Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 314

โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
รหัสวิชา ท33101 รายวิชา ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ปฐมนิเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง รายละเอียด ขอบเขตและสัดส่วนคะแนน จานวน 1 คาบ ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด -
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) เข้าใจรายละเอียด ขอบเขตและสัดส่วนคะแนน
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (Process: P) ปฏิบัติตามได้ถูกต้อง
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude: A) มารยาทในการฟัง
3. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs)
 C7–Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้)
 C8–Compassion (ความมีเมตตากรุณา วินัย คุณธรรม จริยธรรม)
4. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
 บูรณาการโรงเรียนคุณธรรม
 อื่น ๆ การมีส่วนร่วมในการวัดและประเมินผล
5. สาระสาคัญ รายละเอียด ขอบเขตและสัดส่วนคะแนน
6. สาระการเรียนรู้
6.1 คาอธิบายรายวิชา ขอบเขตเนื้อหาและโครงสร้างรายวิชา
6.2 สัดส่วนคะแนน
6.3 แนวปฏิบัติและข้อตกลงระหว่างครูและนักเรียน
6.4 แนวทางในการศึกษาค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม
7. กิจกรรมการเรียนรู้ (แบบ Active Learning)
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (5 นาที)
7.1 นักเรียนรับเอกสารประมวลรายวิชาจากครูผู้สอน
ขั้นสอน (40 นาที)
7.2 นักเรียนฟังครูอธิบายชี้แจง พร้อมทาความเข้าใจและนาไปใช้ในการศึกษาต่อไป
ขั้นสรุป (5 นาที)
7.3 หากมีข้อสงสัยให้สอบถามเพิ่มเติม

แผนการจัดการเรี ยนรู ้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 41


8. สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้
8.1 เอกสารประมวลรายวิชา
8.2 แบบเรียนวรรณคดี วรรณกรรม
8.3 แบบเรียนหลักภาษาและการใช้ภาษา
9. ชิ้นงาน/ ภาระงาน อ่านบทนาเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา จากแบบเรียนวรรณคดี
10. เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน -
11. การวัดและประเมินผล
สนทนา สอบถาม
12. สรุปผลการจัดการเรียนรู้
12.1 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
.…….………………………………………………………………………………………………………………………………………
12.2 ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…….……………………………………………………………………………………………………………………………………….
12.3 ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

13. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ .................................................
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

แผนการจัดการเรี ยนรู ้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 42


โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
รหัสวิชา ท33101 รายวิชา ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา บทเสภาเสนาะกรรณ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง การอ่านตีความ แปลความ ขยายความ (1) จานวน 1 คาบ ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท 1.1 ใช้ก ระบวนการอ่ านสร้างความรู้แ ละความคิ ด เพื่ อ น าไปใช้ ตัด สิ น ใจ แก้ ไขปั ญ หาใน
การดาเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
ม.4-6/2 ตีความ แปลความและขยายความเรื่องที่อ่าน
ม.4-6/6 ตอบคาถามจากงานเขียนประเภทต่าง ๆ ภายในเวลาที่กาหนด
ม.4-6/7 อ่ านเรื่อ งต่าง ๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผัง ความคิด บันทึ ก ย่อความ และ
รายงาน
ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ
นามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ม.4-6/1 วิเคราะห์ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น
ม.4-6/6 ท่องจาและบอกคุณค่าบทอาขยานตามที่กาหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่า
ตามความสนใจและนาไปใช้อ้างอิง
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) อธิบ ายความเป็นมา ประวัติผู้แต่ง ลักษณะคาประพันธ์ของ
บทเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกาได้ถูกต้อง
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (Process: P) ตอบคาถามเกี่ยวกับ เนื้อเรื่อง ลาดับ เหตุการณ์ของ
เรื่อง ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกาได้ถูกต้อง
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude: A) บอกคุณค่าของการท่องจาบทอาขยานได้
3. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs)
 R1–Reading (อ่านออก)
 C1–Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะ
ในการแก้ปัญหา)
 C3–Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์)

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 43


 C5–Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ
และรูเ้ ท่าทันสื่อ)
 C6–Computing and ICT Literacy (ทั ก ษะด้ านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีส ารสนเทศและ
การสื่อสาร)
 C7–Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้)
4. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
บูรณาการข้ามกลุ่ม สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒ นธรรม และกลุ่มสาระการเรียนรู้
ศิลปะ
5. สาระสาคัญ
ความเป็นมา เรื่อง ขุนช้างขุนแผน เป็นตานาน เรื่องเล่าสืบต่อกันมาในลักษณะนิยายพื้นบ้านย่าน
สุพรรณบุรี และกาญจนบุรี มีห ลัก ฐานอยู่ในหนังสือคาให้การชาวกรุงเก่า โดยแต่งเป็นบทกลอนส าหรับ
ขับเสภาให้ประชาชนฟัง โดยเชื่อกันว่าเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นจริงในปลายแผ่นดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
ต่อเนื่องถึงรัชสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 แห่งกรุงศรีอยุธยา โดยในตานานเล่าเพียงว่า นายทหารยศ
ขุนแผนได้ถวายดาบฟ้าฟื้นแด่สมเด็จพระพันวษา จากเค้าเรื่องเดิมได้มีผู้ตกแต่งให้มีเนื้อเรื่องน่าสนุกสนาน
มากขึ้น ซึ่งใช้วิธีการถ่ายทอดโดยการเล่าสืบต่อกันมาเป็นนิทาน เมื่อ มาถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ เสภาเรื่อง
ขุนช้างขุนแผน ที่มีผู้แต่งไว้ตั้งแต่งสมัยกรุงศรีอยุธยานั้น เหลืออยู่เพียงบางตอนเท่านั้น เพราะถูกไฟไหม้และ
สูญหายไป เมื่อครั้งเสียกรุงกับพม่า พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยฯ ให้กวีหลายท่านแต่งเพิ่มเติม
ขึ้น โดยแบ่งกั นแต่ง เป็นตอน ๆ ไปจนจบเรื่อง ทั้งหมด 43 ตอนด้วยกั น ตอนที่ นามาเป็นบทเรียนนี้ คือ
ตอนที่ 35 ซึ่งเป็นหนึ่งใน 8 ตอน ที่ได้รับยกย่องจากวรรณคดีสโมสร ในสมัยรัชกาลที่ 6 ยกย่องว่าเป็นยอด
ของหนังสือประเภทกลอนเสภา ด้วยมีกระบวนกลอนสื่ออารมณ์เนื่องจากสานวนโวหารที่ไพเราะ คมคาย
เนื้อ หามี คติ เตือ นใจ สะท้ อ นให้ เห็ นสภาพชีวิต และสัง คมความเป็ นอยู่ของคนไทย ให้ค วามรู้เกี่ ยวกั บ
ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมไทย และยังให้ความสนุกสนานเพลิดเพลินอีกด้วย
เนื้อเรื่องย่อ ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา กล่าวถึงพลายงาม เมื่อชนะคดีความขุ นช้าง
แล้ว ขุนช้างได้พานางวันทองกลับไปอยู่สุพรรณบุรี ส่วนตัวพลายงามเองก็กลั บไปอยู่บ้านพร้อมหน้าญาติ
และพ่อ ขาดก็แต่แม่ ทาให้พลายงามเกิดความคิดที่จะพานางวันทองกลับมาอยู่ด้วยกัน จะได้พร้อมหน้า
พ่อ แม่ ลูก พอตกดึกจึงไปลอบขึ้นเรือนขุนช้างแล้วพานางวันทองหนีม าอยู่ที่บ้านกับตน ตอนแรกนางก็ไม่
ยินยอมที่จะมา เพราะกลัวจะเป็นเรื่องให้อับอายว่า คนนั้นลากไป คนนี้ลากมาอีก และเกรงจะมีปัญ หา
ตามมาภายหลัง จึงบอกให้พลายงามนาความไปปรึกษาขุนแผน เพื่อฟ้องร้องขุนช้างดีกว่าจะมาลักพาตัวไป
แต่พลายงามไม่ยอม สุดท้ายนางวันทองจึงจาต้องยอมไปกับพลายงาม ฝ่ายขุนช้างนอนฝันร้ายก็ผวาตื่นเอา
ตอนสาย ครั้นตื่นขึ้นมาก็ร้องเรียกหานางวันทอง ออกมาถามบ่าวไพร่ก็ไม่มีใครเห็นจึงโกรธเป็นฟืนเป็นไฟ
มุ่งมั่นจะตามนางวันทองกลับมาให้ได้ ฝ่ายพลายงามก็เกรงว่าขุนช้างจะเอาผิด ถ้ารู้ว่าตนไปพานางวันทอง
มา จะเพ็ดทูลสมเด็จพระพันวษาอีก แม่อาจจะต้องโทษได้ จึงใช้ให้หมื่นวิเศษผลไปบอกขุนช้างว่า ตนนั้น
ป่วยหนักอยากเห็นหน้าแม่ จึงใช้ให้คนไปตามนางวันทองมาเมื่อกลางดึก ขอให้แม่อยู่กับตนสักพักหนึ่ง

