บทที่ 1 ตรรกศาสตร์ แก้ไข 19 05 67

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 49

การเก็บคะแนนวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (คะแนนเต็ม 100 คะแนน)

บทที่ 1 ตรรกศาสตร์

รายการ เนื้อหา คะแนน


สอบย่อยครั้งที่ 1 5
สอบย่อยครั้งที่ 2 5
สอบย่อยครั้งที่ 3 5
ใบงาน ตรรกศาสตร์ 10
เข้าเรียน 5
สอบกลางภาค 15
รวม 45

บทที่ 2 จานวนจริง

รายการ เนื้อหา คะแนน


สอบย่อยครั้งที่ 1 5
สอบย่อยครั้งที่ 2 5
สอบย่อยครั้งที่ 3 5
ใบงาน จานวนจริง 10
เข้าเรียน 5
สอบปลายภาค 25
รวม 55

หมายเหตุ
คุณครูผู้สอน นางสาวจนัสธา ลาภยิ่งยง (ครูเกนกิ) เบอร์โทรติดต่อ 093-007-1252
Email : 64010511014@msu.ac.th FB : Chanattha Lapyingyong
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 1

บทที่ 1 ตรรกศาสตร์
1. ประพจน์
ประพจน์ (Statement) คือ ประโยคหรือข้อความที่สามารถบอกค่าความจริง (truth
value) จริงได้ อาจเป็นจริงหรือเท็จอย่างได้อย่างหนึ่งเท่านั้น

ตัวอย่าง จงพิจารณาว่าประโยคต่อไปนี้เป็นประพจน์หรือไม่ ถ้าเป็นจงหาค่าความจริงของ


ประพจน์ดังกล่าว

1. เดือนกรกฎาคมมี 30 วัน

2. 4 ∈ {1,2,3,4,5,6,7}

3. 104 หารด้วย 102 ไม่ลงตัว

4. กรุณาถอดรองเท้า

5. ผมไม่ได้ชอบคุณ

6. 𝜋 > 3

7. 9 เป็นจานวนเฉพาะ

8. 2 หรือ -3 เป็นคาตอบของสมการ 𝑥 2 − 𝑥 = 6

9. หมอดูทานายว่าปีหน้าจะเกิดสึนามิ

10. จงหาคาตอบของสมการ 4𝑥 2 + 𝑥 − 3 = 0
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 2

ใบงานที่ 1 ประพจน์
คาชี้แจง ให้พิจารณาประโยคหรือข้อความต่อไปนี้ว่าเป็นประพจน์หรือไม่ ถ้าเป็นประพจน์
ให้บอกค่าความจริงของประพจน์ แต่ถ้าไม่เป็นประพจน์ให้อธิบายเหตุผล

เป็นประพจน์หรือไม่
ข้อ ประโยคหรือข้อความ ค่าความจริง/เหตุผล
เป็น ไม่เป็น
Ex1 51 เป็นจำนวนเฉพำะ ✓ เป็นเท็จ

Ex2 ห้ำมรบกวน ✓ เป็นประโยคขอร้อง

1. 2+3=7

2. 2x2 + 4 = 5

3. 2 เป็นจานวนคู่ใช่หรือไม่

2 เป็นคาตอบหนึ่งของสมการ
4.
x2 + x =6

5. 11 ∉ {1, 3, 5, … ,99}

6. โธ่! น่าสงสาร

7. 8 < -13 + 25

8. |12 − 3| = |3 − 12|

ประโยคทุกประโยคมีค่าความ
9.
จริงเป็นจริงเสมอ

10. x < 2x
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 3

2. การเชื่อมประพจน์
ประโยคบางประโยคเกิดจากประโยคย่อย ๆ แต่ละประโยคจะมี “ตัวเชื่อม” ซึง่ ตัวเชื่อม
พื้นฐานของประพจน์ มีดังนี้
และ ใช้สัญลักษณ์แทนด้วย ^
หรือ ใช้สัญลักษณ์แทนด้วย v
ถ้า....แล้ว ใช้สัญลักษณ์แทนด้วย →
ก็ต่อเมื่อ ใช้สัญลักษณ์แทนด้วย ↔
บทนิยาม ประพจน์ย่อย และ ประพจน์เชิงประกอบ
(1) เรียกประพจน์ที่นามาเชื่อมกันด้วยตัวเชื่อมต่าง ๆ ว่า ประพจน์ย่อย (atomic
statememt) หรือประพจน์เชิงเดียว (simple statememt)
(2) เรียกประพจน์ที่เกิดจากการเชื่อมประพจน์เชิงเดียวด้วยตัวเชื่อม ว่า ประพจน์
เชิงประกอบ (compound statement)

2.1 ค่าความจริงของประพจน์ที่เกิดจากการเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อมต่าง ๆ
กาหนดให้ p และ q แทนประพจน์ใด ๆ
ให้ T แทนค่าความจริงของประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริง
ให้ F แทนค่าความจริงของประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นเท็จ

ตารางแสดงค่าความจริงของการเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อมต่าง ๆ
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 4

ใบงานที่ 2.1 ประพจน์ย่อยและประพจน์ประกอบ


คาชี้แจง ให้พิจารณาประพจน์ที่กาหนดให้ แล้วจาแนกให้ถูกต้อง

ประพจน์
ข้อ ประโยคหรือข้อความ
ย่อย/เชิงเดียว ประกอบ
Ex1 pvq ✓

Ex2 (p v q) →q ✓

1. (p ^ q) v s

2. p↔q

3. p^q

4. 8 ไม่เท่ากับ 9 และ 8 ไม่น้อยกว่า 9


5. (p ^ q) ↔ (r v s)

