1018 2 × 1014
ความคงทนต่อแรงดันไฟฟ้า kV/mm 20 21 10-51
เปอร์มิตติวติ ี  r ที 50 Hz-1Hz 2 2.3-2.8 7-8
แฟคเตอร์ tg ที 50 Hz-1MHz <0.0002 0.0012-0.0036 0.0491-0.15

Dr.techn. Norasage Pattanadech 195


2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.1 ชนิดของฉนวนแข็ง

7. อิพอ็ กซี – เรซิน


OH OH
CH CH 2 R CH CH2 H 2C HC R
O N R N
R CH CH2 H2C HC R
(ก) วงแหวนอีพอกไซด์เป็ นสารตังต้น
ในการทําอีพอ็ กซี -เรซิน OH OH
(ข) โครงสร้างของสารประกอบ อิพอ็ กซี -เรซิน

รูปที 1-71 โครงสร้างทางเคมีของอิพอ็ กซี -เรซิน


Dr.techn. Norasage Pattanadech 196
Power and Energy Series 2020

ตารางที 1-39 คุณสมบัติของอิพอกซี -เรซิ น


Property Unfilled Silica Filled
Volume resistivity, -cm 1012-1017 1013-1016
Dielectric strength, V/mil
Short time 400-550 400-550
Step-by-step 350
Dielectric constant
60 Hz 3.5-5.0 3.2-4.5
103 Hz 3.5-4.5 3.2-4.0
106 Hz 3.3-4.0 3.0-3.8
Dissipation factor
60 Hz 0.002-0.010 0.008-0.03
103 Hz 0.002-0.020 0.008-0.03
106 Hz 0.030-0.050 0.02-0.04

Dr.techn. Norasage Pattanadech “PD Measurement for UG Cables” 197


Power and Energy Series 2020

ตารางที 1-39 คุณสมบัติของอิพอกซี -เรซิน(ต่อ)


Property Unfilled Silica Filled
Arc resistance, s 45-120 150-300
Specific gravity 1.11-1.14 1.6-2.0
Modulus of elasticity in tension, psi x 105 3.0-3.5 3.5-4.0
Percent elongation, % 3-6 1-3
Flexural strength, psi x 103 13-21 8-14
Compressive strength, psi x 103 15-21 15-40
Rockwell hardness M80-M110 M85-M120
Impact strength, ft-lb/in. 0.2-1.0 0.3-0.45
Heat distortion temperature, OF at 264 psi 115-550 160-550
Thermal conductivity, cal/OC ·cm·s x 104 4-5 10-20
Thermal expansion, in./in. per OC x 105 4.5-6.5 2.0-4.0
Water absorption, % 0.08-0.15 0.04-0.10
Burning rate Slow to self extinguish Self-extinguishing

Dr.techn. Norasage Pattanadech “PD Measurement for UG Cables” 198


2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.1 ชนิดของฉนวนแข็ง


ตารางที 1-40 คุณสมบัติทางไฟฟ้าของโพลิเมอร์ประเภทเทอร์โมเซ็ตติง
Compound Dielectric Dielectric Dielectric Maximum Arc
Strength V/m constant factor Service Resistance
(kV/mm) Temperature (seconde)
OC

Glass-filled allyle 400(15.7) 4.2 3.5 0.004 0.01 260 140


Glass-Filled phenolic 380(15.0) 6.0 5.0 - 0.02 232 180
Glass-filled epoxy 390(15.4) 5.0 4.6 0.1 0.01 204 187
(electricalgrade)
Glass-filled melamine 340(13.4) 8.0 6.2 - 0.02 204 180+
Glass-filled 375(14.8) 54.3 4.6 0.1 0.02 204 180+
aky/polyester