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 44


แล้วจะส่งตัวกลับมาอยู่กับขุนช้างตามเดิม ขุนช้างโมโหและแค้นยิ่งนักที่พลายงามทาเหมือนข่มเหงไม่เกรงใจ
ตน จึงร่างคาร้องถวายฎีกาแล้วลอยคอมายังเรือพระที่นั่งของสมเด็จพระพันวษาเพื่อถวายฎีกา ทาให้สมเด็จ
พระพันวษาพิโรธมาก ให้ทหารรับคาฟ้องมาแล้วให้เฆี่ยนขุนช้าง 30 ที แล้วปล่อยไป และยังทรงตั้งกฤษฎีกา
การรักษาความปลอดภัยว่า ต่อไปข้าราชการผู้ใดที่มีหน้าที่รักษาความปลอดภัยแล้วปล่อยให้ใครเข้ามาโดย
มิได้รับอนุญาตจะมีโทษมหันต์ถึงประหารชีวิต กล่าวถึงฝ่ายขุนแผนนอนอยูในเรือนกับนางแก้วกิริยาและนาง
ลาวทองอย่างมีความสุข ครั้นสองนางหลับ ขุนแผนก็คิดถึงนางวันทองที่ พลายงามไปนาตัวมาไว้ที่บ้าน จึง
ออกจากห้องย่องไปหานางวันทองหวังจะร่วมหลับนอนกัน แต่นางปฏิเสธแล้วพากันหลับไป แต่พอตกตึก
นางวันทองก็เกิดฝันร้ายตกใจตื่นเล่าความฝันให้ขุนแผนฟัง ขุนแผนฟังความฝันของนางก็รู้ทันทีว่าเป็นเรื่อง
ร้าย อันตรายถึงชีวิตแน่นอน แต่ก็แกล้งทานายไปในทางดีเสีย เพื่อนางจะได้สบายใจ ฝ่ายสมเด็จพระพันวษา
ครั้นทรงอ่านคาฟ้องของขุนช้างก็ทรงกริ้วยิ่งนัก ให้ทหารไปตามตัวนางวันทอง ขุนแผนและพระไวยมาเฝ้า
ทันที ขุนแผนเกรงว่านางวันทองจะมี ภัย จึงเสกคาถาและขี้ผึ้งให้นางวันทองทาปาก เพื่อให้พระพันวษา
เมตตา แล้วจึงพานางเข้าเฝ้า เมื่อพระพันวษาเห็นนางวันทองก็ใจอ่อนเอ็นดู ตรัสถามเรื่องราวที่เป็นมาจาก
นางวันทองว่า ตอนชนะคดีให้ไปอยู่กับขุนแผนแล้วทาไมจึงไปอยู่กับขุนช้างนางวันทองก็ กราบทูล ด้วยความ
กลัวไปตามจริงว่า ขุนแผนถูก จองจ า ขุนช้างเอาพระโองการไปอ้างให้ฉุดนางไปอยู่ด้วย เพื่อนบ้านเห็ น
เหตุการณ์ก็ไม่กล้าเข้าช่วยเพราะกลัวผิดพระโองการ สมเด็จพระพันวษาฟังความทรงกริ้วขุนช้างมาก ทรงถาม
นางวันทองอีกว่าขุนช้างไปฉุดให้อยู่ด้วยกันมาตั้ง 18 ปี แล้วคราวนี้หนี มาหรือมีใครไปรับ มาอยู่กับขุนแผน
นางวันทองก็ก ราบทู ลไปตามจริงว่า พระไวยเป็นผู้ไปรับ มาเวลาสองยาม ขุนช้างจึงหาความว่า หลบหนี
สมเด็จพระพันวษาทรงกริ้วพระไวยที่ทาอะไรตามใจตน นึกจะขึ้นบ้านใครก็ขึ้น ทาเหมือนบ้านเมืองไม่มีขื่อ มี
แป และว่าขุนแผนรู้เห็นเป็นใจ สมเด็จพระพันวษาทรงคิดว่า สาเหตุของความวุ่นวายทั้งหมดนี้เกิดจากนางวัน
ทองจึงให้นางวันทองตัดสินใจว่าจะอยู่กับใคร นางวั นทองตกใจประหม่า อีกทั้งจะหมดอายุขัยจึงบันดาลให้
พูดไม่ออกบอกไม่ถูกว่าจะอยู่กับใคร นางให้เหตุผลว่า นางรักขุนแผน แต่ขุนช้างก็ดีกับนาง ส่วนพลายงามก็
เป็นลูกรัก ท าให้ส มเด็จ พระพั นวษากริ้วมาก เห็นว่านางวันทองเป็นคนหลายใจ เป็นหญิง แพศยา จึงให้
ประหารชีวิตนาง วันทองเพื่อมิให้เป็นเยี่ยงอย่างแก่ผู้อื่นต่อไป
คุณค่าที่ได้รับ
1. ด้านวรรณศิลป์ แสดงให้เห็นถึงศิลปะการแต่ง คาประพันธ์ เช่น การพรรณนาให้เห็นภาพ สัมผัส
อักษร ภาพพจน์ (อุปมา,อุปลักษณ์,สัทพจน์,คาถามเชิงวาทศิลป์)
2. ด้านสังคม แสดงให้เห็นภาพสังคมไทยในอดีต เช่น ความจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ ความรัก
ระหว่างแม่และลูก สะท้อนให้เห็นชีวิต วัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อ และความเชื่อในกฎแห่งกรรม
ประเด็นแนวคิด
 ความใจร้อน วู่วาม และไม่ใช้ความคิดไตร่ตรอง มักนามาซึ่งความเดือดร้อน
 คุณธรรม จริยธรรม เป็นคุณสมบัติพื้นฐานของการอยู่ร่วมกันในสังคม
 บทบาท อานาจของผู้ชายที่มีต่อสตรีในสังคมไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 45


 การปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ที่กษัตริย์มีอานาจสูงสุด
 ความกตัญญู ความจงรักภักดี การเชื่อฟังคาสั่งสอนของผู้ใหญ่ ของคนไทยในอดีต

บทอาขยานบทเลือก
ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนแผนขึ้นเรือนขุนช้าง
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
โจนลงกลางชานร้านดอกไม้ ของขุนช้างปลูกไว้อยู่ดาษดื่น
รวยรสเกสรเมื่อค่อนคืน ชื่นชื่นลมชายสบายใจ
กระถางแถวแก้วเกดพิกลุ แกม ยี่สุ่นแซมมะสังดัดดูไสว
สมอรัดดัดทรงสมละไม ตะขบข่อยคัดไว้จังหวะกัน
ตะโกนาทิ้งกิ่งประกับยอด แทงทวยทอดอินพรหมนมสวรรค์
บ้างผลิดอกออกช่อขึ้นชูชัน แสงพระจันทร์จับแจ่มกระจ่างตา
ยี่สุ่นกุหลาบมะลิซ้อน ซ่อนชู้ชูกลิ่นถวิลหา
ลาดวนกวนใจให้ไคลคลา สาวหยุดหยุดช้าแล้วยืนชม
ถัดถึงกระถางอ่างน้า ปลาทองว่ายคล่าเคล้าคลึงสม
พ่นน้าดาลอยถอยจม น่าชมชักคู่อยู่เคียงกัน
บ้างแหวกจอกออกช่องภูเขาเคียง วัดเหวี่ยงแว้งหางระเหิดหัน
บ้างกินไคลไล่เคล้าพัลวัน ถัดนั้นแอกไถละไมงอน
กระดึงพรวนล้วนสักหลาดทับ ดาวประดับดวงเด่นดูสลอน
สลักเสลาเกลาเกลี้ยงอรชร เชือกใช้ไว้ซ้อนสลับกัน
เครื่องม้าดาดาษจังหวะวาง เครื่องช้างสารพัดจะจัดสรร
ขอคร่าด้ามพลองทองพัน ถัดนั้นย่างเยื้องชาเลืองมา

6. สาระการเรียนรู้
6.1 หลักการอ่านตีความ แปลความ ขยายความ
6.2 การท่องจาบทอาขยาน
6.3 บทนาเรื่อง (ความเป็นมา ผู้แต่ง ลักษณะคาประพันธ์ เนื้อเรื่องย่อ แนวคิดสาคัญ คุณค่า)
6.4 เนื้อเรื่อง ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา
7. กิจกรรมการเรียนรู้ (แบบ Active Learning)
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (5 นาที)
7.1 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ
7.2 นักเรียนฟังเพลงจากวีดีโอเพลงที่ครูเปิด เพลงสองใจ ศิลปิน ดา เอ็นโดฟิน
7.3 นักเรียนร่วมตอบคาถามและแสดงความคิดเห็นจากประเด็น ดังนี้

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 46


 นักเรียนรู้จักตัวละครในวรรณคดีไทย ขุนช้าง ขุนแผน นางวันทอง หรือไม่
 นักเรียนมีความคิดเห็นอย่างไรกับวลีที่ว่า วันทองสองใจ
 นักเรียนรู้หรือไม่ว่าการถวายฎีกา กระทาไปเพื่อสิ่งใด
 หากนักเรียนอยู่ในสถานการณ์ที่ต้องเลือกดังเช่นนางวันทอง นักเรียนจะเลือกใคร
ขั้นสอน (40 นาที)
7.4 นักเรียนทาใบงานเทคนิค “KWL Plus” จากการศึกษาเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวาย
ฎีกา ตามขั้นตอน ดังนี้
7.4.1 นักเรียนเขียนความรู้เดิมของนักเรียนที่มี เกี่ ยวกับวรรณคดีเรื่องขุนช้างขุนแผนลงใน
ช่อง K (What do I know?) ความรู้เดิม
7.4.2 ก่อนศึกษาบทเรียน นักเรียนตั้งคาถามเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการรู้จากวรรณคดีเสภาเรื่อง
ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา ลงในช่อง W (What do I want to learn?) สิ่งที่อยากรู้
7.5 นักเรียนศึกษาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา ชุดที่ 1 บท
นาเรื่อง ครูบรรยายประกอบ และสาธิตขับเสภา
7.6 หลังจบการบรรยายประกอบบทเรียน นักเรียนสนทนาร่วมกับครู และบันทึกความรู้เพิ่มเติมใน
ใบงานเทคนิค “KWL Plus” ในประเด็นที่ยังไม่รู้ โดยเขียนลงในช่อง L (What did I learn?) สิ่งที่ได้เรียนรู้
ขั้นสรุป (5 นาที)
7.7 นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้จากการอ่านแบบเรียน การศึกษาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ และวิเคราะห์
ร่วมกับเพื่อนในชั้นเรียน เพื่อนาไปเขียนแผนผังความคิด (Plus) ประเด็น ข้อมูลน่ารู้ เรื่อง ขุนช้างขุนแผน
ตอน ขุนช้างถวายฎีกา ลงในกระดาษฟลิปชาร์ทที่ติดไว้ที่กระดาน
7.8 นักเรียนรับมอบหมายท่องจาบทอาขยานบทเลือกทีค่ รูแจกให้ เพื่อฝึกซ้อมและสอบท่องอาขยาน
นอกเวลาเรียน
7.9 ครูแนะนาแหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม
 หนังสือประเภทบทความ สืบสานสร้างสรรค์วรรณศิลป์ ของศาสตราจารย์ ดร. รื่นฤทัย
สัจจพันธุ์
 เพจหนังสือเก่าชาวสยาม
http://www.sac.or.th/databases/siamrarebooks/th/website/home
8. สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้
8.1 แบบเรียนวรรณคดี วรรณกรรม
8.2 บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา ชุดที่ 1 บทนาเรื่อง
8.3 วีดีโอเพลงที่ครูเปิด เพลงสองใจ ศิลปิน ดา เอ็นโดฟิน
8.4 ใบงานเทคนิค “KWL Plus”

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 47


8.5 แผนผังความคิด (Plus) ประเด็น ข้อมูลน่ารู้ เรื่อง ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา
(ผลิตโดยนักเรียน)
8.6 หนังสือประเภทบทความ สืบสานสร้างสรรค์วรรณศิลป์ ของศาสตราจารย์ ดร. รื่นฤทัย
สัจจพันธุ์
8.7 เพจหนังสือเก่าชาวสยาม
http://www.sac.or.th/databases/siamrarebooks/th/website/home
8.8 บทอาขยานบทเลือก
9. ชิ้นงาน/ ภาระงาน
9.1 ใบงานเทคนิค “KWL Plus”
9.2 ท่องจาบทอาขยานบทเลือก
10. เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน
10.1 แนวคาตอบของใบงานเทคนิค “KWL Plus”

K (What do I know?) W (What do I want to learn?) L (What did I learn?)