6. ถ้า 11 เป็นจานวนเฉพาะ แล้ว 11 มีตัวประกอบ


คือ 1 กับ 11
7. (p → r) ^ s

8. p ↔ (q v p)

9. -1 เป็นจานวนเต็มบวก หรือ -3 เป็นจานวนเต็ม

10. (~r ^ q) ↔ (s ^ ~t)


ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 5

ใบงานที่ 2.2 การเชื่อมประพจน์ด้วย “และ”


ส่วนที่ 1 คาชี้แจง จงเขียนประพจน์ต่อไปนี้ให้อยู่ในสัญลักษณ์ และหาค่าความจริงของแต่ละ
ประพจน์

ตัวอย่าง 0 เป็นจานวนเต็ม และ 4 เป็นจานวนนับ


ให้ p แทน 0 เป็นจานวนเต็ม มีค่าความจริงเป็นจริง
q แทน 4 เป็นจานวนนับ มีค่าความจริงเป็นจริง
ดังนั้น p^q แทน 0 เป็นจานวนเต็มและ 4 เป็นจานวนนับ มีค่าความจริงเป็นจริง

1. -1 เป็นจานวนเต็มบวก และ -3 เป็นจานวนเต็ม


ให้ p แทน ............................................................................................................. ……
q แทน ..................................................................................................................

.............................................................................................................................................
2. 8 ไม่เท่ากับ 9 และ 8 ไม่น้อยกว่า 9
ให้ p แทน ............................................................................................................. ……
q แทน ..................................................................................................................

.............................................................................................................................................
3. 2 เป็น ห.ร.ม ของ 4 และ 6 และ 2 หาร 4+6 ไม่ลงตัว
ให้ p แทน ............................................................................................................. ……
q แทน ..................................................................................................................

.............................................................................................................................................
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 6

4. 5 เป็นจานวนคี่ และ 52 เป็นจานวนคู่


ให้ p แทน ............................................................................................................. ……
q แทน ..................................................................................................................

.............................................................................................................................................
5. 11 เป็นจานวนเฉพาะ แต่ 11 มีตัวประกอบคือ 1 กับ 11
ให้ p แทน ............................................................................................................. ……
q แทน ..................................................................................................................

.............................................................................................................................................
ส่วนที่ 2 คาชี้แจง จงเขียนข้อความแทนสัญลักษณ์ต่อไปนี้

เมื่อกาหนดให้ p แทนประพจน์ “ฉันซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล”


และ q แทนประพจน์ “ฉันถูกรางวัลที่หนึ่ง”

1. p ^ q……………………………………………………………………………………………………….

2. q ^ p ……………………………………………………………………………………………………….

เมื่อกาหนดให้ p แทนประพจน์ “ วันนี้ฝนตก”


q แทนประพจน์ “น้าท่วมฝั่งท่าขอนยาง”

และ r แทนประพจน์ “ วันนี้แดดออก”


1. p ^ q……………………………………………………………………………………………………….

2. q ^ p ……………………………………………………………………………………………………….
3. p ^ r……………………………………………………………………………………………………….
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 7

ใบงานที่ 2.3 การเชื่อมประพจน์ด้วย “หรือ”


ส่วนที่ 1 คาชี้แจง จงเขียนประพจน์ต่อไปนี้ให้อยู่ในสัญลักษณ์ และหาค่าความจริงของแต่ละ
ประพจน์

ตัวอย่าง 0 เป็นจานวนเต็ม หรือ 4 เป็นจานวนนับ


ให้ p แทน 0 เป็นจานวนเต็ม มีค่าความจริงเป็นจริง
q แทน 4 เป็นจานวนนับ มีค่าความจริงเป็นจริง
ดังนั้น p v q แทน 0 เป็นจานวนเต็มหรือ 4 เป็นจานวนนับ มีคา่ ความจริงเป็นจริง

1. -7 เป็นจานวนเต็มบวก หรือ -13 เป็นจานวนเต็มลบ


ให้ p แทน ............................................................................................................. ……
q แทน ..................................................................................................................

.............................................................................................................................................

2. 14 ไม่เท่ากับ 9 หรือ 14 ไม่น้อยกว่า 9


ให้ p แทน ............................................................................................................. ……

q แทน ..................................................................................................................
.............................................................................................................................................

3. 12 เป็น ตัวประกอบ ของ 24 และ 48 หรือ 12 หาร 24+48 ไม่ลงตัว


ให้ p แทน ............................................................................................................. ……
q แทน ..................................................................................................................

.............................................................................................................................................
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 8

4. 9 เป็นจานวนคี่ หรือ 92 เป็นจานวนคู่


ให้ p แทน ............................................................................................................. ……

q แทน ..................................................................................................................
.............................................................................................................................................

5. 11 เป็นจานวนเฉพาะ หรือ 11 มีตัวประกอบคือ 1 กับ 11


ให้ p แทน ............................................................................................................. ……
q แทน ..................................................................................................................