Dr.techn. Norasage Pattanadech 199


2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.1 ชนิดของฉนวนแข็ง

300
f = 50 Hz
250 HARD PORCELAIN
PAPER
200
tan δ x 10-3

PVC
150
100
50
EPOXYRESIN
0
0 20 40 60 80 100 120 140 160
Temperature
รูปที 1-72 เปรี ยบเทียบค่าการสู ญเสี ยของฉนวนแข็งชนิดต่างๆทีความถี 50 Hz
Dr.techn. Norasage Pattanadech 200
ตารางที 1-42 คุณสมบัติทางไฟฟ้าของฉนวนแข็งอืนๆ
Materials tan  v Breakdown
 r
at 25 OC at 25 OC Stress
1 MHz (  . cm ) ( kV/mm)
( average )
Quartz glass 3.9 5  10-4 1012
Lead glass 9
Soda – lime glass 7 0.01 10 - 40
Glass ceramic 5-7 0.001 - 0.1 1012 - 1014 20 - 80
Porelain 5 0.04 1012 - 1015 20 - 30
Zirconium ceramic 7-12 0.003 20 - 30
Alumina ceramic 10 0.0005
Barium titanate ceramic 2000 – 8000 0.1
Micanite 5 -11 0.003 1014 - 1016 50 (for 1 mm specimen)
100 – 200
(for 0.1 mm specimen)
Dr.techn. Norasage Pattanadech 201
2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.1 ชนิดของฉนวนแข็ง

ตารางที 1-42 คุณสมบัติทางไฟฟ้าของฉนวนแข็งอืนๆ


Materials r tan
  v at 25 Breakdown
O
at 25 C OC Stress
1 MHz ( . cm ) ( kV/mm)
( average )
PVC 6 0.1
PE 2.3 0.0001 1015 - 1018 40
Polystyrene 2.6 0.0001 1016 - 1018 30 - 40
PTFE 2 0.0002 1016 - 1018 25
Bakelite 4.5 0.1 1013
Vulcanzized nature rubber 3.5 0.05
Methhy methcrylate 3.6 0.01
Dr.techn. Norasage Pattanadech 202
2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.2 การใช้งานฉนวนแข็งในเครื องจักรกลไฟฟ้า

conductors

stator iron

turn insulation
main insulation

semicon layer

slot wedge

ฉนวนแข็งสําหรับเครื องกําเนิ ดแรงดันไฟฟ้า

Dr.techn. Norasage Pattanadech 203


2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.2 การใช้งานฉนวนแข็งในเครื องจักรกลไฟฟ้า

ตารางที 1-42 ประเภทของฉนวนแข็งแบ่งตามอุณหภูมิใช้งานสู งสุ ด(IEC;1984)


Class code Y A E B F H 200 220 250
Maximum temperature for 90 105 120 130 155 180 200 220 250
continuous operation
(C)
โดยที CLASS Y : ได้แก่ กระดาษ, ผ้าฝ้าย, เส้นใยไหมธรรมชาติทีไม่มีการชุบนํามัน, วานิ ช
หรื อเรซิ น และรวมไปถึงยางธรรมชาติทีผ่านกระบวนการวัลคาไนช์ และพวกเทอร์ โมพลาสติก
ทีมีอุณหภูมิใช้งานอยูใ่ นช่วงพิกดั ไม่เกิน 90 องศาเซลเซียส เช่น PE, XLPE, หรื อ PVC

Dr.techn. Norasage Pattanadech 204


2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.2 การใช้งานฉนวนแข็งในเครื องจักรกลไฟฟ้า

CLASS A : ได้แก่ วัสดุจาก CLASS Y แต่มีการชุบด้วยนํามันวานิ ช หรื อเรซิ นรวม


ทังอีนาเมลทีเป็ นประเภทสารอินทรี ย ์ วานิชหรื อเทอร์โมพลาสติกอืน ทีมีอุณหภูมิ
ใช้งานอยูใ่ นช่วงพิกดั ไม่เกิน 105 องศาเซลเซี ยส
CLASS E : ใช้วสั ดุประเภทลามิเนตพลาสติกหรื อเทอร์ โมพลาสติกร่ วมกับ
ไฟเบอร์ เทอร์ โมเซ็ตติง อิพอ๊ กซี อีนาเมล หรื อวานิชประเภททีใช้งานดังกล่าว
ตัวอย่างเช่น Phenolformaldehyde, Melamine-Formaldehyde และ Polyethylene
Terephthalate Fibers
CLASS B : ได้แก่ไฟเบอร์ ประเภทอินทรี ย ์ และวัสดุทีมีความยืดหยุน่ เช่นไมก้า
แก้วใยหิ น

