เล่มOBEC Special

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 92

แนวทางการค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา

เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)”


คานา
ความหลากหลายและบริ บ ทที่แตกต่างกันของสถานศึกษา ประกอบกับกระแสการเปลี่ ยนแปลง
อย่างรวดเร็วของโลก ทาให้แต่ละสถานศึกษามีการบริหารจัดการศึกษาที่มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ในแต่ละด้านที่แตกต่างกันไป โดยแต่ละสถานศึกษาจะมีความโดดเด่นเป็นที่ยอมรับของสังคมในระดับต่าง ๆ
ตั้งแต่ระดับชุมชน ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ นอกจากนี้ จากนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ. 2567 - 2568 ได้ให้ความสาคัญกับนโยบายการจัดการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ และเรียนดี มีความสุข
ส านั กบริ หารการมัธยมศึกษา ส านั กงานคณะกรรมการการศึก ษาขั้นพื้ นฐาน เล็ งเห็ นความส าคั ญ
ในการขับเคลื่อนนโยบายและจุดเน้นดังกล่าวสู่การปฎิบัติ จึงได้กาหนดแนวทางการส่งเสริมความโดดเด่นของ
สถานศึ ก ษา ซึ่ ง เป็ น การส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น การพั ฒ นาคุ ณ ภาพการจั ด การศึ ก ษาในระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษา
โดยการค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษาในด้านต่าง ๆ เพื่อประกาศให้สาธารณชนได้รับรู้ เพื่อให้ผู้เรียนและ
ผู้ปกครองมีข้อมูลสารสนเทศประกอบการตัดสินใจส่งบุตรหลานเข้าศึกษาต่อในสถานศึกษาที่มีความโดดเด่นแต่ละด้าน
เพื่อลดความเหลื่อมล้าและสร้างโอกาสทางการศึกษา ทั้งยังเป็นขวัญกาลังใจแก่ผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากร
ทางการศึกษา ในการต่อยอดการพัฒนาคุณภาพของผู้ เรี ยนให้มีความโดดเด่นได้อย่างหลากหลายมากยิ่งขึ้น
การขั บ เคลื่ อ นคุ ณ ภาพการจั ด การศึ ก ษาเพื่ อ ค้ น หาความโดดเด่ น ของสถานศึ ก ษาโดยใช้ พื้ น ที่ เ ป็ น ฐาน
เป็นการขับเคลื่อนผ่านสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการ
มัธยมศึกษาจังหวัด และระดับกลุ่มจังหวัด ให้มีส่วนร่วมในการคัดเลื อกสถานศึกษาที่มีความโดดเด่ นและ
รับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)” ต่อไป
สานักบริหารการมัธยมศึกษา
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สารบัญ
เรื่อง หน้า
1. บทนา......................................................................................................................................................... 1
2. การนิยามศัพท์ ........................................................................................................................................... 4
3. บทบาท และหน้าที่ในการขับเคลื่อนการค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพ
พิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)” .............................................................................................................12
4. แนวทางการแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานการค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา เพื่อรับเครื่องหมาย
“คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)” 16
5. การรับรองสถานศึกษาที่มีความโดดเด่น เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)”.......17
ภาคผนวก .....................................................................................................................................................19
ภาคผนวก ก แบบค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง
สพฐ. (OBEC Special)” (สบม.01/1-11) 20
ภาคผนวก ข คาถาม - คาตอบ 83
ภาคผนวก ค คณะทางาน 84

แนวทางการค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา
เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)”
1. บทนา
หลักการและเหตุผล
กระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคศตวรรษที่ 21 ส่งผลกระทบทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม
สิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการเมืองอย่างรวดเร็ว ทาให้ทุกประเทศต้องทบทวนวาระการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์ และการศึกษาอย่ างรอบด้าน เพื่อเป็นรากฐานที่มั่นคงของการพั ฒนาประเทศในอนาคต
ให้ ส ามารถแข่ ง ขั น กั บ นานาประเทศได้ ในปั จ จุ บั น ประเทศไทยยั ง คงมี ป ระเด็ น ความท้ า ทายการพั ฒ นา
ในหลายมิ ติ ทั้ ง ในมิ ติ เ ศรษฐกิ จ ที่ โ ครงสร้ า งเศรษฐกิ จยั งไม่ ส ามารถขั บ เคลื่ อ นด้ ว ยนวัต กรรมอย่า งเต็มที่
ผลิ ตภาพการผลิ ต ของภาคบริ ก ารและภาคเกษตรยัง อยู่ใ นระดับ ต่า คุ ณภาพและสมรรถนะของแรงงาน
ที่ยังไม่สอดคล้องกับความต้องการในการขับเคลื่อนการพัฒนาของประเทศ มิติทางสังคมที่การยกระดับรายได้
ของประชาชน การแก้ปัญหาด้านความยากจนและความเหลื่ อมล้า การพัฒนาคุณภาพการให้ บริการและ
การขยายโอกาสในการเข้าถึงระบบบริการสาธารณะยังคงมีช่องว่ างที่สามารถพัฒนาต่อไปได้ มิติสิ่งแวดล้อม
ที่ ก ารฟื้ น ฟู แ ละรั ก ษาทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม และมิ ติ ข องการบริ ห ารจั ด การภาครั ฐ
ที่ยั งขาดความต่ อเนื่ องและความยื ดหยุ่ น ในการตอบสนองความต้ องการในการแก้ปั ญหาของประชาชน
ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ
การจั ด การศึ ก ษาจึ ง เป็ น กลไกส าคั ญ ในการแก้ ไ ขปั ญ หา และการพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต
ของคนไทย ถื อ ว่ า คุ ณ ภาพของการจั ด การศึ ก ษาเป็ น ตั ว บ่ ง ชี้ ส าคั ญ ประการหนึ่ ง ในการชี้ วั ด ความส าเร็ จ
ของการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน การจัดการศึกษาไทยปัจจุบันเน้นการจัดการศึกษาตามแผนการศึก ษา
แห่งชาติ พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ในการวางกรอบเป้าหมายและทิศทางการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพ
และขี ด ความสามารถของคนไทยทุ ก ช่ ว งวั ย ให้ เ ต็ ม ตามศั ก ยภาพ สามารถแสวงหาความรู้ แ ละเรี ย นรู้
ได้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่ องตลอดชีวิต โดยการขับเคลื่อนภายใต้วิสัยทัศน์ “คนไทยทุกคนได้รับการศึก ษา
และเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ” ดารงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และการเปลี่ ย นแปลงของโลกศตวรรษที่ ๒๑ หน่ว ยงานการศึกษาและสถานศึกษาจึงจาเป็นต้องปรับ ตั ว
และก้าวทันการเปลี่ยนแปลง โดยต้องพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษา มีหลักสูตรและกิจกรรมการเรียนรู้
ที่จาเป็นต้องมีความเป็นพลวัตเพื่อพัฒนาทักษะต่าง ๆ ของผู้เรียนรอบด้าน รวมไปถึงการจัดสภาพแวดล้อม
ที่ เ อื้ อ ต่ อ การเรี ย นรู้ ข องผู้ เ รี ย น ส่ ง เสริ ม ให้ ค รู ส ร้ า งและพั ฒ นารู ป แบบวิ ธี ใ หม่ ๆ ในการจั ด การเรี ย นรู้
ให้สอดคล้องกับความสนใจ ความถนัด ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Difference) ความสามารถ
และความต้องการในการพัฒนาตนเองของผู้เรียนเป็นสาคัญ และถือว่าภาพความสาเร็จจากการจัดการศึกษา
หรืออัตลักษณ์ความโดดเด่นของสถานศึกษา เกิดจากความสาเร็จจากการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน กระบวนการ
บริ ห ารและการจั ด การ และกระบวนการจั ด การเรี ย นการสอน เพิ่ ม ความเชื่ อ มั่ น และสร้ า งความมั่ น ใจ
ให้ผู้ปกครองนักเรียน ชุมชน สังคม และส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อตามจุดเน้นและตรงความสนใจ
ของผู้เรียน
จากเหตุผลและความจาเป็นข้างต้นนี้ สานักบริหารการมัธยมศึกษา สานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงดาเนินการค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษ
แห่ง สพฐ. (OBEC Special)” โดยการสนับสนุน ส่งเสริมให้สถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษา จานวน 2,360 แห่ง ค้นพบศักยภาพของตนเองนาไปสู่การเผยแพร่ความโดดเด่นของสถานศึกษา

ที่มีรูปแบบ นวัตกรรมการบริหารและการจัดการ นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่มีความโดดเด่นเป็นที่ประจักษ์


มีผลลัพธ์และผลสั มฤทธิ์อันเกิดจากการพัฒ นาศักยภาพของผู้ เรียนให้ มีคุณภาพ สามารถเป็นสถานศึ ก ษา
ต้นแบบให้แก่สถานศึกษาอื่น ตลอดจนผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้ตระหนักถึงการวางแผนงาน
การขับเคลื่อนสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศอย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ทุกคนในองค์กรเกิดความภาคภูมิใจ
ในความสาเร็จจากการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาเชิงประจักษ์ร่วมกัน
วัตถุประสงค์
1. เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ ส ถานศึก ษาค้ น พบศั ก ยภาพและความโดดเด่ นของตนเองในด้ า นความส าเร็จ
การยอมรับและความยั่งยืน
2. เพื่อรับรองความโดดเด่นของสถานศึกษาที่ได้รับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC
Special)”
3. เพื่อยกย่อง เชิดชูเกียรติ เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ความโดดเด่นของสถานศึกษาต่อสาธารณชน
ให้ ผู้ เรี ย นและผู้ปกครองมีข้อมูลสารสนเทศประกอบการตัดสินใจในการส่งบุตรหลานเข้าศึกษาต่อในสถานศึ กษา
ที่มีความโดดเด่น
ประโยชน์ทไี่ ด้รับ
1. ระดับสถานศึกษา
1.1 สถานศึกษาที่มีความโดดเด่นได้รับการยอมรับและเกิดความเชื่อมั่นจากสาธารณชน
1.2 มีภาคีเครือข่ายในการสนับสนุนให้เกิดความโดดเด่นของสถานศึกษา
2. ระดับเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการมัธยมศึกษาจังหวัด
2.1 มีข้อมูลของสถานศึกษาในเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการมัธยมศึกษาจังหวัด
เกี่ ย วกั บ ภาพความส าเร็ จ การยอมรั บและความยั่ งยื น นวั ต กรรมการบริ ห ารและการจั ด การ นวั ต กรรม
การจัดการเรียนรู้ที่มีความโดดเด่นเป็นที่ประจักษ์ที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน
2.2 มีภาคีเครือข่ายในการสนับสนุนให้เกิดความโดดเด่นของสถานศึกษา
3. ระดับเขตพื้นที่การศึกษา
มี ข้ อ มู ล ของสถานศึ ก ษาในเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ ภาพความส าเร็ จ การยอมรั บ
และความยั่ งยื น นวั ต กรรมการบริ ห ารและการจั ด การ นวั ต กรรมการจั ด การเรี ย นรู้ ที่ มี ความโดดเด่ น
เป็นที่ประจักษ์ที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน
4. ระดับสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
4.1 ส านั ก บริ ห ารการมั ธ ยมศึ ก ษา มี ฐ านข้ อ มู ล ความโดดเด่ น ของสถานศึ ก ษาระดั บ
มัธยมศึกษาที่เป็นภาพความสาเร็จ การยอมรับและความยั่งยืน นวัตกรรมการบริหารและการจัดการ นวัตกรรม
การจั ด การเรี ย นรู้ ที่ มี ความโดดเด่ น เป็ นที่ ประจั กษ์ ที่ ส่ งผลต่ อคุ ณภาพผู้ เรี ยน ท าให้ ส ามารถสื บ ค้ น ข้ อ มู ล
ความโดดเด่นของสถานศึกษา เพื่อวางแผน ให้คาปรึกษา นิเทศ ติดตามการดาเนินงานของสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษา เครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการมัธยมศึกษาจังหวัดและสถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.2 เกิดความคล่องตัวในการสนับสนุนการดาเนินการของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา
ผ่านเครือข่ายส่งเสริ มประสิทธิภ าพการจัดการมัธยมศึกษาจังหวัด 78 เครือข่าย และสานักงานเขตพื้ นที่
การศึกษามัธยมศึกษา 62 เขต

ระยะเวลาการค้น หาความโดดเด่นของสถานศึกษาและขอรั บเครื่ องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ.


(OBEC Special)”

คุณสมบัติของสถานศึกษาที่ขอรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)”


1. เป็ น สถานศึ ก ษาที่ จั ด การเรี ย นสอนระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษา สั ง กั ด ส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา
มัธยมศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
2. เป็ นสถานศึ กษาที่ มี คุ ณภาพในการจั ดการศึ กษาระดับชั้นมั ธยมศึ กษา ตรงตามเกณฑ์ ก ารค้ น หา
ความโดดเด่น ของสถานศึกษา เครื่ องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ ง สพฐ. (OBEC Special)” โดยเป็นผลงาน
ต่อเนื่อง ไม่น้อยกว่า 3 ปีการศึกษาย้อนหลังนับจากปีที่เสนอขอรับการรับรอง
เงื่อนไขการคงมาตรฐานประกาศ/เครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)”
สถานศึกษาที่ได้รับ ประกาศ/เครื่ องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)” สามารถ
เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ประกาศ/เครื่องหมายนี้ได้ภายในระยะเวลา 3 ปีการศึกษา ตามประกาศผลการรับรอง
จากส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษามั ธ ยมศึ ก ษา ประธานคณะกรรมการกลุ่ ม จั ง หวั ด ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมาย
และสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เมื่อครบกาหนดระยะเวลาการคงมาตรฐานแล้ว สถานศึกษาต้องยื่นขอรับประกาศ/เครื่องหมายฯ
รอบใหม่ตามกรอบระยะเวลาที่กาหนด
กรณีที่ส ถานศึกษาได้รั บ ประกาศ “คุณภาพพิเศษแห่ ง สพฐ. (OBEC Special)” ในระดับ 1 ดาว
และระดับ 2 ดาว และมีความประสงค์ขอรับการรับรองในระดับที่สูงขึ้น สามารถเสนอขอรับรองได้ห ลังจาก
ที่ได้รับประกาศผลการรับรอง อย่างน้อย 1 ปีการศึกษา

2. การนิยามศัพท์
เครื่ อ งหมาย “คุ ณ ภาพพิ เ ศษแห่ ง สพฐ. (OBEC Special)” หมายถึ ง สั ญ ลั ก ษณ์ ที่ ส านั ก งาน
คณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานก าหนด เพื่ อ แสดงถึ ง ความโดดเด่ น ของสถานศึ ก ษาในด้ า นใด
ด้ า นหนึ่ ง จาก 11 ด้ า น แบ่ ง ออกเป็ น 3 ระดั บ ได้ แ ก่ ระดั บ 1 ดาว ระดั บ 2 ดาว และระดั บ 3 ดาว
ตามแบบตัวอย่าง ดังนี้

ระดับ 1 ดาว (เกียรติบัตร) ระดับ 2 ดาว (เกียรติบัตร)

ระดับ 3 ดาว
(เกียรติบัตรและเครื่องหมาย)

2.1 ความโดดเด่นของสถานศึกษา หมายถึง ภาพความสาเร็จ การยอมรับ และความยั่งยืน ของ


สถานศึ ก ษาที่ มี น วั ต กรรมการบริ ห ารและการจั ด การ นวั ต กรรมการจั ด การเรี ย นรู้ ที่ มี ค วามโดดเด่ น
เป็นที่ประจักษ์ สู่การพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนให้มีคุณภาพ มี 11 ด้าน ดังนี้
2.1.1 ความโดดเด่ น ด้ า นทั ก ษะและกระบวนการทางคณิ ต ศาสตร์ หมายถึ ง
ภาพความส าเร็ จ ของสถานศึ ก ษาที่ มี น วั ตกรรมการบริห ารและการจัด การ นวั ต กรรมการจั ดการเรียนรู้
ซึ่งมีความโดดเด่น ในการส่ งเสริ มศักยภาพผู้เรียนด้านทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้ เรี ยน
โดยมีพัฒนาการอย่ างต่อเนื่ อง มีผลงานเป็นที่ประจักษ์และได้รับการยอมรับจากผู้ปกครอง ชุมชน สังคม
และหน่วยงานต่าง ๆ ตลอดจนมีการจัดการเรียนรู้ร่วมกับภาคีเครือข่ายอย่างยั่งยืน
2.1.2 ความโดดเด่นด้านภาษา หมายถึง ภาพความสาเร็จของสถานศึกษาที่มี นวัตกรรม
การบริ หารและการจั ดการ นวัตกรรมการจั ดการเรียนรู้ ซึ่ งมี ความโดดเด่นในการส่ ง เสริ ม ศั ก ยภาพผู้ เ รี ย น
ด้านภาษาที่มีความหลากหลาย และให้ความสาคัญอย่างชัดเจนในการส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาทักษะ
ทางภาษาของผู้เรียน ทาให้ผู้เรียนสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
โดยมีพัฒนาการอย่ างต่อเนื่ อง มีผลงานเป็นที่ประจักษ์และได้รับการยอมรับจากผู้ปกครอง ชุมชน สังคม
และหน่ ว ยงานต่าง ๆ ตลอดจนมีการจั ดการเรียนรู้ร่ว มกับภาคีเครือข่ายอย่างยั่งยืน อาทิเช่น ภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น ภาษาเกาหลี ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน ภาษารัสเซีย ภาษาสเปน
ภาษามลายู และภาษาอาเซียน และอื่น ๆ
2.1.3 ความโดดเด่ น ด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี หมายถึ ง ภาพความส าเร็ จ
ของสถานศึกษาที่มี น วัตกรรมการบริ ห ารและการจัดการ นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ซึ่งมีความโดดเด่ น
ในการส่ งเสริ มศักยภาพผู้ เรี ย นด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โดยมีพัฒ นาการอย่างต่อเนื่อง มีผ ลงาน
เป็ น ที่ ป ระจั ก ษ์ แ ละได้ รั บ การยอมรั บ จากผู้ ป กครอง ชุ ม ชน สั ง คมและหน่ ว ยงานต่ า ง ๆ ตลอดจน
มีการจั ดการเรี ย นรู้ ร่ ว มกับ ภาคีเ ครื อ ข่า ยอย่ า งยั่ งยื น อาทิเช่น ฟิสิ กส์ เคมี ชีว วิทยา วิทยาศาสตร์ ทั่ ว ไป
โลกและดาราศาสตร์ หุ่นยนต์และยานยนต์ นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์และของเล่นเชิงวิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์
และปัญญาประดิษฐ์ เครื่องบินและเครื่องร่อน
2.1.4 ความโดดเด่ น ด้ า นสั ง คมศาสตร์ หมายถึ ง ภาพความส าเร็ จ ของสถานศึ ก ษา
ที่มนี วัตกรรมการบริหารและการจัดการ นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ซึ่งมีความโดดเด่นในการส่งเสริมศักยภาพ
ผู้ เรี ย นด้านสั งคมศาสตร์ ที่ส่ งเสริ มให้สถานศึกษา ครู ผู้ เรียนเกิดกระบวนการสื บค้น การอนุรักษ์ สื บสาน
หรือนาไปใช้ หรือการพัฒนาต่อยอดและสร้างมูลค่าเพิ่มในชุมชน โดยมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง มีผลงาน
เป็ น ที่ ป ระจั ก ษ์ แ ละได้ รั บ การยอมรั บ จากผู้ ป กครอง ชุ ม ชน สั ง คมและหน่ ว ยงานต่ า ง ๆ ตลอดจน
มีการจัดการเรียนรู้ร่วมกับภาคีเครือข่ายอย่างยั่งยืน อาทิเช่น นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ ภูมิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์
ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี หน้าที่พลเมือง การธารงคุณค่าทางประวัติศาสตร์แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญา
ท้องถิ่นและอื่น ๆ
2.1.5 ความโดดเด่ น ด้ า นทั ก ษะทางกี ฬ าและสุ ข ภาวะของผู้ เ รี ย น หมายถึ ง
ภาพความส าเร็ จ ของสถานศึ ก ษาที่ มี น วัต กรรมการบริ ห ารและการจั ดการ นวั ต กรรมการจั ด การเรียนรู้
ซึ่ ง มี ค วามโดดเด่ น ในการส่ ง เสริ ม พั ฒ นาศั ก ยภาพด้ า นทั ก ษะทางกี ฬ า สุ ข ภาวะทางร่ า งกายและจิ ต ใจ
โดยมีพัฒนาการอย่ างต่อเนื่ อง มีผลงานเป็นที่ประจักษ์และได้รับการยอมรับจากผู้ปกครอง ชุมชน สังคม
และหน่วยงานต่าง ๆ ตลอดจนมีการจัดการเรียนรู้ร่วมกับภาคีเครือข่ายอย่างยั่งยืน อาทิเช่น ฟุตบอล ฟุตซอล

วอลเล่ย์บอล บาสเก็ตบอล ครอปบอล ตะกร้อ ดาบสากล เทควันโด แบดมินตัน กอล์ฟ ว่ายน้า รักบี้ มวย
ยิมนาสติก e-Sport ลีลาศ แอโรบิค กีฬาพื้นบ้าน เปตอง บริดจ์และกรีฑา ชุคบอล ยิงธนู สนุกเกอร์ และอื่น ๆ
2.1.6 ความโดดเด่ น ด้ า นสุ น ทรี ย ศาสตร์ หมายถึ ง ภาพความส าเร็ จ ของสถานศึ ก ษา
ที่มนี วัตกรรมการบริหารและการจัดการ นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ซึ่งมีความโดดเด่นในการส่งเสริมศักยภาพ
ผู้ เรี ย นด้านสุ น ทรี ย ศาสตร์ ที่เกี่ย วข้องกับ สาระการเรียนรู้ ศิล ปะ โดยมีพัฒ นาการอย่างต่อเนื่ อง มีผ ลงาน
เป็ น ที่ ป ระจั ก ษ์ แ ละได้ รั บ การยอมรั บ จากผู้ ป กครอง ชุ ม ชน สั ง คม และหน่ ว ยงานต่ า ง ๆ ตลอดจน
มีการจัดการเรียนรู้ร่วมกับภาคีเครือข่ายอย่างยั่งยืน อาทิเช่น ดนตรีไทย ดนตรีสากล ดนตรีพื้นบ้าน นาฏศิลป์
ทัศนศิลป์ ขับร้อง ดนตรีลูกทุ่ง ดุริยางค์และโยธวาทิต มายากล การแสดงตลก ระบา และอื่น ๆ
2.1.7 ความโดดเด่นด้านการส่งเสริมอาชีพและการมีงานทา หมายถึง ภาพความสาเร็จ
ของสถานศึกษาที่มี น วัตกรรมการบริ ห ารและการจัดการ นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ซึ่ง มีความโดดเด่ น
ในการส่ ง เสริ ม ศั ก ยภาพผู้ เ รี ย นด้ า นการส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น การพั ฒ นาทั ก ษะอาชี พ ให้ กั บ ผู้ เ รี ย น
ตามความถนัดของตนเอง จนสามารถสร้างสรรค์ผลงานเพื่อตอบสนองการดารงชีวิ ตในบริบทที่หลากหลาย
นาไปสู่การเผยแพร่ผลสาเร็จต่อสาธารณชน ส่งผลให้ผู้เรียนสามารถสร้างงาน สร้างรายได้ จากการประกอบ
อาชี พ และมองเห็ น เส้ น ทางอาชี พ ในอนาคต (Career path) รวมทั้ ง ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น ให้ ผู้ เ รี ย นพั ฒ นา
ทั ก ษะชี วิ ต เกิ ด ศั ก ยภาพที่ ส อดคล้ อ งกั บ การแข่ ง ขั น ในตลาดแรงงานและสั ง คมโลกในศตวรรษที่ 21
โดยมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง มีผลงานเป็นที่ประจักษ์และได้รับการยอมรับจากผู้ปกครอง ชุมชน สังคมและ
หน่ ว ยงานต่ า ง ๆ ตลอดจนมี ก ารจั ด การเรี ย นรู้ ร่ ว มกั บ ภาคี เ ครื อ ข่ า ยอย่ า งยั่ ง ยื น อาทิ เ ช่ น เกษตรกรรม
อุตสาหกรรม คหกรรม หัตถกรรม พาณิชยกรรม ธุรกิจออนไลน์ และธุรกิจศึกษา
2.1.8 ความโดดเด่ น ด้ า นการอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม หมายถึ ง
ภาพความส าเร็ จ ของสถานศึ ก ษาที่ มี น วัต กรรมการบริ ห ารและการจั ดการ นวั ต กรรมการจั ด การเรียนรู้
ซึ่ ง มี ค วามโดดเด่ น ในการส่ ง เสริ ม ศั ก ยภาพผู้ เ รี ย นด้ า นการอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม
มีกระบวนการในการบารุงรักษา การประหยัดพลังงาน การบูรณะฟื้นฟู การเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้งาน
การน าทรั พ ยากรธรรมชาติ ม าใช้ ใ หม่ อ ย่ า งคุ้ ม ค่ า เพื่ อ มุ่ ง พั ฒ นาผู้ เ รี ย นให้ มี ค วามรู้ ความเข้ า ใจในเรื่ อ ง
สิ่ ง แวดล้ อ มตามธรรมชาติ สิ่ ง แวดล้ อ มที่ ม นุ ษ ย์ ส ร้ า งขึ้ น ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งมนุ ษ ย์ กั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม
จนเกิดความรู้สึกเห็นคุณค่า ตระหนักและห่วงใยในสิ่งแวดล้อม มีค่านิยม เจตคติและแรงจูงใจเข้าไปมีส่วนร่วม
ในการอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มให้ ดี ขึ้ น โดยมี พั ฒ นาการอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง มี ผ ลงาน
เป็ น ที่ ป ระจั ก ษ์ แ ละได้ รั บ การยอมรั บ จากผู้ ป กครอง ชุ ม ชน สั ง คม และหน่ ว ยงานต่ า ง ๆ ตลอดจน
มีการจัดการเรียนรู้ร่วมกับภาคีเครือข่ายอย่างยั่งยืน
2.1.9 ความโดดเด่ น ด้ า นการน้อ มน าศาสตร์ พ ระราชาสู่ก ารพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น หมายถึง
ภาพความส าเร็ จ ของสถานศึ ก ษาที่ มี น วัต กรรมการบริ ห ารและการจั ดการ นวั ต กรรมการจั ด การเรียนรู้
ซึ่งมีความโดดเด่นในการส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนด้านการน้อมนาศาสตร์พระราชาสู่การปฏิบัติในสถานศึกษา
โดยมีพัฒนาการอย่ างต่อเนื่ อง มีผลงานเป็นที่ประจักษ์และได้รับการยอมรับจากผู้ปกครอง ชุมชน สังคม
และหน่ ว ยงานต่า ง ๆ ตลอดจนมีก ารจั ด การเรีย นรู้ร่ว มกั บภาคี เ ครื อ ข่า ยอย่ า งยั่ งยื น อาทิเช่น โครงการ
ตามพระราชด าริ หลั ก การทรงงาน เกษตรทฤษฎี ใ หม่ โครงการอารยเกษตร สื บ สาน รั ก ษา ต่ อ ยอด
ตามแนวพระราชดาริ เศรษฐกิจ พอเพีย งด้วย “โคก หนอง นา แห่ งน้าใจและความหวัง ” หลั กปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง พระบรมราโชบายด้านการศึกษาของรัชกาลที่ 10
2.1.10 ความโดดเด่น ด้า นภาวะความเป็น ผู้น าของผู้เ รี ยน หมายถึง ภาพความสาเร็จ
ของสถานศึกษาที่มี น วัตกรรมการบริ ห ารและการจัดการ นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ซึ่ง มีความโดดเด่ น