.............................................................................................................................................
ส่วนที่ 2 คาชี้แจง จงเขียนข้อความแทนสัญลักษณ์ต่อไปนี้

เมื่อกาหนดให้ p แทนประพจน์ “พระอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก”


และ q แทนประพจน์ “โลกหมุนทวนเข็มนาฬิกา”

1. p v q……………………………………………………………………………………………………….
2. q v p ……………………………………………………………………………………………………….

เมื่อกาหนดให้ p แทนประพจน์ “ 𝜋เป็นจานวนอตรรกยะ”

q แทนประพจน์ “ 𝜋เป็นจานวนเชิงซ้อน”

และ r แทนประพจน์ “ 𝜋 ไม่เป็นจานวนจริง”


1. p v q……………………………………………………………………………………………………….

2. q v p ……………………………………………………………………………………………………….
3. p v r……………………………………………………………………………………………………….
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 9

ใบงานที่ 2.4 การเชื่อมประพจน์ด้วย “ถ้า...แล้ว”


ส่วนที่ 1 คาชี้แจง จงเขียนประพจน์ต่อไปนี้ให้อยู่ในสัญลักษณ์ และหาค่าความจริงของแต่ละ
ประพจน์

ตัวอย่าง ถ้า 0 เป็นจานวนเต็ม แล้ว 4 เป็นจานวนนับ


ให้ p แทน 0 เป็นจานวนเต็ม มีค่าความจริงเป็นจริง
q แทน 4 เป็นจานวนนับ มีค่าความจริงเป็นจริง
ดังนั้น p→q แทน ถ้า 0 เป็นจานวนเต็ม แล้ว 4 เป็นจานวนนับ มีค่าความจริงเป็นจริง

1. ถ้า งูเห่าเป็นสัตว์มีพิษ แล้ว งูจงอางเป็นสัตว์มพี ิษ


ให้ p แทน ............................................................................................................. ……
q แทน ..................................................................................................................

.............................................................................................................................................

2. ถ้า 27 เป็นจานวนเฉพาะ แล้ว 27 มีตัวประกอบคือ 1 กับ 27


ให้ p แทน ............................................................................................................. ……

q แทน ..................................................................................................................
.............................................................................................................................................

3. ถ้า 3 เป็น ตัวประกอบ ของ 18 และ 24 แล้ว 3 หาร 18 + 24 ไม่ลงตัว


ให้ p แทน ............................................................................................................. ……
q แทน ..................................................................................................................

.............................................................................................................................................
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 10

4. ถ้า 2 ไม่เป็น ห.ร.ม. ของ 4 และ 6 แล้ว 2 หาร 4+6 ลงตัว


ให้ p แทน ............................................................................................................. ……

q แทน ..................................................................................................................
.............................................................................................................................................

5. ถ้า 11 เป็นจานวนคี่ แล้ว 11 + 1 เป็นจานวนคี่


ให้ p แทน ............................................................................................................. ……
q แทน ..................................................................................................................

.............................................................................................................................................
ส่วนที่ 2 คาชี้แจง จงเขียนข้อความแทนสัญลักษณ์ต่อไปนี้

เมื่อกาหนดให้ p แทนประพจน์ “วาฬเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม”


และ q แทนประพจน์ “โลมาเป็นปลา”

1. p → q …………………………………………………………………………………………………….
2. q → p …………………………………………………………………………………………………….

เมื่อกาหนดให้ p แทนประพจน์ “ประเทศไทยเป็นสมาชิก ASEAN”


q แทนประพจน์ “ ประเทศไทยตั้งอยู่ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้”
และ r แทนประพจน์ “ประเทศไทยมีหิมะตก”

1. p → q ……………………………………………………………………………………………………
2. q → p …………………………………………………………………………………………………….

3. p →r……………………………………………………………………………………………………….
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 11

ใบงานที่ 2.5 การเชื่อมประพจน์ด้วย “ก็ต่อเมือ่ ”


ส่วนที่ 1 คาชี้แจง จงเขียนประพจน์ต่อไปนี้ให้อยู่ในสัญลักษณ์ และหาค่าความจริงของแต่ละ
ประพจน์

ตัวอย่าง 0 เป็นจานวนเต็ม ก็ต่อเมื่อ 4 เป็นจานวนนับ


ให้ p แทน 0 เป็นจานวนเต็ม มีค่าความจริงเป็นจริง
q แทน 4 เป็นจานวนนับ มีค่าความจริงเป็นจริง
ดังนั้น p↔q แทน 0 เป็นจานวนเต็ม ก็ต่อเมื่อ 4 เป็นจานวนนับ มีค่าความจริงเป็นจริง

1. 4+9 = 10+3 ก็ต่อเมื่อ 9+6 = 7+5


ให้ p แทน ............................................................................................................. ……
q แทน ..................................................................................................................

.............................................................................................................................................

2. 1 ปีมี 365 วัน ก็ต่อเมือ่ เดือนกุมภาพันธ์มี 28 วัน


ให้ p แทน ............................................................................................................. ……

q แทน ..................................................................................................................
.............................................................................................................................................

3. 5 เป็น ตัวประกอบ ของ 15 และ 60 ก็ต่อเมื่อ 5 หาร 15 + 60 ลงตัว


ให้ p แทน ............................................................................................................. ……
q แทน ..................................................................................................................

.............................................................................................................................................
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 12

4. 3 เป็น ห.ร.ม. ของ 6 และ 9 ก็ต่อเมื่อ 3 หาร 6+9 ลงตัว


ให้ p แทน ............................................................................................................. ……

q แทน ..................................................................................................................
.............................................................................................................................................