Dr.techn. Norasage Pattanadech 205


2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.2 การใช้งานฉนวนแข็งในเครื องจักรกลไฟฟ้า

CLASS F : ใช้วสั ดุจาก CLASS B ผสมกับเรซิ นประเภททีมีอุณหภูมิใช้งานในช่วง


ดังกล่าวเช่น epoxy และ silicone alkyd

CLASS H : ใช้วสั ดุจาก CLASS B ผสมกับเรซิ นชนิดอินทรี ยเ์ ช่น ซิ ลิโคน เรซิ น
รวมทังยางซิ ลิโคน

CLASS C : ได้แก่วสั ดุประเภทอินทรี ย ์ เช่น ไมก้า, เซรามิคส์, Fused Quartz อาจจะ


ผสมหรื อไม่ผสมกับสารอืนก็ได้ถา้ สามารถทนอุณหภูมิในช่วงทีกําหนดได้

Dr.techn. Norasage Pattanadech 206


ตารางที 1-43 วัสดุฉนวนทีใช้ใน Rotating Machines
Component Low voltage machines High voltage machines
Class E Class B Class F Class B Class F
Turn-to-turn Polyvinyl acetal for Polyester enamel Estermide enamel Phenolic bonded Alkyd bonded
insulation both wire and strip (wire) or phenolic (wide) or alkyd fiberglass (strip) fiberglass (strip)
conductors bonded fiberglass bonded fiberglass
(strip) (strip)
Coil-to-coil Bakelized fabric strips Bakelized fabric strips Epoxy fiberglass Shellac or bitumen Epoxy impregnated
Inside the slots strips bonded mica foil or Mica paper foil or
And phase-to-phase tape on straight tape on straight
portions of the coils portions of the coil
insulation
On over –hangs Melinex film bonded Alkyd bonded mica Nomex sheet Alkyd varnished glass Epoxy varnished glass
to press paper glass sheet tape on coil ends and tape on coil ends and
alkyd bonded mica alkyd bonded mica
sheet between layers glass sheet between
layers
Phase (or coil) to Melinex film bonded Mica alkyd bonded to Nomex sheet No extra insulation because the phase-to-phase
earth insulation to press paper glass cloth insulation itself is sufficient
Slot closure (wedge) Bakelized fabric strip Bakelized fabric strip Epoxy fiberglass strip Bakelized fabric strip Epoxy fiberglass strip
Insulation for leads Alyd varnished terylene or glass tape or sleeving Alkyd varnished glass tape
Varnish for Alkyd phenolic Alkyd phenolic Estermide or epoxy Alkyd-phenolic Epoxy
impregnation
treatment
Dr.techn. Norasage Pattanadech
2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.2 การใช้งานฉนวนแข็งในเครื องจักรกลไฟฟ้า

(ก) ป้ายชือของหม้อแปลง (ข) ป้ายชือของมอเตอร์


รูปที 1-73 ป้ายชือของเครื องจักรกลไฟฟ้าแสดงการใช้งานฉนวน (ก) หม้อแปลง (ข) มอเตอร์

Dr.techn. Norasage Pattanadech 208


2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.2 การใช้งานฉนวนแข็งในเครื องจักรกลไฟฟ้า

ตารางที 1-44 การจัดแบ่งขีดจํากัดทางอุณหภูมิของวัสดุฉนวนทีใช้กบั เครื องจักรกลไฟฟ้า


แบบหมุน (IEC 60085)
Numerical Classification Letter Classification Temperature (°C)
105 A 105
130 B 130
155 F 155
180 H 180

Dr.techn. Norasage Pattanadech 209


ตารางที 1-45 การใช้งานฉนวนแข็งในสวิตซ์เกียร์
Materials Applications
Epoxy resins Low pressure castings for bushings, switchgear
orifices, bus-bars, instrument transformers.
Fluidized bed dip coating for bus-bar insulation
and dough moulding for bus-bar barriers and
secondary terminals.
Epoxy resins bonded glassfibre For components such as arc control devices,
circuit breaker operating rod and high pressure
feed pipes for air blast circuit breakers.
Polyester resins Insulating lever for circuit breaker and phase
barrier plate in switch board.
Porcelain Insulators and bushings of power transformers,
circuit breakers and instrument transformers.