ความรู้เดิม สิ่งที่อยากรู้ สิ่งที่ได้เรียนรู้
- เป็นวรรณคดีในสมัยอยุธยา - ใครเป็นคนแต่ง - เป็นจุดคล้ายปมของเรื่องรักสามเศร้า
- ไม่ทราบว่าใครเป็นผู้แต่ง - เหตุใดขุนช้างจึงถวายฎีกา นางวั นทอง ตั วละครเอกในเรื่องต้ อง
- เนื้ อเรื่องมี ความยาวมาก และมีมา - ตอนจบของเรื่องนี้เป็อย่างไร ตายเพราะถูกลงโทษประหาร
นาน เรื่องราวมีเค้าโครงจากเรื่องจริง - แต่งขึ้นในสมัยใด - ขุนช้างถวายฎีกา เพราะพลายงามมา
- สถานที่ ใ นเรื่ อ งบางแห่ ง มี อ ยู่ จ ริ ง - เหตุ ใ ดจึ ง เป็ น วรรณคดี ที่ ค นรู้ จั ก พาตั ว นางวั น ทองกลั บ ไปอยู่ ร่ ว มกั บ
เช่น วัดป่าเลไลย์ โดยทั่วไป ขุนแผน
- ขุนช้างขุนแผนมี เค้ ามาจากเรื่องจริง
เป็นนิยายพื้นบ้านย่านสุพรรณบุรีและ
กาญจนบุรี
- การตั ด สิ น โท ษประห าร โดยใช้
อานาจของกษัตริย์

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 48


10.2 เกณฑ์การประเมินการท่องจาบทอาขยาน
ระดับคะแนน
5 4 3
เกณฑ์
การประเมิน
การท่องจาบทอาขยาน ท่องจาบทอาขยานได้ถูกต้อง ท่องจาบทอาขยานได้ถูกต้อง ท่องจาบทอาขยานได้ถูกต้อง
ออกเสียงได้ชัดเจนตามอักขรวิธี ออกเสียงได้ชัดเจนตามอักขรวิธี ออกเสียงได้ชัดเจนตามอักขรวิธี
เว้นจังหวะเหมาะสมสามารถ เว้นจังหวะเหมาะสมสามารถ เว้นจังหวะเหมาะสมสามารถ
ทอดเสียง เอื้อนเสียงและใช้ ทอดเสียง เอื้อนเสียงและใช้ ทอดเสียง เอื้อนเสียงและใช้
น้าเสียงแสดงอารมณ์ได้ น้าเสียงแสดงอารมณ์ได้ค่อนข้าง น้าเสียงแสดงอารมณ์ได้ยังไม่
ไพเราะ ไพเราะ คล่องนัก

11. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ เครื่องมือ เกณฑ์
ประเมินผล การประเมิน
2.1 ด้ า นความรู้ (Knowledge: K) 1.สังเกตพฤติกรรม 1.แบบสังเกต 1.นักเรียนให้
อธิ บ ายความเป็ น มา ประวั ติ ผู้ แ ต่ ง การสนทนา และ พฤติกรรมรายบุคคล ความร่วมมือ
ลั ก ษณะค าประพั น ธ์ ข องบทเสภา ตอบคาถาม 2.แนวคาตอบ 2.ตอบได้อย่างมี
เรื่ อ งขุ น ช้ า งขุ น แผน ตอน ขุ น ช้ า ง 2.ตรวจใบงานเทคนิค 3.เกณฑ์การประเมิน เหตุผลมากกว่า
ถวายฎีกาได้ถูกต้อง “KWL Plus” การท่องจา ร้อยละ80
2.2 ด้ า น ทั ก ษ ะ /ก ร ะ บ วน ก า ร 3.ประเมินการท่องจา บทอาขยาน 3.ท่องจาบท
(Process: P) ตอบค าถามเกี่ ย วกั บ บทอาขยาน อาขยานได้
เนื้อเรื่อง ล าดับ เหตุก ารณ์ ของเรื่อ ง คะแนนระดับ 3
ขุน ช้ างขุ น แผน ตอน ขุ น ช้ างถวาย ขึ้นไป
ฎีกาได้ถูกต้อง
2.3 ด้านคุณลัก ษณะอันพึ งประสงค์
(Attitude: A) บอกคุณค่าของ
การท่องจาบทอาขยานได้

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 49


12. สรุปผลการจัดการเรียนรู้
12.1 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.2 ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.3 ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............

ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

13. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........

ลงชื่อ .................................................
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 50


บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 2
รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา บทเสภาเสนาะกรรณ
***********************************************************************************************************
1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก
...............................................................................................................................................................................
2. ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1) การประเมินผลความรู้หลังการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.....................
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก................................................................................................................................................................
2) การประเมินด้านทักษะกระบวนการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.............
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ...........
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มีนักเรียนทาใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกาหนดเวลา
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน
 อื่น ๆ ..............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนาแผนไปปรับปรุง เรื่อง .......................................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 51


โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
รหัสวิชา ท33101 รายวิชา ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา บทเสภาเสนาะกรรณ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง การอ่านตีความ แปลความ ขยายความ (2) จานวน 1 คาบ ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รกั ษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ไขปัญหาในการดาเนิน
ชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
ม.4-6/2 ตีความ แปลความและขยายความเรื่องทีอ่ ่าน
ม.4-6/3 วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องที่อ่านในทุก ๆ ด้านอย่างมีเหตุผล
ม.4-6/5 วิเคราะห์ วิจ ารณ์ แสดงความคิดเห็ นโต้แย้ง เกี่ ยวกั บ เรื่องที่ อ่าน และเสนอ
ความคิดใหม่อย่างมีเหตุผล
ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนามา
ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ม.4-6/1 วิเคราะห์ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบือ้ งต้น
ม.4-6/4 สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีวรรณกรรม เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) สังเคราะห์แนวคิด แก่นเรื่อง และความรู้ที่เชื่อมโยงกับแนวทาง
ในการดาเนินชีวิตในสังคมไทย ที่ได้จาก เรื่อง ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกาได้อย่างมีเหตุผล
2.2 ด้านทั ก ษะ/กระบวนการ (Process: P) ตีค วาม แปลความ ขยายความ เนื้ อ เรื่อง ขุ นช้ าง
ขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกาได้
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude: A) บอกคุณค่าที่ได้ในด้านคุณธรรม จริยธรรม
3. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs)
 R1–Reading (อ่านออก)
 C1–Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะ
ในการแก้ปญ ั หา)
 C3–Cross-cultural Understanding (ทั ก ษะด้านความเข้าใจต่างวัฒ นธรรม ต่างกระบวนทั ศน์ )