ในการส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนด้านภาวะความเป็นผู้นาเชิงสร้างสรรค์ ประยุกต์ใช้ในการสร้างความเข้มแข็ง
ให้ กับ องค์กรนั กเรี ย น โดยมีพัฒ นาการอย่ างต่ อเนื่อ ง มีผ ลงานเป็นที่ประจั ก ษ์และได้รับ การยอมรั บ จาก
ผู้ปกครอง ชุมชน สังคม และหน่วยงานต่าง ๆ ตลอดจนมีการจัดการเรียนรู้ร่วมกับภาคีเครือข่ายอย่างยั่งยืน
2.1.11 ความโดดเด่นด้านคุณธรรม จริยธรรม หมายถึง ภาพความสาเร็จของสถานศึกษา
ที่มีนวัตกรรมการบริหารและการจัดการ นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ซึ่ง มีความโดดเด่นในการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ที่ปลูกฝังด้านคุณธรรม จริยธรรมสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมเชิงประจักษ์แก่ผู้เรียนและบุคลากร
ที่เกี่ยวข้อง โดยมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง มีผลงานเป็นที่ประจักษ์และได้รับการยอมรับจากผู้ปกครอง ชุมชน
สังคม และหน่วยงานต่าง ๆ ตลอดจนมีการจัดการเรียนรู้ร่วมกับภาคีเครือข่ายอย่างยั่งยืน
2.2 ภาพความสาเร็ จ หมายถึง รางวัล ผลงาน หรือหลั กฐานร่องรอยที่แสดงถึงคุณภาพผู้เรียน
กระบวนการบริ ห ารและการจั ด การ กระบวนการจั ด การเรี ย นการสอน การจั ด กิ จ กรรมพั ฒ นาผู้ เ รี ย น
จนเกิดความสาเร็จแสดงให้เห็นถึงความโดดเด่นในด้านต่าง ๆ อย่างชัดเจน ภายใน 3 ปีการศึกษานับจาก
ที่ยื่นขอรับรอง
2.3 การยอมรั บ หมายถึ ง สถานศึ ก ษามี ก ารเผยแพร่ ผ ลงาน หรื อ มี ก ารขอเข้ า ศึ ก ษาดู ง าน
จากหน่วยงานหรือองค์กร การเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อนาเสนอผลงานหรือกิจกรรมเผยแพร่ความโดดเด่น เฉพาะ
ด้านของสถานศึกษาในระดับชุมชน จังหวัด ภูมิภาค ประเทศ นานาชาติ โดยได้รับการยอมรับให้เป็นต้นแบบ
ภายใน 3 ปีการศึกษานับจากที่ยื่นขอรับรอง
2.4 ความยั่ ง ยื น หมายถึ ง การด าเนิ น การส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น ขั บ เคลื่ อ นโครงการ/กิ จ กรรม
จนบรรลุผลตามเป้าหมายที่ตรงกับความโดดเด่นของสถานศึกษาในแต่ละด้านอย่างต่อเนื่อง เป็นระยะเวลา
ไม่น้อยกว่า 2 ปีการศึกษา
2.5 ร่องรอยหลักฐาน หมายถึง เอกสาร ภาพถ่าย เกียรติบัตร รางวัล หรือข้อมูลที่แสดงถึงผลงาน
ที่ใช้เป็นหลักฐานยืนยันความโดดเด่นของสถานศึกษาในแต่ละด้าน
2.5 ชุ ม ชน หมายถึ ง กลุ่ ม บุ ค คล หน่ ว ยงานหรื อ องค์ ก รทั้ ง ภาครั ฐ และเอกชนที่ อ ยู่ ใ นบริ เ วณ
ใกล้เคียงกับสถานศึกษา เช่น หมู่บ้าน ตาบล เทศบาล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อาเภอ สหวิทยาเขต
2.6 ภาคี เ ครื อ ข่ า ย หมายถึ ง ชุ ม ชน หน่ ว ยงาน สถาบั น องค์ ก ร ทั้ ง ภาครั ฐ และเอกชน
ที่ให้ความร่วมมือหรือมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อการดาเนินงาน ส่งเสริม สนับสนุน และสร้างความโดดเด่นด้านต่าง ๆ
ของสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง
2.7 นวั ต กรรม หมายถึ ง รู ป แบบหรื อ กระบวนการที่ ส ถานศึ ก ษาพั ฒ นาขึ้ น โดยคิ ด ค้ น ขึ้ น ใหม่
หรือปรับปรุง เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม เพื่อให้เกิดผลสาเร็จตามเป้าหมายที่กาหนด
2.8 นวั ต กรรมการบริ ห ารและการจั ด การ หมายถึ ง รู ป แบบหรื อ กระบวนการบริ ห ารจั ด การ
ที่สถานศึกษาคิดค้นขึ้นใหม่ หรือปรับปรุง เปลี่ยนแปลงให้สอดคล้อง เชื่อมโยงกับแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
และแผนปฏิบัติการประจาปี โดยมีระบบการดาเนินการที่ชัดเจนจนเกิดผลสาเร็จและเป็นที่ยอมรับ
2.9 นวั ต กรรมการจั ด การเรี ย นรู้ หมายถึ ง รู ป แบบหรื อ กระบวนการส่ ง เสริ ม สถานศึ ก ษา
ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและหรือกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โดยมีระบบการดาเนินการที่ชัดเจน
จนเกิดผลสาเร็จและเป็นที่ยอมรับ

2.10 พัฒนาการ หมายถึง การสนับสนุนให้มีการดาเนินการขับเคลื่อนความโดดเด่นของสถานศึกษา


ในแต่ละด้าน เพื่อให้เกิดภาพความสาเร็จและการยอมรับในระดับที่เป็นอยู่หรือสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง
2.11 การรักษามาตรฐานความโดดเด่น ของสถานศึกษา หมายถึง สถานศึกษาที่ได้รับเครื่องหมาย
“คุ ณ ภาพพิ เ ศษแห่ ง สพฐ. (OBEC Special)” ด าเนิ น การส่ ง เสริ ม พั ฒ นาและรั ก ษาความโดดเด่ น ของ
สถานศึ ก ษา ท าให้ เ กิ ด คุ ณ ภาพ โดยมี ภ าพความส าเร็ จ และการยอมรั บ ในระดั บ ต่ า ง ๆ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง
3 ปีการศึกษานับจากวันประกาศรับรอง
2.12 สถานศึกษา หมายถึง สถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอนระดับมัธยมศึกษา สังกัดสานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
2.13 สี เ หลื อ ง หมายถึ ง สี ข องเครื่ อ งหมาย “คุ ณ ภาพพิ เ ศษแห่ ง สพฐ. (OBEC Special)”
ระดับ 3 ดาว ด้านทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
2.14 สี แ ดงเข้ ม หมายถึ ง สี ข องเครื่ อ งหมาย “คุ ณ ภาพพิ เ ศษแห่ ง สพฐ. (OBEC Special)”
ระดับ 3 ดาว ด้านภาษา
2.14 สี เ ขี ย ว หมายถึ ง สี ข องเครื่ อ งหมาย “คุ ณ ภาพพิ เ ศษแห่ ง สพฐ. (OBEC Special)”
ระดับ 3 ดาว ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
2.15 สี ช มพู หมายถึ ง สี ข องเครื่ อ งหมาย “คุ ณ ภาพพิ เ ศษแห่ ง สพฐ. (OBEC Special)”
ระดับ 3 ดาว ด้านทักษะทางกีฬาและสุขภาวะของผู้เรียน
2.18 สี น้ าเงิ น หมายถึ ง สี ข องเครื่ อ งหมาย “คุ ณ ภาพพิ เ ศษแห่ ง สพฐ. (OBEC Special)”
ระดับ 3 ดาว ด้านสังคมศาสตร์
2.17 สีม่วง หมายถึง สีของเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)” ระดับ 3 ดาว
ด้านสุนทรียศาสตร์
2.19 สี แ ดงส้ ม หมายถึ ง สี ข องเครื่ อ งหมาย “คุ ณ ภาพพิ เ ศษแห่ ง สพฐ. (OBEC Special)”
ระดับ 3 ดาว ด้านการส่งเสริมอาชีพและการมีงานทา
2.20 สีฟ้า หมายถึง สีของเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)” ระดับ 3 ดาว
ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
2.21 สี ร อยั ล บลู หมายถึ ง สี ข องเครื่ อ งหมาย “คุ ณ ภาพพิ เ ศษแห่ ง สพฐ. (OBEC Special)”
ระดับ 3 ดาว ด้านการน้อมนาศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
2.21 สีเทา หมายถึง สีของเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)” ระดับ 3 ดาว
ด้านภาวะความเป็นผู้นาของผู้เรียน
2.21 สีขาว หมายถึง สีของเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)” ระดับ 3 ดาว
ด้านคุณธรรม จริยธรรม

เครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)” ระดับ 3 ดาว

1. 2.

3. 4.

5. 6.

7. 8.

9. 10.
๑๐

11.

หมายเหตุ
- ประเภทเครื่ อ งหมายตามแนวทางการค้ น หาความโดดเด่ น ของสถานศึ ก ษาเพื่ อ รั บ เครื่ อ งหมาย
“คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)” แบ่งเป็น 3 ระดับ ได้แก่

- ขนาด กว้าง x ยาว 60 x 100 ซม. วัสดุโลหะที่มีความคงทน ติดตั้งบริเวณหน้าโรงเรียนที่มองเห็นได้ชัดเจน


๑๑

- รหัสสีของเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)” ระดับ 3 ดาว 11 ด้าน ดังนี้

ที่ ความโดดเด่นของสถานศึกษา รหัสสีเครื่องหมาย 3 ดาว


1 ด้านทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เหลือง #f9dc71
2 ด้านภาษา แดงเข้ม #880016
3 ด้านทักษะทางกีฬาและสุขภาวะของผู้เรียน ชมพู #c20861
4 ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เขียว #1d6d34
5 ด้านสุนทรียศาสตร์ ม่วง #8c52ff
6 ด้านสังคมศาสตร์ น้ำเงิน #3f2ffd
7 ด้านการส่งเสริมอาชีพและการมีงานทา แดงส้ม #f36f21
8 ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ฟ้ำ #52a3dd
9 ด้านการน้อมนาศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน รอยัลบลู #5271ff
10 ด้านภาวะความเป็นผู้นาของผู้เรียน เทำ #a6a6a6
11 ด้านคุณธรรม จริยธรรม ขำว #ffffff
๑๒

3. บทบาทและหน้า ที่ใ นการขับเคลื่อนการค้น หาความโดดเด่น ของสถานศึกษา เพื่อรั บ เครื่ องหมาย


“คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)”
การขับเคลื่อนการค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา เพื่อขอรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง
สพฐ. (OBEC Special)” มีการขับเคลื่อนการดาเนินการโดยกาหนดให้ทุกระดับมีบทบาทและหน้าที่สาคัญ
ดังนี้
3.1 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
1) ให้ ค าปรึ ก ษา ค าแนะน า ก ากั บ ดู แ ล การด าเนิ น งาน การค้ น หาความโดดเด่ น
ของสถานศึกษา เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)” ให้แก่หน่วยงานในกากับ
และอานวยความสะดวกแก่บุคลากรในการดาเนินการต่าง ๆ ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย
2) สนั บ สนุ น งบประมาณในการด าเนิ น งานการค้ น หาความโดดเด่ น ของสถานศึ ก ษา
เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)” ให้เครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัด
การมัธยมศึกษาจังหวัด
3) แต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนการค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา เพื่อรับเครื่องหมาย
“คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)”
4) รับรองความโดดเด่นของสถานศึกษา เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC
Special)” ในระดับ 3 ดาว
3.2 สานักบริหารการมัธยมศึกษา
1) จัดทาคาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการการขับเคลื่อนการค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา
เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)” เสนอต่อเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐานลงนาม
2) สร้ า งความรู้ ค วามเข้ า ใจตามแนวทางการค้ น หาความโดดเด่ น ของสถานศึ ก ษา
เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)” และประชาสัมพันธ์ไปยัง เครือข่ายส่งเสริม
ประสิทธิภาพการจัดการมัธยมศึกษาจังหวัด
3) จัดทาคาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกลั่นกรองระดับ 2 ดาว และ 3 ดาว (18 กลุ่มจังหวัด)
เสนอต่อเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานลงนาม
4) ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น ประสานความร่ ว มมื อ กั บ เครื อ ข่ า ยส่ ง เสริ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ
การจั ด การมั ธ ยมศึ ก ษาจั ง หวั ด และหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ในการด าเนิ น งานการค้ น หาความโดดเด่ น
ของสถานศึกษา เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)” เพื่อพัฒนาและยกระดับ
คุณภาพการจัดการศึกษาสู่มาตรฐานการศึกษา
5) จั ด ท าค าขอสนั บ สนุ น งบประมาณในการด าเนิ น งาน การค้ น หาความโดดเด่ น
ของสถานศึกษา เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)” เพื่อดาเนินการขับเคลื่อน
การค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special”
ในระดับจังหวัด
6) เสนอผลความโดดเด่นของสถานศึกษา เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC
Special)” ในระดับ ส านั กงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับ 3 ดาว พร้อมจัดทาทะเบียนคุม
เป็นรายด้าน
๑๓

7) ตรวจสอบ รายงานผล และจั ด ท าประกาศความโดดเด่ น ของสถานศึ ก ษาที่ ไ ด้ รั บ


เครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)” ในทุกระดับ เสนอต่อเลขาธิการคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
8) เผยแพร่ผลงานความโดดเด่นของสถานศึกษา และมอบเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษ
แห่ง สพฐ. (OBEC Special)”
9) จัดทาข้อมูลสารสนเทศความโดดเด่นของสถานศึกษา เพื่อนาเข้าข้อมูลในระบบสารสนเทศ
ด้านคุณภาพมัธยมศึกษา ของสานักบริหารการมัธยมศึกษา (SESA) ทางเว็บไซต์ https://sesa.obec.go.th
10) กากับ ติดตาม ส่งเสริมสนับสนุนและให้คาปรึกษาในการขับเคลื่อนการค้นหาความโดดเด่น
ของสถานศึกษา เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)”
3.3 คณะกรรมการกลั่นกรองระดับ 2 ดาว และ 3 ดาว (18 กลุ่มจังหวัด)
1) ด าเนิ น การกลั่ น กรองความโดดเด่ น ของสถานศึ ก ษาระดั บ 2 ดาว และ 3 ดาว
ในกลุ่มจังหวัดที่รับผิดชอบ
2) ประสานงานคณะกรรมการกลั่นกรอง เพื่อให้การขับเคลื่อนกิจกรรมค้นหาความโดดเด่น
ของสถานศึกษา เพื่อรั บ เครื่ องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ ง สพฐ. (OBEC Special)” 2 ดาว และ 3 ดาว
ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและบรรลุวัตถุประสงค์
3) รับรองความโดดเด่นของสถานศึกษา เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC
Special)” ในระดับ 2 ดาว พร้อมจัดทาทะเบียนคุมเป็นรายด้าน
4) จัดทารายงานและเสนอผลการกลั่นกรองความโดดเด่นของสถานศึกษาระดับ 2 ดาว
และ 3 ดาว ต่อสานักบริหารการมัธยมศึกษา
3.4 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
1) แต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการการขั บ เคลื่ อ นการค้ น หาความโดดเด่ น ของสถานศึ ก ษา
เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)” ระดับเขตพื้นที่การศึกษา
2) ให้คาปรึกษา สนับสนุนการดาเนินงานตามแนวทางการค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา
เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)” แก่สถานศึกษาในสังกัด
3) ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนการปฏิบัติงานของบุคลากรที่มีบทบาทหน้าที่ที่เกี่ยวข้ อง
ในการดาเนินงานการค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ.
(OBEC Special)”
4) รับรองความโดดเด่น ของสถานศึกษา เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ ง สพฐ.
(OBEC Special)” ในระดับเขตพื้นที่การศึกษา ระดับ 1 ดาว ร่วมกับเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการ
มัธยมศึกษาจังหวัด พร้อมจัดทาทะเบียนคุมเป็นรายด้าน
5) จั ด ท ารายงานและเสนอผลความโดดเด่ น ของสถานศึ ก ษาเสนอต่ อ ส านั ก บริ ห าร
การมัธยมศึกษา เพื่อขอรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)” ในระดับคณะกรรมการ
กลั่นกรองระดับ 2 ดาว และ 3 ดาว (18 กลุ่มจังหวัด)
6) เผยแพร่ ผ ลงานความโดดเด่ น ของสถานศึ ก ษาที่ ไ ด้ รั บ เครื่ อ งหมาย “คุ ณ ภาพพิ เ ศษ
แห่ง สพฐ. (OBEC Special)”
๑๔

3.5 คณะกรรมการเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการมัธยมศึกษาจังหวัด
1) สร้างความเข้าใจและประชาสัมพันธ์ การดาเนินงานตามแนวทางการค้นหาความโดดเด่น
ของสถานศึกษาเพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)”
2) จั ด ท าค าสั่ ง แต่ ง ตั้ ง อนุ กรรมการกลั่ น กรองความโดดเด่ น ของสถานศึ ก ษา
เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)” จานวน 11 ด้าน
3) ประสานงานหน่ วยงานที่ เกี่ ยวข้ อง เพื่ อให้ การขั บเคลื่ อนกิ จกรรมค้ นหาความโดดเด่ น
ของสถานศึกษา เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)” เป็นไปด้วยความเรียบร้อย
และบรรลุวัตถุประสงค์
4) ดาเนินการกลั่นกรองความโดดเด่นของสถานศึกษา และรายงานสรุปผลการกลั่นกรอง
เพื่อเสนอสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและร่วมรับรองความโดดเด่นของสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา
5) เผยแพร่ ผ ลงานความโดดเด่ น ของสถานศึ ก ษาที่ ไ ด้ รั บ เครื่ อ งหมาย “คุ ณ ภาพพิ เ ศษ
แห่ง สพฐ. (OBEC Special)”
6) กากับ ติดตาม เพื่อ รักษามาตรฐานความโดดเด่น ของสถานศึกษาที่ได้รับเครื่องหมาย
“คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)” ของสถานศึกษาในเครือข่าย
3.6 สถานศึกษา
1) วิ เ คราะห์ ค วามโดดเด่ น สถานศึ ก ษาตามแนวทาง การค้ น หาความโดดเด่ น
ของสถานศึกษา เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)”
2) ค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษาตามแบบฟอร์มที่กาหนด
3) บั น ทึ ก ผลการค้ น หาความโดดเด่ น ของสถานศึ ก ษาในระบบสารสนเทศด้ า นคุ ณ ภาพ
มั ธ ยมศึ ก ษา ของส านั ก บริ ห ารการมั ธ ยมศึ ก ษา (SESA) ทางเว็ บ ไซต์ https://sesa.obec.go.th
ภายในระยะเวลาที่กาหนด
4) รายงานผลการค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษาแก่คณะกรรมการเครือข่ายส่ งเสริม
ประสิ ท ธิ ภ าพการจั ด การมั ธ ยมศึ ก ษาจั ง หวั ด โดยให้ ป ระเมิ น ผลความโดดเด่ น ของสถานศึ ก ษาให้ ต รง
ตามความเป็นจริง เพื่อประโยชน์สูงสุดของสถานศึกษา
5) เผยแพร่ผลงาน และรักษามาตรฐานความโดดเด่นของสถานศึกษา
๑๕

กระบวนการขับเคลื่อนการค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา
เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)”
๑๖

4. แนวทางการแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานการค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา เพื่อรับเครื่องหมาย
“คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)”
4.1 ระดับสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คณะกรรมการขับเคลื่อนการค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา มีหน้าที่ ดาเนินการ
วางแผน กาหนดรูปแบบ อานวยความสะดวก สนับสนุนและประสานงานการดาเนินการขับเคลื่อนการค้นหา
ความโดดเด่ น ของสถานศึ ก ษา เพื่ อ รั บ เครื่ อ งหมาย “คุ ณ ภาพพิ เ ศษแห่ ง สพฐ. (OBEC Special)”
ให้มีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผลสูงสุด เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและบรรลุวัตถุประสงค์ของกิจกรรม
4.2 ระดับคณะกรรมการกลุ่มจังหวัดที่ได้รับมอบหมาย
คณะกรรมการกลั่ น กรองระดั บ 2 ดาว และ 3 ดาว (18 กลุ่ ม จั ง หวั ด ) มี ห น้ า ที่
ร่วมวางแผน กลั่นกรองผลงานความโดดเด่นของสถานศึกษาตามแนวทางและเกณฑ์การค้นหาความโดดเด่น
ที่กาหนด ระดับ 2 ดาว และ ระดับ 3 ดาว และจัดทารายงานสรุปผลการกลั่ นกรอง เสนอสานัก บริห าร
การมัธ ยมศึกษา เพื่อดาเนิ น การตามแนวทางการค้นหาความโดดเด่นของสถานศึ กษา เพื่อรับเครื่องหมาย
“คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)” ต่อไป
โดยให้มีคณะกรรมการกลั่นกรองระดับ 2 ดาว และ 3 ดาว (18 กลุ่มจังหวัด) จานวน
11 ด้าน เพื่อกลั่นกรองความโดดเด่นของสถานศึกษาในแต่ละด้าน จานวนไม่น้อยกว่า 5 คน ทั้งนี้ ต้องมีประธาน
คณะกรรมการกลุ่ ม จั ง หวัด ที่ ไ ด้รั บ มอบหมาย 1 คน รองประธานคณะกรรมการที่ คัด เลื อ กโดยประธาน
คณะกรรมการกลุ่ ม จั งหวัด 1 คน คณะกรรมการที่ เ ป็ น ผู้ อ านวยการกลุ่ ม นิเ ทศ ติ ด ตามและประเมินผล
ที่อยู่ในกลุ่มจังหวัดนั้น ๆ จังหวัดละ 1 คน หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญที่ตรงกับ ความโดดเด่น
ในแต่ละด้าน และเลขานุการประธานคณะกรรมการกลุ่มจังหวัด 1 คน
คณะกรรมการกลั่นกรองระดับ 2 ดาว และ 3 ดาว (18 กลุ่มจังหวัด) ประกอบด้วย
กลุ่มจังหวัด 1 ได้แก่ กรุงเทพมหานคร พระนครศรีอยุธยา นนทบุรี
กลุ่มจังหวัด 2 ได้แก่ ปทุมธานี ชัยนาท ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี อ่างทอง อุทัยธานี
กลุ่มจังหวัด 3 ได้แก่ นครปฐม กาญจนบุรี ราชบุรี สุพรรณบุรี
กลุ่มจังหวัด 4 ได้แก่ ประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม
กลุ่มจังหวัด 5 ได้แก่ นครศรีธรรมราช ชุมพร พัทลุง สุราษฎร์ธานี สงขลา สตูล
กลุ่มจังหวัด 6 ได้แก่ กระบี่ ตรัง พังงา ภูเก็ต ระนอง
กลุ่มจังหวัด 7 ได้แก่ นราธิวาส ปัตตานี ยะลา
กลุ่มจังหวัด 8 ได้แก่ ชลบุรี ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ ระยอง
กลุ่มจังหวัด 9 ได้แก่ จันทบุรี ตราด ปราจีนบุรี นครนายก สระแก้ว
กลุ่มจังหวัด 10 ได้แก่ อุดรธานี บึงกาฬ หนองคาย เลย หนองบัวลาภู
กลุ่มจังหวัด 11 ได้แก่ สกลนคร นครพนม มุกดาหาร
กลุ่มจังหวัด 12 ได้แก่ ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ ขอนแก่น มหาสารคาม
กลุ่มจังหวัด 13 ได้แก่ นครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์
กลุ่มจังหวัด 14 ได้แก่ อุบลราชธานี ยโสธร ศรีสะเกษ อานาจเจริญ
กลุ่มจังหวัด 15 ได้แก่ เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลาปาง ลาพูน
กลุ่มจังหวัด 16 ได้แก่ เชียงราย น่าน พะเยา แพร่
๑๗