Dr.techn. Norasage Pattanadech 210


ตารางที 1-45(ต่อ) การใช้งานฉนวนแข็งในสวิตซ์เกียร์
Materials Applications
Vulcanized Fibre Arc chamber segments.
Synthetic resin bonded paper Bushings, arc chambers, etc.
Nylon Injunction moulded for arc control devices in
circuit breakers.
Silicone rubber Filling for moulded joint boxes in air insulated
Circuit breakers.
Butyl rubber Pressure moulding of current transformers.
Chloro-sulphonated polyethylene Cable insulation for use in air or oil.

Dr.techn. Norasage Pattanadech 211


2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.3 การเกิดเบรกดาวน์ในฉนวนของแข็ง

การเกิดเบรกดาวน์ในฉนวนแข็งอาจแบ่งออกตามช่วงเวลาของแรงดัน
ทีป้อน และปรากฏการณ์การเกิดเบรกดาวน์ได้ คือ

1. Intrinsic Breakdown
2. Streamer Breakdown
3. Electromechanical Breakdown
4. Edge Breakdown and Treeing
5. Thermal Breakdown
6. Erosion Breakdown

Dr.techn. Norasage Pattanadech 212


2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.3 การเกิดเบรกดาวน์ในฉนวนของแข็ง

U Intrinsic Breakdown

Streamer Breakdown
Electromechanical Breakdown
Edge Breakdown and Treeing
Thermal Breakdown
Erosion Breakdown

S
รูปที 1-74 ความคงทนต่อแรงดันเบรกดาวน์ เมือจ่ายแรงดันคร่ อมฉนวนของแข็ง ระยะเวลา
ต่างๆกัน
Dr.techn. Norasage Pattanadech 213
Times and electric fields at which various electrical breakdown mechanisms are operative. Note the
lack of a clear distinction between ‘breakdown’ and ‘degradation’
Dr.techn. Norasage Pattanadech 214
2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.3 การเกิดเบรกดาวน์ในฉนวนของแข็ง

1. การเบรกดาวน์แบบแท้จริ ง
การเกิด Intrinsic Breakdown จะเกิดขึนได้อย่างสมบูรณ์ภายในเวลา 10-8 วินาที
ส่ วนความเครี ยดสนามไฟฟ้ามากกว่า 106 MV/cm เมืออิเล็กตรอนภายในฉนวนได้รับ
พลังงานเพียงพอทีจะข้ามช่อง gap จาก Valance Band สู่ Conduction Band ได้

Dr.techn. Norasage Pattanadech 215


2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.3 การเกิดเบรกดาวน์ในฉนวนของแข็ง

1. การเบรกดาวน์แบบแท้จริ ง
การเกิด Intrinsic Breakdown จะเกิดขึนได้อย่างสมบูรณ์ภายในเวลา 10-8 วินาที
ส่ วนความเครี ยดสนามไฟฟ้ามากกว่า 106 MV/cm เมืออิเล็กตรอนภายในฉนวนได้รับ
พลังงานเพียงพอทีจะข้ามช่อง gap จาก Valance Band สู่ Conduction Band ได้
Energy Energy Energy
Conduction band

Conduction band Eg > 4.0 eV


Energy gap up to 4.0 eV
Conduction band
Overlap Valence band Valence band
Valence band

0 0 0

โครงสร้างแถบพลังงานของตัวนํา สารกึงตัวนําและฉนวน(ทีอุณหภูมิ 0 K)
Dr.techn. Norasage Pattanadech 216
2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.3 การเกิดเบรกดาวน์ในฉนวนของแข็ง

2. การเบรกดาวน์แบบสตรี มเมอร์
การเกิดเบรกดาวน์แบบนีจะเหมือนกับการเกิดเบรกดาวน์ในก๊าซ การเบรกดาวน์
จะเกิดขึนเมือมีอิเล็กตรอนจํานวนมากพอเรี ยงตัวทอดต่อเชือมระหว่างคาโทดกับอาโนด

Dr.techn. Norasage Pattanadech 217


2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.3 การเกิดเบรกดาวน์ในฉนวนของแข็ง

