Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 21

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1

รหัสวิชา ว 30203 วิชา ฟิ สิกส์ 3 กลุ่มสาระ


การเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ชื่อหน่วย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายของวัตถุติด

ปลายสปริง เวลา 5 ชั่วโมง


ชื่อครูผู้สอน นายสุริยัน เชื้อบุญมี

1.ผลการเรียนรู้
ทดลอง และอธิบายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายของวัตถุติด
ปลายสปริงและลูกตุ้มอย่างง่ายรวมทั้ง
คำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
1.อธิบายลักษณะการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายของระบบมวล-
สปริงเบาหรือวัตถุติดปลายสปริงได้ (K)
2.คำนวณหาปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอ
ย่างง่ายของระบบมวล-สปริงเบาหรือ
วัตถุติดปลายสปริงได้ (P)
3.ปฏิบัติกิจกรรมการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายของวัตถุที่ติด
ปลายสปริงได้อย่างถูกต้องและเป็ นลำดับ
ขั้นตอน(P)
4. มีความใฝ่ เรียนรู้และมีความมุ่งมั่นในการทำงาน (A)

3. สาระการเรียนรู้
สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
- การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย พิจารณาตามหลักสูตรของ
เป็ นการเคลื่อนที่ของวัตถุที่กลับไป สถานศึกษา
กลับมาซ้ำรอยเดิมผ่านตำแหน่งสมดุล
โดยมีคาบและแอมพลิจูดคงตัว และมี
การกระจัดจากตำแหน่งสมดุลที่เวลา
ใด ๆ เป็ นฟั งก์ชันแบบไซน์ โดย
ปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง มีความ
สัมพันธ์ตามสมการ
x = A sin(ωt + φ)
v = Acos(ωt + φ)
v = ±ω √ A 2 − x 2
a = −Aω2 sin(ωt + φ)
a = −ω2 x

4. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
การเคลื่อนที่ของวัตถุที่มีลักษณะแบบกลับไปกลับมาซ้ำเส้นทางเดิม ใช้
เวลาในการเคลื่อนที่แต่ละรอบ
เท่าเดิม และมีพลังงานรวมของวัตถุคงตัว ณ ทุกตำแหน่งของการเคลื่อนที่
ซึ่งการเคลื่อนที่แบบนี้เรียกว่า
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย โดยการเคลื่อนที่แบบนี้จะมีคาบและ
แอมพลิจูดคงตัว และมีการกระจัดจากตำแหน่งสมดุลที่เวลาใด ๆ เป็ น
ฟั งก์ชันแบบไซน์

5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ความสามารถในการสื่อสาร 1.มีวินัยรับผิดชอบ
2. ความสามารถในการคิด 2.ใฝ่ เรียนรู้
1) ทักษะการสังเกต 3.มุ่งมั่นในการทำงาน
2) ทักษะการทดลอง
3) ทักษะการสื่อสาร
4) ทักษะการวิเคราะห์
5) ทักษะการทำงานร่วมกัน
3.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

6. กิจกรรมการเรียนรู้
 แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค :แบบสืบเสาะหาความ
รู้(5Es Instructional Model)

ชั่วโมงที่ 1

ขั้นนำ

ขั้นที่ 1 กระตุ้นความสนใจ (Engage)


1. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ จากนั้นครูให้
นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนของ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย เพื่อ
ตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียน
2. ครูนำอุปกรณ์สาธิตการทดลอง เช่น ลูกกลมเหล็ก เชือก จากนั้น
ครูนำลูกกลมเหล็กมาผูกกับเชือก
แล้วแขวนลูกกลมเหล็กให้อยู่ในแนวดิ่ง จากนั้นครูดึงลูกกลมเหล็ก
ออกจากตำแหน่งสมดุล แล้วปล่อย
ให้ลูกกลมเหล็กเคลื่อนที่ โดยครูให้นักเรียนแต่ละคนสังเกตลักษณะ
การเคลื่อนที่ของลูกกลมเหล็ก
และร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระโดยไม่มีการเฉลย
ว่าถูกหรือผิด
3. ครูถามคำถาม Prior Knowledge จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่ม
เติมวิทยาศาสตร์ ฟิ สิกส์ ม.5
เล่ม 1 เพื่อเป็ นการนำเข้าสู่บทเรียนและตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยว
กับ เรื่อง การเคลื่อนที่แบบ
ฮาร์มอนิกอย่างง่าย ของนักเรียนว่า “ลูกตุ้มนาฬิกามีลักษณะการ
เคลื่อนที่อย่างไร”
(แนวตอบ: ลูกตุ้มนาฬิกามีลักษณะการเคลื่อนที่แบบแกว่งกลับไป
กลับมาซ้ำแนวเส้นทางเดิมและ
ใช้เวลาในการแกว่งแต่ละรอบเท่าเดิม)
4. นักเรียนตรวจสอบความเข้าใจของตนเองจาก
กรอบUnderstandingCheck ในหนังสือเรียน
รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ฟิ สิกส์ ม.5 เล่ม 1 โดยบันทึกลงในสมุด
ประจำตัว จากนั้นครูกล่าว
เชื่อมโยงเข้าสู่กิจกรรมการเรียนการสอน