5. 251 เป็นจานวนคู่ ก็ตอ่ เมื่อ 251 + 1 เป็นจานวนคี่


ให้ p แทน ............................................................................................................. ……
q แทน ..................................................................................................................

.............................................................................................................................................
ส่วนที่ 2 คาชี้แจง จงเขียนข้อความแทนสัญลักษณ์ต่อไปนี้

เมื่อกาหนดให้ p แทนประพจน์ “12 หารด้วย 3 ลงตัว”


และ q แทนประพจน์ “4-3 < 2”

1. p ↔ q …………………………………………………………………………………………………….
2. q ↔ p …………………………………………………………………………………………………….

เมื่อกาหนดให้ p แทนประพจน์ “งูเป็นสัตว์เลื้อยคลาน”


q แทนประพจน์ “ กบเป็นสัตว์บก”
และ r แทนประพจน์ “ตุ่นปากเป็ดออกลูกเป็นไข่”

1. p ↔ q ……………………………………………………………………………………………………
2. q ↔p …………………………………………………………………………………………………….

3. p ↔r……………………………………………………………………………………………………….
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 13

ใบงานที่ 2.6 นิเสธของประพจน์


คาชี้แจง จงหานิเสธของประพจน์ต่อไปนี้ และบอกค่าความจริงของประพจน์ที่เป็นนิเสธของ
ประพจน์ที่กาหนดให้
ตัวอย่าง 2+5=5
นิเสธ คือ 2 + 5 ≠ 5 มีค่าความจริงเป็นจริง
1. 15+8 > 16+2
…………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………..
2. |−𝟕| ≯ |𝟔|
…………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………..
3. 3.146568749894........ ไม่เป็นจานวนจริง
…………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………..
4. ขนาดของมุมภายในทัง้ สามมุมของรูปสามเหลี่ยมรวมกันเท่ากับ 180 องศา
…………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………..
5. ดาวพฤหัสบดีเป็นดาวเคราะห์
…………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………..
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 14

2.2 นิเสธของประพจน์
บทนิยาม ถ้า p เป็นประพจน์ใด ๆ นิเสธของประพจน์ p เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ ~p นิเสธ
ของประพจน์ หมายถึง ประพจน์ที่มีความหมายตรงข้ามกับประพจน์เดิม
ตารางแสดงค่าความจริงของการนิเสธประพจน์

3. การหาค่าความจริงของประพจน์
แบบที่ 1 ให้ค่าความจริงทุกตัว
การพิจารณาค่าความจริงของประพจน์
กาหนดให้ p, q, r, s และ t เป็นประพจน์มีค่าความจริงเป็น จริง, เท็จ, จริง, เท็จ และเท็จ
ตามลาดับ จงหาค่าความจริงของประพจน์ต่อไปนี้
1. (p ^ q) v s

2. (p ^ r) v (q ^ t)
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 15

3. (p v ~s) ^ (q v r)

4. (p v ~q) → (r v t)

5. (~r ^ q) ↔ (s ^ ~t)
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 16

ใบงานที่ 3.1 การหาค่าความจริงของประพจน์ (แบบที่ 1)


คาชี้แจง ให้ประพจน์ A, B, C มีค่าความจริงเป็นจริง และประพจน์ X, Y มีค่าความจริงเป็น
เท็จ จงหาค่าความจริงของประพจน์ต่อไปนี้

1. (A v Y) → (~B ^ C)
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
2. [B → (C ^ X)] ↔ [Y→ (~B v A)]
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 17

แบบที่ 2 ให้ค่าความจริงบางตัว
จงหาค่าความจริงของประพจน์ต่อไปนี้
1. (q v r) v (s v p) เมื่อ q เป็นจริง

2. (q ^ r) ^ (s v p) เมื่อ q เป็นเท็จ

3. (q ^ r) v (s v p) เมื่อ q เป็นเท็จ และ s เป็นจริง

4. (s ^ r) → (q → p) เมื่อ p เป็นจริง

5. (~p ^ r) ↔ (q → p) เมื่อ p เป็นจริง


ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 18

ใบงานที่ 3.2 การหาค่าความจริงของประพจน์ (แบบที่ 2)


คาชี้แจง ให้ประพจน์ A, B, C มีค่าความจริงเป็นจริง และประพจน์ X, Y มีค่าความจริงเป็น
เท็จ ส่วนประพจน์ P, Q ยังไม่ทราบค่าความจริง จงหาค่าความจริงของประพจน์
ต่อไปนี้
1. (A → X) → [C v (P ^ ~Q)]
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
2. (~B → X) [X → (B → P)]
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 19

แบบที่ 3 ให้ค่าความจริงของผลลัพธ์มา
จงหาค่าความจริงของประพจน์ p, q, r, s เมื่อ
1. (p ^ q) → r เป็นเท็จ 2. (p ^ q) → (r v s) เป็นเท็จ

กาหนดค่าความจริงของประพจน์เชิงประกอบ จงหาค่าความจริงของประพจน์ย่อย
1) ~(p → q) ^ ~(r v s) เป็นจริง จงหาค่าความจริงของ p q r s

2) (~p ^ q) → r เป็นเท็จ จงหาค่าความจริงของ p q r

3) (p ↔ q) → (~p v r) เป็นเท็จ จงหาค่าความจริงของ p q r


ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 20

ใบงานที่ 3.3 การหาค่าความจริงของประพจน์ (แบบที่ 3)