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 52



 C5–Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ
และรู้เท่าทันสื่อ)
 C6–Computing and ICT Literacy (ทั ก ษะด้ า นคอมพิ ว เตอร์ และเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ
การสื่อสาร)
4. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
5. สาระสาคัญ
ประเด็นแนวคิดที่เชื่อมโยงกับสังคมไทย
1. ฐานะและบทบาทของสตรีในสั งคมไทย นางวัน ทองเป็น ตัว อย่างของสตรีไทยสมั ยโบราณ
โดยแท้ คือ เกิดมาเพื่อรับบทของบุตรี ภรรยาและมารดาตามที่ธรรมชาติและสังคมเป็นผู้กาหนด และเมื่อ
ต้องรับบทพลเมืองก็เป็นพลเมืองตามที่ผู้ปกครองพึงปรารถนาให้เป็น เนื่องจากนางวันทองไม่มีโอกาสเลือก
อาจได้แต่เพี ยงคิดแต่ไม่ เคยได้ป ฏิบัติตามที่ คิด นางวันทองถูก ก าหนด เส้นทางของชีวิตให้เป็นไปตาม
ความต้องการของคนอื่นทั้งสิ้น ความเคยชินจากการเป็นผู้ป ฏิบัติ ตาม เมื่อสมเด็จพระพันวษาทรงเปิด
โอกาสให้นางเลือกทางเดินของชีวิตตนเอง นางก็ว้าวุ่นใจไม่อาจตัดสินใจได้ จึงก่อให้เกิดเหตุการณ์อันเศร้า
สะเทือนใจในที่สุด
2. บทบาท อ านาจของพระมหากษั ต ริ ย์ ต่ อ ประชาชนในสั ง คมไทยในการปกครองระบอบ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์ สมเด็จพระพันวษานั้น ถ้าจะพิจารณาอย่างละเอียด ก็จะเห็นได้ว่าแม้จะทรงเป็น
เจ้าชีวิต มีพ ระราชอานาจอันล้นพ้น แต่ก็มิได้ทรงใช้อานาจอย่างปราศจากเหตุผลหรือด้วยพระอารมณ์
หากได้ทรงปฏิบัติอย่างเหมาะสม และทรงมีพฤติกรรมไปในทางที่สมเหตุสมผลที่สุด เนื่องจากต้องแก้ไข
ปัญหาระดับประเทศแล้วยังต้องแก้ไขปัญหาระดับครอบครัวของประชาชน เปรียบเหมือนพ่อหรือผู้ใหญ่ใน
ครอบครัว เมื่อคนในครอบครัวมีเรื่องเดือดร้อนหรือเกิดเหตุการณ์วุ่นวายและมาฟ้องก็ต้องทรงเป็นราชธุระ
3. ค่า นิย มและความเชื่ อเกี่ย วกับสตรี สัง คมไทยไม่นิยมสตรีเยี่ยงนางวันทอง คือมี ส ามีส องคน
ในเวลาเดียวกัน แม้โดยแท้จริงแล้วการที่มีสามีสองคนนั้นมิใช่เกิด จากความปรารถนาของนางเอง แต่จุด นี้
สังคมกลับมองข้าม เห็นแต่เพียงผิวเผินว่านางน่ารังเกียจในทางตรงกันข้าม ค่านิยมเกี่ยวกับการมีภรรยา
หลายคนในเวลาเดียวกัน กลับปรากฎในหมู่คนชั้นสูง โดยฌฉพาะผู้มียศฐาบรรดาศักดิ์ของไทย แต่สังคมไม่
รังเกียจ กลับนิยมยกย่องเพราะค่านิยมกาหนดว่าลักษระเช่นนี้เป็นเครื่องเสริมบารมีและความเป็นบุรุษ
อาชาไนยให้มากยิ่งขึ้น

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 53


ทฤษฎีสตรีนิยม อ้างอิงข้อมูลจาก งานวิจัย บทบาทสตรี: ในมุมมองความยุ ติธรรมในสังคมไทยของ
บุญ วดี มนตรีกุ ล ณ อยุธยา อาจารย์ป ระจ าภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะสัง คมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
มหาวิท ยาลัยมหิดล วารสารการบริห ารปกครอง (Governance Journal) ปีที่ 5 ฉบับ ที่ 2 (กรกฎาคม –
ธันวาคม 2559) ทฤษฎีสตรีนิยมเป็นแบบแผนการวิเคราะห์ที่มีวิธีคิดและวิธีดาเนินการที่มีทิศทาง โดย
เฉพาะที่มุ่งมั่นไปสู่การปลดปล่อยผูห้ ญิงให้พน้ จากการกดขี่เอารัดเอาเปรียบให้สาเร็จ แม้ว่าทฤษฎีสตรีนิยมจะ
มี ความหลากหลายในแนวความคิดแต่ก็ มี ความคล้ายคลึง กั นในประเด็นของการสร้างพลังอ านาจ ทั้ ง นี้
โดยทั่วไป ทฤษฎีสตรีนิยมจะมองภาพรวมของความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านวัตถุ สังคม สติปัญญา และจิต
วิญญาณของมนุษย์ หัวใจสาคัญ ของทฤษฎีสตรีนิยมคือการวิพากษ์บริบททางสังคมและรื้อสร้างการเลือก
ปฏิบัติต่าง ๆ ศูนย์รวมความสนใจที่สาคัญคือ ระบบสังคมที่ชายเป็นใหญ่ (Patriarchy) การครอบงาระบบ
การเมือง เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและกฎหมายโดยผู้ชาย ทฤษฎีสตรีนิยมเน้นความสาคัญของการกาหนดและ
ระบุ ให้ ชั ด เจนว่ าทั ศ นคติอ ย่ างไร ความคาดหวั ง อย่า งใด ภาษาประเภทไหน พฤติ ก รรมอย่ างใด และ
การจัดการทางสังคมชนิดใดที่นาไปสู่การกดขี่เอารัดเอาเปรียบและการทาให้ผู้หญิงต้องกลายเป็นคนชายขอบ
ทฤษฎีสตรีนิยมจะมีความคล้ายคลึงและหยิบยืมเนื้อหาบางส่วนมาจากทฤษฎีความขัดแย้งของมาร์กซ์ ทว่า
ทฤษฎีสตรีนิยมมีความแตกต่าง เมื่อรวมศูนย์การวิเคราะห์ไปที่การครอบงาและ การเลือกปฏิบัติอันมีผลต่อ
การท าให้ เกิ ด การกดขี่ นั้ น ทฤษฎี ส ตรีนิ ย ม ตั้ ง ค าถามเชิ ง ลึก ต่ อ ภววิ ท ยา (Ontology) และญาณวิท ยา
(Epistemology) อย่างแตกต่างจากแนวคิดมาร์กซ์ โดยเชื่อรากเหง้าสาคัญของการแสวงหาความรู้และการ
ปฏิ บั ติ ที่ มี ก ารกดขี่ เ อารั ด เอาเปรี ย บและเลื อ กปฏิ บั ติ ต่ อ ผู้ ห ญิ งก็ คื อ ลั ท ธิ ผู้ ช ายเป็ น ศู น ย์ ก ลาง
(Androcentrism)
สมบูรณาญาสิทธิราชย์ (อังกฤษ: Absolute Monarchy) คือ ระบอบการปกครองที่มีกษัตริย์เป็น
ผู้ปกครองและมีสทิ ธิ์ขาดในการบริหารประเทศ ในระบอบการปกครองนี้ กษัตริย์ก็คือกฎหมาย กล่าวคือ ที่มา
ของกฎหมายทั้งปวงอยู่ที่กษัตริย์ คาสั่ง ความต้องการต่าง ๆ ล้วนมีผลเป็นกฎหมายกษัตริย์ มีอานาจในการ
ปกครองแผ่นดินและพลเมืองโดยอิสระ โดยไม่มีกฎหมายหรือองค์กรตามกฎหมายใด ๆ จะห้ามปรามได้ แม้
องค์ก รทางศาสนาอาจทั ดทานกษัตริย์จ ากการกระท าบางอย่างและองค์รัฏฐาธิปัตย์ (กษัตริย์) นั้นจะถูก
คาดหวังว่าจะปฏิบัติตามธรรมเนียม แต่ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์นั้น ไม่มีรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย
ใด ๆ ที่จะอยู่เหนือกว่าคาชี้ขาดของรัฏฐาธิปัตย์ ตามทฤษฎีพลเมืองนั้น ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มอบ
ความไว้วางใจทั้งหมดให้กับพระเจ้าแผ่นดินที่ดีพร้อมทางสายเลือด และได้รับการเลี้ยงดูฝึกฝนมาอย่างดีตั้งแต่
เกิดในทางทฤษฎี กษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์จะมี อานาจทั้งหมดเหนือประชาชนและแผ่นดิน
รวมทั้ งเหนื อ อภิ ช นและบ างครั้ ง ก็ เ ห นื อ คณ ะสงฆ์ ด้ ว ย ส่ ว นในท างปฏิ บั ติ กษั ตริ ย์ ใ นระ บ อบ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์มักจะถูกจากัดอานาจ โดยทั่วไปโดยกลุ่มที่กล่าวมาหรือกลุ่มอื่น