ขั้น

ขั้นที่ 2 สำรวจค้นหา (Explore)


1. ครูเปิ ดวีดิทัศน์เกี่ยวกับเครื่องเคาะจังหวะ (Metronome) ให้
นักเรียนดู จากนั้นครูตั้งประเด็น
คำถามกระตุ้นความคิดนักเรียนว่า “การเคลื่อนที่ของเครื่องเคาะ
จังหวะมีลักษณะเป็ นอย่างไร และ
เรียกการเคลื่อนที่นั้นว่าอะไร”
(แนวตอบ: มีลักษณะแกว่งกลับไปกลับมาซ้ำเส้นทางเดิม ซึ่งเรียก
การเคลื่อนที่แบบนี้ว่า การเคลื่อนที่
แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple Harmonic Motion ; SHM))
2. ครูสุ่มเลขที่นักเรียนจำนวน 3-4 คน ให้ยกตัวอย่างการเคลื่อนที่
แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายที่พบเห็น
ในชีวิตประจำวันมาคนละ 1 ตัวอย่าง
(แนวตอบ: ตัวอย่างการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย เช่น การ
สั่นของโมเลกุลในสสาร การแกว่ง
ของลูกตุ้มนาฬิกา การแกว่งชิงช้า เป็ นต้น)
3. ครูให้นักเรียนจับคู่กับเพื่อนในชั้นเรียนคละกันตามความเหมาะสม
ให้นักเรียนร่วมกันศึกษาค้นคว้า
ข้อมูลเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย ระบบมวล-
สปริงเบาและกฎของฮุก
จากหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ฟิ สิกส์ ม.5 เล่ม
1 หรือจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ
เช่นอินเทอร์เน็ต แล้วร่วมกันสรุปข้อมูลที่ได้ลงในสมุดประจำตัว
(หมายเหตุ: ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรม
การทำงานกลุ่ม)

ชั่วโมงที่ 2

ขั้น

ขั้นที่ 3 อธิบายความรู้ (Explain)


1. ครูสุ่มนักเรียนจำนวน 3 คู่ ออกมานำเสนอผลจากการศึกษาข้อมูล
หน้าชั้นเรียน โดยครูคอยอธิบาย
เพิ่มเติมในส่วนที่บกพร่อง
(หมายเหตุ :ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช้แบบประเมินการนำเสนอ
ผลงาน)
2. ครูยกตัวอย่างโจทย์เกี่ยวกับกฎของฮุกโดยครูเขียนโจทย์และแสดง
วิธีทำให้นักเรียนดูบนกระดาน
ดังนี้
วัตถุมวล 4 กิโลกรัม เคลื่อนที่บนพื้นลื่นด้วยความเร่ง 3 เมตรต่อ
2
วินาที เข้าชนสปริงที่มีค่านิจสปริง
เท่ากับ 200 นิวตันต่อเมตร จงหาว่าสปริงจะหดจากตำแหน่งสมดุล
เท่าใด
วิธีทำ จากสมการ ∑ F = ma
F = (4)(3)
F = 12 N
จากสมการ F s = kx
12 = (200)( x)
12
x=
200
x = 0.06 m
ดังนั้น สปริงจะหดจากตำแหน่งสมดุลเท่ากับ 6 เซนติเมตร
3. ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาภาพการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอ
ย่างง่ายของวัตถุรูปทรงลูกบาศก์
ที่ติดปลายสปริงที่วางบนพื้นไร้แรงเสียดทาน จากหนังสือเรียน
รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ฟิ สิกส์
ม.5 เล่ม 1
4. จากนั้นครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ติดปลาย
สปริงว่า “เมื่อดึงวัตถุออกไประยะ
หนึ่งแล้วปล่อย สปริงจะดึงวัตถุให้กลับสู่ตำแหน่งสมดุล และ
เนื่องจากวัตถุมีโมเมนตัม วัตถุจะไถล
ผ่านตำแหน่งสมดุลและกดอัดสปริงจนกระทั่งหยุดเคลื่อนที่ สปริงก็
จะผลักกลับไปยังตำแหน่งสมดุล
อีกครั้งซึ่งตำแหน่งที่วัตถุมีการกระจัดสูงสุด เรียกว่า แอมพลิจูด
(amplitude)”