คาชี้แจง กาหนดค่าความจริงของประพจน์เชิงประกอบ จงหาค่าความจริงของประพจน์ย่อย


1. ถ้า [p ^ (~q → r)] → (~s v r) มีค่าความจริงเป็นเท็จ จงหาค่าความจริงของ p q r และ s
วิธีทา

2. กาหนดให้ประพจน์ [(p → q) ^ (p v r)] → (s → r) มีค่าความจริงเป็นเท็จ จงหาค่าความจริงของ


ประพจน์ p p q r และ s

วิธีทา
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 21

4. การสร้างตารางค่าความจริง
ถ้ามีประพจน์ย่อย n พจน์ จะได้ค่าความจริงเกิดขึ้นได้ทั้งหมด 2n กรณี การสร้างตารางค่า
ความจริง เป็นการหาค่าความจริงประพจน์ทุก ๆ กรณีที่เป็นไปได้
ถ้ามี 1 ประพจน์ แล้วจะมีกรณีเกี่ยวกับค่าความจริงที่กาหนด กรณี
p

ถ้ามี 2 ประพจน์ แล้วจะมีกรณีเกี่ยวกับค่าความจริงที่กาหนด กรณี


p q

ถ้ามี 3 ประพจน์ แล้วจะมีกรณีเกี่ยวกับค่าความจริงที่กาหนด กรณี


p q r
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 22

ตัวอย่าง จงสร้างตารางค่าความจริงของประพจน์ต่อไปนี้
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 23

ใบงานที่ 4 การสร้างตารางค่าความจริง

คาชี้แจง จงสร้างตารางค่าความจริงของประพจน์ต่อไปนี้
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 24

5. การตรวจสอบการสมมูลกันของประพจน์
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 25
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 26

1. แบบตารางด้วยตาราง
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 27

2. แบบพิสูจน์
ตัวอย่าง จงตรวจสอบรูปแบบของประพจน์ที่กาหนดให้ว่า สมมูลกันหรือไม่ โดยใช้รูปแบบการ
สมมูล
1.

2.

3.
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 28

ใบงานที่ 5 การตรวจสอบการสมมูลกันของประพจน์
ตอนที่ 1 คาชี้แจง จงตรวจสอบรูปแบบของประพจน์ที่กาหนดให้ว่า สมมูลกันหรือไม่ โดยใช้
วิธีการตรวจสอบแบบสร้างตาราง

ตอนที่ 2 คาชี้แจง จงตรวจสอบรูปแบบของประพจน์ที่กาหนดให้ว่า สมมูลกันหรือไม่ โดยใช้


วิธีการตรวจสอบแบบพิสูจน์
~p v q กับ q → p
วิธีทา
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 29

6. สัจนิรันดร์
สัจนิรันดร์ (tautology) คือ รูปแบบของประพจน์ที่เป็นจริงสาหรับค่าความจริงทุกท่าของ
ประพจน์ย่อย
ก. แบบใช้ตาราง
ตัวอย่าง จงตรวจสอบรูปแบบประพจน์ต่อไปนี้เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่ โดยการสร้างตารางค่า
ความจริง
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 30

ข. แบบใช้ข้อขัดแย้ง
ตัวอย่าง จงตรวจสอบรูปแบบประพจน์ต่อไปนี้เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่
1. (p ^ q) → (p → q)

2. (p → q) ↔ (~p v q)
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 31

ใบงานที่ 6 สัจนิรันดร์
ส่วนที่ 1 คาชี้แจง จงตรวจสอบรูปแบบประพจน์ต่อไปนี้เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่โดยใช้วิธีการ
ตรวจสอบแบบใช้ตาราง

ส่วนที่ 2 คาชี้แจง จงตรวจสอบรูปแบบประพจน์ต่อไปนี้เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่โดยใช้วิธีการ


ตรวจสอบแบบใช้ข้อขัดแย้ง
[(p → q) → p] → p
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 32

7. การอ้างเหตุผล
การอ้างว่า เมื่อมีประพจน์ p1, p2, … , pn ชุดหนึ่ง แล้วสามารถสรุปประพจน์ C ประพจน์
หนึ่งได้ การอ้างเหตุผลประกอบด้วยส่วนส าคัญสองส่วน คือ เหตุ หรือ สิ่งที่ก าหนดให้ ได้แก่
ประพจน์ p1, p2, … , pn และ ผล หรือ ข้อสรุป คือประพจน์ C โดยใช้ตัวเชื่อม ^ เชื่อมเหตุทั้งหมด
เข้าด้วยกัน และใช้ตัวเชื่อม → เชื่อมส่วนที่เป็นเหตุกับผลนั้น

( p1 ^ p2 ^ … ^ pn) → C

สมเหตุสมผล ถ้ารูปแบบของประพจน์ (p1 ^ p2 ^ … ^ pn) → C เป็นสัจนิรันดร์


ไม่สมเหตุสมผล ถ้ารูปแบบของประพจน์ (p1 ^ p2 ^ … ^ pn) → C ไม่เป็นสัจนิรันดร์

ตัวอย่าง จงตรวจสอบว่าการอ้างเหตุผลต่อไปนี้สมเหตุสมผลหรือไม่
1. เหตุ 1. (p ^ q) → (r v s)
2. ~( r v s)
ผล ~p v ~q
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 33