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 54


6. สาระการเรียนรู้
6.1 เนื้อเรื่อง ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา
6.2 ทฤษฎีสตรีนิยม
6.3 ระบอบการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
6.4 หลักการวิเคราะห์ วิจารณ์วรรณคดีเบื้องต้น
7. กิจกรรมการเรียนรู้ (แบบ Active Learning)
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (10 นาที)
7.1 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ
7.2 นักเรียนดูละครโทรทัศน์ เรื่อง นางวันทอง ของช่อง 31 (ตอน สั่งประหารนางวันทอง)
https://www.one31.net/news/detail/28912
7.3 นักเรียนร่วมตอบคาถามและแสดงความคิดเห็นจากประเด็น ดังนี้
 นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับระบอบการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือไม่
 นักเรียนมีความคิดเห็นอย่างไรกับวลีที่ว่า ผู้ชายเป็นช้างเท้าหน้า
 หากนักเรียนเป็นขุนแผน ขุนช้าง หรือพลายงาม นักเรียนจะมีแนวทางในการช่วยเหลือ
นางวันทองไม่ให้ได้รับโทษประหารอย่างไร
ขั้นสอน (35 นาที)
7.4 นักเรียนท าใบงานเทคนิค “KWL Plus” จากการศึกษาเรื่องขุ นช้างขุนแผน ตอน ขุนช้าง
ถวายฎีกา ตามขั้นตอน ดังนี้
7.4.1 นักเรียนเขียนความรู้เดิมของนักเรียน ที่มีเกี่ยวกับแนวคิด ข้อคิดที่ปรากฏในเรื่อง
ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา ลงในช่อง K (What do I know?) ความรู้เดิม
7.4.2 ก่ อ นศึก ษาบทเรียน นัก เรียนตั้งคาถามเกี่ ยวกั บ สิ่งที่ ต้องการรู้ เกี่ยวกับ แนวคิด
ข้อคิดที่ปรากฏในเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา ลงในช่อง W (What do I want to learn?)
สิ่งที่อยากรู้
7.5 นักเรียนศึกษาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา ชุดที่ 2
เนื้อเรื่อง : แนวคิด ข้อคิดที่ปรากฏในเนื้อเรื่อง ครูบรรยายประกอบ
7.6 หลังจบการบรรยายประกอบบทเรียน นักเรียนสนทนาร่วมกับครู และบันทึกความรู้เพิ่มเติม
ในใบงานเทคนิค “KWL Plus” ในประเด็นเกี่ยวกับแนวคิด ข้อคิดที่ปรากฏในเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอน ขุน
ช้างถวายฎีกา โดยเขียนลงในช่อง L (What did I learn?) สิ่งที่ได้เรียนรู้

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 55


ขั้นสรุป (5 นาที)
7.7 นั ก เรียนสรุ ป ความรู้ ที่ ได้จ ากการอ่านแบบเรียน การศึก ษาบทเรียนอิเล็ ก ทรอนิก ส์ และ
วิเคราะห์ร่วมกับเพื่อนในชั้นเรียน เพื่อนาไปเขียนแผนผังความคิด (Plus) ประเด็น ข้อมูลน่ารู้ เรื่อง ขุนช้าง
ขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา ลงในสมุดบันทึกความรู้ของตนเอง
7.8 ครูแนะนาแหล่งเรียนรูเ้ พิ่มเติม
 เว็บไซต์ของสาขาวิชาภาษาไทย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
https://sites.google.com/site/khunphaen2557/taw-lar
 งานวิจัยบทบาทสตรี:ในมุมมองความยุติธรรมในสังคมไทยของ บุญวดี มนตรีกุล ณ อยุธยา
อาจารย์ประจาภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล วารสาร
การบริหารปกครอง (Governance Journal) ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2559)
8. สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้
8.1 แบบเรียนวรรณคดี วรรณกรรม
8.2 บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา ชุดที่ 2 เนื้อเรื่อง : แนวคิด
ข้อคิดที่ปรากฏในเนื้อเรื่อง
8.3 ละครโทรทัศน์ เรื่อง นางวันทอง ของช่อง 31
8.4 ใบงานเทคนิค “KWL Plus”
8.5 แผนผัง ความคิด (Plus) ประเด็น ข้อ มู ล น่ารู้ เรื่อง ขุ นช้ างขุนแผน ตอน ขุน ช้างถวายฎี ก า
(ผลิตโดยนักเรียน)
8.6 เว็บไซต์ของสาขาวิชาภาษาไทย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
8.7 งานวิจัย บทบาทสตรี: ในมุมมองความยุติธรรมในสังคมไทยของ บุญวดี มนตรีกุล ณ อยุธยา
อาจารย์ป ระจาภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิท ยาลัยมหิดล วารสาร
การบริหารปกครอง (Governance Journal) ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2559)
9. ชิ้นงาน/ ภาระงาน
9.1 ใบงานเทคนิค “KWL Plus”
9.2 บันทึ กความรู้ในรูป แบบแผนผังความคิด (Plus) ประเด็นเกี่ยวกั บ แนวคิด ข้อคิดที่ป รากฏใน
เนื้อเรื่อง
10. เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน
10.1 แนวคาตอบของใบงานเทคนิค “KWL Plus”