ชั่วโมงที่ 3

ขั้น

ขั้นที่ 2 สำรวจค้นหา (Explore)


1. ครูทบทวนความรู้เดิมของนักเรียนโดยตั้งคำถามว่า“การเคลื่อนที่
ของวัตถุที่ติดกลับปลายลวดสปริง
มีลักษณะการเคลื่อนที่เป็ นอย่างไร”
(แนวตอบ: มีลักษณะการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย)
2. นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็ นกลุ่ม ๆ ละ 5 คนตามความสมัครใจของ
นักเรียนแล้วให้แต่ละกลุ่มร่วมกัน
ศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับเรื่อง ผลเฉลยของสมการการกระจัด
ความเร็วของวัตถุที่เคลื่อนที่แบบ
ฮาร์มอนิกอย่างง่ายความเร่งของวัตถุที่เคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่าง
ง่าย และกราฟความสัมพันธ์
ระหว่างตำแหน่ง ความเร็ว ความเร่ง กับเวลาการเคลื่อนที่แบบฮาร์
มอนิกอย่างง่าย โดยศึกษาจาก
หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ฟิ สิกส์ ม.5 เล่ม 1 หรือ
แหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น
อินเทอร์เน็ต
3. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายเรื่องที่ได้ศึกษา จากนั้นให้
นักเรียนแต่ละคนเขียนสรุปความรู้
ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าลงในสมุดประจำตัว เพื่อนำส่งครูท้าย
ชั่วโมง
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรม
การทำงานกลุ่ม)

ขั้นที่ 3 อธิบายความรู้ (Explain)


4. ครูสุ่มนักเรียนให้ออกมานำเสนอผลการศึกษาหน้าชั้นเรียน โดยสุ่ม
ออกมาเพียง 3 กลุ่ม ซึ่งครูเป็ นคน
เลือกว่าจะให้กลุ่มไหนนำเสนอเรื่องอะไร ตามหัวข้อเรื่อง ดังต่อไปนี้
 ผลเฉลยของสมการการกระจัด
 ความเร็วของวัตถุที่เคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
 ความเร่งของวัตถุที่เคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
 กราฟความสัมพันธ์ระหว่างตำแหน่ง ความเร็ว ความเร่ง กับเวลา
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิก
อย่างง่าย
(หมายเหตุ :ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช้แบบประเมินการนำเสนอ
ผลงาน)
5. ขณะที่นักเรียนแต่ละกลุ่มกำลังนำเสนอ ครูอาจเสนอแนะหรือแทรก
ข้อมูลเพิ่มเติมในเรื่องนั้นๆ
ให้นักเรียนทุกคนได้มีความเข้าใจที่ถูกต้องมากยิ่งขึ้น

ชั่วโมงที่ 4-

ขั้น

ขั้นที่ 2 สำรวจค้นหา (Explore)