กลุ่มจังหวัด 17 ได้แก่ พิษณุโลก ตาก เพชรบูรณ์ สุโขทัย อุตรดิตถ์


กลุ่มจังหวัด 18 ได้แก่ นครสวรรค์ กาแพงเพชร พิจิตร
4.3 ระดับสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
คณะกรรมการการขับเคลื่อนการค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา
มีหน้าที่ ร่วมวางแผน ขับเคลื่อนกิจกรรม ประชาสัมพันธ์ และจัดทารายงานสรุปผลการกลั่นกรองในระดับจังหวัด
เสนอสานักบริหารการมัธยมศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อดาเนินการต่อไป ประกอบด้วย
๑. ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประธานคณะกรรมการ
2. รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา รองประธานคณะกรรมการ
3. ผู้อานวยการสถานศึกษาในสังกัด กรรมการ
4. ศึกษานิเทศก์ กรรมการ
5. ประธานเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพ กรรมการและเลขานุการ
6. ผู้อานวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
สาหรับสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขตใดที่มีประธานเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการ
มั ธ ยมศึ ก ษาจั ง หวั ด 2 เครื อ ข่ า ย ให้ แ ต่ ง ตั้ ง ประธานเครื อ ข่ า ยฯ จั ง หวั ด เครื อ ข่ า ยใดเครื อ ข่ า ยหนึ่ ง
เป็นกรรมการและเลขานุการ และให้ประธานเครือข่ายฯ อีกหนึ่งเครือข่ายเป็นกรรมการ
4.3 ระดับเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการมัธยมศึกษาจังหวัด
อนุ ก รรมการกลั่ น กรองความโดดเด่ น ของสถานศึ ก ษา ระดั บ จั ง หวั ด มี ห น้ า ที่
ร่วมวางแผน กลั่นกรองผลงานความโดดเด่นของสถานศึกษาตามแนวทางและเกณฑ์การค้นหาความโดดเด่นที่
กาหนด ทั้งนี้ การกลั่นกรองความโดดเด่นของสถานศึกษาต้องอยู่บนพื้นฐานของการไม่สร้างภาระงานเพิ่มเติม
ให้สถานศึกษาและบุคลากรของสถานศึกษา เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นจริงมากที่สุด และจัดทารายงานสรุปผล
การกลั่นกรองในระดับจั งหวัด เสนอสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อดาเนินการตามแนวทางการค้ นหา
ความโดดเด่นของสถานศึกษา เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)” ต่อไป
โดยให้มีคณะอนุกรรมการกลั่นกรองความโดดเด่นของสถานศึกษา เพื่อรับเครื่องหมาย
“คุ ณภาพพิ เศษแห่ ง สพฐ. (OBEC Special)” ระดั บจั งหวั ด เพื่ อกลั่ นกรองความโดดเด่ นของสถานศึ ก ษา
ในแต่ละด้าน จานวนไม่น้ อยกว่า 5 คน ทั้งนี้ต้องมีคณะอนุกรรมการที่เป็นศึกษานิเทศก์ห รือผู้ ทรงคุ ณวุฒิ
ที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญที่ตรงกับความโดดเด่นในแต่ละด้านอย่างน้อย 1 คน
5. การรั บ รองสถานศึ ก ษาและการประกาศผลความโดดเด่ น ของสถานศึ ก ษาที่ ไ ด้ รั บ เครื่ อ งหมาย
“คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special) ”
องค์ประกอบการพิจารณาความโดดเด่นของสถานศึกษา
พิจารณาจาก 3 ประเด็นหลัก ได้แก่
1. ความสาเร็จ
2. การยอมรับ
3. ความยั่งยืน
โดยในการพิจ ารณาความโดดเด่น ของสถานศึกษาตามประเด็นหลัก ให้ คณะกรรมการกลั่ นกรอง
ความโดดเด่นของสถานศึกษา เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)” ระดับจังหวัด
พิจารณาตัวบ่งชี้และเกณฑ์ของแต่ละด้านประกอบกัน
๑๘

ประเภทเครื่องหมาย แบ่งเป็น 3 ระดับ ได้แก่


ระดับ 3 ดาว ต้องมีคะแนนรวม ตั้งแต่ร้อยละ 80 ขึ้นไป จะได้รับเกียรติบัตรและเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง
สพฐ. (OBEC Special)” จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ระดับ 2 ดาว ต้องมีคะแนนรวม ร้อยละ 70-79 จะได้รับเกียรติบัตร “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC
Special)” จากประธานคณะกรรมการกลุ่มจังหวัดที่ได้รับมอบหมาย
ระดับ 1 ดาว ต้องมีคะแนนรวม ร้ อยละ 60-69 จะได้รับ เกียรติบัตร “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC
Special)” จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
หมายเหตุ
- สถานศึกษาที่มีคุณภาพระดับ 3 ดาว สามารถประดับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ ง สพฐ.
(OBEC Special)” ที่ส ถานศึก ษาในบริ เวณที่ ม องเห็ น ได้ชั ด โดยมี ขนาด กว้าง x ยาว 60 x 100 ซม.
วัสดุโลหะที่มีความคงทน
๑๙

ภาคผนวก
๒๐ ภาคผนวก ก
แบบ สบม.01/01
แบบค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา
เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)”
ด้านทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
………………………………………………………………
คาชี้แจง ให้สถานศึกษาค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา ด้านทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
โดยพิจารณาจากองค์ประกอบด้านความส าเร็จ ด้านการยอมรับ และด้านความยั่งยืน เพื่อเป็นการยืนยัน
ความโดดเด่นของสถานศึกษาเชิงประจักษ์อย่างแท้จริง
ส่วนที่ 1 ข้อมูลสถานศึกษา
1.1 ชื่อสถานศึกษา
1.2 สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
1.3 จังหวัดที่ตั้งสถานศึกษา
ส่วนที่ 2 การค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC
Special)” ด้านทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
คาชี้แจง ใส่เครื่องหมาย ตามระดับคะแนนในแบบค้นหาความโดดเด่น ของสถานศึกษาด้านทักษะและ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ให้ตรงตามความเป็นจริง
2.1 องค์ประกอบการพิจารณา
ที่ ประเด็นการ ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การให้คะแนน หมายเหตุ
พิจารณา
1. ความสาเร็จ 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน  (10) ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ พิจารณาจาก
1. ด้านคุณภาพ ตามหลักสูตรสถานศึกษา ทางการเรียนตามหลักสูตร ร่องรอย
ผู้เรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ สถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ หลักฐาน
(23 คะแนน) คณิตศาสตร์ทั้งรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ แต่ละปีการศึกษา
และรายวิชาเพิ่มเติม ไม่ต่ากว่า 3.00
ในระดับชั้นมัธยมศึกษา  (8) ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์
ทุกระดับชั้น ทางการเรียนตามหลักสูตร
3 ปีการศึกษาย้อนหลัง สถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้
(10 คะแนน) คณิตศาสตร์ แต่ละปีการศึกษา
ไม่ต่ากว่า 2.75
 (6) ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนตามหลักสูตร
สถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ แต่ละปีการศึกษา
ไม่ต่ากว่า 2.50
 (4) ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทาง
การเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
แต่ละปีการศึกษาไม่ต่ากว่า 2.25
๒๑

 (2) ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนตามหลักสูตร
สถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ แต่ละปีการศึกษา
ไม่ต่ากว่า 2.00
1.2 ผู้เรียนมีผลงานหรือ  (10) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก
รางวัลที่แสดงถึงความสามารถ  (9) ระดับประเทศ ร่องรอย
ทางด้านคณิตศาสตร์  (8) ระดับเขตตรวจราชการ/ หลักฐาน
3 ปีการศึกษาย้อนหลัง ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
(10 คะแนน)  (7) ระดับเขตพื้นที่/จังหวัด ระดับเดียว
 (6) ระดับชุมชน
1.3 จานวนผู้เรียนที่เข้าร่วม  (3) จานวนผู้เรียนที่เข้าร่วม พิจารณาจาก
กิจกรรมเสริมหลักสูตรที่เน้น กิจกรรม ร้อยละ 91 ขึ้นไป ร่องรอย
ทักษะและกระบวนการทาง ของผู้เรียนทั้งหมด หลักฐาน
คณิตศาสตร์ เช่น การเข้าค่าย,  (2) จานวนผู้เรียนที่เข้าร่วม
ทัศนศึกษา, การศึกษาดูงาน, กิจกรรม ร้อยละ 81 – 90
การนานักเรียนไปแลกเปลี่ยน ของผู้เรียนทั้งหมด
เรียนรู้นอกสถานที่, อื่น ๆ  (1) จานวนผู้เรียนที่เข้าร่วม
ที่เกี่ยวข้อง (3 คะแนน) กิจกรรม ร้อยละ 60 - 80
ของผู้เรียนทั้งหมด
ความสาเร็จ 2.1 สถานศึกษามีแผนพัฒนา  (3) สถานศึกษามีแผนพัฒนา พิจารณาจาก
2. ด้านกระบวนการ การจัดการศึกษาและ การจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติ ร่องรอย
บริหารและ แผนปฏิบัติการประจาปี การประจาปีโดยมีโครงการ/ หลักฐาน
การจัดการ โดยมีโครงการ/กิจกรรม กิจกรรมที่ให้ความสาคัญกับ
(17 คะแนน) ที่ให้ความสาคัญกับการส่งเสริม การส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนา
สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพ คุณภาพที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์
ที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ และบรรลุตามค่าเป้าหมายของ
3 ปีการศึกษาย้อนหลัง สถานศึกษา 3 ปีการศึกษา
(3 คะแนน)  (2) สถานศึกษามีแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติ
การประจาปีทใี่ ห้ความสาคัญกับ
การส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนา
คุณภาพที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์
และบรรลุตามค่าเป้าหมายของ
สถานศึกษา 2 ปีการศึกษา
๒๒

 (1) สถานศึกษามีแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติ
การประจาปีที่ให้ความสาคัญกับ
การส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนา
คุณภาพที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์
และบรรลุตามค่าเป้าหมายของ
สถานศึกษา 1 ปีการศึกษา
 (0) สถานศึกษามีแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติ
การประจาปีที่ให้ความสาคัญกับ
การส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนา
คุณภาพที่เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์
แต่ไม่บรรลุตามค่าเป้าหมายของ
สถานศึกษา
2.2 หลักสูตรสถานศึกษา  (3) ปฏิบัติครบ 3 ข้อ พิจารณาจาก
(3 คะแนน)  (2) ปฏิบัติได้ 2 ข้อ ร่องรอย
2.2.1 มีกิจกรรมเสริม  (1) ปฏิบัติได้ 1 ข้อ หลักฐาน
หลักสูตรที่เน้นทักษะและ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์
เช่น การเข้าค่าย, ทัศนศึกษา,
การศึกษาดูงาน, การนาผู้เรียน
ไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้นอกสถานที่,
อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.2 มีหลักสูตรรายวิชา
เพิ่มเติมที่เน้นทักษะและ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์
สาหรับห้องเรียนพิเศษ
ทางด้านคณิตศาสตร์ หรือมี
หลักสูตรห้องเรียนพิเศษ
ทางด้านคณิตศาสตร์หรือ
หลักสูตรอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.3 มีกิจกรรมพัฒนา
ผู้เรียน ชุมนุม ชมรมที่เน้น
ทักษะและกระบวนการ
ทางคณิตศาสตร์
๒๓

2.3 สถานศึกษามีการสร้าง  (3) ปฏิบัติครบ 3 ข้อ พิจารณาจาก


เครือข่ายความร่วมมือด้าน  (2) ปฏิบัติได้ 2 ข้อ ร่องรอย
ทักษะและกระบวนการทาง  (1) ปฏิบัติได้ 1 ข้อ หลักฐาน
คณิตศาสตร์ (3 คะแนน)
2.3.1 มีการเข้าร่วม
กิจกรรมด้านคณิตศาสตร์กับ
สถาบันการศึกษา หน่วยงาน
องค์กรในประเทศ หรือมีการ
ทัศนศึกษา ศึกษาแหล่งเรียนรู้
2.3.2 มีการทาบันทึก
ข้อตกลงด้านคณิตศาสตร์
ร่วมกับสถาบันการศึกษา
หน่วยงานอื่น
2.3.3 มีการเข้าร่วม
โครงการที่เน้นทักษะและ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์
ที่มีหน่วยงานรองรับ เช่น
โรงเรียนคุณภาพ SMT/SMTE,
ห้องเรียน พสวท.,ห้องเรียนคู่ขนาน,
วิทยาศาสตร์พลังสิบและ
อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.4 ผู้บริหารสถานศึกษา  (5) มี เป็นผลงานหรือรางวัลที่ พิจารณาจาก
มีผลงานหรือรางวัล เกี่ยวกับการส่งเสริมด้านทักษะและ ร่องรอย
(5 คะแนน) กระบวนการทางคณิตศาสตร์ หลักฐาน
 (3) มี เป็นรางวัลที่เกี่ยวข้องกับ
วิชาการ เช่น OBEC Award
ด้านวิชาการ หรือร่วมสัมมนา
ทางวิชาการ
 (1) มี แต่ไม่ใช่ผลงานหรือ
รางวัลที่เกี่ยวกับการส่งเสริม
ด้านทักษะและกระบวนการ
ทางคณิตศาสตร์
 (0) ไม่มีผลงานหรือรางวัลใด ๆ
2.5 สถานศึกษามีการส่งเสริม  (3) ปฏิบัติครบ 5 ข้อ พิจารณาจาก
พัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้  (2) ปฏิบัติได้ 4 ข้อ ร่องรอย
เพื่อพัฒนาทักษะและ  (1) ปฏิบัติได้ 1-3 ข้อ หลักฐาน
กระบวนการทางคณิตศาสตร์
(3 คะแนน)
๒๔

2.5.1 การอบรมและหรือ
สัมมนา
2.5.2 การศึกษาดูงาน
2.5.3 การสร้างชุมชน
แห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)
2.5.4 การประกวด
นวัตกรรมและหรืองานวิจัย
2.5.5 การยกย่อง
เชิดชูเกียรติ
ความสาเร็จ 3.1 ครูมผี ลงานหรือรางวัล  (5) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก
3. ด้านกระบวนการ ในการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนา  (4) ระดับประเทศ ร่องรอย
จัดการเรียนรู้ ทักษะและกระบวนการ  (3) ระดับเขตตรวจราชการ/ หลักฐาน
(10 คะแนน) ทางคณิตศาสตร์ ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
(5 คะแนน)  (2) ระดับเขตพื้นที่/จังหวัด ระดับเดียว
 (1) ระดับชุมชน
3.2 ครูเป็นวิทยากร หรือ  (5) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก
คณะทางาน หรือมีผลงานการ  (4) ระดับประเทศ ร่องรอย
วิจัย หรือผลงานอื่น ๆ ที่  (3) ระดับเขตตรวจราชการ/ หลักฐาน
เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้เพื่อ ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
พัฒนาทักษะและกระบวนการ  (2) ระดับเขตพื้นที่/จังหวัด ระดับเดียว
ทางคณิตศาสตร์ (5 คะแนน)  (1) ระดับชุมชน
2. การยอมรับ พิจารณาผลงานความโดดเด่น  (25) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก
(25 คะแนน) ของสถานศึกษาในด้านทักษะ  (20) ระดับประเทศ ร่องรอย
และกระบวนการทางคณิตศาสตร์  (15) ระดับเขตตรวจราชการ/ หลักฐาน
ภายใน 3 ปีการศึกษาย้อนหลัง ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
นับจากปีการศึกษาที่เสนอ  (10) ระดับเขตพื้นที่/จังหวัด ระดับเดียว
ขอรับการรับรอง  (5) ระดับชุมชน
3. ความยั่งยืน มีการดาเนินการส่งเสริม  (25) มากกว่า 5 ปีการศึกษา พิจารณาจาก
(25 คะแนน) สนับสนุน ขับเคลื่อน ขึ้นไป ร่องรอย
โครงการ/กิจกรรม  (20) 5 ปีการศึกษา หลักฐาน
จนบรรลุผลตามเป้าหมาย  (15) 4 ปีการศึกษา
ที่ตรงกับความโดดเด่นของ  (10) 3 ปีการศึกษา
สถานศึกษาในด้านทักษะและ  (5) ต่ากว่า 3 ปีการศึกษา
กระบวนการทางคณิตศาสตร์
อย่างต่อเนื่อง
๒๕

หมายเหตุ 1. แนบร่องรอยหลักฐานในแต่ละตัวบ่งชี้เป็นไฟล์สกุล .jpg หรือ .pdf จานวน 1ไฟล์


ไม่เกิน 5 หน้า และขนาดไม่เกิน 5 MB
2. สถานศึกษาสามารถยื่นขอรับการรับรองได้มากกว่า 1 ด้าน ในกรณีเป็นผลงานหรือ
รางวัลเดียวกัน สามารถเสนอเพื่อขอรับการรับรองในด้านใดด้านหนึ่งเท่านั้น

สรุปคะแนนด้านความสาเร็จ ด้านการยอมรับ ด้านความยั่งยืน


ประเด็นการพิจารณา คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
1. ด้านความสาเร็จ 50
2. ด้านการยอมรับ 25
3. ด้านความยั่งยืน 25
รวมคะแนน 100
คิดเป็นร้อยละ

หมายเหตุ
ระดับ 3 ดาว ต้องมีคะแนนรวม ตั้งแต่ร้อยละ 80 ขึ้นไป จะได้รับเกียรติบัตรและเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง
สพฐ. (OBEC Special)” จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ระดับ 2 ดาว ต้องมีคะแนนรวม ร้อยละ 70-79 จะได้รับเกียรติบัตร “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC
Special)” จากประธานคณะกรรมการกลุ่มจังหวัดที่ได้รับมอบหมาย
ระดับ 1 ดาว ต้องมีคะแนนรวม ร้ อยละ 60-69 จะได้รับ เกียรติบัตร “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC
Special)” จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา

สรุปผลการประเมินเพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)”


 ไม่ผ่าน
 ผ่าน  ระดับ 1 ดาว  ระดับ 2 ดาว  ระดับ 3 ดาว
ลงชื่อ ผู้ให้ข้อมูล ลงชื่อ ผู้รับรอง
( ) ( )
ตาแหน่ง.................................................... ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียน/รักษาการ
เบอร์โทรศัพท์........................................ เบอร์โทรศัพท์........................................
๒๖
แบบ สบม.01/02
แบบค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา
เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)”
ด้านภาษา
สาขา ....................................
………………………………………………………………
ค าชี้แจง ให้ ส ถานศึกษาค้น หาความโดดเด่นของสถานศึกษา ด้านภาษา โดยพิจารณาจากองค์ประกอบ
ด้านความส าเร็ จ ด้านการยอมรั บ และด้านความยั่งยืน เพื่อ เป็นการยืนยันความโดดเด่นของสถานศึ กษา
เชิงประจักษ์อย่างแท้จริง
ส่วนที่ 1 ข้อมูลสถานศึกษา
1.1 ชื่อสถานศึกษา
1.2 สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
1.3 จังหวัดที่ตั้งสถานศึกษา
ส่วนที่ 2 การค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา เพื่อรั บเครื่ องหมาย “สถานศึกษาคุณภาพพิเ ศษแห่ง
สพฐ.” (OBEC Special)” ด้านภาษา
คาชี้แจง ใส่เครื่องหมาย ตามระดับคะแนนในแบบค้นหาความโดดเด่น ของสถานศึกษาด้านภาษา ให้ตรง
ตามความเป็นจริง
2.1 องค์ประกอบการพิจารณา
ที่ ประเด็นการ ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การให้คะแนน หมายเหตุ
พิจารณา
1. ความสาเร็จ 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน  (10) ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ พิจารณาจาก
1. ด้านคุณภาพ ตามหลักสูตรสถานศึกษา ทางการเรียนตามรายวิชาพื้นฐาน ร่องรอย
ผู้เรียน รายวิชาพื้นฐานหรือรายวิชา หรือรายวิชาเพิ่มเติมด้านภาษา หลักฐาน
(23 คะแนน) เพิ่มเติมด้านภาษา ในสาขา ในสาขาที่ขอรับการรับรอง
ที่ขอรับการรับรอง แต่ละปีการศึกษา
ในระดับชั้นมัธยมศึกษา ไม่ต่ากว่า 3.00
ทุกระดับชั้น  (8) ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์
3 ปีการศึกษาย้อนหลัง ทางการเรียนตามรายวิชาพื้นฐาน
(10 คะแนน) หรือรายวิชาเพิ่มเติมด้านภาษา
ในสาขาที่ขอรับการรับรอง
แต่ละปีการศึกษา
ไม่ต่ากว่า 2.75
 (6) ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนตามรายวิชาพื้นฐาน
หรือรายวิชาเพิ่มเติมด้านภาษา
ในสาขาที่ขอรับการรับรอง
แต่ละปีการศึกษา
ไม่ต่ากว่า 2.50
๒๗

 (4) ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนตามรายวิชาพื้นฐาน
หรือรายวิชาเพิ่มเติมด้านภาษา
ในสาขาที่ขอรับการรับรอง
แต่ละปีการศึกษาไม่ต่ากว่า 2.25
 (2) ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนตามรายวิชาพื้นฐาน
หรือรายวิชาเพิ่มเติมด้านภาษา
ในสาขาที่ขอรับการรับรอง
แต่ละปีการศึกษาไม่ต่ากว่า 2.00
1.2 ผู้เรียนมีผลงานหรือ  (10) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก
รางวัลที่แสดงถึง  (9) ระดับประเทศ ร่องรอย
ความสามารถทางด้านภาษา  (8) ระดับเขตตรวจราชการ/ หลักฐาน
ในสาขาที่ขอรับการรับรอง ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
3 ปีการศึกษาย้อนหลัง  (7) ระดับเขตพื้นที่/จังหวัด ระดับเดียว
(10 คะแนน)  (6) ระดับชุมชน
1.3 จานวนผู้เรียนที่เข้าร่วม  (3) จานวนผู้เรียนที่เข้าร่วม พิจารณาจาก
กิจกรรมเสริมหลักสูตรที่เน้น กิจกรรม ร้อยละ 91 ขึ้นไป ร่องรอย
ด้านภาษา ในสาขาที่ขอรับ ของผู้เรียนทั้งหมด หลักฐาน
การรับรอง เช่น การเข้าค่าย,  (2) จานวนผู้เรียนที่เข้าร่วม
ทัศนศึกษา, การศึกษาดูงาน, กิจกรรม ร้อยละ 81 – 90
การนานักเรียนไปแลกเปลี่ยน ของผู้เรียนทั้งหมด
เรียนรู้นอกสถานที่,  (1) จานวนผู้เรียนที่เข้าร่วม
อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง กิจกรรม ร้อยละ 60 - 80
(3 คะแนน) ของผู้เรียนทั้งหมด
ความสาเร็จ 2.1 สถานศึกษามีแผนพัฒนา  (3) สถานศึกษามีแผนพัฒนา พิจารณาจาก
2. ด้านกระบวนการ การจัดการศึกษาและ การจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติการ ร่องรอย
บริหารและ แผนปฏิบัติการประจาปี ประจาปีโดยมีโครงการ/กิจกรรมที่ให้ หลักฐาน
การจัดการ โดยมีโครงการ/กิจกรรม ความสาคัญกับการส่งเสริม สนับสนุน
(17 คะแนน) ที่ให้ความสาคัญกับ การพัฒนาคุณภาพที่เกี่ยวกับภาษา
การส่งเสริม สนับสนุนการ ในสาขาที่ขอรับการรับรองและบรรลุตาม
พัฒนาคุณภาพที่เกี่ยวกับภาษา ค่าเป้าหมายของสถานศึกษา3ปีการศึกษา
ในสาขาที่ขอรับการรับรอง  (2) สถานศึกษามีแผนพัฒนาการจัด
3 ปีการศึกษาย้อนหลัง การศึกษาและแผนปฏิบัติการประจาปีที่
(3 คะแนน) ให้ความสาคัญกับการส่งเสริม สนับสนุน
การพัฒนาคุณภาพที่เกี่ยวกับภาษา
ในสาขาที่ขอรับการรับรองและบรรลุตาม
ค่าเป้าหมายของสถานศึกษา 2 ปีการศึกษา
๒๘

 (1) สถานศึกษามีแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติ
การประจาปีที่ให้ความสาคัญกับ
การส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนา
คุณภาพที่เกี่ยวกับภาษาในสาขา
ที่ขอรับการรับรองและบรรลุตาม
ค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
1 ปีการศึกษา
 (0) สถานศึกษามีแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติ
การประจาปีที่ให้ความสาคัญกับ
การส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนา
คุณภาพที่เกี่ยวข้องกับภาษา
ในสาขาที่ขอรับการรับรอง
แต่ไม่บรรลุตามค่าเป้าหมายของ
สถานศึกษา
2.2 หลักสูตรสถานศึกษา  (3) ปฏิบัติครบ 4 ข้อ พิจารณาจาก
(3 คะแนน)  (2) ปฏิบัติได้ 3 ข้อ ร่องรอย
2.2.1 มีหลักสูตรรายวิชา  (1) ปฏิบัติได้ 1-2 ข้อ หลักฐาน
เพิ่มเติมที่เน้นทักษะทางภาษา
ในสาขาที่ขอรับการรับรอง
สาหรับห้องเรียนพิเศษ
ทางด้านภาษาในสาขาที่ขอรับ
การรับรอง หรือมีหลักสูตร
ห้องเรียนพิเศษทางด้านภาษา
หรือหลักสูตรอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.2 มีกิจกรรมเสริม
หลักสูตรที่เน้นทักษะ
ทางภาษาในสาขาที่ขอรับ
การรับรอง เช่น การเข้าค่าย,
ทัศนศึกษา, การศึกษาดูงาน,
การนาผู้เรียนไปแลกเปลี่ยน
เรียนรู้นอกสถานที่, อื่น ๆ
ที่เกี่ยวข้อง
2.2.3 มีกิจกรรมพัฒนา
ผู้เรียน ชุมนุม ชมรมที่เน้น
ทักษะทางภาษาในสาขา
ที่ขอรับการรับรอง
๒๙