3.การเกิดเบรกดาวน์จากแรงทางกลทีเกิดจากไฟฟ้า
สนามไฟฟ้าทําให้เกิดแรงกดกระทําต่อฉนวน แรงกดทีเกิดขึนเกิดจากแรงดึงดูด
ระหว่างประจุผวิ ซึ งเมือแรงนีมีค่ามากจนเกินค่าความคงทนทางกลของฉนวนจะทําให้ฉนวน
เกิดการแตกร้าวได้

Dr.techn. Norasage Pattanadech 218


2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.3 การเกิดเบรกดาวน์ในฉนวนของแข็ง


4. การเกิดเบรกดาวน์จากรอยทีผิว (Tracking)
การเกิด tracking มักจะเกิดจากความชืน หรื อ นําค้าง รวมตัวกับสิ งเปรอะเปื อน เช่น ไอเกลือ ฝุ่ นละออง
สารเคมี กลายเป็ นฟิ ล์มตัวนําผิวฉนวน ทําให้กระแสสามารถไหลผ่านได้ (กระแสรัวไหล ) ทําให้เกิดความ
ร้อนขึน ผิวฉนวนก็จะแห้งลง ความร้อนทีเกิดขึนทีแต่ละจุดบนผิวฉนวนมีค่าไม่เท่ากัน เกิดการแห้งเฉพาะ
บางส่ วน จะมีแรงดันตกคร่ อมบริ เวณดังกล่าวซึงอาจก่อให้เกิดการสปาร์คได้ การเสื อมคุณสมบัติของฉนวน
โดยมากเกิดเนืองจากความร้อนของการสปาร์ค การเกิด tracking จะหมายถึงการเกิดเป็ นทางของคาร์บอน
บนผิวฉนวนซึงเกิดได้เฉพาะฉนวนแบบอินทรี ยเ์ ท่านัน

Dr.techn. Norasage Pattanadech 219


2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.3 การเกิดเบรกดาวน์ในฉนวนของแข็ง


4. การเกิดเบรกดาวน์จากการร้าวในฉนวน หรื อ การเกิดทรี อิง (Treeing)
การเกิด treeing อาจจะแบ่งออกเป็ น 2 แบบคือ electrical treeing และwater treeing การเกิด electrical
treeing นันจะเกิดขึนในบริ เวณทีมีความเครี ยดสนามไฟฟ้ าค่อนข้างสู งในกรณี ของ water treeing จะเกิดขึน
เมื อเนื อฉนวนแข็งมีนาผสมอยู
ํ ่ดว้ ยซึ งอาจจะเกิ ดจากกระบวนการผลิ ต เมือจุดดังกล่าวได้รับความเครี ยด
สนามไฟฟ้า ตัว water treeing ก็จะก่อตัวขึนมา

Dr.techn. Norasage Pattanadech 220


2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.3 การเกิดเบรกดาวน์ในฉนวนของแข็ง


Water treeing

(ก) แบบหูกระต่าย (Bow – tie) เกิดขึนทีเนือ (ข) แบบ Vented water treeing
ฉนวนฉนวนบริ เวณทีมีสิงเจือปน
รู ปที 1-78 ลักษณะการเกิด Water treeing
Dr.techn. Norasage Pattanadech 221
2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.3 การเกิดเบรกดาวน์ในฉนวนของแข็ง


Electrical treeing

(ก) แบบพุม่ ไม้ (bush-like) (ข) แบบ tree line


รู ปที 1-77 รู ปแบบการเกิด Electrical treeing
Dr.techn. Norasage Pattanadech 222
2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.3 การเกิดเบรกดาวน์ในฉนวนของแข็ง

การเกิดดิสชาร์จภายใน

รูปที 1-79 การเกิดโพรงในเนือฉนวน XLPE


Dr.techn. Norasage Pattanadech 223
2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.3 การเกิดเบรกดาวน์ในฉนวนของแข็ง