1. ครูทบทวนความรู้เดิมของนักเรียนโดยตั้งประเด็นคำถาม
ว่า“ปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย สามารถแสดงได้ด้วยสมการที่
เป็ นฟั งก์ชันแบบใด
และมีสมการใดบ้าง”
(แนวตอบ: สามารถแสดงได้ด้วยสมการที่เป็ นฟั งก์ชันแบบแบบไซน์
โดยมีสมการ ดังนี้
x = A sin(ωt + φ)v = Acos(ωt + φ) เเละ a = −Aω2 sin(ωt + φ) )
2. นักเรียนแบ่งกลุ่ม (กลุ่มเดิม) จากชั่วโมงที่ผ่านมา เพื่อร่วมกันศึกษา
กิจกรรมการเคลื่อนที่แบบ
ฮาร์มอนิกอย่างง่ายของวัตถุที่ติดปลายสปริงจากหนังสือเรียน
รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ฟิ สิกส์
ม.5 เล่ม 1โดยครูใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือมาจัด
กระบวนการเรียนรู้ โดยกำหนดให้สมาชิก
แต่ละคนภายในกลุ่มมีบทบาทหน้าที่ของตนเอง ดังนี้
สมาชิกคนที่ 1-2 ทำหน้าที่เตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำ
กิจกรรมการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิก
อย่างง่ายของวัตถุที่ติดปลายสปริง
สมาชิกคนที่ 3-4 ทำหน้าที่อ่านวิธีการทำกิจกรรม และนำมาอธิบาย
ให้สมาชิกภายในกลุ่มฟั ง
สมาชิกคนที่ 5 ทำหน้าที่บันทึกผลการทดลอง
(หมายเหตุ :ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช้แบบประเมินการปฏิบัติ
กิจกรรม)
3. ครูแจ้งจุดประสงค์ของกิจกรรมการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่าง
ง่ายของวัตถุที่ติดปลายสปริง
ให้นักเรียนทราบ เพื่อเป็ นแนวทางการปฏิบัติที่ถูกต้อง จากนั้นให้
นักเรียนแต่ละกลุ่มทำกิจกรรมตาม
ขั้นตอนจากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ฟิ สิกส์ ม.5
เล่ม 1
4. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันแลกเปลี่ยนความรู้และวิเคราะห์ผลการ
ปฏิบัติกิจกรรม แล้วอภิปรายผล
ร่วมกัน

ขั้นที่ 3 อธิบายความรู้ (Explain)


5. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมานำเสนอผลการทำกิจกรรมใน
ระหว่างที่นักเรียนนำเสนอครูคอย
ให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจที่ถูกต้อง
(หมายเหตุ :ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช้แบบประเมินการนำเสนอ
ผลงาน)
6. นักเรียนร่วมกันตอบคำถามท้ายกิจกรรม การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอ
นิกอย่างง่ายของวัตถุที่ติดปลาย
สปริงโดยให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายเพื่อหาคำตอบ
7. ครูสุ่มเลือกนักเรียน 2-3 กลุ่ม ให้ออกมานำเสนอคำตอบของกลุ่ม
ตนเอง เมื่อนักเรียนแต่ละกลุ่ม
นำเสนอคำตอบของกลุ่มตนเองเรียบร้อยแล้วนักเรียนและครู
อภิปรายผลท้ายกิจกรรมการทดลอง
และเฉลยคำถามท้ายกิจกรรม
ขั้นที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Elaborate)
8. ครูเปิ ดโอกาสให้นักเรียนสอบถามเนื้อหา เรื่อง การเคลื่อนที่แบบ
ฮาร์มอนิกอย่างง่ายและให้ความรู้
เพิ่มเติมจากคำถามของนักเรียน โดยครูใช้ PowerPoint เรื่อง
ปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับ
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายในการอธิบายเพิ่มเติม
9. นักเรียนจับคู่กับเพื่อนในชั้นเรียนตามความสมัครใจของนักเรียน
จากนั้นร่วมกันศึกษา
ตัวอย่างที่ 1.2-1.4 จากหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์
ฟิ สิกส์ม.5 เล่ม 1
10. ครูสุ่มนักเรียน 3 คู่ ออกมาแสดงวิธีการคำนวณหาผลลัพธ์ที่ได้
ร่วมกันศึกษา ครูอาจจะเสนอแนะ หรือ
อธิบายเพิ่มเติมในตัวอย่างนั้น ๆ จากนั้นครูให้นักเรียนทำใบงานที่
1.1.1 เรื่อง ระบบมวล-สปริงเบา
ทำเสร็จแล้วนำส่งครู
11. นักเรียนทำ Topic Question เรื่อง ระบบมวล-สปริงเบา จาก
หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม
วิทยาศาสตร์ ฟิ สิกส์ ม.5 เล่ม 1 ข้อ 1-2 ลงในสมุดประจำตัว
12. นักเรียนแต่ละคนทำแบบฝึ กหัด เรื่อง ระบบมวล-สปริงเบาจาก
แบบฝึ กหัด รายวิชาเพิ่มเติม
วิทยาศาสตร์ ฟิ สิกส์ ม.5 เล่ม 1 เป็ นการบ้านส่งในชั่วโมงถัดไป

ขั้น

ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)


1. ครูตรวจสอบผลการทำแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ 1
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิก
อย่างง่าย เพื่อตรวจสอบความเข้าใจก่อนเรียนของนักเรียน
2. ครูตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนจาก
กรอบ UnderstandingCheck ในสมุดประจำตัว
3. ครูตรวจสอบผลการทำใบงานที่ 1.1.1 เรื่อง ระบบมวล-สปริงเบา
4. ครูตรวจ Topic Questionเรื่อง ระบบมวล-สปริงเบา ในสมุด
ประจำตัว
5. ครูตรวจสอบแบบฝึ กหัด เรื่อง ระบบมวล-สปริงเบา จากแบบ
ฝึ กหัด รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์
ฟิ สิกส์ม.5 เล่ม 1
6. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถาม
พฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
และการทำงานกลุ่ม
7. ครูวัดและประเมินผลกิจกรรม การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่าง
ง่ายของวัตถุที่ติดปลายสปริง
8. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอ
ย่างง่ายว่า“การเคลื่อนที่แบบ
ฮาร์มอนิกอย่างง่ายเป็ นการเคลื่อนที่ของวัตถุที่กลับไปกลับมาซ้ำ
รอยเดิมผ่านตำแหน่งสมดุลโดยมี
คาบและแอมพลิจูดคงตัว และมีการกระจัดจากตำแหน่งสมดุลที่
เวลาใด ๆ เป็ นฟั งก์ชันแบบไซน์
โดยปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง มีความสัมพันธ์ตามสมการ”
x = A sin(ωt + φ)
v = Acos(ωt + φ)
v = ±ω √ A 2 − x 2
a = −Aω2 sin(ωt + φ)
a = −ω2 x

7. การวัดและประเมินผล
รายการวัด วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การ
ประเมิน
7.1 การ
ประเมินก่อน - ตรวจแบบ - แบบทดสอบ -ประเมินตาม
รายการวัด วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การ
ประเมิน
เรียน ทดสอบ ก่อนเรียน สภาพจริง
- แบบทดสอบ ก่อนเรียน หน่วยการเรียน
ก่อนเรียน หน่วยการเรียน รู้ที่ 1 การ
หน่วยการ รู้ที่ 1 การ เคลื่อนที่แบบ
เรียนรู้ที่ 1 เคลื่อนที่แบบ ฮาร์มอนิกอย่าง
การเคลื่อนที่ ฮาร์มอนิกอย่าง ง่าย
แบบ ง่าย
ฮาร์มอนิกอ
ย่างง่าย
7.2 การประเมิน
ระหว่างการ
จัดกิจกรรม - ตรวจใบงานที่ - ใบงานที่ - ร้อยละ 60
1)การ 1.1.1 1.1.1 ผ่านเกณฑ์
เคลื่อนที่ - ตรวจแบบ - แบบฝึ กหัด - ร้อยละ 60
แบบฮาร์มอ ฝึ กหัด ผ่านเกณฑ์
นิกอย่างง่าย
(ระบบมวล-
สปริง)
2) กิจกรรม - ประเมินการ - แบบประเมิน - ระดับคุณภาพ
การ ปฏิบัติ การปฏิบัติ 2
เคลื่อนที่ กิจกรรม กิจกรรม ผ่านเกณฑ์
แบบ ฮาร์
มอนิกอย่าง
รายการวัด วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การ
ประเมิน
ง่ายของวัตถุ
ที่ติดปลาย
สปริง
3) การนำ - ประเมินการนำ - แบบประเมิน - ระดับคุณภาพ
เสนอผลงาน เสนอ การนำเสนอผล 2
ผลงาน งาน ผ่านเกณฑ์
4) - สังเกต - แบบสังเกต - ระดับคุณภาพ
พฤติกรรม พฤติกรรม 2
พฤติกรรม การทำงานราย การทำงานราย ผ่านเกณฑ์
การทำงาน บุคคล บุคคล
รายบุคคล
5) - สังเกต - แบบสังเกต - ระดับคุณภาพ
พฤติกรรม พฤติกรรม 2
พฤติกรรม การทำงานกลุ่ม การทำงานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์
การทำงาน
กลุ่ม
6) - สังเกตความมี - แบบประเมิน - ระดับคุณภาพ
วินัย คุณลักษณะ 2
คุณลักษณะ รับผิดชอบใฝ่ อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์
อันพึง เรียนรู้
ประสงค์ และมุ่งมั่นในการ
ทำงาน
8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
8.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ฟิ สิกส์ ม.5 เล่ม 1 หน่วย
การเรียนรู้ที่ 1
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
2) แบบฝึ กหัด รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ฟิ สิกส์ ม.5 เล่ม 1 หน่วย
การเรียนรู้ที่ 1
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
3) วัสดุ-อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำกิจกรรมการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่าง
ง่ายของวัตถุที่ติดปลายสปริง
4) อุปกรณ์สาธิตการทดลอง เช่น ลูกกลมเหล็ก เชือก
5) ใบงานที่ 1.1.1 เรื่อง ระบบ-มวลสปริงเบา
6)PowerPoint เรื่องปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิ
กอย่างง่าย
7) วีดิทัศน์เกี่ยวกับเครื่องเคาะจังหวะ (Metronome)
จาก https://www.youtube.com/watch?v=zzcbzubxFcY
8) สมุดประจำตัว
8.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องเรียน
2) อินเทอร์เน็ต
ใบงานที่ 1.1.1
เรื่อง ระบบ-มวลสปริงเบา