2. เหตุ 1. p ^ q
2. p → (q → r)
ผล r

3. เหตุ 1. สมชายไปว่ายน้า หรือ สมหญิงไปเล่นเทนนิส


2. สมหญิงไม่เล่นเทนนิส
ผล สมชายไปว่ายน้าหรือไปตลาด
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 34

4. เหตุ 1. 7 เป็นจานวนเฉพาะ หรือ 6 เป็นจานวนเฉพาะ


2. 7 ไม่เป็นจานวนเฉพาะ
ผล 6 ไม่เป็นจานวนเฉพาะ

5. เหตุ 1. ถ้า ก พบคนพิการที่ขายลอตเตอรี่ แล้ว ก ซื้อลอตเตอรี่


2. ก ไม่ได้ซื้อลอตเตอรี่
ผล ก ไม่พบคนพิการที่ขายลอตเตอรี่
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 35

ใบงานที่ 7 การอ้างเหตุผล
คาชี้แจง จงตรวจสอบว่าการอ้างเหตุผลต่อไปนี้สมเหตุสมผลหรือไม่
1. เหตุ 1. p → (q v r)
2. ~q v ~r
ผล ~ p

2. เหตุ 1. ถ้า โชคสร้างบ้านหลังใหม่เสร็จ แล้ว ครอบครัวของโชคจะย้ายมาอยู่ด้วย


2. ถ้า ครอบครัวของโชคย้ายมาอยู่ด้วย แล้ว โชคจะได้ดูแลพ่อแม่ที่ชราแล้ว
ผล ถ้า โชคสร้างบ้านหลังใหม่เสร็จ แล้ว โชคจะได้ดูแลพ่อแม่ที่ชราแล้ว
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 36

8. ประโยคเปิด
บทนิยาม ประโยคเปิด คือ ประโยคบอกเล่าหรือประโยคปฏิเสธที่มีตัวแปร
ทาให้ยังตัดสินไม่ได้ว่ามีค่าความจริงเป็นจริงหรือเป็นเท็จ จึงไม่เป็นประพจน์ แต่เมื่อแทน
ค่าตัวแปรที่เป็นสมาชิกในเอกภพสัมพัทธ์แล้วจะได้ประพจน์

ตัวอย่าง
1. เขาเป็นนักคณิตศาสตร์

2. x > 2

3. 2x + 1 = 3 เมื่อ x ∈ R

4. เขาเป็นนักแสดง

5. เด็กคนนั้นเป็นผู้ชาย

6. x เป็นจานวนจริง

7. x2 + 3x

8. หล่อนเป็นครูสอนคณิตศาสตร์

9. เขาเป็นนักวิทยาศาสตร์

10. 2x เป็นจานวนคู่ เมื่อ x ∈ N


ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 37

ใบงานที่ 8 ประโยคเปิด
คาชี้แจง ประโยคต่อไปนี้เป็นประพจน์หรือประโยคเปิด หรือไม่ใช่ทั้งประพจน์และประโยค
เปิด
ประเภท
ข้อ ประโยคหรือข้อความ
ประพจ ประโยคเปิด ไม่ใช่ทั้งสอง
Ex1 51 เป็นจำนวนเฉพำะ ✓

Ex2 ห้ำมรบกวน ✓

1. เขากาลังเรียนอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ใช่หรือไม่

2. ถ้า {3} ⊄ {0 , 1} แล้ว 3 ∈ {0 , 1}

3. x2 + x – 6 = (x + 3)(x -2)

4. เธอเป็นนักร้องเพลงไทยสากลของโรงเรียน

5. ทิ้งขยะเป็นที่จะช่วยให้บ้านเมืองสะอาด

6. ประเทศไทยเป็นสมาชิกสมาคมประชาชาติแห่ง
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
7. x + x = 2x และ x – x = 0
8. 1
x – x2 ≥ 6
2

9. ถ้า x เป็นจานวนเต็มแล้ว √𝑥 ไม่ใช่จานวนจริง


10. x2 - 1
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 38

9. ตัวบ่งปริมาณ
∀𝑥 แทน สาหรับ 𝑥 ทุกตัว
หมายถึง จะเป็นจริงเมื่อ มี x อย่างน้อย 1 ตัวที่ทาให้ P(x) เป็นเท็จ
∃𝑥 แทน สาหรับ 𝑥 บางตัว
หมายถึง จะเป็นจริงเมื่อ มี x อย่างน้อย 1 ตัวที่ทาให้ P(x) เป็นจริง
ตัวอย่าง จงเขียนประโยคต่อไปนี้เป็นประโยคสัญลักษณ์
ประพจน์ สัญลักษณ์
1. จานวนจริง x ทุกจานวนทาให้ x – 3 > 10 ∀𝑥 [x – 3 > 10] ; U = R

2. แต่ละจานวนเต็ม a ทาให้ a + a = a2 ∀𝑎 [a + a = a2] ; U = I

3. มีจานวนเต็มบวก x ที่มีค่ามากกว่า 5 ∃𝑥 [x > 5] ; U = I+


4. มีจานวนนับ x บางจานวนทาให้ x – 1 = 0 ∃𝑥 [x – 1 = 0] ; U = N
5. จานวนจริง x ทุกจานวนทาให้ x + 0 = x ∀𝑥 [x + 0 = x] ; U = R