2.2.4 มีการส่งเสริม
สนับสนุนให้นักเรียนเข้ารับ
การทดสอบทักษะทางภาษา
ตามมาตรฐานของภาษาในสาขา
ทีข่ อรับการรับรอง
2.3 สถานศึกษามีการสร้าง  (3) ปฏิบัติครบ 3 ข้อ พิจารณาจาก
เครือข่ายความร่วมมือ  (2) ปฏิบัติได้ 2 ข้อ ร่องรอย
ด้านภาษา ในสาขาที่ขอรับ  (1) ปฏิบัติได้ 1 ข้อ หลักฐาน
การรับรอง
(3 คะแนน)
2.3.1 มีการทาบันทึก
ข้อตกลงเข้าร่วมกิจกรรม
ด้านภาษาร่วมกับ
สถาบันการศึกษา หน่วยงาน
องค์กรต่างประเทศ
2.3.2 มีการทาบันทึก
ข้อตกลงด้านภาษาในสาขาที่
ขอรับการรับรอง ร่วมกับ
สถาบันการศึกษา หน่วยงาน
องค์กรในประเทศ
2.3.3 มีการเข้าร่วม
โครงการที่เน้นภาษาในสาขาที่
ขอรับการรับรอง เช่นโครงการ
ห้องเรียนพิเศษหรืออื่น ๆ
ที่เกี่ยวข้องกับสาขาที่ขอรับ
การรับรอง
2.4 ผู้บริหารสถานศึกษา  (5) มี เป็นผลงานหรือรางวัล พิจารณาจาก
มีผลงานหรือรางวัล ที่เกี่ยวกับการส่งเสริมด้านภาษา ร่องรอย
(5 คะแนน) ในสาขาที่ขอรับการรับรอง หลักฐาน
 (3) มี เป็นรางวัลที่เกี่ยวข้องกับ
วิชาการ เช่น OBEC Award
ด้านวิชาการ หรือร่วมสัมมนาทาง
วิชาการ
 (1) มี แต่ไม่ใช่ผลงานหรือ
รางวัลที่เกี่ยวกับการส่งเสริมด้าน
ภาษาในสาขาที่ขอรับการรับรอง
 (0) ไม่มีผลงานหรือรางวัลใด ๆ
๓๐

2.5 สถานศึกษามีการส่งเสริม  (3) ปฏิบัติได้ 5 ข้อขึ้นไป พิจารณาจาก


พัฒนาครูทางด้านภาษา  (2) ปฏิบัติได้ 3-4 ข้อ ร่องรอย
ในสาขาที่ขอรับการรับรอง  (1) ปฏิบัติได้ 1-2 ข้อ หลักฐาน
(3 คะแนน)
2.5.1 การอบรมและ
หรือสัมมนา
2.5.2 การทดสอบทักษะ
ภาษาตามมาตรฐาน
2.5.3 การศึกษาดูงาน
2.5.4 การสร้างชุมชน
แห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
(PLC)
2.5.5 การประกวด
นวัตกรรมและหรืองานวิจัย
2.5.6 การยกย่อง
เชิดชูเกียรติ
ความสาเร็จ 3.1 ครูมีผลงานหรือรางวัล  (5) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก
3. ด้านกระบวนการ ที่เกี่ยวกับภาษา ในสาขาที่  (4) ระดับประเทศ ร่องรอย
จัดการเรียนรู้ ขอรับการรับรอง (5 คะแนน)  (3) ระดับเขตตรวจราชการ/ หลักฐาน
(10 คะแนน) ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
 (2) ระดับเขตพื้นที่/จังหวัด ระดับเดียว
 (1) ระดับชุมชน

3.2 ครูเป็นวิทยากร หรือ  (5) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก


คณะทางาน หรือมีผลงาน  (4) ระดับประเทศ ร่องรอย
การวิจัย หรือผลงานอื่น ๆ  (3) ระดับเขตตรวจราชการ/ หลักฐาน
ที่เกี่ยวข้องกับภาษา ในสาขา ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
ที่ขอรับการรับรอง  (2) ระดับเขตพื้นที่/จังหวัด ระดับเดียว
(5 คะแนน)  (1) ระดับชุมชน

2. การยอมรับ พิจารณาผลงานความโดดเด่น  (25) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก


(25 คะแนน) ของสถานศึกษาในด้านภาษา  (20) ระดับประเทศ ร่องรอย
ในสาขาที่ขอรับการรับรอง  (15) ระดับเขตตรวจราชการ/ หลักฐาน
ภายใน 3 ปีการศึกษาย้อนหลัง ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
นับจากปีการศึกษาที่เสนอ  (10) ระดับเขตพื้นที่/จังหวัด ระดับเดียว
ขอรับการรับรอง  (5) ระดับชุมชน
๓๑

3. ความยั่งยืน มีการดาเนินการส่งเสริม  (25) มากกว่า 5 ปีการศึกษาขึ้นไป พิจารณาจาก


(25 คะแนน) สนับสนุน ขับเคลื่อน  (20) 5 ปีการศึกษา ร่องรอย
โครงการ/กิจกรรม  (15) 4 ปีการศึกษา หลักฐาน
จนบรรลุผลตามเป้าหมาย  (10) 3 ปีการศึกษา
ที่ตรงกับความโดดเด่นของ  (5) ต่ากว่า 3 ปีการศึกษา
สถานศึกษาในด้านภาษา
ในสาขาที่ขอรับการรับรอง
อย่างต่อเนื่อง
หมายเหตุ 1. แนบร่องรอยหลักฐานในแต่ละตัวบ่งชี้เป็นไฟล์สกุล .jpg หรือ .pdf จานวน 1ไฟล์
ไม่เกิน 5 หน้า และขนาดไม่เกิน 5 MB
2. สถานศึกษาสามารถยื่นขอรับการรับรองได้มากกว่า 1 ด้าน ในกรณีเป็นผลงานหรือ
รางวัลเดียวกัน สามารถเสนอเพื่อขอรับการรับรองในด้านใดด้านหนึ่งเท่านั้น

สรุปคะแนนด้านความสาเร็จ ด้านการยอมรับ ด้านความยั่งยืน


ประเด็นการพิจารณา คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
1. ด้านความสาเร็จ 50
2. ด้านการยอมรับ 25
3. ด้านความยั่งยืน 25
รวมคะแนน 100
คิดเป็นร้อยละ
หมายเหตุ
ระดับ 3 ดาว ต้องมีคะแนนรวม ตั้งแต่ร้อยละ 80 ขึ้นไป จะได้รับเกียรติบัตรและเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง
สพฐ. (OBEC Special)” จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ระดับ 2 ดาว ต้องมีคะแนนรวม ร้อยละ 70-79 จะได้รับเกียรติบัตร “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC
Special)” จากประธานคณะกรรมการกลุ่มจังหวัดที่ได้รับมอบหมาย
ระดับ 1 ดาว ต้องมีคะแนนรวม ร้ อยละ 60-69 จะได้รับ เกียรติบัตร “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC
Special)” จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา

สรุปผลการประเมินเพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)”


 ไม่ผ่าน
 ผ่าน  ระดับ 1 ดาว  ระดับ 2 ดาว  ระดับ 3 ดาว
ลงชื่อ ผู้ให้ข้อมูล ลงชื่อ ผู้รับรอง
( ) ( )
ตาแหน่ง.................................................... ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียน/รักษาการ
เบอร์โทรศัพท์........................................ เบอร์โทรศัพท์........................................
๓๒
แบบ สบม.01/03
แบบค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา
เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)”
ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สาขา.....................................
………………………………………………………………
คาชี้แจง ให้สถานศึกษาค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยพิจารณา
จากองค์ประกอบด้านความสาเร็จ ด้านการยอมรับ และด้านความยั่งยืน เพื่อ เป็นการยืนยันความโดดเด่นของ
สถานศึกษาเชิงประจักษ์อย่างแท้จริง
ส่วนที่ 1 ข้อมูลสถานศึกษา
1.1 ชื่อสถานศึกษา
1.2 สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
1.3 จังหวัดที่ตั้งสถานศึกษา
ส่วนที่ 2 การค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา เพื่ อรั บเครื่ องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC
Special)” ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คาชี้แจง ใส่เครื่องหมาย ตามระดับคะแนนในแบบค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษาด้านวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี ให้ตรงตามความเป็นจริง
2.1 องค์ประกอบการพิจารณา
ที่ ประเด็นการ ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การให้คะแนน หมายเหตุ
พิจารณา
1. ความสาเร็จ 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน  (10) ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ พิจารณาจาก
1. ด้านคุณภาพ ตามหลักสูตรสถานศึกษา ทางการเรียนตามหลักสูตร ร่องรอย
ผู้เรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ สถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ หลักฐาน
(23 คะแนน) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ทั้งรายวิชาพื้นฐานและรายวิชา แต่ละปีการศึกษาไม่ต่ากว่า 3.00
เพิ่มเติมในสาขาที่ขอรับ  (8) ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์
การรับรอง ในระดับชั้น ทางการเรียนตามหลักสูตร
มัธยมศึกษาทุกระดับชั้น สถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้
3 ปีการศึกษาย้อนหลัง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
(10 คะแนน) แต่ละปีการศึกษาไม่ต่ากว่า 2.75
 (6) ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนตามหลักสูตร
สถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แต่ละปีการศึกษาไม่ต่ากว่า 2.50
๓๓

 (4) ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนตามหลักสูตร
สถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แต่ละปีการศึกษาไม่ต่ากว่า 2.25
 (2) ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนตามหลักสูตร
สถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แต่ละปีการศึกษาไม่ต่ากว่า 2.00
1.2 ผู้เรียนมีผลงานหรือรางวัล  (10) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก
ที่แสดงถึงความสามารถ  (9) ระดับประเทศ ร่องรอย
ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  (8) ระดับเขตตรวจราชการ/ หลักฐาน
สาขาที่ขอรับการรับรอง ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
(10 คะแนน)  (7) ระดับเขตพื้นที่/จังหวัด ระดับเดียว
 (6) ระดับชุมชน
1.3 จานวนผู้เรียนที่เข้าร่วม  (3) จานวนผู้เรียนที่เข้าร่วม พิจารณาจาก
กิจกรรมเสริมหลักสูตรที่เน้น กิจกรรม ร้อยละ 91 ขึ้นไป ของ ร่องรอย
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เช่น ผู้เรียนทั้งหมด หลักฐาน
การเข้าค่าย, ทัศนศึกษา,  (2) จานวนผู้เรียนที่เข้าร่วม
การศึกษาดูงาน, การนานักเรียน กิจกรรม ร้อยละ 81 – 90 ของ
ไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้นอกสถานที่, ผู้เรียนทั้งหมด
อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง (3 คะแนน)  (1) จานวนผู้เรียนที่เข้าร่วม
กิจกรรม ร้อยละ 60 - 80 ของ
ผู้เรียนทั้งหมด
ความสาเร็จ 2.1 สถานศึกษามีแผนพัฒนา  (3) สถานศึกษามีแผนพัฒนา พิจารณาจาก
2.ด้านกระบวนการ การจัดการศึกษาและ การจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติ ร่องรอย
บริหารและ แผนปฏิบัติการประจาปี การประจาปีโดยมีโครงการ/ หลักฐาน
การจัดการ โดยมีโครงการ/กิจกรรม กิจกรรมที่ให้ความสาคัญกับ
(17 คะแนน) ที่ให้ความสาคัญกับการส่งเสริม การส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนา
สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพ คุณภาพที่เกี่ยวกับด้าน
ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เทคโนโลยี สาขาที่ขอรับการรับรอง ในสาขาที่ขอรับการรับรอง
3 ปีการศึกษาย้อนหลัง และบรรลุตามค่าเป้าหมายของ
(3 คะแนน) สถานศึกษา 3 ปีการศึกษา
๓๔

 (2) สถานศึกษามีแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติ
การประจาปีโดยมีโครงการ/
กิจกรรมที่ให้ความสาคัญกับ
การส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนา
คุณภาพที่เกี่ยวกับด้าน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ในสาขาที่ขอรับการรับรองและ
บรรลุตามค่าเป้าหมายของ
สถานศึกษา 2 ปีการศึกษา
 (1) สถานศึกษามีแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติ
การประจาปีโดยมีโครงการ/
กิจกรรมที่ให้ความสาคัญกับ
การส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนา
คุณภาพที่เกี่ยวกับด้าน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ในสาขาที่ขอรับการรับรองและ
บรรลุตามค่าเป้าหมายของ
สถานศึกษา 1 ปีการศึกษา
 (0) สถานศึกษามีแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติ
การประจาปีโดยมีโครงการ/
กิจกรรมที่ให้ความสาคัญกับ
การส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนา
คุณภาพที่เกี่ยวกับด้าน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ในสาขาที่ขอรับการรับรอง
แต่ไม่บรรลุตามค่าเป้าหมาย
ของสถานศึกษา
๓๕

2.2 หลักสูตรสถานศึกษา  (3) ปฏิบัติครบ 3 ข้อ พิจารณาจาก


(3 คะแนน)  (2) ปฏิบัติได้ 2 ข้อ ร่องรอย
2.2.1 มีกิจกรรมเสริม  (1) ปฏิบัติได้ 1 ข้อ หลักฐาน
หลักสูตรที่เน้นวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ในสาขาที่ขอรับการรับรอง
เช่น การเข้าค่าย, ทัศนศึกษา,
การศึกษาดูงาน, การนานักเรียน
ไปปฏิบัติการทดลองนอกสถานที,่
อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.2 มีหลักสูตรรายวิชา
เพิ่มเติมที่เน้นวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ในสาขาที่ขอรับการ
รับรอง หรือมีห้องเรียนพิเศษ
ทางด้านวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี หรือหลักสูตรอื่น ๆ
ที่เกี่ยวข้อง
2.2.3 มีกิจกรรมพัฒนา
ผู้เรียน ชุมนุม ชมรมที่เน้น
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ในสาขาที่ขอรับการรับรอง
2.3 สถานศึกษามีการสร้าง  (3) ปฏิบัติครบ 3 ข้อ พิจารณาจาก
เครือข่ายความร่วมมือด้าน  (2) ปฏิบัติได้ 2 ข้อ ร่องรอย
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  (1) ปฏิบัติได้ 1 ข้อ หลักฐาน
ในสาขาที่ขอรับการรับรอง
(3 คะแนน)
2.3.1 มีการเข้าร่วม
กิจกรรมด้านวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ในสาขาที่ขอรับ
การรับรองกับสถาบันการศึกษา
หน่วยงาน องค์กรในประเทศ
หรือมีการทัศนศึกษา
หรือมีการศึกษาแหล่งเรียนรู้
2.3.2 มีการทาบันทึก
ข้อตกลงหรือการเข้าร่วม
กิจกรรมด้านวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ในสาขาที่ขอรับ
การรับรองร่วมกับสถาบัน การศึกษา
หน่วยงานอื่น
๓๖

2.3.3 มีการเข้าร่วม
โครงการที่เน้นทักษะและ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี ในสาขาที่ขอรับ
การรับรอง เช่น โรงเรียน
คุณภาพ SMT/SMTE,
ห้องเรียน พสวท., ห้องเรียน
คู่ขนาน, วิทยาศาสตร์พลังสิบ
และ อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.4 ผู้บริหารสถานศึกษา  (5) มี เป็นผลงานหรือรางวัล พิจารณาจาก
มีผลงานหรือรางวัล ที่เกีย่ วกับการส่งเสริมด้าน ร่องรอย
(5 คะแนน) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หลักฐาน
ในสาขาที่ขอรับการรับรอง
 (3) มี เป็นรางวัลที่เกี่ยวข้อง
กับวิชาการ เช่น OBEC Award
ด้านวิชาการ หรือร่วมสัมมนา
ทางวิชาการ
 (1) มี แต่ไม่ใช่ผลงานหรือ
รางวัลที่เกี่ยวกับการส่งเสริมด้าน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 (0) ไม่มีผลงานหรือรางวัลใด ๆ
2.5 สถานศึกษามีการส่งเสริม  (3) ปฏิบัติครบ 5 ข้อ พิจารณาจาก
พัฒนาครูทางด้านวิทยาศาสตร์  (2) ปฏิบัติได้ 4 ข้อ ร่องรอย
และเทคโนโลยี สาขาที่ขอรับ  (1) ปฏิบัติได้ 1-3 ข้อ หลักฐาน
การรับรอง (3 คะแนน)
2.5.1 การอบรมและหรือ
สัมมนา
2.5.2 การศึกษาดูงาน
2.5.3 การสร้างชุมชนแห่ง
การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)
2.5.4 การประกวด
นวัตกรรมและหรืองานวิจัย
2.5.5 การยกย่อง
เชิดชูเกียรติ
๓๗

ความสาเร็จ 3.1 ครูมีผลงานหรือรางวัล  (5) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก


3.ด้านกระบวนการ ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และ  (4) ระดับประเทศ ร่องรอย
จัดการเรียนรู้ เทคโนโลยี ในสาขาที่ขอรับ  (3) ระดับเขตตรวจราชการ/ หลักฐาน
(10 คะแนน) การรับรอง ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
(5 คะแนน)  (2) ระดับเขตพื้นที่/จังหวัด ระดับเดียว
 (1) ระดับชุมชน
3.2 ครูเป็นวิทยากร หรือ  (5) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก
คณะทางาน หรือมีผลงาน  (4) ระดับประเทศ ร่องรอย
การวิจัย หรือผลงานอื่น ๆ  (3) ระดับเขตตรวจราชการ/ หลักฐาน
ที่เกี่ยวข้องกับด้านวิทยาศาสตร์ ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
และเทคโนโลยี ในสาขาที่ขอรับ  (2) ระดับเขตพื้นที่/จังหวัด ระดับเดียว
การรับรอง (5 คะแนน)  (1) ระดับชุมชน
2. การยอมรับ พิจารณาผลงานความโดดเด่น  (25) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก
(25 คะแนน) ของสถานศึกษาในด้าน  (20) ระดับประเทศ ร่องรอย
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  (15) ระดับเขตตรวจ หลักฐาน
ในสาขาที่ขอรับการรับรอง ราชการ/ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
ภายใน 3 ปีการศึกษาย้อนหลัง  (10) ระดับเขตพื้นที่/จังหวัด ระดับเดียว
นับจากปีการศึกษาที่เสนอขอรับ  (5) ระดับชุมชน
การรับรอง
3. ความยั่งยืน มีการดาเนินการส่งเสริม  (25) มากกว่า 5 ปีการศึกษา พิจารณาจาก
(25 คะแนน) สนับสนุน ขับเคลื่อนโครงการ/ ขึ้นไป ร่องรอย
กิจกรรม จนบรรลุผลตาม  (20) 5 ปีการศึกษา หลักฐาน
เป้าหมายที่ตรงกับความโดดเด่น  (15) 4 ปีการศึกษา
ของสถานศึกษาในด้าน  (10) 3 ปีการศึกษา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  (5) ต่ากว่า 3 ปีการศึกษา
ในสาขาที่ขอรับการรับรอง
อย่างต่อเนื่อง
หมายเหตุ 1. แนบร่องรอยหลักฐานในแต่ละตัวบ่งชี้เป็นไฟล์สกุล .jpg หรือ .pdf จานวน 1 ไฟล์
ไม่เกิน 5 หน้า และขนาดไม่เกิน 5 MB
2. สถานศึกษาสามารถยื่นขอรับการรับรองได้มากกว่า 1 ด้าน ในกรณีเป็นผลงานหรือ
รางวัลเดียวกัน สามารถเสนอเพื่อขอรับการรับรองในด้านใดด้านหนึ่งเท่านั้น
สรุปคะแนนด้านความสาเร็จ ด้านการยอมรับ ด้านความยั่งยืน
ประเด็นการพิจารณา คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
1. ด้านความสาเร็จ 50
2. ด้านการยอมรับ 25
3. ด้านความยั่งยืน 25
รวมคะแนน 100
คิดเป็นร้อยละ
๓๘

หมายเหตุ
ระดับ 3 ดาว ต้องมีคะแนนรวม ตั้งแต่ร้อยละ 80 ขึ้นไป จะได้รับเกียรติบัตรและเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง
สพฐ. (OBEC Special)” จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ระดับ 2 ดาว ต้องมีคะแนนรวม ร้อยละ 70-79 จะได้รับเกียรติบัตร “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC
Special)” จากประธานคณะกรรมการกลุ่มจังหวัดที่ได้รับมอบหมาย
ระดับ 1 ดาว ต้องมีคะแนนรวม ร้ อยละ 60-69 จะได้รับ เกียรติบัตร “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC
Special)” จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา

สรุปผลการประเมินเพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)”


 ไม่ผ่าน
 ผ่าน  ระดับ 1 ดาว  ระดับ 2 ดาว  ระดับ 3 ดาว
ลงชื่อ ผู้ให้ข้อมูล ลงชื่อ ผู้รับรอง
( ) ( )
ตาแหน่ง.................................................... ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียน/รักษาการ
เบอร์โทรศัพท์........................................ เบอร์โทรศัพท์........................................
๓๙
แบบ สบม.01/04
แบบค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา
เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)”
ด้านสังคมศาสตร์
สาขา........................................................
………………………………………………………………
คาชี้แจง ให้สถานศึกษาค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา ด้านสังคมศาสตร์ โดยพิจารณาจากองค์ประกอบ
ด้านความส าเร็ จ ด้านการยอมรั บ และด้านความยั่งยืน เพื่อ เป็นการยืนยันความโดดเด่นของสถานศึ กษา
เชิงประจักษ์อย่างแท้จริง
ส่วนที่ 1 ข้อมูลสถานศึกษา
1.1 ชื่อสถานศึกษา
1.2 สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
1.3 จังหวัดที่ตั้งสถานศึกษา
ส่วนที่ 2 การค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา เพื่อรับเครื่องหมาย “สถานศึกษาเครื่องหมายคุณภาพพิเศษ
แห่ง สพฐ.(OBEC Special)” ด้านสังคมศาสตร์
คาชี้แจง ใส่เครื่องหมาย ตามระดับคะแนนในแบบค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษาด้านสังคมศาสตร์
ให้ตรงตามความเป็นจริง
2.1 องค์ประกอบการพิจารณา
ที่ ประเด็นการ ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การให้คะแนน หมายเหตุ
พิจารณา
1. ความสาเร็จ 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน  (10) ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ พิจารณาจาก
1. ด้านคุณภาพ รายวิชาพื้นฐานหรือรายวิชา ทางการเรียนตามหลักสูตร ร่องรอย
ผู้เรียน เพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้ สถานศึกษา กลุ่มสาระ หลักฐาน
(23 คะแนน) สังคมศึกษา ศาสนา และ การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา
วัฒนธรรม ในระดับชั้น และวัฒนธรรม แต่ละปีการศึกษา
มัธยมศึกษาทุกระดับชั้น ไม่ต่ากว่า 3.00
3 ปีการศึกษาย้อนหลัง  (8) ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์
(10 คะแนน) ทางการเรียนตามหลักสูตร
สถานศึกษา กลุ่มสาระ
การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
แต่ละปีการศึกษา
ไม่ต่ากว่า 2.75
 (6) ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนตามหลักสูตร
สถานศึกษา กลุ่มสาระ
การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม แต่ละปีการศึกษา
ไม่ต่ากว่า 2.50
๔๐

 (4) ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนตามหลักสูตร
สถานศึกษา กลุ่มสาระ
การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม แต่ละปีการศึกษา
ไม่ต่ากว่า 2.25
 (2) ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนตามหลักสูตร
สถานศึกษา กลุ่มสาระ
การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม แต่ละปีการศึกษา
ไม่ต่ากว่า 2.00
1.2 ผู้เรียนมีผลงานหรือรางวัล  (10) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก
ที่แสดงถึงความสามารถ  (9) ระดับประเทศ ร่องรอย
ทางด้านสังคมศาสตร์  (8) ระดับเขตตรวจราชการ/ หลักฐาน
ในสาขาที่ขอรับการรับรอง ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
3 ปีการศึกษาย้อนหลัง  (7) ระดับเขตพื้นที่/จังหวัด ระดับเดียว
(10 คะแนน)  (6) ระดับชุมชน
1.3 จานวนผู้เรียนที่เข้าร่วม  (3) จานวนผู้เรียนที่เข้าร่วม พิจารณาจาก
กิจกรรมเสริมหลักสูตรที่เน้น กิจกรรม ร้อยละ 91 ขึ้นไป ของ ร่องรอย
ด้านสังคมศาสตร์ ในสาขา ผู้เรียนทั้งหมด หลักฐาน
ทีข่ อรับการรับรอง เช่น การเข้าค่าย,  (2) จานวนผู้เรียนที่เข้าร่วม
ทัศนศึกษา, การศึกษาดูงาน, กิจกรรม ร้อยละ 81 – 90 ของ
การนานักเรียนไปแลกเปลี่ยน ผู้เรียนทั้งหมด
เรียนรู้นอกสถานที่, อื่น ๆ  (1) จานวนผู้เรียนที่เข้าร่วม
ที่เกี่ยวข้อง (3 คะแนน) กิจกรรม ร้อยละ 60 - 80 ของ
ผู้เรียนทั้งหมด
ความสาเร็จ 2.1 สถานศึกษามีแผนพัฒนา  (3) สถานศึกษามีแผนพัฒนา พิจารณาจาก
2.ด้านกระบวนการ การจัดการศึกษาและ การจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติการ ร่องรอย
บริหารและ แผนปฏิบัติการประจาปีโดยมี ประจาปี โดยมีโครงการ/กิจกรรม หลักฐาน
การจัดการ โครงการ/กิจกรรมที่ให้ ที่ให้ความสาคัญกับการส่งเสริม
(17 คะแนน) ความสาคัญกับการส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพ
สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพ ที่เกี่ยวกับด้านสังคมศาสตร์
ที่เกี่ยวกับด้านสังคมศาสตร์ ในสาขาที่ขอรับการรับรอง
ในสาขาที่ขอรับการรับรอง และบรรลุตามค่าเป้าหมายของ
3 ปีการศึกษาย้อนหลัง สถานศึกษา 3 ปีการศึกษา
(3 คะแนน)  (2) สถานศึกษามีแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติการ
๔๑