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 56


K (What do I know?) W (What do I want to learn?) L (What did I learn?)
ความรู้เดิม สิ่งที่อยากรู้ สิ่งที่ได้เรียนรู้

- กษัตริย์ตัดสินประหารนางวันทอง - เหตุใดพระพันวษาต้องตัดสินประหาร - นางวันทองไม่ไดเป็นหญิงสองใจ


เพราะเป็นหญิงสองใจ นางวันทอง - พระพันวษาต้องรักษากฎหมาย
- ไม่ทราบว่าตอนจบของเรื่องเป็น - นางวันทองสองใจจริงหรือไม่ บ้านเมือง
อย่างไร - ตอนจบของเรื่องนี้เป็อย่างไร - หากนางวันทองเป็นสตรีที่มีแนวคิด
- ชื่อนางวันทองถูกใช้เป็นคา - นางวันทองมีเหตุผลอะไรที่ไม่ตัดสินใจ เหมือนสตรีในปัจจุบัน หรือมีความ
สัญลักษณ์ที่ใช้เรียกแทนผู้หญิงเจ้าชู้ เลือกใครสักคน กล้าหาญ นางวันทองจะไม่ตาย
- ในอดีตผู้ชายมีบทบาท อานาจเหนือ
ผู้หญิง
10.2 เกณฑ์การประเมินการบันทึกความรู้
บันทึกความรู้ได้ครบถ้วน 5 คะแนน
เขียนแผนผังความคิดถูกต้อง 5 คะแนน
รวม 10 คะแนน ผ่านเกณฑ์ 5 คะแนนขึ้นไป
11. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ เครื่องมือ เกณฑ์
ประเมินผล การประเมิน
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) 1.สังเกตพฤติกรรม 1.แบบสังเกต 1.นักเรียนให้
สังเคราะห์แนวคิด แก่นเรื่อง และ การสนทนา และ พฤติกรรมรายบุคคล ความร่วมมือ
ความรู้ที่เชื่อมโยงกับแนวทางใน ตอบคาถาม 2.แนวคาตอบ 2.ตอบได้อย่างมี
การดาเนินชีวิตในสังคมไทย ที่ได้ 2.ตรวจใบงานเทคนิค 3.เกณฑ์การประเมิน เหตุผลมากกว่า
จาก เรือ่ ง ขุนช้างขุนแผน ตอน “KWL Plus” การบันทึกความรู้ ร้อยละ80
ขุนช้างถวายฎีกาได้อย่างมีเหตุผล 3.ตรวจสมุดบันทึก 3. บันทึกความรู้มี
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ ความรู้ ผลคะแนนผ่าน
(Process: P) ตีความ แปลความ เกณฑ์ 5 คะแนน
ขยายความ เนื้อเรื่อง ขุนช้าง ขึ้นไป
ขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกาได้
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
(Attitude: A) บอกคุณค่าที่ได้ใน
ด้านคุณธรรม จริยธรรม

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 57


12. สรุปผลการจัดการเรียนรู้
12.1 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.2 ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………...........
12.3 ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..........

ลงชื่อ .................................................ผูส้ อน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

13. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………......
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….......
ลงชื่อ .....................................................
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 58


บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 3
รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา บทเสภาเสนาะกรรณ
*********************************************************************************************************************
1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก.............................................................................
2. ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1) การประเมินผลความรู้หลังการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.....................
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก................................................................................................................................................................
2) การประเมินด้านทักษะกระบวนการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.............
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ...........
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มีนักเรียนทาใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกาหนดเวลา
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน
 อื่น ๆ ..............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนาแผนไปปรับปรุง เรื่อง .......................................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ .................................................ผูส้ อน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 59


โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
รหัสวิชา ท33101 รายวิชา ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา บทเสภาเสนาะกรรณ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง การวิเคราะห์วิจารณ์ สังเคราะห์ ประเมินค่าแนวคิด (1) จานวน 1 คาบ ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ไขปัญหาในการดาเนิน
ชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
ม.4-6/3 วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องที่อ่านในทุก ๆ ด้านอย่างมีเหตุผล
ม.4-6/4 คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านและประเมินค่าเพื่อนาความรู้ ความคิดไปใช้ตัดสินใจ
แก้ปัญหาในการดาเนินชีวิต
ม.4-6/5 วิเคราะห์ วิ จ ารณ์ แสดงความคิ ดเห็ นโต้ แย้ ง เกี่ ยวกั บ เรื่อ งที่ อ่า น และเสนอ
ความคิดใหม่อย่างมีเหตุผล
ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนามา
ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ม.4-6/1 วิเคราะห์ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น
ม.4-6/4 สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีวรรณกรรม เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) อธิบายหลักการวิเคราะห์วิจารณ์ สังเคราะห์ ประเมินค่าแนวคิด
จากเรื่องที่อ่านได้อย่างมีเหตุผล
2.2 ด้านทั ก ษะ/กระบวนการ (Process: P) วิเคราะห์ สัง เคราะห์ เชื่อมโยงทฤษฏีจิตวิเคราะห์
(Psychoanalytic theory) กับลักษณะนิสัยของตัวละครในเรื่อง ขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกาได้
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude: A) บอกแนวทางการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม
ให้ตนเอง
3. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs)
 R1–Reading (อ่านออก)
 C1–Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะ
ในการแก้ปัญหา)
 C3–Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์)
 C5–Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ
และรูเ้ ท่าทันสื่อ)