ตัวอย่าง จงเขียนประโยคสัญลักษณ์ต่อไปนี้เป็นข้อความ
สัญลักษณ์ ข้อความ
มีบางจานวนนับ x เป็นจานวนเฉพาะ
1. ∃𝑥 [x เป็นจานวนเฉพาะ] ; U = N
หรือ จานวนบางตัวเป็นจานวนเฉพาะ
2. ∀𝑥 [x2 + 1 > 7] ; U = I จานวนเต็ม x ทุกจานวนทาให้ x2 + 1 > 7
3. ∃𝑥 [x ∈ N → x ∈ I] ; U = N จานวนนับบางจานวนเป็นจานวนเต็ม
แต่ละจานวนจริง x > -1 และ x < 0 หรือ
4. ∀𝑥 [x > -1 v x < 0] ; U = R
จานวนจริงทุกจานวนมีค่ามากกว่า -1 แต่น้อยกว่า 0
5. ∀𝑥 [x < 2 → x2 < 4] ; U = R สาหรับทุกจานวนจริง x ถ้า x < 2 แล้ว x2 < 4
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 39

ใบงานที่ 9 ตัวบ่งปริมาณ
ส่วนที่ 1 จงเขียนประโยคต่อไปนี้เป็นประโยคสัญลักษณ์ เมื่อ U = R

ประพจน์ สัญลักษณ์
1) จานวนตรรกยะแต่ละจานวนคูณกับ 1 แล้ว
เท่ากับจานวนนั้น
2) มีจานวนจริง x ซึง่ x2 = 2

3) มีจานวนจริง 𝑥 ซึง่ |𝑥| + 1 ≤ 1

4) จานวนเต็มทุกจานวนเป็นจานวนจริง

5) มีจานวนจริงบางจานวนน้อยกว่าศูนย์

ส่วนที่ 2 จงเขียนประโยคสัญลักษณ์ต่อไปนี้เป็นข้อความ เมื่อ U = R

สัญลักษณ์ ข้อความ

1) ∀𝑥 [x < 2 → x2 <16]

2) ∀𝑦 [y2 – 4 = (y - 2)(y + 2)]

3) ∃𝑦 [ 2y + 1 =0 ]

4) ∃𝑥 [ 𝑥 ∈ ℚ → 𝑥2 = 2 ]

5) ∃𝑥 [x เป็นจานวนอตรรกยะ]
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 40

10. ค่าความจริงของตัวบ่งปริมาณ
บทนิยาม ∀𝑥[𝑃(𝑥)] มีค่าความจริงเป็น จริง ก็ต่อเมื่อ แทนตัวแปร x ใน P(x) ด้วยสมาชิก
แต่ละตัวในเอกภพสัมพัทธ์ แล้วได้ประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริงทั้งหมด
∀𝑥[𝑃(𝑥)] มีค่าความจริงเป็น เท็จ ก็ต่อเมื่อ แทนตัวแปร x ใน P(x) ด้วยสมาชิก
อย่างน้อยหนึ่งตัวในเอกภพสัมพัทธ์ แล้วได้ประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นเท็จ
∃𝑥[𝑃(𝑥)] มีค่าความจริงเป็น จริง ก็ต่อเมื่อ แทนตัวแปร x ใน P(x) ด้วยสมาชิก
อย่างน้อยหนึ่งตัวในเอกภพสัมพัทธ์ แล้วได้ประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริง
∃𝑥[𝑃(𝑥)] มีค่าความจริงเป็น เท็จ ก็ต่อเมื่อ แทนตัวแปร x ใน P(x) ด้วยสมาชิก
แต่ละตัวในเอกภพสัมพัทธ์ แล้วได้ประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริงทั้งหมด

ตัวอย่าง
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 41

ใบงานที่ 10 ค่าความจริงของตัวบ่งปริมาณ
คาชี้แจง จงหาค่าความจริงของประพพจน์ต่อไปนี้ กาหนดให้ U = {1, 2, 3, 4, 5}
1. ∀𝑥 [x > 2 → x < 4]

2. ∃𝑥 [ x > 2 ]

3. ∀𝑥 [x > 1 → x2 < 1]

4. ∃𝑥 [ x > 2 ] → ∀𝑥 [x < 5]
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 42

11. การสมมูลกันขอประพจน์ที่มีตัวบ่งปริมาณ
ถ้าเราทาประโยคเปิดให้เป็นประพจน์ด้วยการเติมตัวบ่งปริมาณ พร้อมทั้งกาหนดเอกภพ
สัมพัทธ์ ประโยคเปิดดังกล่าวก็จะกลายเป็นประพจน์ที่สมมูลกัน ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ให้ U เป็นเอกภพสัมพัทธ์ที่กาหนดให้
1. ∀𝑥[𝑃(𝑥) → 𝑄(𝑥)] สมมูลกับ ∀𝑥[~𝑄(𝑥) → ~𝑃(𝑥)]

∃𝑥[𝑃(𝑥) → 𝑄(𝑥)] สมมูลกับ ∃𝑥[~𝑄(𝑥) → ~𝑃(𝑥)]

2. ∀𝑥[𝑃(𝑥) → 𝑄(𝑥)] สมมูลกับ ∀𝑥[~𝑃(𝑥) ∨ 𝑄(𝑥)]

∃𝑥[𝑃(𝑥) → 𝑄(𝑥)] สมมูลกับ ∃𝑥[~𝑃(𝑥) ∨ 𝑄(𝑥)]