ประจาปี โดยมีโครงการ/กิจกรรม
ที่ให้ความสาคัญกับการส่งเสริม
สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพ
ที่เกี่ยวกับด้านสังคมศาสตร์
ในสาขาที่ขอรับการรับรองและ
บรรลุตามค่าเป้าหมายของ
สถานศึกษา 2 ปีการศึกษา
 (1) สถานศึกษามีแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติการ
ประจาปี โดยมีโครงการ/กิจกรรม
ที่ให้ความสาคัญกับการส่งเสริม
สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพ
ที่เกี่ยวกับด้านสังคมศาสตร์
ในสาขาที่ขอรับการรับรองและ
บรรลุตามค่าเป้าหมายของ
สถานศึกษา 1 ปีการศึกษา
 (0) สถานศึกษามีแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติการ
ประจาปี โดยมีโครงการ/กิจกรรม
ที่ให้ความสาคัญกับการส่งเสริม
สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพ
ที่เกี่ยวข้องกับด้านสังคมศาสตร์
ในสาขาที่ขอรับการรับรอง
แต่ไม่บรรลุตามค่าเป้าหมายของ
สถานศึกษา
2.2 หลักสูตรสถานศึกษา  (3) ปฏิบัติครบ 3 ข้อ พิจารณาจาก
(3 คะแนน)  (2) ปฏิบัติได้ 2 ข้อ ร่องรอย
2.2.1 มีกิจกรรมเสริม  (1) ปฏิบัติได้ 1 ข้อ หลักฐาน
หลักสูตรที่เน้นด้าน
สังคมศาสตร์ ในสาขาที่ขอรับ
การรับรอง เช่น การเข้าค่าย,
ทัศนศึกษา, การศึกษาดูงาน,
การนาผู้เรียนไปแลกเปลี่ยน
เรียนรู้นอกสถานที่, อื่น ๆ
ที่เกี่ยวข้อง
๔๒

2.2.2 มีหลักสูตรรายวิชา
เพิ่มเติมที่เน้นด้านสังคมศาสตร์
ในสาขาที่ขอรับการรับรองสาหรับ
ห้องเรียนพิเศษ หรือมีหลักสูตร
ห้องเรียนพิเศษทางด้านสังคมศาสตร์
ในสาขาที่ขอรับการรับรองหรือ
หลักสูตรอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.3 มีกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ชุมนุม ชมรมที่เน้นด้านสังคมศาสตร์
ในสาขาที่ขอรับการรับรอง
2.3 สถานศึกษามีการสร้าง  (3) ปฏิบัติครบ 3 ข้อ พิจารณาจาก
เครือข่ายความร่วมมือ  (2) ปฏิบัติได้ 2 ข้อ ร่องรอย
ด้านสังคมศาสตร์ ในสาขา  (1) ปฏิบัติได้ 1 ข้อ หลักฐาน
ที่ขอรับการรับรอง (3 คะแนน)
2.3.1 มีการเข้าร่วม
กิจกรรมด้านสังคมศาสตร์
ในสาขาที่ขอรับการรับรอง
กับสถาบันการศึกษา หน่วยงาน
องค์กรในประเทศหรือมีการทัศนศึกษา
ศึกษาแหล่งเรียนรู้
2.3.2 มีการทาบันทึก
ข้อตกลงด้านสังคมศาสตร์
ในสาขาที่ขอรับการรับรอง
ร่วมกับสถาบันการศึกษา
หน่วยงานอื่น
2.3.3 มีการเข้าร่วมโครงการที่
เน้นด้านสังคมศาสตร์ ในสาขา
ที่ขอรับการรับรอง หรือ อื่น ๆ
ที่เกี่ยวข้อง
2.4 ผู้บริหารสถานศึกษา  (5) มี เป็นผลงานหรือรางวัล พิจารณาจาก
มีผลงานหรือรางวัล ที่เกี่ยวกับการส่งเสริม ร่องรอย
(5 คะแนน) ด้านสังคมศาสตร์ หลักฐาน
ในสาขาที่ขอรับการรับรอง
 (3) มี เป็นรางวัลที่เกี่ยวข้อง
กับวิชาการ เช่น OBEC Award
ด้านวิชาการ หรือร่วมสัมมนา
ทางวิชาการ
๔๓

 (1) มี แต่ไม่ใช่ผลงานหรือ
รางวัลที่เกี่ยวกับ
ด้านสังคมศาสตร์
ในสาขาที่ขอรับการรับรอง
 (0) ไม่มีผลงานหรือรางวัลใด ๆ
2.5 สถานศึกษามีการส่งเสริม  (3) ปฏิบัติครบ 5 ข้อ พิจารณาจาก
พัฒนาครูทางด้านสังคมศาสตร์  (2) ปฏิบัติได้ 4 ข้อ ร่องรอย
ในสาขาที่ขอรับการรับรอง  (1) ปฏิบัติได้ 1-3 ข้อ หลักฐาน
(3 คะแนน)
2.5.1 การอบรมและหรือ
สัมมนา
2.5.2 การศึกษาดูงาน
2.5.3 การสร้างชุมชนแห่ง
การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)
2.5.4 การประกวด
นวัตกรรมและหรืองานวิจัย
2.5.5 การยกย่อง
เชิดชูเกียรติ
ความสาเร็จ 3.1 ครูมีผลงานหรือรางวัล  (5) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก
3.ด้านกระบวนการ ด้านสังคมศาสตร์ ในสาขา  (4) ระดับประเทศ ร่องรอย
จัดการเรียนรู้ ทีข่ อรับการรับรอง (5 คะแนน)  (3) ระดับเขตตรวจราชการ/ หลักฐาน
(10 คะแนน) ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
 (2) ระดับเขตพื้นที่/จังหวัด ระดับเดียว
 (1) ระดับชุมชน
3.2 ครูเป็นวิทยากร หรือ  (5) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก
คณะทางาน หรือมีผลงาน  (4) ระดับประเทศ ร่องรอย
การวิจัย หรือผลงานอื่น ๆ  (3) ระดับเขตตรวจราชการ/ หลักฐาน
ที่เกี่ยวกับการส่งเสริม ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
ด้านสังคมศาสตร์ ในสาขา  (2) ระดับเขตพื้นที่/จังหวัด ระดับเดียว
ที่ขอรับการรับรอง (5 คะแนน)  (1) ระดับชุมชน
2. การยอมรับ พิจารณาผลงานความโดดเด่น  (25) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก
(25 คะแนน) ของสถานศึกษาในด้าน  (20) ระดับประเทศ ร่องรอย
สังคมศาสตร์ ในสาขาที่  (15) ระดับเขตตรวจ หลักฐาน
ขอรับการรับรอง ภายใน ราชการ/ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
3 ปีการศึกษาย้อนหลังนับจาก  (10) ระดับเขตพื้นที่/ ระดับเดียว
ปีการศึกษาที่เสนอขอรับ จังหวัด
การรับรอง  (5) ระดับชุมชน
๔๔

3. ความยั่งยืน มีการดาเนินการส่งเสริม  (25) มากกว่า 5 ปีการศึกษา พิจารณาจาก


(25 คะแนน) สนับสนุน ขับเคลื่อนโครงการ/ ขึ้นไป ร่องรอย
กิจกรรม จนบรรลุผลตาม  (20) 5 ปีการศึกษา หลักฐาน
เป้าหมายที่ตรงกับความโดด  (15) 4 ปีการศึกษา
เด่นของสถานศึกษาในด้าน  (10) 3 ปีการศึกษา
สังคมศาสตร์อย่างต่อเนื่อง  (5) ต่ากว่า 3 ปีการศึกษา

หมายเหตุ 1. แนบร่องรอยหลักฐานในแต่ละตัวบ่งชี้เป็นไฟล์สกุล .jpg หรือ .pdf จานวน 1ไฟล์


ไม่เกิน 5 หน้า และขนาดไม่เกิน 5 MB
2. สถานศึกษาสามารถยื่นขอรับการรับรองได้มากกว่า 1 ด้าน ในกรณีเป็นผลงานหรือ
รางวัลเดียวกัน สามารถเสนอเพื่อขอรับการรับรองในด้านใดด้านหนึ่งเท่านั้น

สรุปคะแนนด้านความสาเร็จ ด้านการยอมรับ ด้านความยั่งยืน


ประเด็นการพิจารณา คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
1. ด้านความสาเร็จ 50
2. ด้านการยอมรับ 25
3. ด้านความยั่งยืน 25
รวมคะแนน 100
คิดเป็นร้อยละ

หมายเหตุ
ระดับ 3 ดาว ต้องมีคะแนนรวม ตั้งแต่ร้อยละ 80 ขึ้นไป จะได้รับเกียรติบัตรและเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง
สพฐ. (OBEC Special)” จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ระดับ 2 ดาว ต้องมีคะแนนรวม ร้อยละ 70-79 จะได้รับเกียรติบัตร “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC
Special)” จากประธานคณะกรรมการกลุ่มจังหวัดที่ได้รับมอบหมาย
ระดับ 1 ดาว ต้องมีคะแนนรวม ร้ อยละ 60-69 จะได้รับ เกียรติบัตร “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC
Special)” จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา

สรุปผลการประเมินเพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)”


 ไม่ผ่าน
 ผ่าน  ระดับ 1 ดาว  ระดับ 2 ดาว  ระดับ 3 ดาว
ลงชื่อ ผู้ให้ข้อมูล ลงชื่อ ผู้รับรอง
( ) ( )
ตาแหน่ง.................................................... ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียน/รักษาการ
เบอร์โทรศัพท์........................................ เบอร์โทรศัพท์........................................
๔๕
แบบ สบม.01/05
แบบค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา
เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)”
ด้านทักษะทางกีฬาและสุขภาวะของผู้เรียน
ประเภท......................................
………………………………………………………………
คาชี้แจง ให้สถานศึกษาค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา ด้านทักษะทางกีฬาและสุ ขภาวะของผู้ เรียน
โดยพิจารณาจากองค์ประกอบด้านความส าเร็จ ด้านการยอมรับ และด้านความยั่งยืน เพื่อ เป็นการยืนยัน
ความโดดเด่นของสถานศึกษาเชิงประจักษ์อย่างแท้จริง
ส่วนที่ 1 ข้อมูลสถานศึกษา
1.1 ชื่อสถานศึกษา
1.2 สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
1.3 จังหวัดที่ตั้งสถานศึกษา
ส่วนที่ 2 การค้นหาความโดดเด่ นของสถานศึกษา เพื่ อรั บเครื่ องหมาย “คุณภาพพิ เศษแห่ง สพฐ. (OBEC
Special)” ด้านทักษะทางกีฬาและสุขภาวะของผู้เรียน
คาชี้แจง ใส่เครื่องหมาย ตามระดับคะแนนในแบบค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษาด้านทักษะทางกีฬา
และสุขภาวะของผู้เรียน ให้ตรงตามความเป็นจริง
2.1 องค์ประกอบการพิจารณา
ที่ ประเด็นการ ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การให้คะแนน หมายเหตุ
พิจารณา
1. ความสาเร็จ 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน  (10) ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ พิจารณาจาก
1. ด้านคุณภาพ ตามหลักสูตรสถานศึกษา ทางการเรียนตามหลักสูตร ร่องรอย
ผู้เรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา สถานศึกษา กลุ่มสาระ หลักฐาน
(23 คะแนน) และพลศึกษา ทั้งรายวิชาพื้นฐาน การเรียนรู้สุขศึกษา และพลศึกษา
และรายวิชาเพิ่มเติมในประเภท แต่ละปีการศึกษาไม่ต่ากว่า 3.00
ที่ขอรับการรับรอง ในระดับชั้น  (8) ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์
มัธยมศึกษาทุกระดับชั้น ทางการเรียนตามหลักสูตร
3 ปีการศึกษาย้อนหลัง สถานศึกษา กลุ่มสาระ
(10 คะแนน) การเรียนรู้สุขศึกษา และพลศึกษา
แต่ละปีการศึกษาไม่ต่ากว่า 2.75
 (6) ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนตามหลักสูตร
สถานศึกษา กลุ่มสาระ
การเรียนรู้สุขศึกษา และพลศึกษา
แต่ละปีการศึกษาไม่ต่ากว่า 2.50
๔๖

 (4) ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนตามหลักสูตร
สถานศึกษา กลุ่มสาระ
การเรียนรู้สุขศึกษา และพลศึกษา
แต่ละปีการศึกษาไม่ต่ากว่า 2.25
 (2) ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนตามหลักสูตร
สถานศึกษา กลุ่มสาระ
การเรียนรู้สุขศึกษา และพลศึกษา
แต่ละปีการศึกษาไม่ต่ากว่า 2.00
1.2 ผู้เรียนมีผลงานหรือรางวัล  (10) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก
ที่แสดงถึงความสามารถ  (9) ระดับประเทศ ร่องรอย
ทางด้านทักษะทางกีฬาและ  (8) ระดับเขตตรวจราชการ/ หลักฐาน
สุขภาวะของผู้เรียน ประเภท ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
ที่ขอรับการรับรอง  (7) ระดับเขตพื้นที่/จังหวัด ระดับเดียว
3 ปีการศึกษาย้อนหลัง  (6) ระดับชุมชน
(10 คะแนน)
1.3 จานวนผู้เรียนที่เข้าร่วม  (3) จานวนผู้เรียนที่เข้าร่วม พิจารณาจาก
กิจกรรมเสริมหลักสูตรที่เน้น กิจกรรม ร้อยละ 91 ขึ้นไป ของ ร่องรอย
ด้านทักษะกีฬาและสุขภาวะ ผู้เรียนทั้งหมด หลักฐาน
ของผู้เรียน ประเภทที่ขอรับ  (2) จานวนผู้เรียนที่เข้าร่วม
การรับรอง เช่น การเข้าค่าย, กิจกรรม ร้อยละ 81 – 90 ของ
ทัศนศึกษา, การศึกษาดูงาน, ผู้เรียนทั้งหมด
การนานักเรียนไปแลกเปลี่ยน  (1) จานวนผู้เรียนที่เข้าร่วม
เรียนรู้นอกสถานที่, อื่น ๆ กิจกรรม ร้อยละ 60 - 80 ของ
ที่เกี่ยวข้อง (3 คะแนน) ผู้เรียนทั้งหมด
ความสาเร็จ 2.1 สถานศึกษามีแผนพัฒนา  (3) สถานศึกษามีแผนพัฒนา พิจารณาจาก
2.ด้านกระบวนการ การจัดการศึกษาและ การจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติการ ร่องรอย
บริหารและ แผนปฏิบัติการประจาปี ประจาปี โดยมีโครงการ/ หลักฐาน
การจัดการ โดยมีโครงการ/กิจกรรม กิจกรรมที่ให้ความสาคัญกับ
(17 คะแนน) ที่ให้ความสาคัญกับการส่งเสริม การส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนา
สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพ คุณภาพที่เกี่ยวกับด้านทักษะ
ที่เกี่ยวกับด้านทักษะทางกีฬา กีฬาและสุขภาวะของผู้เรียน
และสุขภาวะทางกายและ ประเภทที่ขอรับการรับรอง
สุขภาวะทางจิตของผู้เรียน และบรรลุตามค่าเป้าหมายของ
ในประเภทที่ขอรับการรับรอง สถานศึกษา 3 ปีการศึกษา
3 ปีการศึกษาย้อนหลัง
(3 คะแนน)
๔๗

 (2) สถานศึกษามีแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติการ
ประจาปีที่ให้ความสาคัญกับ
การส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนา
คุณภาพที่เกี่ยวกับด้านทักษะ
กีฬาและสุขภาวะของผู้เรียน
ประเภทที่ขอรับการรับรองและ
บรรลุตามค่าเป้าหมายของ
สถานศึกษา 2 ปีการศึกษา
 (1) สถานศึกษามีแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติการ
ประจาปีทใี่ ห้ความสาคัญกับ
การส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนา
คุณภาพที่เกี่ยวกับด้านทักษะ
กีฬาและสุขภาวะของผู้เรียน
ประเภทที่ขอรับการรับรองและ
บรรลุตามค่าเป้าหมายของ
สถานศึกษา 1 ปีการศึกษา
 (0) สถานศึกษามีแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติการ
ประจาปีที่ให้ความสาคัญกับ
การส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนา
คุณภาพที่เกี่ยวข้องกับด้าน
ทักษะกีฬาและสุขภาวะของ
ผู้เรียน ประเภทที่ขอรับ
การรับรอง แต่ไม่บรรลุตาม
ค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
2.2 หลักสูตรสถานศึกษา  (3) ปฏิบัติครบ 3 ข้อ พิจารณาจาก
(3 คะแนน)  (2) ปฏิบัติได้ 2 ข้อ ร่องรอย
2.2.1 มีกิจกรรมเสริม  (1) ปฏิบัติได้ 1 ข้อ หลักฐาน
หลักสูตรที่เน้นทักษะทางกีฬา
และสุขภาวะของผู้เรียน
ในประเภทที่ขอรับการรับรอง
เช่น การเข้าค่าย, ทัศนศึกษา,
การศึกษาดูงาน, การนานักเรียน
ไปแลกเปลีย่ นเรียนรู้นอกสถานที่,
อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
๔๘

2.2.2 มีหลักสูตรรายวิชา
เพิ่มเติมที่เน้นทักษะทางกีฬา
และสุขภาวะของผู้เรียน
ในประเภทที่ขอรับการรับรอง
หรือมีหลักสูตรห้องเรียนพิเศษ
ทางด้านทักษะทางกีฬาและ
สุขภาวะของผู้เรียนในประเภท
ที่ขอรับการรับรอง หรือ
หลักสูตรอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.3 มีกิจกรรมพัฒนา
ผู้เรียน ชุมนุม ชมรมที่เน้น
ทักษะทางกีฬาและสุขภาวะ
ของผู้เรียนในประเภทที่ขอรับ
การรับรอง
2.3 สถานศึกษามีการสร้าง  (3) ปฏิบัติครบ 3 ข้อ พิจารณาจาก
เครือข่ายความร่วมมือ  (2) ปฏิบัติได้ 2 ข้อ ร่องรอย
ด้านทักษะทางกีฬาและสุขภาวะ  (1) ปฏิบัติได้ 1 ข้อ หลักฐาน
ของผู้เรียนในสาขาที่ขอรับ
การรับรอง (3 คะแนน)
2.3.1 มีการเข้าร่วม
กิจกรรมด้านทักษะทางกีฬา
และสุขภาวะของผู้เรียน
ในประเภทที่ขอรับการรับรอง
กับสถาบันการศึกษา
หน่วยงาน องค์กรในประเทศ
หรือมีการ ทัศนศึกษา ศึกษา
แหล่งเรียนรู้
2.3.2 มีการทาบันทึก
ข้อตกลงด้านทักษะทางกีฬา
และสุขภาวะของผู้เรียน
ในประเภทที่ขอรับการรับรอง
ร่วมกับสถาบันการศึกษา
หน่วยงานอื่น
๔๙

2.3.3 มีการเข้าร่วม
โครงการที่เน้นทักษะทางกีฬา
และสุขภาวะของผู้เรียน
ในประเภทที่ขอรับการรับรอง
เช่น โครงการห้องเรียนกีฬา,
โครงการห้องเรียนพิเศษ
ผู้มีความสามารถด้านกีฬา
ฟุตบอลและอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.4 ผู้บริหารสถานศึกษา  (5) มี เป็นผลงานหรือรางวัล พิจารณาจาก
มีผลงานหรือรางวัล ที่เกี่ยวกับด้านทักษะกีฬาและ ร่องรอย
(5 คะแนน) สุขภาวะของผู้เรียน ประเภทที่ หลักฐาน
ขอรับการรับรอง
 (3) มี เป็นรางวัลที่เกี่ยวข้อง
กับวิชาการ เช่น OBEC Award
ด้านวิชาการ หรือร่วมสัมมนา
ทางวิชาการ
 (1) มี แต่ไม่ใช่ผลงานหรือ
รางวัลที่เกี่ยวกับการส่งเสริม
ด้านทักษะกีฬาและสุขภาวะของ
ผู้เรียน ประเภทที่ขอรับ
การรับรอง
 (0) ไม่มีผลงานหรือรางวัลใด ๆ
2.5 สถานศึกษามีการส่งเสริม  (3) ปฏิบัติครบ 5 ข้อ พิจารณาจาก
พัฒนาครูในด้านทักษะทางกีฬา  (2) ปฏิบัติได้ 4 ข้อ ร่องรอย
และสุขภาวะของผู้เรียน  (1) ปฏิบัติได้ 1-3 ข้อ หลักฐาน
ในประเภทที่ขอรับการรับรอง
(3 คะแนน)
2.5.1 การอบรมและหรือสัมมนา
2.5.2 การศึกษาดูงาน
2.5.3 การสร้างชุมชนแห่ง
การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)
2.5.4 การประกวด
นวัตกรรมและหรืองานวิจัย
2.5.5 การยกย่อง
เชิดชูเกียรติ
๕๐

ความสาเร็จ 3.1 ครูมีผลงานหรือรางวัล  (5) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก


3.ด้านกระบวนการ ที่เกี่ยวกับทักษะทางกีฬาหรือ  (4) ระดับประเทศ ร่องรอย
จัดการเรียนรู้ สุขภาวะของผู้เรียน ในประเภท  (3) ระดับเขตตรวจราชการ/ หลักฐาน
(10 คะแนน) ที่ขอรับการรับรอง ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
(5 คะแนน)  (2) ระดับเขตพื้นที่/จังหวัด ระดับเดียว
 (1) ระดับชุมชน
3.2 ครูเป็นวิทยากร หรือ  (5) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก
คณะทางาน หรือมีผลงาน  (4) ระดับประเทศ ร่องรอย
การวิจัย หรือผลงานอื่น ๆ  (3) ระดับเขตตรวจราชการ/ หลักฐาน
ที่เกี่ยวข้องกับทักษะทางกีฬา ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
และสุขภาวะของผู้เรียน  (2) ระดับเขตพื้นที่/จังหวัด ระดับเดียว
ในประเภทที่ขอรับการรับรอง  (1) ระดับชุมชน
(5 คะแนน)
2. การยอมรับ พิจารณาผลงานความโดดเด่น  (25) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก
(25 คะแนน) ของสถานศึกษาในด้านทักษะ  (20) ระดับประเทศ ร่องรอย
กีฬาและสุขภาวะของผู้เรียน  (15) ระดับเขตตรวจ หลักฐาน
ในประเภทที่ขอรับการรับรอง ราชการ/ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
ภายใน 3 ปีการศึกษาย้อนหลัง  (10) ระดับเขตพื้นที่/ ระดับเดียว
นับจากปีการศึกษาที่เสนอขอรับ จังหวัด
การรับรอง  (5) ระดับชุมชน
3. ความยั่งยืน มีการดาเนินการส่งเสริม  (25) มากกว่า 5 ปีการศึกษา พิจารณาจาก
(25 คะแนน) สนับสนุน ขับเคลื่อนโครงการ/ ขึ้นไป ร่องรอย
กิจกรรม จนบรรลุผลตาม  (20) 5 ปีการศึกษา หลักฐาน
เป้าหมายที่ตรงกับความโดดเด่น  (15) 4 ปีการศึกษา
ของสถานศึกษาในด้านทักษะ  (10) 3 ปีการศึกษา
กีฬาและสุขภาวะของผู้เรียน  (5) ต่ากว่า 3 ปีการศึกษา
ในประเภทที่ขอรับการรับรอง
อย่างต่อเนื่อง

หมายเหตุ 1. แนบร่องรอยหลักฐานในแต่ละตัวชี้วัด เป็นไฟล์สกุล .jpg หรือ .pdf จานวน 1ไฟล์


ไม่เกิน 5 หน้า และขนาดไม่เกิน 5 MB
2. สถานศึกษาสามารถยื่นขอรับการรับรองได้มากกว่า 1 ด้าน ในกรณีเป็นผลงานหรือ
รางวัลเดียวกัน สามารถเสนอเพื่อขอรับการรับรองในด้านใดด้านหนึ่งเท่านั้น
๕๑

สรุปคะแนนด้านความสาเร็จ ด้านการยอมรับ ด้านความยั่งยืน


ประเด็นการพิจารณา คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
1. ด้านความสาเร็จ 50
2. ด้านการยอมรับ 25
3. ด้านความยั่งยืน 25
รวมคะแนน 100
คิดเป็นร้อยละ

หมายเหตุ
ระดับ 3 ดาว ต้องมีคะแนนรวม ตั้งแต่ร้อยละ 80 ขึ้นไป จะได้รับเกียรติบัตรและเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง
สพฐ. (OBEC Special)” จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ระดับ 2 ดาว ต้องมีคะแนนรวม ร้อยละ 70-79 จะได้รับเกียรติบัตร “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC
Special)” จากประธานคณะกรรมการกลุ่มจังหวัดที่ได้รับมอบหมาย
ระดับ 1 ดาว ต้องมีคะแนนรวม ร้ อยละ 60-69 จะได้รับ เกียรติบัตร “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC
Special)” จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา

สรุปผลการประเมินเพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)”


 ไม่ผ่าน
 ผ่าน  ระดับ 1 ดาว  ระดับ 2 ดาว  ระดับ 3 ดาว
ลงชื่อ ผู้ให้ข้อมูล ลงชื่อ ผู้รับรอง
( ) ( )
ตาแหน่ง.................................................... ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียน/รักษาการ
เบอร์โทรศัพท์........................................ เบอร์โทรศัพท์........................................
๕๒ แบบ สบม.01/06