5. การเกิดเบรกดาวน์จากผลทางความร้อน
ป้อนศักดาไฟฟ้าให้กบั ฉนวนของแข็งทําให้เกิดการนํากระแส ความร้อนทีเกิด เนืองจากกระแสการนําบางส่ วนจะพาออกไปสู่
บรรยากาศส่ วนทีเหลือก็จะทําให้อุณหภูมิของฉนวนแข็งเพิมขึนอีก ถ้าหากอัตราความร้อนทีเกิดขึนมากกว่าความร้อนทีถูกพา
ออกไปทําให้ฉนวนแข็งมีอุณหภูมิสะสมเพิมขึนจนเกิดเบรกดาวน์ได้

Dr.techn. Norasage Pattanadech 224


2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.4 การใช้งานฉนวนแข็ง

copper or aluminium stranded conductor

pvc insulation

extruded pvc bedding

Single rire armour

extruded pvc outer sheath

รูปที 1-80 การใช้ PVC เป็ นฉนวนของสายเคเบิล


Dr.techn. Norasage Pattanadech 225
2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.4 การใช้งานฉนวนแข็ง

รูปที 1-81 สายเคเบิลทีใช้ XLPE เป็ นฉนวน

Dr.techn. Norasage Pattanadech 226


2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.4 การใช้งานฉนวนแข็ง

(ก) ลูกถ้วยปอร์ ซเลน (ข) ลูกถ้วยแก้วเหนียว


รูปที 1-82 ลูกถ้วยฉนวน
Dr.techn. Norasage Pattanadech 227
2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.4 การใช้งานฉนวนแข็ง

วัสดุเพียโซอิเล็กตริ ก (Piezoelectric)
วัสดุเพียโซอิเล็กตริก มีคุณสมบัติสามารถให้กาํ เนิดแรงดันไฟฟ้าหรื อเกิดขัวไฟฟ้า
ขึนภายในวัสดุ(Polarized) เมือมีแรงเค้นทางกล (Mechanical stress) มากระทํา หรื อ
เมือให้แรงดันไฟฟ้าแก่วสั ดุเพียโซอิเล็กตริ กจะทําให้เกิดความเครี ยด (Strain) ขึนใน
วัสดุ ความเครี ยดจะนิยามจากอัตราส่ วนระหว่างขนาดของวัสดุทีเปลียนไปกับขนาด
เดิม (เช่น ความยาวทียืดหรื อหดไปเทียบกับความยาวเดิม) ความเครี ยดทีเกิดขึนทําให้
วัสดุเกิดการเปลียนแปลงรู ปร่ างไปจากเดิม
วัสดุเพียโซอิเล็กตริ ก จะต้องประกอบด้วยโครงสร้างผลึกทีจะต้องมีลกั ษณะ
อสมมาตรร่ วมอยูว่ สั ดุเพียโซอิเล็กตริ กทีพบในธรรมชาติ ได้แก่ แร่ ควอร์ ท (Quartz)
ดีเกลือ (Rochelle salt) แร่ ทวั ร์ มาลีน (Tourmaline) ส่ วนวัสดุสังเคราะห์ ได้แก่
Lead zirconate-titanate: Pb (Zr, Ti)O3

Dr.techn. Norasage Pattanadech 228


2020

1.4 วัสดุประเภทฉนวนแข็ง 1.4.4 การใช้งานฉนวนแข็ง

1.4 วัสดุเพียโซอิเล็กตริ ก (Piezoelectric)


Force

P=0 P V V V

(ก) แรงดันไฟฟ้าทีเกิดขึนเมือวัสดุได้รับแรงกระทํา(ข) รู ปร่ างของวัสดุทีเปลียนไปเมือได้รับแรงดันไฟฟ้า


รูปที 2-70 ปรากฎการณ์เพียโซอิเล็กตริ ก
การประยุกต์ใช้งานวัสดุเพียโซอิเล็กตริ ก เช่น ใช้เป็ นตัวเซนเซอร์ ตรวจจับแรงทางกล
ตัวเซนเซอร์ ตรวจวัดความดัน หรื อตรวจวัดการสันสะเทือน หรื อแรงสันสะเทือน ใช้ในการ
วัดความดันโลหิ ต เช่น blood pressure sensors ใช้วดั ความดันแรงดันนําใต้ดิน หรื อใช้
กรองคลืนรบกวน (Filter) ทีเกิดจากการสัมผัสผิวหน้า
Dr.techn. Norasage Pattanadech 229

You might also like