3. ∀𝑥[~(𝑃(𝑥) ∧ 𝑄(𝑥))] สมมูลกับ ∀𝑥[~𝑃(𝑥) ∨∼ 𝑄(𝑥)]

∃𝑥[~(𝑃(𝑥) ∧ 𝑄(𝑥))] สมมูลกับ ∃𝑥[~𝑃(𝑥) ∨∼ 𝑄(𝑥)]


ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 43

ใบงานที่ 11 การสมมูลกันของประพจน์ที่มีตัวบ่งปริมาณ
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 44

นิเสธของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ
นิเสธของตัวบ่งปริมาณ

นิเสธของ คือ
∀𝑥 ∃𝑥

𝑃(𝑥) ~𝑃(𝑥)

≥ <

≤ >

> ≤

< ≥

นิ เ สธของ ∀𝑥[𝑃(𝑥)] คื อ ประพจน์ ท ี ่ ม ี ค ่ า ความจริ ง ตรงข้ า มกั บ ∀𝑥[𝑃(𝑥)] และใช้ ส ั ญ ลั ก ษณ์


~∀𝑥[𝑃(𝑥)] แทน นิเสธของ ∀𝑥[𝑃(𝑥)]
นิเสธของ ∀𝑥[𝑃(𝑥)] มีความหมายเหมือนกับ ∃𝑥[~𝑃(𝑥)]

นั่นคือ ~∀𝑥[𝑃(𝑥)] สมมูลกับ ∃𝑥[~𝑃(𝑥)]

ตัวอย่าง จงหานิเสธของข้อความต่อไปนี้
1. ∀𝑥[𝑥 > 2]
นิเสธของ “∀𝑥[𝑥 > 2]”
คือ “∃𝑥[𝑥 ≤ 2]”

2. ∀𝑥[𝑥 + 5 = 7]
นิเสธของ “ ∀𝑥[𝑥 + 5 = 7]”
คือ “∃𝑥[𝑥 + 5 ≠ 7]”
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 45

3. จานวนตรรกยะทุกจานวนเป็นจานวนจริง
นิเสธของ “ จานวนตรรกยะทุกจานวนเป็นจานวนจริง”
คือ “มีจานวนตรรกยะบางจานวนไม่เป็นจานวนจริง”
4. นักเรียนในห้องนี้ทุกคนสอบผ่านวิชาคณิตศาสตร์
นิเสธของ “ นักเรียนในห้องนี้ทุกคนสอบผ่านวิชาคณิตศาสตร์”
คือ “ มีนักเรียนในห้องนี้บางคนสอบไม่ผ่านวิชาคณิตศาสตร์ ”

นิ เ สธของ ∃𝑥[𝑃(𝑥)] คื อ ประพจน์ ท ี ่ ม ี ค ่ า ความจริ ง ตรงข้ า มกั บ ∃𝑥[𝑃(𝑥)] และใช้ ส ั ญ ลั ก ษณ์


~∃𝑥[𝑃(𝑥)] แทน นิเสธของ ∃𝑥[𝑃(𝑥)]
นิเสธของ ∃𝑥[𝑃(𝑥)] มีความหมายเหมือนกับ ∀𝑥[~𝑃(𝑥)]

นั่นคือ ~∃𝑥[𝑃(𝑥)] สมมูลกับ ∀𝑥[~𝑃(𝑥)]

ตัวอย่าง จงหานิเสธของข้อความต่อไปนี้
1. ∃𝑥[𝑥 + 2 ≥ 0]
นิเสธของ “ ∃𝑥[𝑥 + 2 ≥ 0]”
คือ “ ∀𝑥[𝑥 + 2 < 0]”
2. ∃𝑥[𝑥 2 + 𝑥 = 5]
นิเสธของ “ ∃𝑥[𝑥2 + 𝑥 = 5] ”
คือ “ ∀𝑥[𝑥 2 + 𝑥 ≠ 5]”
3. มีจานวนเต็มบางจานวนที่เป็นจานวนตรรกยะ
นิเสธของ “ มีจานวนเต็มบางจานวนที่เป็นจานวนตรรกยะ”
คือ “จานวนเต็มทุกจานวนไม่เป็นจานวนตรรกยะ”
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 46

4. มีนักเรียนในห้องนี้อย่างน้อยหนึ่งคนที่สอบเข้ามหาวิทยาลัยได้
นิเสธของ“มีนักเรียนในห้องนี้อย่างน้อยหนึ่งคนที่สอบเข้ามหาวิทยาลัยได้”
คือ “นักเรียนในห้องนีท้ ุกคนสอบเข้ามหาวิทยาลัยไม่ได้”

ข้อสังเกต นิเสธของ ∀𝑥 ต้องเปลี่ยนเป็น ∃𝑥 แล้วใส่ ~ หน้าประโยคเปิด


(นั่นคือ ทาประโยคให้อยู่ในรูปตรงข้าม)
นิเสธของ ∃𝑥 ต้องเปลี่ยนเป็น ∀𝑥 แล้วใส่ ~ หน้าประโยคเปิด

ตัวอย่าง จงหานิเสธของข้อความต่อไปนี้
ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ ห น้ า | 47

ใบงานที่ 11.1 นิเสธของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ


คาชี้แจง จงเขียนประพจน์ที่เป็นนิเสธกับประพจน์ที่กาหนดในตารางต่อไปนี้

You might also like