แบบค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา
เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)”
ด้านสุนทรียศาสตร์
สาขา.................................................
………………………………………………………………
ค าชี้ แ จง ให้ ส ถานศึ ก ษาค้ น หาความโดดเด่ น ของสถานศึ ก ษา ด้ า นสุ น ทรี ย ศาสตร์ โดยพิ จ ารณาจาก
องค์ประกอบด้านความสาเร็จ ด้านการยอมรับ และด้านความยั่งยืน เพื่อ เป็นการยืนยันความโดดเด่นของ
สถานศึกษาเชิงประจักษ์อย่างแท้จริง
ส่วนที่ 1 ข้อมูลสถานศึกษา
1.1 ชื่อสถานศึกษา
1.2 สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
1.3 จังหวัดที่ตั้งสถานศึกษา
ส่วนที่ 2 การค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC
Special)” ด้านสุนทรียศาสตร์
คาชี้แจง ใส่เครื่องหมาย ตามระดับคะแนนในแบบค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษาด้านสุนทรียศาสตร์่
ให้ตรงตามความเป็นจริง
2.1 องค์ประกอบการพิจารณา
ที่ ประเด็นการ ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การให้คะแนน หมายเหตุ
พิจารณา
1. ความสาเร็จ 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม  (10) ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ พิจารณาจาก
1. ด้านคุณภาพ หลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มสาระ ทางการเรียนตามหลักสูตร ร่องรอย
ผู้เรียน การเรียนรู้ศิลปะ ทั้งรายวิชาพื้นฐาน สถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ หลักฐาน
(23 คะแนน) และรายวิชาเพิ่มเติม ศิลปะ แต่ละปีการศึกษาไม่ต่ากว่า
ในสาขาที่ขอรับการรับรอง 3.00
ในระดับชั้นมัธยมศึกษา  (8) ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์
ทุกระดับชั้น 3 ปีการศึกษา ทางการเรียนตามหลักสูตร
ย้อนหลัง สถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้
(10 คะแนน) ศิลปะ แต่ละปีการศึกษาไม่ต่ากว่า
2.75
 (6) ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนตามหลักสูตร
สถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้
ศิลปะ แต่ละปีการศึกษาไม่ต่ากว่า
2.50
๕๓

 (4) ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนตามหลักสูตร
สถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้
ศิลปะ แต่ละปีการศึกษาไม่ต่ากว่า
2.25
 (2) ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนตามหลักสูตร
สถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้
ศิลปะ แต่ละปีการศึกษาไม่ต่ากว่า
2.00
1.2 ผู้เรียนมีผลงานหรือรางวัล  (10) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก
ที่แสดงถึงความสามารถ  (9) ระดับประเทศ ร่องรอย
ทางด้านสุนทรียศาสตร์ ในสาขาที่  (8) ระดับเขตตรวจราชการ/ หลักฐาน
ขอรับการรับรอง ภูมิภาค ที่สูงที่สุดระดับ
2 ปีการศึกษาย้อนหลัง  (7) ระดับเขตพื้นที่/จังหวัด เดียว
(10 คะแนน)  (6) ระดับชุมชน
1.3 จานวนผู้เรียนที่เข้าร่วม  (3) จานวนผู้เรียนที่เข้าร่วม พิจารณาจาก
กิจกรรมเสริมหลักสูตรที่เน้น กิจกรรม ร้อยละ 91 ขึ้นไป ของ ร่องรอย
ทางด้านสุนทรียศาสตร์ในสาขาที่ ผู้เรียนทั้งหมด หลักฐาน
ขอรับการรับรอง เช่น การเข้าค่าย,  (2) จานวนผู้เรียนที่เข้าร่วม
ทัศนศึกษา, การศึกษาดูงาน, กิจกรรม ร้อยละ 81 – 90 ของ
การนานักเรียนไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผู้เรียนทั้งหมด
นอกสถานที่, อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง  (1) จานวนผู้เรียนที่เข้าร่วม
(3 คะแนน) กิจกรรม ร้อยละ 60 - 80 ของ
ผู้เรียนทั้งหมด
ความสาเร็จ 2.1 สถานศึกษามีแผนพัฒนาการ  (3) สถานศึกษามีแผนพัฒนา พิจารณาจาก
2.ด้านกระบวนการ จัดการศึกษาและแผนปฏิบัติการ การจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติ ร่องรอย
บริหารและ ประจาปี โดยมีโครงการ/กิจกรรม การประจาปีโดยมีโครงการ/ หลักฐาน
การจัดการ ที่ให้ความสาคัญกับการส่งเสริม กิจกรรมที่ให้ความสาคัญกับการ
(17 คะแนน) สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพ ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนา
ที่เกี่ยวกับด้านสุนทรียศาสตร์ คุณภาพที่เกี่ยวกับด้านสุนทรียศาสตร์
ในสาขาที่ขอรับการรับรอง ในสาขาที่ขอรับการรับรองและ
3 ปีการศึกษาย้อนหลัง บรรลุตามค่าเป้าหมายของ
(3 คะแนน) สถานศึกษา 3 ปีการศึกษา
๕๔

 (2) สถานศึกษามีแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติ
การประจาปีที่ให้ความสาคัญกับ
การส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนา
คุณภาพที่เกี่ยวกับด้านสุนทรียศาสตร์
ในสาขาที่ขอรับการรับรอง และ
บรรลุตามค่าเป้าหมายของ
สถานศึกษา 2 ปีการศึกษา
 (1) สถานศึกษามีแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติ
การประจาปีที่ให้ความสาคัญกับ
การส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนา
คุณภาพที่เกี่ยวกับด้านสุนทรียศาสตร์
ในสาขาที่ขอรับการรับรอง และ
บรรลุตามค่าเป้าหมายของ
สถานศึกษา 1 ปีการศึกษา
 (0) สถานศึกษามีแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติ
การประจาปีที่ให้ความสาคัญกับ
การส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนา
คุณภาพที่เกี่ยวกับด้านสุนทรียศาสตร์
ในสาขาที่ขอรับการรับรอง
แต่ไม่บรรลุตามค่าเป้าหมาย
ของสถานศึกษา
2.2 หลักสูตรสถานศึกษา  (3) ปฏิบัติครบ 3 ข้อ พิจารณาจาก
(3 คะแนน)  (2) ปฏิบัติได้ 2 ข้อ ร่องรอย
2.2.1 มีกิจกรรมเสริม  (1) ปฏิบัติได้ 1 ข้อ หลักฐาน
หลักสูตรที่เน้นด้านสุนทรียศาสตร์
ในสาขาที่ขอรับการรับรอง เช่น
การเข้าค่าย, ทัศนศึกษา,
การศึกษาดูงาน, การนาผู้เรียน
ไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้
นอกสถานที่, อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
๕๕

2.2.2 มีหลักสูตรรายวิชา
เพิ่มเติมที่เน้นด้านสุนทรียศาสตร์
ในสาขาที่ขอรับการรับรอง
สาหรับห้องเรียนพิเศษทางด้าน
สุนทรียศาสตร์ หรือมีหลักสูตร
ห้องเรียนพิเศษทางด้านสุนทรียศาสตร์
หรือหลักสูตรอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.3 มีกิจกรรมพัฒนา
ผู้เรียน ชุมนุม ชมรมที่เน้น
ด้านสุนทรียศาสตร์ในสาขาที่ขอรับ
การรับรอง
2.3 สถานศึกษามีการสร้างเครือข่าย  (3) ปฏิบัติครบ 3 ข้อ พิจารณาจาก
ความร่วมมือด้านทางด้าน  (2) ปฏิบัติได้ 2 ข้อ ร่องรอย
สุนทรียศาสตร์ในสาขาที่ขอรับ  (1) ปฏิบัติได้ 1 ข้อ หลักฐาน
การรับรอง (3 คะแนน)
2.3.1 มีการเข้าร่วมกิจกรรม
ด้านสุนทรียศาสตร์ในสาขาที่ขอรับ
การรับรอง กับสถาบันการศึกษา
หน่วยงาน องค์กรในประเทศ
หรือมีการทัศนศึกษา ศึกษาแหล่ง
เรียนรู้
2.3.2 มีการทาบันทึกข้อตกลง
ด้านสุนทรียศาสตร์ ในสาขาที่ขอรับ
การรับรองร่วมกับสถาบันการศึกษา
หน่วยงานอื่น
2.3.3 มีการเข้าร่วมโครงการที่เน้น
ด้านสุนทรียศาสตร์ในสาขาที่ขอรับ
การรับรอง หรืออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.4 ผู้บริหารสถานศึกษา  (5) มี เป็นผลงานหรือรางวัล พิจารณาจาก
มีผลงานหรือรางวัล ที่เกี่ยวกับการส่งเสริม ร่องรอย
(5 คะแนน) ด้านสุนทรียศาสตร์ในสาขาที่ หลักฐาน
ขอรับการรับรอง
 (3) มี เป็นรางวัลที่เกี่ยวข้อง
กับวิชาการ เช่น OBEC Award
ด้านวิชาการ หรือร่วมสัมมนา
ทางวิชาการ
๕๖

 (1) มี แต่ไม่ใช่ผลงานหรือ
รางวัลที่เกี่ยวกับการส่งเสริม
ด้านสุนทรียศาสตร์ในสาขา
ที่ขอรับการรับรอง
 (0) ไม่มีผลงานหรือรางวัลใด ๆ
2.5 สถานศึกษามีการส่งเสริม พัฒนา  (3) ปฏิบัติครบ 5 ข้อ พิจารณาจาก
ครูทางด้านสุนทรียศาสตร์ในสาขา  (2) ปฏิบัติได้ 4 ข้อ ร่องรอย
ที่ขอรับการรับรอง  (1) ปฏิบัติได้ 1-3 ข้อ หลักฐาน
(3 คะแนน)
2.5.1 การอบรมและหรือสัมมนา
2.5.2 การศึกษาดูงาน
2.5.3 การสร้างชุมชนแห่ง
การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)
2.5.4 การประกวดนวัตกรรมและ
หรืองานวิจยั
2.5.5 การยกย่องเชิดชูเกียรติ
ความสาเร็จ 3.1 ครูมีผลงานหรือรางวัล  (5) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก
3.ด้านกระบวนการ ที่เกี่ยวกับด้านสุนทรียศาสตร์  (4) ระดับประเทศ ร่องรอย
จัดการเรียนรู้ ในสาขาที่ขอรับการรับรอง  (3) ระดับเขตตรวจราชการ/ หลักฐาน
(10 คะแนน) (5 คะแนน) ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
 (2) ระดับเขตพื้นที่/จังหวัด ระดับเดียว
 (1) ระดับชุมชน
3.2 ครูเป็นวิทยากร หรือ  (5) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก
คณะทางาน หรือมีผลงานการวิจัย  (4) ระดับประเทศ ร่องรอย
หรือผลงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ  (3) ระดับเขตตรวจราชการ/ หลักฐาน
ด้านสุนทรียศาสตร์ในสาขาที่ ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
ขอรับการรับรอง  (2) ระดับเขตพื้นที่/จังหวัด ระดับเดียว
(5 คะแนน)  (1) ระดับชุมชน

2. การยอมรับ พิจารณาผลงานความโดดเด่นของ  (25) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก


(25 คะแนน) สถานศึกษาในด้านสุนทรียศาสตร์  (20) ระดับประเทศ ร่องรอย
ในสาขาที่ขอรับการรับรอง ภายใน  (15) ระดับเขตตรวจ หลักฐานที่สูง
3 ปีการศึกษาย้อนหลังนับจากปี ราชการ/ภูมิภาค ที่สุดระดับเดียว
การศึกษาที่เสนอขอรับการรับรอง  (10) ระดับเขตพื้นที่/จังหวัด
 (5) ระดับชุมชน
๕๗

3. ความยั่งยืน มีการดาเนินการส่งเสริม  (25) มากกว่า 5 ปีการศึกษา พิจารณาจาก


(25 คะแนน) สนับสนุน ขับเคลื่อนโครงการ/ ขึ้นไป ร่องรอย
กิจกรรม จนบรรลุผลตาม  (20) 5 ปีการศึกษา หลักฐาน
เป้าหมายที่ตรงกับความโดดเด่น  (15) 4 ปีการศึกษา
ของสถานศึกษาในด้าน  (10) 3 ปีการศึกษา
สุนทรียศาสตร์ในสาขาที่ขอรับการ  (5) ต่ากว่า 3 ปีการศึกษา
รับรองอย่างต่อเนื่อง
หมายเหตุ 1. แนบร่องรอยหลักฐานในแต่ละตัวบ่งชี้เป็นไฟล์สกุล .jpg หรือ .pdf จานวน 1ไฟล์
ไม่เกิน 5 หน้า และขนาดไม่เกิน 5 MB
2. สถานศึกษาสามารถยื่นขอรับการรับรองได้มากกว่า 1 ด้าน ในกรณีเป็นผลงานหรือ
รางวัลเดียวกัน สามารถเสนอเพื่อขอรับการรับรองในด้านใดด้านหนึ่งเท่านั้น

สรุปคะแนนด้านความสาเร็จ ด้านการยอมรับ ด้านความยั่งยืน


ประเด็นการพิจารณา คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
1. ด้านความสาเร็จ 50
2. ด้านการยอมรับ 25
3. ด้านความยั่งยืน 25
รวมคะแนน 100
คิดเป็นร้อยละ

หมายเหตุ
ระดับ 3 ดาว ต้องมีคะแนนรวม ตั้งแต่ร้อยละ 80 ขึ้นไป จะได้รับเกียรติบัตรและเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง
สพฐ. (OBEC Special)” จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ระดับ 2 ดาว ต้องมีคะแนนรวม ร้อยละ 70-79 จะได้รับเกียรติบัตร “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC
Special)” จากประธานคณะกรรมการกลุ่มจังหวัดที่ได้รับมอบหมาย
ระดับ 1 ดาว ต้องมีคะแนนรวม ร้ อยละ 60-69 จะได้รับ เกียรติบัตร “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC
Special)” จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา

สรุปผลการประเมินเพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)”


 ไม่ผ่าน
 ผ่าน  ระดับ 1 ดาว  ระดับ 2 ดาว  ระดับ 3 ดาว
ลงชื่อ ผู้ให้ข้อมูล ลงชื่อ ผู้รับรอง
( ) ( )
ตาแหน่ง.................................................... ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียน/รักษาการ
เบอร์โทรศัพท์........................................ เบอร์โทรศัพท์........................................
๕๘
แบบ สบม.01/07
แบบค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา
เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)”
ด้านการส่งเสริมอาชีพและการมีงานทา
สาขา.......................................................................
………………………………………………………………
ค าชี้ แ จง ให้ ส ถานศึ ก ษาค้ น หาความโดดเด่ น ของสถานศึ ก ษา ด้ า นการส่ ง เสริ ม อาชี พ และการมี ง านท า
โดยพิจารณาจากองค์ประกอบด้านความส าเร็จ ด้านการยอมรับ และด้านความยั่งยืน เพื่อเป็นการยืนยัน
ความโดดเด่นของสถานศึกษาเชิงประจักษ์อย่างแท้จริง
ส่วนที่ 1 ข้อมูลสถานศึกษา
1.1 ชื่อสถานศึกษา
1.2 สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
1.3 จังหวัดที่ตั้งสถานศึกษา
ส่วนที่ 2 การค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC
Special)” ด้านการส่งเสริมอาชีพและการมีงานทา
คาชี้แจง ใส่เครื่องหมาย ตามระดับคะแนนในแบบค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษาด้านการส่งเสริม
อาชีพและการมีงานทาให้ตรงตามความเป็นจริง
องค์ประกอบการพิจารณาความโดดเด่นด้านการส่งเสริมอาชีพและการมีงานทา
ที่ ประเด็นการ ตัวบ่งชี้ เกณฑ์ หมายเหตุ
พิจารณา
1. ความสาเร็จ ๑.๑ ค่าเฉลี่ยร้อยละ  (10) ร้อยละ 90.00 ขึ้นไป พิจารณา
1. ด้านคุณภาพ 3 ปีการศึกษาย้อนหลังของ  (8) ร้อยละ 80.00 - 89.99 จากร่องรอย
ผู้เรียน ผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายในสาขาที่  (6) ร้อยละ 70.00 - 79.99 หลักฐาน
(25 คะแนน) ขอรับการรับรองที่มีการทาบัญชี  (๔) ร้อยละ 60.00 - 69.99
รายรับรายจ่ายของตนเอง  (๒) ร้อยละ 50.00 - 59.99
(5 คะแนน)
๑.2 ค่าเฉลี่ยร้อยละ  (10) ร้อยละ 90.00 ขึ้นไป พิจารณา
3 ปีการศึกษาย้อนหลังของ  (8) ร้อยละ 80.00 - 89.99 จากร่องรอย
ผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายในสาขาที่  (6) ร้อยละ 70.00 - 79.99 หลักฐาน
ขอรับการรับรองที่มรี ายได้จาก  (๔) ร้อยละ 60.00 - 69.99
การประกอบอาชีพ  (๒) ร้อยละ 50.00 - 59.99
(5 คะแนน)
1.3 ผู้เรียนกลุ่มเป้าหมาย  (๕) ปฏิบัติครบ 5 ข้อ พิจารณา
ในสาขาที่ขอรับการรับรอง  (4) ปฏิบัติครบ 4 ข้อ จากร่องรอย
ปฏิบัติในประเด็นต่อไปนี้  (3) ปฏิบัติครบ 3 ข้อ หลักฐาน
1.3.1 เป็นผู้ประกอบการ  (2) ปฏิบัติครบ 2 ข้อ
 (1) ปฏิบัติครบ 1 ข้อ
๕๙

1.3.2 ให้ความรู้เกี่ยวกับ
การประกอบการในสาขาที่
ขอรับการรับรองในระดับ
สถานศึกษา
1.3.3 ให้ความรู้เกี่ยวกับ
การประกอบการในสาขาที่
ขอรับการรับรองสู่ชุมชน
1.3.4 นาผลกาไรจากผล
ประกอบการในสาขาที่ขอรับ
การรับรองให้แก่สถานศึกษา
1.3.5 นาผลกาไรจากผล
ประกอบการในสาขาที่ขอรับ
การรับรองให้แก่ชุมชน
(5 คะแนน)
1.4 ผู้เรียนมีผลงานหรือ  (๑๐) ระดับนานาชาติ พิจารณา
 (๘) ระดับประเทศ
ได้รับรางวัลเกี่ยวกับการส่งเสริม จากร่องรอย
อาชีพและการมีงานทา  (๖) ระดับเขตตรวจราชการ/ หลักฐาน
ในสาขาที่ขอรับการรับรอง ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
(10 คะแนน)  (๔) ระดับเขตพื้นที่/จังหวัด ระดับเดียว
 (๒) ระดับชุมชน
ความสาเร็จ 2.1 สถานศึกษามีแผนพัฒนา  (5) สถานศึกษามีแผนพัฒนา พิจารณา
2. ด้านกระบวนการ การจัดการศึกษาและ การจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติการ จากร่องรอย
บริหารและ แผนปฏิบัติการประจาปี ประจาปี โดยมีโครงการ/กิจกรรม หลักฐาน
การจัดการ โดยมีโครงการ/กิจกรรม ที่ให้ความสาคัญกับการส่งเสริม
(15 คะแนน) ที่ให้ความสาคัญกับการส่งเสริม สนับสนุนด้านการส่งเสริมอาชีพ
สนับสนุนด้านการส่งเสริมอาชีพ และการมีงานทาในสาขาที่
และการมีงานทาในสาขาที่ ขอรับการรับรอง และบรรลุตาม
ขอรับการรับรอง (5 คะแนน) ค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
3 ปีการศึกษา
 (3) สถานศึกษามีแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติการ
ประจาปี โดยมีโครงการ/กิจกรรม
ที่ให้ความสาคัญกับการส่งเสริม
สนับสนุนด้านการส่งเสริมอาชีพ
และการมีงานทาในสาขาที่
ขอรับการรับรอง และบรรลุตาม
ค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
2 ปีการศึกษา
๖๐

 (1) สถานศึกษามีแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติการ
ประจาปี โดยมีโครงการ/กิจกรรม
ที่ให้ความสาคัญกับการส่งเสริม
สนับสนุนด้านการส่งเสริมอาชีพ
และการมีงานทาในสาขาที่
ขอรับการรับรอง และบรรลุตาม
ค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
1 ปีการศึกษา
 (0) สถานศึกษามีแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติการ
ประจาปี โดยมีโครงการ/กิจกรรม
ที่ให้ความสาคัญกับการส่งเสริม
สนับสนุนด้านการส่งเสริมอาชีพ
และการมีงานทาในสาขาที่
ขอรับการรับรอง แต่ไม่บรรลุตาม
ค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
2.2 มีหลักสูตรสถานศึกษาที่  (5) ปฏิบัติได้ 5 ข้อ พิจารณา
ส่งเสริมด้านการส่งเสริมอาชีพ ขึ้นไป จากร่องรอย
และการมีงานทา ในสาขาที่  (4) ปฏิบัติได้ 3-4 ข้อ หลักฐาน
ขอรับการรับรอง (5 คะแนน)  (3) ปฏิบัติได้ 1-2 ข้อ
2.2.1 วิชาเพิ่มเติม
2.2.2 กิจกรรมชุมนุม/
ชมรม
2.2.3 หลักสูตรระยะสั้น
2.2.4 หลักสูตรต่อเนื่อง
เชื่อมโยง
2.2.5 ห้องเรียนอาชีพ
2.2.6 ทวิศึกษา
2.2.7 ปวช. ลักษณะที่ 3
2.2.8 credit bank ด้าน
อาชีพ
2.2.9 อื่น ๆ ด้านอาชีพ
ระบุ (ได้มากกว่า 1 ข้อ) ..........
2.3 ผู้บริหารสถานศึกษา  (5) มี เป็นผลงานหรือรางวัล พิจารณา
มีผลงานหรือรางวัล ที่เกีย่ วกับการส่งเสริมด้านการ จากร่องรอย
(5 คะแนน) ส่งเสริมอาชีพและการมีงานทา หลักฐาน
ในสาขาที่ขอรับการรับรอง
๖๑

 (3) มี เป็นรางวัลที่เกี่ยวข้อง
กับวิชาการ เช่น OBEC Award
ด้านวิชาการ หรือร่วมสัมมนา
ทางวิชาการ
 (1) มี แต่ไม่ใช่ผลงานหรือ
รางวัลที่เกี่ยวกับการส่งเสริม
ด้านการส่งเสริมอาชีพและ
การมีงานทาสาขาที่ขอรับการรับรอง
 (0) ไม่มีผลงานหรือรางวัลใด ๆ
ความสาเร็จ 3.1 ครูมีผลงานหรือรางวัล  (๕) ระดับนานาชาติ พิจารณา
3..ด้านกระบวนการ ที่เกี่ยวกับการส่งเสริมอาชีพ  (๔) ระดับประเทศ จากร่องรอย
จัดการเรียนรู้ และการมีงานทา ในสาขาที่  (๓) ระดับเขตตรวจราชการ/ หลักฐาน
(10 คะแนน) ขอรับการรับรอง (5 คะแนน) ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
 (๒) ระดับเขตพื้นที่/จังหวัด ระดับเดียว
 (๑) ระดับชุมชน
3.2 ครูเป็นวิทยากร หรือ  (๕) ระดับนานาชาติ พิจารณา
คณะทางาน หรือมีผลงาน  (๔) ระดับประเทศ จากร่องรอย
การวิจัย หรือผลงานอื่น ๆ  (๓) ระดับเขตตรวจราชการ/ หลักฐาน
ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมอาชีพ
ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
และการมีงานทา ในสาขาที่ขอรับ  (๒) ระดับเขตพื้นที่/จังหวัดระดับเดียว
การรับรอง (5 คะแนน)  (๑) ระดับชุมชน
2. การยอมรับ พิจารณาผลงานความโดดเด่น  (25) ระดับนานาชาติ พิจารณา
ของสถานศึกษาในด้าน  (20) ระดับประเทศ จากร่องรอย
การส่งเสริมอาชีพและการมีงานทา  (15) ระดับเขตตรวจ หลักฐาน
สาขาที่ขอรับการรับรอง ภายใน ราชการ/ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
3 ปีการศึกษาย้อนหลังนับจาก ระดับเดียว
 (10) ระดับเขตพื้นที่/จังหวัด
ปีการศึกษาที่เสนอขอรับการรับรอง
 (5) ระดับชุมชน
3. ความยั่งยืน มีการดาเนินการส่งเสริม  (25) มากกว่า 5 ปีการศึกษา พิจารณา
สนับสนุน ขับเคลื่อนโครงการ/ ขึ้นไป จากร่องรอย
กิจกรรม จนบรรลุผลตาม  (20) 5 ปีการศึกษา หลักฐาน
เป้าหมายที่ตรงกับความโดดเด่น  (15) 4 ปีการศึกษา
ของสถานศึกษาในด้าน  (10) 3 ปีการศึกษา
การส่งเสริมอาชีพและการมีงานทา  (5) ต่ากว่า 3 ปีการศึกษา
อย่างต่อเนื่อง
หมายเหตุ 1. แนบร่องรอยหลักฐานในแต่ละตัวบ่งชี้เป็นไฟล์สกุล .jpg หรือ .pdf จานวน 1ไฟล์
ไม่เกิน 5 หน้า และขนาดไม่เกิน 5 MB
2. สถานศึกษาสามารถยื่นขอรับการรับรองได้มากกว่า 1 ด้าน ในกรณีเป็นผลงานหรือ
รางวัลเดียวกัน สามารถเสนอเพื่อขอรับการรับรองในด้านใดด้านหนึ่งเท่านั้น
๖๒

สรุปคะแนนด้านความสาเร็จ ด้านการยอมรับ ด้านความยั่งยืน

ประเด็นการพิจารณา คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้


1. ด้านความสาเร็จ 50
2. ด้านการยอมรับ 25
3. ด้านความยั่งยืน 25
รวมคะแนน 100
คิดเป็นร้อยละ

หมายเหตุ
ระดับ 3 ดาว ต้องมีคะแนนรวม ตั้งแต่ร้อยละ 80 ขึ้นไป จะได้รับเกียรติบัตรและเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง
สพฐ. (OBEC Special)” จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ระดับ 2 ดาว ต้องมีคะแนนรวม ร้อยละ 70-79 จะได้รับเกียรติบัตร “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC
Special)” จากประธานคณะกรรมการกลุ่มจังหวัดที่ได้รับมอบหมาย
ระดับ 1 ดาว ต้องมีคะแนนรวม ร้ อยละ 60-69 จะได้รับ เกียรติบัตร “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC
Special)” จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา

สรุปผลการประเมินเพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)”