คำชี้แจง : แสดงวิธีคำนวณหาผลลัพธ์ของโจทย์ต่อไปนี้

กล่องมวล 1.00 กิโลกรัม ผูกติดกับสปริงที่มีค่าคงตัว 25.0 นิวตันต่อเมตร


กวัดแกว่งบนพื้นไร้แรงเสียดทาน เมื่อพิจารณาที่เวลา t=0 พบว่า กล่องถูก
ปล่อยจากอยู่นิ่งที่ตำแหน่ง x = –3.00 เซนติเมตร
ก) จงหาคาบของการเคลื่อนที่ของกล่อง
……………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………
ข) จงหาอัตราเร็วสูงสุดของกล่อง
……………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………
ค) จงหาอัตราเร่งสูงสุดของกล่อง
……………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………
ง) จงหาตำแหน่ง ความเร็ว และความเร่งเป็ นฟั งก์ชันของเวลา
……………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………

ใบงานที่ 1.1.1 เฉลย


เรื่อง ระบบ-มวลสปริงเบา

คำชี้แจง : แสดงวิธีคำนวณหาผลลัพธ์ของโจทย์ต่อไปนี้

กล่องมวล 1.00 กิโลกรัม ผูกติดกับสปริงที่มีค่าคงตัว 25.0 นิวตันต่อเมตร


กวัดแกว่งบนพื้นไร้แรงเสียดทาน เมื่อพิจารณาที่เวลา t=0 พบว่า กล่องถูก
ปล่อยจากอยู่นิ่งที่ตำแหน่ง x = –3.00 เซนติเมตร
ก) จงหาคาบของการเคลื่อนที่ของกล่อง
วิธีทำคำนวณหาความถี่เชิงมุมของกล่อง
ω=

T
=
√ √
k
m
=
25 . 0
1.00
= 5. 00 rad/s

คำนวณหาคาบของการเคลื่อนที่ของกล่อง
2π 2π
T= = = 1.26 s
ω 5.00
ดังนั้นคาบของการเคลื่อนที่ของกล่องเท่ากับ 1.26 วินาที
ข) จงหาอัตราเร็วสูงสุดของกล่อง
-2
วิธีทำจากโจทย์ จะได้ว่า แอมพลิจูด(A) = 3.0010 เมตร
คำนวณหาอัตราเร็วสูงสุดของกล่อง
v max = ωA = (5.00)(3.00×10−2) = 0.150 m/ s
ดังนั้นอัตราเร็วสูงสุดของกล่องเท่ากับ 0.150 เมตรต่อวินาที

ค) จงหาอัตราเร่งสูงสุดของกล่อง
วิธีทำคำนวณหาอัตราเร่งสูงสุดของกล่อง
a max = ω2 A = (5.00)2(3.00×10−2 ) = 0.750 m/s
2
ดังนั้นอัตราเร็วเร่งสูงสุดของกล่องเท่ากับ 0.750 เมตรต่อวินาที

ง) จงหาตำแหน่ง ความเร็ว และความเร่งเป็ นฟั งก์ชันของเวลา


วิธีทำสมการตำแหน่ง (x) ความเร็ว (v)และความเร่ง (a) เป็ นฟั งก์ชันของ
เวลา สามารถแสดงได้ ดังสมการ
x = A sin(ωt + φ)
v = Aωcos(ωt + φ)
a = −Aω2 sin(ωt + φ)
ดังนั้นตำแหน่ง ความเร็ว และความเร่งเป็ นฟั งก์ชันของเวลาแสดงได้ ดัง
สมการ
x = −(3.00×10−2 m)sin(5.00t)
v = (0.150 m/s)cos(5.00t)
a = −(0.750 m/s2 )sin(5.00t)

You might also like