 ไม่ผ่าน
 ผ่าน  ระดับ 1 ดาว  ระดับ 2 ดาว  ระดับ 3 ดาว
ลงชื่อ ผู้ให้ข้อมูล ลงชื่อ ผู้รับรอง
( ) ( )
ตาแหน่ง.................................................... ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียน/รักษาการ
เบอร์โทรศัพท์........................................ เบอร์โทรศัพท์........................................
๖๓ แบบ สบม.01/08

แบบค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา
เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)”
ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
………………………………………………………………
ค าชี้ แ จง ให้ ส ถานศึ ก ษาค้ น หาความโดดเด่ น ของสถานศึ ก ษาด้ า นการอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ
สิ่งแวดล้อม โดยพิจารณาจากองค์ประกอบด้านความสาเร็จ ด้านการยอมรับ และด้านความยั่งยืน เพื่อ เป็น
การยืนยันความโดดเด่นของสถานศึกษาเชิงประจักษ์อย่างแท้จริง
ส่วนที่ 1 ข้อมูลสถานศึกษา
1.1 ชื่อสถานศึกษา
1.2 สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
1.3 จังหวัดที่ตั้งสถานศึกษา
ส่วนที่ 2 การค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC
Special)” ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
คาชี้แจง ใส่เครื่องหมาย ตามระดับคะแนนในแบบค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษาด้านการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ให้ตรงตามความเป็นจริง
2.1 องค์ประกอบการพิจารณา
ที่ ประเด็นการ ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การให้คะแนน หมายเหตุ
พิจารณา
1. ความสาเร็จ 1.1 ผู้เรียนมีผลงานหรือได้รับ  (๑๐) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก
1. ด้านคุณภาพ รางวัลเกี่ยวกับการอนุรักษ์  (๘) ระดับประเทศ ร่องรอย
ผู้เรียน ทรัพยากรธรรมชาติและ  (๖) ระดับเขตตรวจราชการ/ หลักฐาน
(20 คะแนน) สิ่งแวดล้อม 3 ปีการศึกษา ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
ย้อนหลัง  (๔) ระดับเขตพื้นที่/จังหวัด ระดับเดียว
(10 คะแนน)  (๒) ระดับชุมชน

1.2 จานวนโครงการหรือ  (10) 9 โครงการ/กิจกรรม พิจารณาจาก


กิจกรรมด้านการอนุรักษ์ ขึ้นไป ร่องรอย
ทรัพยากรธรรมชาติและ  (8) 7 – 8 โครงการ/กิจกรรม หลักฐาน
สิ่งแวดล้อมที่ผู้เรียนเข้าร่วม  (6) 5 - 6 โครงการ/กิจกรรม
ทั้งภายในและภายนอก  (4) 3 - 4 โครงการ/กิจกรรม
โรงเรียน 3 ปีการศึกษา  (2) 1 - 2 โครงการ/กิจกรรม
ย้อนหลัง
(10 คะแนน)
๖๔

ความสาเร็จ 2.1 สถานศึกษามีแผนพัฒนา  (10) สถานศึกษามีแผนพัฒนา พิจารณาจาก


2.ด้านกระบวนการ การจัดการศึกษาและ การจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติการ ร่องรอย
บริหารและ แผนปฏิบัติการประจาปี ประจาปี โดยมีโครงการ/กิจกรรม หลักฐาน
การจัดการ โดยมีโครงการ/กิจกรรม ที่ให้ความสาคัญกับการส่งเสริม
(20 คะแนน) ที่ให้ความสาคัญกับการส่งเสริม สนับสนุนด้านการอนุรักษ์
สนับสนุนด้านการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและ
ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม และบรรลุตาม
สิ่งแวดล้อม 3 ปีการศึกษา ค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
ย้อนหลัง 3 ปีการศึกษา
(10 คะแนน)  (8) สถานศึกษามีแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติการ
ประจาปี โดยมีโครงการ/กิจกรรม
ที่ให้ความสาคัญกับการส่งเสริม
สนับสนุนด้านการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม ในเรื่องที่ขอรับ
การรับรอง และบรรลุตาม
ค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
2 ปีการศึกษา
 (6) สถานศึกษามีแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติการ
ประจาปี โดยมีโครงการ/กิจกรรม
ที่ให้ความสาคัญกับการส่งเสริม
สนับสนุนด้านการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม ในเรื่องที่ขอรับ
การรับรอง และบรรลุตาม
ค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
1 ปีการศึกษา
 (0) สถานศึกษามีแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติการ
ประจาปี โดยมีโครงการ/กิจกรรม
ที่ให้ความสาคัญกับการส่งเสริม
สนับสนุนด้านการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม ในเรื่องที่ขอรับ
การรับรอง แต่ไม่บรรลุตาม
ค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
๖๕

2.2 ผู้บริหารสถานศึกษา  (5) มี เป็นผลงานหรือรางวัล พิจารณาจาก


มีผลงานหรือรางวัล ที่เกี่ยวกับการส่งเสริม ร่องรอย
(5 คะแนน) ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ หลักฐาน
และสิ่งแวดล้อม
 (3) มี เป็นรางวัลที่เกี่ยวข้อง
กับวิชาการ เช่น OBEC Award
ด้านวิชาการ หรือร่วมสัมมนา
ทางวิชาการ
 (1) มี แต่ไม่ใช่ผลงานหรือ
รางวัลที่เกี่ยวกับการส่งเสริม
ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม
 (0) ไม่มีผลงานหรือรางวัลใด ๆ
2.3 ผู้บริหารสถานศึกษา  (5) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก
เป็นวิทยากร หรือคณะทางาน  (4) ระดับประเทศ ร่องรอย
หรือมีผลงานการวิจัย ที่เกี่ยวกับ  (3) ระดับเขตตรวจราชการ/ หลักฐาน
การส่งเสริม สนับสนุน ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
ด้านการอนุรักษ์  (2) ระดับเขตพื้นที่/จังหวัด ระดับเดียว
ทรัพยากรธรรมชาติ และ  (1) ระดับชุมชน
สิ่งแวดล้อม 3 ปีการศึกษา
ย้อนหลัง (5 คะแนน)
ความสาเร็จ 3.1 ครูมีผลงานหรือรางวัล  (5) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก
3.ด้านการจัด ที่เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมส่งเสริม  (4) ระดับประเทศ ร่องรอย
การเรียนการสอน ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ  (3) ระดับเขตตรวจราชการ/ หลักฐาน
(10 คะแนน) และสิ่งแวดล้อม 3 ปีการศึกษา ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
ย้อนหลัง  (2) ระดับเขตพื้นที่/จังหวัด ระดับเดียว
(5 คะแนน)  (1) ระดับชุมชน
3.2 ครูเป็นวิทยากร หรือ  (5) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก
คณะทางาน หรือมีผลงานการวิจัย  (4) ระดับประเทศ ร่องรอย
หรือผลงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง  (3) ระดับเขตตรวจราชการ/ หลักฐาน
กับการจัดกิจกรรมส่งเสริม ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ  (2) ระดับเขตพื้นที่/จังหวัด ระดับเดียว
และสิ่งแวดล้อม 3 ปีการศึกษา  (1) ระดับชุมชน
ย้อนหลัง
(5 คะแนน)
๖๖

2. การยอมรับ พิจารณาผลงานความโดดเด่น  (25) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก


(25 คะแนน) ของสถานศึกษาในด้าน  (20) ระดับประเทศ ร่องรอย
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ  (15) ระดับเขตตรวจ หลักฐาน
และสิ่งแวดล้อม ราชการ/ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
ภายใน 3 ปีการศึกษาย้อนหลัง  (10) ระดับเขตพื้นที่/จังหวัด ระดับเดียว
นับจากปีการศึกษาที่เสนอขอรับ  (5) ระดับชุมชน
การรับรอง
3. ความยั่งยืน มีการดาเนินการส่งเสริม  (25) มากกว่า 5 ปีการศึกษา พิจารณาจาก
(25 คะแนน) สนับสนุน ขับเคลื่อนโครงการ/ ขึ้นไป ร่องรอย
กิจกรรม จนบรรลุผลตาม  (20) 5 ปีการศึกษา หลักฐาน
เป้าหมายที่ตรงกับความโดดเด่น  (15) 4 ปีการศึกษา
ของสถานศึกษาในด้าน  (10) 3 ปีการศึกษา
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ  (5) ต่ากว่า 3 ปีการศึกษา
และสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง

หมายเหตุ 1. แนบร่องรอยหลักฐานในแต่ละตัวบ่งชี้เป็นไฟล์สกุล .jpg หรือ .pdf จานวน 1 ไฟล์


ไม่เกิน 5 หน้า และขนาดไม่เกิน 5 MB
2. สถานศึกษาสามารถยื่นขอรับการรับรองได้มากกว่า 1 ด้าน ในกรณีเป็นผลงานหรือ
รางวัลเดียวกัน สามารถเสนอเพื่อขอรับการรับรองในด้านใดด้านหนึ่งเท่านั้น

สรุปคะแนนด้านความสาเร็จ ด้านการยอมรับ ด้านความยั่งยืน


ประเด็นการพิจารณา คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
1. ด้านความสาเร็จ 50
2. ด้านการยอมรับ 25
3. ด้านความยั่งยืน 25
รวมคะแนน 100
คิดเป็นร้อยละ

หมายเหตุ
ระดับ 3 ดาว ต้องมีคะแนนรวม ตั้งแต่ร้อยละ 80 ขึ้นไป จะได้รับเกียรติบัตรและเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง
สพฐ. (OBEC Special)” จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ระดับ 2 ดาว ต้องมีคะแนนรวม ร้อยละ 70-79 จะได้รับเกียรติบัตร “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC
Special)” จากประธานคณะกรรมการกลุ่มจังหวัดที่ได้รับมอบหมาย
ระดับ 1 ดาว ต้องมีคะแนนรวม ร้ อยละ 60-69 จะได้รับ เกียรติบัตร “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC
Special)” จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
๖๗

สรุปผลการประเมินเพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)”


 ไม่ผ่าน
 ผ่าน  ระดับ 1 ดาว  ระดับ 2 ดาว  ระดับ 3 ดาว
ลงชื่อ ผู้ให้ข้อมูล ลงชื่อ ผู้รับรอง
( ) ( )
ตาแหน่ง.................................................... ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียน/รักษาการ
เบอร์โทรศัพท์........................................ เบอร์โทรศัพท์........................................
๖๘ แบบ สบม.01/09

แบบค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา
เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)”
ด้านการน้อมนาศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
เรื่อง..........................................................................
………………………………………………………………
คาชี้แจง ให้สถานศึกษาค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา ด้านการน้อมนาศาสตร์พระราชาสู่การพัฒ นา
ที่ ยั่ ง ยื น โดยพิ จ ารณาจากองค์ ป ระกอบด้ า นความส าเร็ จ ด้ า นการยอมรั บ และด้ า นความยั่ ง ยื น
เพื่อเป็นการยืนยันความโดดเด่นของสถานศึกษาเชิงประจักษ์อย่างแท้จริง
ส่วนที่ 1 ข้อมูลสถานศึกษา
1.1 ชื่อสถานศึกษา
1.2 สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
1.3 จังหวัดที่ตั้งสถานศึกษา
ส่วนที่ 2 การค้นหาความโดดเด่ นของสถานศึกษา เพื่ อรั บเครื่ องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC
Special)” ด้านการน้อมนาศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
คาชี้แจง ใส่เครื่องหมาย ตามระดับคะแนนในแบบค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา ด้านการน้อมนา
ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ให้ตรงตามความเป็นจริง
2.1 องค์ประกอบการพิจารณา
ที่ ประเด็นการ ตัวบ่งชี้ เกณฑ์ หมายเหตุ
พิจารณา
1. ความสาเร็จ 1.1 ผลงานหรือรางวัลที่แสดงถึง  (๑๐) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก
1. ด้านคุณภาพ การน้อมนาศาสตร์พระราชา  (๘) ระดับประเทศ ร่องรอย
ผู้เรียน สู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของผู้เรียน  (๖) ระดับเขตตรวจ หลักฐาน
(20 คะแนน) ในเรื่องที่ขอรับการรับรอง ราชการ/ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
3 ปีการศึกษาย้อนหลัง  (๔) ระดับเขตพื้นที่/จังหวัด ระดับเดียว
(10 คะแนน)  (๒) ระดับชุมชน
1.2 ร้อยละของผู้เรียนทั้งหมด  (10) ตั้งแต่ร้อยละ ๙0.00 พิจารณาจาก
ทีม่ ีผลการประเมินคุณลักษณะ ขึ้นไป ร่องรอย
อันพึงประสงค์ในระดับดีเยี่ยม  (8) ร้อยละ 80.00-89.99 หลักฐาน
3 ปีการศึกษาย้อนหลัง  (6) ร้อยละ 70.00-79.99
(10 คะแนน)  (4) ร้อยละ 60.00-69.99
 (2) ต่ากว่าร้อยละ 59.99
๖๙

ความสาเร็จ 2.1 สถานศึกษามีแผนพัฒนา  (10) สถานศึกษามี พิจารณาจาก


2. ด้านกระบวนการ การจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติ แผนพัฒนาการจัดการศึกษาและ ร่องรอย
บริหารและ การประจาปี โดยมีโครงการ/ แผนปฏิบัติการประจาปี หลักฐาน
การจัดการ กิจกรรมที่ให้ความสาคัญกับ โดยมีโครงการ/กิจกรรม
(20 คะแนน) การส่งเสริม สนับสนุน ที่ให้ความสาคัญกับการส่งเสริม
ด้านการน้อมนาศาสตร์พระราชา สนับสนุนด้านการน้อมนา
สู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของผู้เรียน ศาสตร์พระราชาสู่
ในเรื่องที่ขอรับการรับรอง การพัฒนาที่ยั่งยืนของ
3 ปีการศึกษาย้อนหลัง ผู้เรียน ในเรื่องที่ขอรับ
(10 คะแนน) การรับรอง และบรรลุตาม
ค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
3 ปีการศึกษา
 (8) สถานศึกษามี
แผนพัฒนาการจัดการศึกษา
และแผนปฏิบัติการประจาปี
โดยมีโครงการ/กิจกรรม
ที่ให้ความสาคัญกับ
การส่งเสริม สนับสนุน
ด้านการน้อมนาศาสตร์
พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
ของผู้เรียน ในเรื่องที่ขอรับ
การรับรอง และบรรลุตาม
ค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
2 ปีการศึกษา
 (6) สถานศึกษามี
แผนพัฒนาการจัดการศึกษา
และแผนปฏิบัติการประจาปี
โดยมีโครงการ/กิจกรรม
ที่ให้ความสาคัญกับ
การส่งเสริม สนับสนุน
ด้านการน้อมนาศาสตร์
พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
ของผู้เรียน ในเรื่องที่ขอรับ
การรับรอง และบรรลุตาม
ค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
1 ปีการศึกษา
๗๐

 (0) สถานศึกษามี
แผนพัฒนาการจัดการศึกษา
และแผนปฏิบัติการประจาปี
โดยมีโครงการ/กิจกรรม
ที่ให้ความสาคัญกับ
การส่งเสริม สนับสนุน
ด้านการน้อมนาศาสตร์
พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
ของผู้เรียน ในเรื่องที่ขอรับ
การรับรอง แต่ไม่บรรลุตาม
ค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
2.2 ผู้บริหารสถานศึกษา  (5) มี เป็นผลงานหรือ พิจารณาจาก
มีผลงานหรือรางวัล รางวัลที่เกี่ยวกับการส่งเสริม ร่องรอย
(5 คะแนน) ด้านการน้อมนาศาสตร์ หลักฐาน
พระราชาสู่การพัฒนา
ที่ยั่งยืนของผู้เรียน
 (3) มี เป็นรางวัลที่
เกี่ยวข้องกับวิชาการ เช่น
OBEC Award
ด้านวิชาการ หรือ
ร่วมสัมมนาทางวิชาการ
 (1) มี แต่ไม่ใช่ผลงาน
หรือรางวัลที่เกี่ยวกับ
การส่งเสริมด้านการน้อมนา
ศาสตร์พระราชาสู่
การพัฒนาที่ยั่งยืนของผู้เรียน
 (0) ไม่มีผลงานหรือ
รางวัลใด ๆ
2.3 ผู้บริหารสถานศึกษา  (๕) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก
เป็นวิทยากร หรือคณะทางาน  (๔) ระดับประเทศ ร่องรอย
หรือมีผลงานการวิจัย หรือผลงาน  (๓) ระดับเขตตรวจ หลักฐาน
อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรม ราชการ/ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
ส่งเสริมด้านการน้อมนาศาสตร์  (๒) ระดับเขตพื้นที่/ ระดับเดียว
พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน จังหวัด
ในเรื่องที่ขอรับการรับรอง  (๑) ระดับชุมชน
3 ปีการศึกษาย้อนหลัง
(5 คะแนน)
๗๑

ความสาเร็จ 3.1 ครูมีผลงานหรือรางวัลที่  (๕) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก


3. ด้านกระบวนการ เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมส่งเสริม  (๔) ระดับประเทศ ร่องรอย
จัดการเรียนรู้ ด้านการน้อมนาศาสตร์พระราชา  (๓) ระดับเขตตรวจ หลักฐาน
(10 คะแนน) สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ในเรื่องที่ ราชการ/ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
ขอรับการรับรอง 3 ปีการศึกษา  (๒) ระดับเขตพื้นที่/ ระดับเดียว
ย้อนหลัง จังหวัด
(5 คะแนน)  (๑) ระดับชุมชน
3.2 ครูเป็นวิทยากร หรือ  (๕) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก
คณะทางาน หรือมีผลงานการวิจัย  (๔) ระดับประเทศ ร่องรอย
หรือผลงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ  (๓) ระดับเขตตรวจ หลักฐาน
การจัดกิจกรรมส่งเสริม ราชการ/ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
ด้านการน้อมนาศาสตร์พระราชา  (๒) ระดับเขตพื้นที่/ ระดับเดียว
สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ในเรื่องที่ จังหวัด
ขอรับการรับรอง 3 ปีการศึกษา  (๑) ระดับชุมชน
ย้อนหลัง
(5 คะแนน)
2. การยอมรับ พิจารณาผลงานความโดดเด่น  (25) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก
ของสถานศึกษาในด้าน  (20) ระดับประเทศ ร่องรอย
การน้อมนาศาสตร์พระราชา  (15) ระดับเขตตรวจ หลักฐาน
สู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของผู้เรียน ราชการ/ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
ภายใน 3 ปีการศึกษาย้อนหลัง  (10) ระดับเขตพื้นที่/ ระดับเดียว
นับจากปีการศึกษาที่เสนอขอรับ จังหวัด
การรับรอง  (5) ระดับชุมชน
3. ความยั่งยืน มีการดาเนินการส่งเสริม สนับสนุน  (25) มากกว่า 5 ปี พิจารณาจาก
ขับเคลื่อนโครงการ/กิจกรรม จน การศึกษาขึ้นไป ร่องรอย
บรรลุผลตามเป้าหมายที่ตรงกับ  (20) 5 ปีการศึกษา หลักฐาน
ความโดดเด่นของสถานศึกษาใน  (15) 4 ปีการศึกษา
ด้านการน้อมนาศาสตร์พระราชา  (10) 3 ปีการศึกษา
สู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของผู้เรียน  (5) ต่ากว่า 3 ปี
อย่างต่อเนื่อง การศึกษา

หมายเหตุ 1. แนบร่องรอยหลักฐานในแต่ละตัวบ่งชี้เป็นไฟล์สกุล .jpg หรือ .pdf จานวน 1 ไฟล์


ไม่เกิน 5 หน้า และขนาดไม่เกิน 5 MB
2. สถานศึกษาสามารถยื่นขอรับการรับรองได้มากกว่า 1 ด้าน ในกรณีเป็นผลงานหรือ
รางวัลเดียวกัน สามารถเสนอเพื่อขอรับการรับรองในด้านใดด้านหนึ่งเท่านั้น
๗๒

สรุปคะแนนด้านความสาเร็จ ด้านการยอมรับ ด้านความยั่งยืน


ประเด็นการพิจารณา คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
1. ด้านความสาเร็จ 50
2. ด้านการยอมรับ 25
3. ด้านความยั่งยืน 25
รวมคะแนน 100
คิดเป็นร้อยละ

หมายเหตุ
ระดับ 3 ดาว ต้องมีคะแนนรวม ตั้งแต่ร้อยละ 80 ขึ้นไป จะได้รับเกียรติบัตรและเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง
สพฐ. (OBEC Special)” จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ระดับ 2 ดาว ต้องมีคะแนนรวม ร้อยละ 70-79 จะได้รับเกียรติบัตร “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC
Special)” จากประธานคณะกรรมการกลุ่มจังหวัดที่ได้รับมอบหมาย
ระดับ 1 ดาว ต้องมีคะแนนรวม ร้ อยละ 60-69 จะได้รับ เกียรติบัตร “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC
Special)” จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา

สรุปผลการประเมินเพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)”


 ไม่ผ่าน
 ผ่าน  ระดับ 1 ดาว  ระดับ 2 ดาว  ระดับ 3 ดาว
ลงชื่อ ผู้ให้ข้อมูล ลงชื่อ ผู้รับรอง
( ) ( )
ตาแหน่ง.................................................... ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียน/รักษาการ
เบอร์โทรศัพท์........................................ เบอร์โทรศัพท์........................................
๗๓ แบบ สบม.01/10

แบบค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา
เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)”
ด้านภาวะความเป็นผู้นาของผู้เรียน
………………………………………………………………
ค าชี้ แ จง ให้ ส ถานศึ ก ษาค้ น หาความโดดเด่ น ของสถานศึ ก ษา ด้ า นภาวะความเป็ น ผู้ น าของผู้ เ รี ย น
โดยพิจารณาจากองค์ประกอบด้านความส าเร็จ ด้านการยอมรับ และด้านความยั่งยืน เพื่อ เป็นการยืนยัน
ความโดดเด่นของสถานศึกษาเชิงประจักษ์อย่างแท้จริง
ส่วนที่ 1 ข้อมูลสถานศึกษา
1.1 ชื่อสถานศึกษา
1.2 สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
1.3 จังหวัดที่ตั้งสถานศึกษา
ส่วนที่ 2 การค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC
Special)” ด้านภาวะความเป็นผู้นาของผู้เรียน
คาชี้แจง ใส่เครื่องหมาย ตามระดับคะแนนในแบบค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา ด้านภาวะความเป็นผู้นาของผู้เรียน
ให้ตรงตามความเป็นจริง
2.1 องค์ประกอบการพิจารณา
ที่ ประเด็นการ ตัวบ่งชี้ เกณฑ์ หมายเหตุ
พิจารณา
1. ความสาเร็จ 1.1 ผลงานหรือรางวัลที่แสดงถึง  (๑๐) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก
1. ด้าน ความสามารถทางด้านภาวะความเป็นผู้นา  (๘) ระดับประเทศ ร่องรอย
คุณภาพ ของผู้เรียน 3 ปีการศึกษาย้อนหลัง  (๖) ระดับเขตตรวจ หลักฐาน
ผู้เรียน (10 คะแนน) ราชการ/ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
(25 คะแนน)  (๔) ระดับเขตพื้นที่/ ระดับเดียว
จังหวัด
 (๒) ระดับชุมชน
1.2 จานวนโครงการหรือกิจกรรม  (10) 9 โครงการ/ พิจารณาจาก
ของโรงเรียนที่องค์กรนักเรียน กิจกรรมขึ้นไป ร่องรอย
เป็นผู้รับผิดชอบ หรือมีบทบาทสาคัญ  (8) 7 – 8 โครงการ/ หลักฐาน
ในการดาเนินกิจกรรม 3 ปีการศึกษา กิจกรรม
ย้อนหลัง (10 คะแนน)  (6) 5 - 6 โครงการ/
กิจกรรม
 (4) 3 – 4 โครงการ/
กิจกรรม
 (2) 1 - 2 โครงการ/
กิจกรรม
๗๔

1.3 จานวนโครงการหรือกิจกรรมของ  (5) 5 โครงการ/กิจกรรม พิจารณาจาก


เครือข่ายหน่วยงานภายนอกที่องค์กร ขึ้นไป ร่องรอย
นักเรียนเป็นผู้รับผิดชอบ  (4) 4 โครงการ/ หลักฐาน
หรือมีบทบาทสาคัญในการดาเนิน กิจกรรม
กิจกรรม 3 ปีการศึกษาย้อนหลัง  (3) 3 โครงการ/กิจกรรม
(5 คะแนน)  (2) 2 โครงการ/กิจกรรม
 (1) 1 โครงการ/กิจกรรม
ความสาเร็จ 2.1 สถานศึกษามีแผนพัฒนา  (5) สถานศึกษามี พิจารณาจาก
2. ด้าน การจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติการ แผนพัฒนาการจัดการศึกษา ร่องรอย
กระบวนการ ประจาปี โดยมีโครงการ/กิจกรรม และแผนปฏิบัติการประจาปี หลักฐาน
บริหารและ ที่ให้ความสาคัญกับการส่งเสริม โดยมีโครงการ/กิจกรรม
การจัดการ สนับสนุนทางด้านภาวะความเป็นผู้นา ที่ให้ความสาคัญกับ
(15 คะแนน) ของผู้เรียน 3 ปีการศึกษาย้อนหลัง การส่งเสริม สนับสนุน
(5 คะแนน) ด้านภาวะความเป็นผู้นาของ
ผู้เรียน และบรรลุตาม
ค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
3 ปีการศึกษา
 (3) สถานศึกษามี
แผนพัฒนาการจัดการศึกษา
และแผนปฏิบัติการประจาปี
โดยมีโครงการ/กิจกรรม
ที่ให้ความสาคัญกับ
การส่งเสริม สนับสนุน
ด้านภาวะความเป็นผู้นาของ
ผู้เรียน และบรรลุตาม
ค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
2 ปีการศึกษา
 (1) สถานศึกษามี
แผนพัฒนาการจัดการศึกษา
และแผนปฏิบัติการประจาปี
โดยมีโครงการ/กิจกรรม
ที่ให้ความสาคัญกับ
การส่งเสริม สนับสนุน
ด้านภาวะความเป็นผู้นาของ
ผู้เรียน และบรรลุตาม
ค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
1 ปีการศึกษา
๗๕

 (0) สถานศึกษามี
แผนพัฒนาการจัดการศึกษา
และแผนปฏิบัติการประจาปี
โดยมีโครงการ/กิจกรรม
ที่ให้ความสาคัญกับ
การส่งเสริม สนับสนุน
ด้านภาวะความเป็นผู้นาของ
ผู้เรียน แต่ไม่บรรลุตาม
ค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
2.2 ผู้บริหารสถานศึกษา  (5) มี เป็นผลงานหรือ พิจารณาจาก
มีผลงานหรือรางวัล รางวัลที่เกี่ยวกับการส่งเสริม ร่องรอย
(5 คะแนน) ด้านภาวะความเป็นผู้นาของ หลักฐาน
ผู้เรียน
 (3) มี เป็นรางวัลที่
เกี่ยวข้องกับวิชาการ เช่น
OBEC Award
ด้านวิชาการ หรือร่วมสัมมนา
ทางวิชาการ
 (1) มี แต่ไม่ใช่ผลงานหรือ
รางวัลที่เกี่ยวกับการส่งเสริม
ด้านภาวะความเป็นผู้นาของ
ผู้เรียน
 (0) ไม่มีผลงานหรือ
รางวัลใด ๆ
2.3 ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นวิทยากร  (5) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก
หรือคณะทางาน หรือมีผลงานการวิจัย  (4) ระดับประเทศ ร่องรอย
ที่เกี่ยวกับการส่งเสริม สนับสนุน  (3) ระดับเขตตรวจ หลักฐาน
ด้านภาวะความเป็นผู้นาของผู้เรียน ราชการ/ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
3 ปีการศึกษาย้อนหลัง  (2) ระดับเขตพื้นที่/ ระดับเดียว
(5 คะแนน) จังหวัด
 (1) ระดับชุมชน
ความสาเร็จ 3.1 ครูมีผลงานหรือรางวัลที่เกี่ยวกับ  (5) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก
3. ด้าน การจัดกิจกรรมส่งเสริมด้านภาวะ  (4) ระดับประเทศ ร่องรอย
กระบวนการ ความเป็นผู้นาของผู้เรียน  (3) ระดับเขตตรวจ หลักฐาน
จัดการเรียนรู้ 3 ปีการศึกษาย้อนหลัง ราชการ/ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
(10 คะแนน) (5 คะแนน)  (2) ระดับเขตพื้นที่/ ระดับเดียว
จังหวัด
 (1) ระดับชุมชน
๗๖

 (5) ระดับนานาชาติ
3.2 ครูเป็นวิทยากร หรือคณะทางาน พิจารณาจาก
 (4) ระดับประเทศ
หรือมีผลงานการวิจยั หรือผลงานอื่น ๆ ร่องรอย
ที่เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมส่งเสริม
 (3) ระดับเขตตรวจ หลักฐานที่สูง
ด้านภาวะความเป็นผู้นาของผู้เรียน
ราชการ/ภูมิภาค ที่สุดระดับ
3 ปีการศึกษาย้อนหลัง  (2) ระดับเขตพื้นที่/ เดียว
(5 คะแนน) จังหวัด
 (1) ระดับชุมชน
2. การยอมรับ พิจารณาผลงานความโดดเด่นของ  (25) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก
(25 คะแนน) สถานศึกษาในด้านภาวะความเป็นผู้นา  (20) ระดับประเทศ ร่องรอย
ของผู้เรียน ภายใน 3 ปีการศึกษา  (15) ระดับเขตตรวจ หลักฐานที่สูง
ย้อนหลังนับจากปีการศึกษาที่เสนอ ราชการ/ภูมิภาค ที่สุดระดับ
ขอรับการรับรอง  (10) ระดับเขตพื้นที่/ เดียว
จังหวัด
 (5) ระดับชุมชน
3. ความยั่งยืน มีการดาเนินการส่งเสริม สนับสนุน  (25) มากกว่า 5 ปี พิจารณาจาก
(25 คะแนน) ขับเคลื่อนโครงการ/กิจกรรม จน การศึกษาขึ้นไป ร่องรอย
บรรลุผลตามเป้าหมายที่ตรงกับความ  (20) 5 ปีการศึกษา หลักฐานที่สูง
โดดเด่นของสถานศึกษาในด้านภาวะ  (15) 4 ปีการศึกษา ที่สุดระดับ
ความเป็นผู้นาของผู้เรียน อย่าง  (10) 3 ปีการศึกษา เดียว
ต่อเนื่อง  (5) ต่ากว่า 3 ปี
การศึกษา

หมายเหตุ 1. แนบร่องรอยหลักฐานในแต่ละตัวบ่งชี้เป็นไฟล์สกุล .jpg หรือ .pdf จานวน 1 ไฟล์


ไม่เกิน 5 หน้า และขนาดไม่เกิน 5 MB
2. สถานศึกษาสามารถยื่นขอรับการรับรองได้มากกว่า 1 ด้าน ในกรณีเป็นผลงานหรือ
รางวัลเดียวกัน สามารถเสนอเพื่อขอรับการรับรองในด้านใดด้านหนึ่งเท่านั้น

สรุปคะแนนด้านความสาเร็จ ด้านการยอมรับ ด้านความยั่งยืน


ประเด็นการพิจารณา คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
1. ด้านความสาเร็จ 50
2. ด้านการยอมรับ 25
3. ด้านความยั่งยืน 25
รวมคะแนน 100
คิดเป็นร้อยละ
๗๗

หมายเหตุ
ระดับ 3 ดาว ต้องมีคะแนนรวม ตั้งแต่ร้อยละ 80 ขึ้นไป จะได้รับเกียรติบัตรและเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง
สพฐ. (OBEC Special)” จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ระดับ 2 ดาว ต้องมีคะแนนรวม ร้อยละ 70-79 จะได้รับเกียรติบัตร “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC
Special)” จากประธานคณะกรรมการกลุ่มจังหวัดที่ได้รับมอบหมาย
ระดับ 1 ดาว ต้องมีคะแนนรวม ร้ อยละ 60-69 จะได้รับ เกียรติบัตร “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC
Special)” จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา

สรุปผลการประเมินเพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)”


 ไม่ผ่าน
 ผ่าน  ระดับ 1 ดาว  ระดับ 2 ดาว  ระดับ 3 ดาว
ลงชื่อ ผู้ให้ข้อมูล ลงชื่อ ผู้รับรอง
( ) ( )
ตาแหน่ง.................................................... ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียน/รักษาการ
เบอร์โทรศัพท์........................................ เบอร์โทรศัพท์........................................
๗๘ แบบ สบม.01/11

แบบค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา
เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)”
ด้านคุณธรรม จริยธรรม
………………………………………………………………
ค าชี้แจง ให้ ส ถานศึกษาค้น หาความโดดเด่น ของสถานศึ กษาด้านคุณธรรม จริยธรรม โดยพิจารณาจาก
องค์ประกอบด้านความสาเร็จ ด้านการยอมรับ และด้านความยั่งยืน เพื่อ เป็นการยืนยันความโดดเด่นของ
สถานศึกษาเชิงประจักษ์อย่างแท้จริง
ส่วนที่ 1 ข้อมูลสถานศึกษา
1.1 ชื่อสถานศึกษา
1.2 สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
1.3 จังหวัดที่ตั้งสถานศึกษา
ส่วนที่ 2 การค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC
Special)” ด้านคุณธรรม จริยธรรม
คาชี้แจง ใส่เครื่องหมาย ตามระดับคะแนนในแบบค้นหาความโดดเด่น ของสถานศึกษา ด้านคุณธรรม
จริยธรรม ให้ตรงตามความเป็นจริง
2.1 องค์ประกอบการพิจารณา
ที่ ประเด็นการ ตัวบ่งชี้ เกณฑ์ หมายเหตุ
พิจารณา
1 ความสาเร็จ 1.1 ผลงานหรือรางวัลที่แสดงถึง  (๑0) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก
1. ด้านคุณภาพ คุณธรรม จริยธรรมของผู้เรียน  (๘) ระดับประเทศ ร่องรอย
ผู้เรียน 3 ปีการศึกษาย้อนหลัง  (๖) ระดับเขตตรวจ หลักฐาน
(20 คะแนน) (10 คะแนน) ราชการ/ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
 (๔) ระดับเขตพื้นที่/ ระดับเดียว
จังหวัด
 (๒) ระดับชุมชน
1.2 ผลการประเมินคุณธรรม  (10) ผ่านการประเมิน พิจารณาจาก
อัตลักษณ์ของผู้เรียนทั้งหมด ทุกด้าน ร้อยละ ๙6.00 ร่องรอย
3 ปีการศึกษาย้อนหลัง ขึ้นไป หลักฐาน
(10 คะแนน)  (8) ผ่านการประเมิน
ทุกด้าน ร้อยละ 91.00-
95.99
 (6) ผ่านการประเมิน
ทุกด้าน ร้อยละ 86.00-
90.99
 (4) ผ่านการประเมิน
ทุกด้าน ร้อยละ 81.00-
85.99
๗๙

 (2) ผ่านการประเมิน
ทุกด้าน ร้อยละ 75.00-
80.99
ความสาเร็จ 2.1 สถานศึกษามีแผนพัฒนา  (10) สถานศึกษามี พิจารณาจาก
2. ด้านกระบวนการ การจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติ แผนพัฒนาการจัดการศึกษาและ ร่องรอย
บริหารและ การประจาปี โดยมีโครงการ/กิจกรรม แผนปฏิบัติการประจาปี หลักฐาน
การจัดการ ที่ให้ความสาคัญกับการส่งเสริม โดยมีโครงการ/กิจกรรม
(20 คะแนน) สนับสนุนด้านคุณธรรม จริยธรรม ที่ให้ความสาคัญกับการส่งเสริม
3 ปีการศึกษาย้อนหลัง สนับสนุนด้านคุณธรรม
(10 คะแนน) จริยธรรม และบรรลุตาม
ค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
3 ปีการศึกษา
 (8) สถานศึกษามีแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติ
การประจาปี โดยมีโครงการ/
กิจกรรมที่ให้ความสาคัญกับ
การส่งเสริม สนับสนุน
ด้านคุณธรรม จริยธรรม
และบรรลุตามค่าเป้าหมาย
ของสถานศึกษา
2 ปีการศึกษา
 (6) สถานศึกษามีแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติ
การประจาปี โดยมีโครงการ/
กิจกรรมที่ให้ความสาคัญกับ
การส่งเสริม สนับสนุน
ด้านคุณธรรม จริยธรรม
และบรรลุตามค่าเป้าหมาย
ของสถานศึกษา
1 ปีการศึกษา
 (0) สถานศึกษามีแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติ
การประจาปี โดยมีโครงการ/
กิจกรรมที่ให้ความสาคัญกับ
การส่งเสริม สนับสนุน
ด้านคุณธรรม จริยธรรม
แต่ไม่บรรลุตามค่าเป้าหมาย
ของสถานศึกษา
๘๐

2.2 ผู้บริหารสถานศึกษา  (5) มี เป็นผลงานหรือ พิจารณาจาก


มีผลงานหรือรางวัล รางวัลที่เกี่ยวกับการส่งเสริม ร่องรอย
(5 คะแนน) ด้านคุณธรรม จริยธรรม หลักฐาน
 (3) มี เป็นรางวัล
ที่เกี่ยวข้องกับวิชาการ เช่น
OBEC Award ด้านวิชาการ
หรือร่วมสัมมนาทางวิชาการ
 (1) มี แต่ไม่ใช่ผลงาน
หรือรางวัลที่เกี่ยวกับ
การส่งเสริมด้านคุณธรรม
จริยธรรม
 (0) ไม่มีผลงานหรือ
รางวัลใด ๆ
2.3 ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นวิทยากร  (5) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก
หรือคณะทางาน หรือมีผลงานการวิจัย  (4) ระดับประเทศ ร่องรอย
ที่เกี่ยวกับการส่งเสริม สนับสนุน  (3) ระดับเขตตรวจ หลักฐาน
ด้านคุณธรรม จริยธรรม ราชการ/ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
(5 คะแนน)  (2) ระดับเขตพื้นที่/ ระดับเดียว
จังหวัด
 (1) ระดับชุมชน
ความสาเร็จ 3.1 ครูมีผลงานหรือรางวัลที่เกี่ยวกับ  (5) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก
3. ด้านกระบวนการ การจัดกิจกรรมส่งเสริมด้านคุณธรรม  (4) ระดับประเทศ ร่องรอย
จัดการเรียนรู้ จริยธรรม  (3) ระดับเขตตรวจ หลักฐาน
(10 คะแนน) (5 คะแนน) ราชการ/ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
 (2) ระดับเขตพื้นที่/ ระดับเดียว
จังหวัด
 (1) ระดับชุมชน
3.2 ครูเป็นวิทยากร หรือคณะทางาน  (5) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก
หรือมีผลงานการวิจัย หรือผลงานอื่น ๆ  (4) ระดับประเทศ ร่องรอย
ที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมส่งเสริม  (3) ระดับเขตตรวจ หลักฐาน
ด้านคุณธรรม จริยธรรม ราชการ/ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
(5 คะแนน)  (2) ระดับเขตพื้นที่/ ระดับเดียว
จังหวัด
 (1) ระดับชุมชน
๘๑

2. การยอมรับ พิจารณาผลงานความโดดเด่นของ  (25) ระดับนานาชาติ พิจารณาจาก


(25 คะแนน) สถานศึกษาในด้านคุณธรรม  (20) ระดับประเทศ ร่องรอย
จริยธรรม ภายใน 3 ปีการศึกษา  (15) ระดับเขตตรวจ หลักฐาน
ย้อนหลังนับจากปีการศึกษาที่เสนอ ราชการ/ภูมิภาค ที่สูงที่สุด
ขอรับการรับรอง  (10) ระดับเขตพื้นที่/ ระดับเดียว
จังหวัด
 (5) ระดับชุมชน
3. ความยั่งยืน มีการดาเนินการส่งเสริม สนับสนุน  (25) มากกว่า 5 ปี พิจารณาจาก
(25 คะแนน) ขับเคลื่อนโครงการ/กิจกรรม การศึกษาขึ้นไป ร่องรอย
จนบรรลุผลตามเป้าหมายที่ตรงกับ  (20) 5 ปีการศึกษา หลักฐาน
ความโดดเด่นของสถานศึกษา  (15) 4 ปีการศึกษา
ในด้านคุณธรรม จริยธรรม  (10) 3 ปีการศึกษา
อย่างต่อเนื่อง  (5) ต่ากว่า 3 ปีการศึกษา

หมายเหตุ 1. แนบร่องรอยหลักฐานในแต่ละตัวบ่งชี้เป็นไฟล์สกุล .jpg หรือ .pdf จานวน 1 ไฟล์


ไม่เกิน 5 หน้า และขนาดไม่เกิน 5 MB
2. สถานศึกษาสามารถยื่นขอรับการรับรองได้มากกว่า 1 ด้าน ในกรณีเป็นผลงานหรือ
รางวัลเดียวกัน สามารถเสนอเพื่อขอรับการรับรองในด้านใดด้านหนึ่งเท่านั้น

สรุปคะแนนด้านความสาเร็จ ด้านการยอมรับ ด้านความยั่งยืน


ประเด็นการพิจารณา คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
1. ด้านความสาเร็จ 50
2. ด้านการยอมรับ 25
3. ด้านความยั่งยืน 25
รวมคะแนน 100
คิดเป็นร้อยละ

หมายเหตุ
ระดับ 3 ดาว ต้องมีคะแนนรวม ตั้งแต่ร้อยละ 80 ขึ้นไป จะได้รับเกียรติบัตรและเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง
สพฐ. (OBEC Special)” จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ระดับ 2 ดาว ต้องมีคะแนนรวม ร้อยละ 70-79 จะได้รับเกียรติบัตร “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC
Special)” จากประธานคณะกรรมการกลุ่มจังหวัดที่ได้รับมอบหมาย
ระดับ 1 ดาว ต้องมีคะแนนรวม ร้ อยละ 60-69 จะได้รับ เกียรติบัตร “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC
Special)” จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
๘๒

สรุปผลการประเมินเพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ. (OBEC Special)”


 ไม่ผ่าน
 ผ่าน  ระดับ 1 ดาว  ระดับ 2 ดาว  ระดับ 3 ดาว
ลงชื่อ ผู้ให้ข้อมูล ลงชื่อ ผู้รับรอง
( ) ( )
ตาแหน่ง.................................................... ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียน/รักษาการ
เบอร์โทรศัพท์........................................ เบอร์โทรศัพท์........................................
๘๓

ภาคผนวก ข
ถาม-ตอบ

ถาม รางวัลที่เสนอด้านใดด้านหนึ่งมาแล้ว โรงเรียนสามารถเสนอในด้านอื่นได้อีกหรือไม่


ตอบ ไม่ได้ ในกรณีเป็นผลงานหรือรางวัลเดียวกัน สามารถเสนอเพื่อขอรับการรับรองในด้านใดด้านหนึ่ง
เท่านั้น

ถาม ถ้าสถานศึกษาเสนอมามีบางตัวบ่งชี้ที่ไม่ตรงตามเกณฑ์ จะพิจารณาอย่างไร


ตอบ ถ้าไม่เข้าหลักเกณฑ์ข้อใด ให้ถือว่าข้อนั้นไม่ได้คะแนน

ถาม ผลงานหรือรางวัลผู้บริหารมีอะไรบ้าง
ตอบ เป็นผลงานหรือรางวัล ที่ตรงตามเกณฑ์ในด้านที่เสนอขอรับการรับรอง ยกเว้นรางวัลความส าเร็จ
ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ
๘๔

ภาคผนวก ค
รายชื่อคณะทางาน
การดาเนินงานขับเคลื่อนการค้นหาความโดดเด่นของสถานศึกษา
เพื่อรับเครื่องหมาย “คุณภาพพิเศษแห่ง สพฐ.” (OBEC Special)
********************
1. นายภูธร จันทะหงษ์ ปุณยจรัสธารง ผู้ช่วยเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
2. นายบุญเลิศ ค่อนสอาด ข้าราชการบานาญ
3. นายสรยุทธ สืบแสงอินทร์ ข้าราชการบานาญ
4. นายไพฑูรย์ จารุสาร ข้าราชการบานาญ
5. นางปราณี รัตนธรรม ข้าราชการบานาญ
6. นายสาโรจน์ แก้วอรุณ ข้าราชการบานาญ
7. นายกิตติ กสินธารา ข้าราชการบานาญ
8. นายวสันต์ วงศ์ปัญญาวิวัฒน์ ข้าราชการบานาญ
9. นายพิทักษ์ โสตถยาคม ผู้เชี่ยวชาญสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ด้านการพัฒนาสื่อและการเรียนรู้
10. นายวรพจน์ สิงหราช ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรปราการ
ปฏิบัติหน้าที่ผู้อานวยการสานักบริหารการมัธยมศึกษา
11. นายสท้าน วารี ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสระแก้ว
12. นายจักราวุธ สอนโกษา ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษามหาสารคาม
13. นางสาวศิริวรรณ ขวัญมุข ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเพชรบุรี
14. นางนัยนา ตันเจริญ ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 1
15. นายณัฐวุฒิ รัตนอรุณ ผู้อานวยการโรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดนครศรีธรรมราช
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครศรีธรรมราช
16. นายประจักษ์ ประจิมทิศ ผู้อานวยการโรงเรียนบางกะปิ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร 2
17. นายกาพล วิลยาลัย ผู้อานวยการโรงเรียนธนบุรีวรเทพีพลารักษ์
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร 1
18. นายเจนภพ ยศบุญเรือง ผู้อานวยการโรงเรียนเกาะคาวิทยาคม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาลาปาง ลาพูน
19. นางสุคนธ์ ตีรวัฒนประภา ผู้อานวยการโรงเรียนบางปลาม้า “สูงสุมารผดุงวิทย์”
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุพรรณบุรี
20. นางสาวลาวัลย์ เกติมา ผู้อานวยการโรงเรียนแม่กุวิทยาคม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาตาก
21. นายมานัส เวียงวิเศษ ผู้อานวยการโรงเรียนนางรอง
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาบุรีรัมย์
22. นายธรรมวิทย์ ธรรมพิธี ผู้อานวยการโรงเรียนพิบูลวิทยาลัย
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาลพบุรี
๘๕

23. นางสาวกฤติมา มะโนพรม ผู้อานวยการโรงเรียนงาเมืองวิทยาคม


สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพะเยา
24. นายชัดสกร พิกุลทอง ผู้อานวยการโรงเรียนเชียงยืนพิทยาคม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษามหาสารคาม
25. นายไวยวิทย์ มูลทรัพย์ รองผู้อานวยการโรงเรียนหนองบัวไชยวานพิทยาสรรพ์
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาฬสินธุ์
26. นายต่อศักดิ์ สิงห์เผ่น ผู้อานวยการโรงเรียนคันโช้งพิทยาคม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์
27. นางธนภร จิตธารงสุนทร ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านป่าเส้า
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาพูน เขต 1
28. นางสาวศิรดา พรหมเทพ รองผู้อานวยการโรงเรียนเบญจมราชูทิศ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจันทบุรี ตราด
29. นางธนัชญา วันทนะ รองผู้อานวยการโรงเรียนบางปลาม้า “สูงสุมารผดุงวิทย์”
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุพรรณบุรี
30. นางสาวฐิตารีย์ วิลัยเลิศ ศึกษานิเทศก์ชานาญพิเศษ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษามหาสารคาม
31. นางสาวพิชญา คาปัน ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาลาปาง ลาพูน
32. นางสาวสุดาภรณ์ สืบสุตนิ ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาลาปาง ลาพูน
33. นางสาววราภรณ์ อนวรัตน์ ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงใหม่
34. นางสาวศิริพร เจ็มภักดี ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาฉะเชิงเทรา
35. นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาปทุมธานี
36. นางสาวสกาวรัตน์ จรุงนันทกาล ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานนทบุรี
37. นางสาวศมณณ์ยา บุญประสพ ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง
38. นางสาวธัญรดี พากเพียร ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาแพงเพชร
39. นางสาวนันทพร พัฒน์วิชัยโชต นักทรัพยากรบุคคลชานาญการพิเศษ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง
40. นายบุญลือ คาถวาย ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง
41. นางสาวนงลักษณ์ มีแก้ว ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษามหาสารคาม
๘๖

42. นางดาวใจ ศรีสองเมือง ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ


สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษามหาสารคาม
43. นายชัยมงคล ขาคม ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแวงพิทยาคม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสกลนคร
44. นายธวัชชัย ฝ่ายพลแสน ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนนาเชือกพิทยาสรรค์
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษามหาสารคาม
45. นางจิตตรา พิกุลทอง ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนผดุงนารี
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษามหาสารคาม
46. นายชัยยศ จระเทศ ครูชานาญการ โรงเรียนพยัคฆภูมิวิทยาคาร
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษามหาสารคาม
47. นายเอกลักษณ์ คุณติสุข ครูชานาญการ โรงเรียนเทพศิรินทร์
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
48. นายศิษฐวุฒ จันทรกรานต์ ครูชานาญการ โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล
49. นางสาวสุทธญาณ์ จาปาทอง ครูชานาญการ โรงเรียนสารคามพิทยาคม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษามหาสารคาม
50. นายณัฐวุฒิ เดชอุดม ครู โรงเรียนทวีธาภิเศก
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
51. นายอาทิตย์ พลสุวรรณ ครู โรงเรียนมหรรณพาราม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
52. นายภมรศักดิ์ เกื้อหนองขุ่น ครู โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชบางขุนเทียน
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
53. นางสาวจุฑาภรณ์ กองกลิ่น ครู โรงเรียนทัพทันอนุสรณ์
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุทัยธานี ชัยนาท
54. นางสาวภาวิณี สุนทรเนตร ครู โรงเรียนบางปลาม้า “สูงสุมารผดุงวิทย์”
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุพรรณบุรี
55. นายวิเศษฐ์ สายดนตรี ครู โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาปทุมธานี
56. นายธีระพร ไวยครุฑธี ครู โรงเรียนมัธยมวัดศรีจันทร์ประดิษฐ์
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรปราการ
57. นางสาวศุภิศรา คงปรางค์ ครู โรงเรียนชัยบาดาลวิทยา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาลพบุรี
58. นางนวลจันทร์ ปกป้อง นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ
สานักบริหารการมัธยมศึกษา
59. นางสาวอังคนา จบศรี นักวิชาการศึกษาชานาญการพิเศษ
สานักบริหารการมัธยมศึกษา
๘๗

60. นางสาวจิระวดี สินทร นักวิชาการศึกษาชานาญการ


รักษาการในตาแหน่งนักวิชาการศึกษาชานาญการพิเศษ
สานักบริหารการมัธยมศึกษา
61. นางสาวสุภาภรณ์ บริคุต นักทรัพยากรบุคคลชานาญการ
รักษาการในตาแหน่งนักวิชาการศึกษาชานาญการพิเศษ
สานักบริหารการมัธยมศึกษา
62. นางสาวมิ่งขวัญ เทียมพัฒน์ นักจัดการงานทั่วไปชานาญการ
สานักบริหารการมัธยมศึกษา
63. นางสาวบุณยนุช สายรัตน์ นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ
สานักบริหารการมัธยมศึกษา
64. นางสาวพัชรียา สืบพงศ์เอื้อ นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ
สานักบริหารการมัธยมศึกษา
65. นางสาวภัททิยา ฤกษ์ศิริ นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ
สานักบริหารการมัธยมศึกษา
66. นางสาวสิริพักตร์ พรหมเวค นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ
สานักบริหารการมัธยมศึกษา
67. นางสาวอาไพ ชัยเจริญ นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ
สานักบริหารการมัธยมศึกษา
68. นางสาววลักษณา ณ น่าน นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ
สานักบริหารการมัธยมศึกษา
69. นางสาวสุทธิดา กาญจนศรี นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ
สานักบริหารการมัธยมศึกษา
สำนักบริหารการมัธยมศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

You might also like