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 60


 C6–Computing and ICT Literacy (ทั ก ษะด้ า นคอมพิ ว เตอร์ และเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ
การสื่อสาร)
4. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
5. สาระสาคัญ
ลักษณะนิสัยและบทบาทของตัวละครใน เรื่อง ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา
1. ขุนช้าง มีลักษณะรูปชั่วตัวดาหัวล้านมาแต่กาเนิด นิสัยเจ้าเล่ห์เพทุบาย แม้เกิดมาเป็นลูกเศรษฐี
มีฐานะร่ารวย แต่ก็อาภัพถูกแม่เกลียดชัง ถูกล้อเลียน ขุนช้างหมายปองนางพิมพิลาไลยแต่นางไม่ยินดีด้วย แต่
ขุนช้างก็ยังไม่ลดความพยายามคงใช้อุบ าย เล่ห์เ หลี่ยมชิงตัวนางวันทองมา ข้อดีของขุนช้าง คือรักเดี ยวใจ
เดียว บทบาทหน้าที่ของการเป็นสามี ทาหน้าที่ได้เป็นอย่างดี ดูแลภรรยาเป็นตัวแทนผู้ชายไทยในอดีตที่ใช้
อานาจเงินให้ได้มาซึ่งสิ่งที่ต้องการ
2. ขุนแผน มีรูปร่าง หน้าตางดงาม คมสัน สติปัญ ญาเฉลียวฉลาด ด้วยลักษณะนิสัยเป็นคนเจ้าชู้
และมีคารมคมคาย เป็นผู้ใฝ่หาความรู้ทางโหราศาสตร์ ปลุกผี อยู่ยงคงกระพัน คาถามหาละลวยทาให้ผู้หญิง
รัก ตลอดจนวิชาจากตารับ พิ ชัยสงคราม และยังมีความสามารถเทศนได้ไพเราะ ใจกล้าบ้าบิ่นบทบาทใน
การเป็นสามี ขุนแผนทาได้ไม่ดีนัก เนื่องจากมีนิสัยเจ้าชู้ แต่ด้วยความสามารถจึงมีโอกาสก้าวหน้าในหน้าที่
การงานสูงกว่าขุนช้าง บทบาทในการเป็นข้าราชการทหาร ท าหน้าที่ ได้ดี จงรัก ภัก ดีต่อพระมหากษัตริย์
เสียสละชีวิตออกสู้รบ เพื่อชาติ
3. นางวันทอง หรือ นางพิมพิลาไลยเป็นหญิงรูปงามแต่ปากจัด เนื่องจากกลลวงของขุนช้างทาให้ถูก
แม่ บังคับ ให้แต่งงานใหม่ กั บ ขุนช้างท าให้ถูก ประณามว่าเป็นหญิง สองใจ นางวันทองเป็นคนที่ ไม่ ก ล้าที่ จ ะ
ตัดสินใจ เป็นคนซื่อ ไม่ค่อยฉลาดเท่าใดนัก แต่สังคมไทยเน้นให้ผู้หญิงอยู่ในกรอบของประเพณี จึงทาให้ดู
เหมือนว่านางวันทองไม่รักนวลสงวนตัว นางวันทองมีความละเอียดอ่อน รับรู้ถึงความดีของผู้อื่นที่ ปฏิบัติต่อ
นาง บทบาทของการเป็นภรรยา นางวันทองท าหน้ าที่ ภรรยาได้ส มบู ร ณ์ ทั้ ง งานบ้านงานเรือน บทบาท
ความเป็ น แม่ นางวันทองเป็ นแม่ ที่ ดี คื อเมื่ อ เห็ นลู ก ก าลัง กระท าผิ ดก็ ไม่ เห็ น ดีเห็ น งามด้ วย นอกจากนี้
นางวันทองยังเป็นคนกล้าที่จะยอมรับชะตากรรมของตัวเอง มีน้าใจเมตตา และให้อภัยโดยไม่เคียดแค้น
4. พลายงาม มี ตาแหน่ง ราชการเป็น จมื่นไวยวรนาถ ซึ่งมัก เรียกสั้น ๆ ว่า พระไวยหรือ หมื่ นไวย
พลายงามได้เรียนวิชาจากตาราของพ่อจนเชี่ยวชาญมีความสามารถเช่นเดียวกับขุนแผน ใจกล้าบ้าบิ่น ใจร้อน
วู่วาม ตามประสาวัยรุ่น บทบาทในความเป็นลูกคือ มีความกตัญญูต่อบิดามารดา เชื่อฟังคาสั่งสอนของผู้ใหญ่
บทบาทการเป็นข้าราชการทหาร คือ จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ และมีใจรักชาติ
5. สมเด็จพระพันวษา เป็นพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา ยุคนี้เป็นยุคที่บ้านเมืองเจริญรุ่ง เรือง
มีความอุดม สมบูรณ์ราษฎรทั้งหลายอยู่กันอย่างร่มเย็นเป็นสุข บรรดาประเทศใกล้เคียงก็อ่อนน้อม เพราะ
ยาเกรงบารมี แต่พระองค์มีนิสัย โกรธง่าย แต่พระองค์ก็นับว่าเป็นพระมหากษัตริย์ที่มีความยุติธรรมต่อพวก
ทหาร เสนา อามาตย์ และราษฎรพอสมควร เมื่อมี คดีฟ้องร้องกัน ก็จะให้มีการไต่สวน และพิสูจน์ความจริง

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 61


การเชื่อมโยงทฤษฏีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalytic theory) กับลักษณะนิสัยของตัวละครใน
เรื่อง ขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา
ทฤษฏีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalytic theory)
ผู้นาทฤษฏีนี้คือ ฟรอยด์ (Freud) จิตแพทย์ออสเตรีย (สมพร สุทั ศนีย์ , 2541, หน้า 185-186)
นักจิตวิทยากลุ่มนี้เชื่อว่าธรรมชาติดั้งเดิมของมนุษย์มีความเลวติดตัวมาตั้งแต่เกิด พฤติกรรมต่าง ๆ เกิดจาก
สัญชาตญาณซึ่งเป็นแรงกระตุ้นที่เกิดจากภายใน สัญชาตญาณดังกล่าวมี 2 ชนิด คือ 1. สัญชาตญาณทางเพศ
ซึ่ง ผลัก ดัน ให้บุคคลแสดงพฤติก รรมออกมาเพื่อให้มี ชีวิตอยู่ร อด และ 2. สัญ ชาตญาณความก้าวร้าว เป็ น
แรงผลักดันให้บุคคลแสดงพฤติกรรมออกมาในลั กษณะก้าวร้าวทาลาย ซึ่งแสดงออก 2 ลักษณะคือ ก้าวร้าว
ตนเอง และก้าวร้าวผู้อื่น
นอกจากพฤติกรรมจะเกิดจากสัญชาตญาณดังกล่าว ซึ่งแอบแฝงอยู่ในจิต ที่เรียกว่า จิตไร้สานึกแล้ว
พฤติกรรมจะเกิดจากระบบของจิต 3 ระบบ คือ อิด (id) อีโก้ (ego) และซุปเปอร์อีโก้ (super ego) พฤติกรรม
ส่วนใหญ่เกิดจากอิด (id) คือพฤติกรรมที่แสดงออกเพื่อสนองความพอใจของตนเองฝ่ายเดียว โดยมิได้คานึงถึง
ความรู้สึกของผู้อื่น เมื่อ บุคคลต้อ งการกระท าสิ่งใดก็ลงมือท าทันที โดยไม่ ใคร่ครวญ การกระทาจึงไม่เป็นที่
ยอมรับของสังคม แต่หากทาไม่ได้ก็จะเกิดความเครียด ทางออกที่ดีที่สุดคือใช้กลไกการป้องกันตนเองที่เรียกว่า
“การทดเทิด” (Sublimation) คือ แสดงพฤติกรรมที่ดีแทนพฤติกรรมที่ไม่ดี เช่น ฝึก เป็นนักมวยที่มีชื่อเสียง
แทนพฤติกรรมก้าวร้าวเกเร หรือทดแทนความกดดันทางเพศ ทางศาสนาเรียกอิด (id) นี้ว่า สัญชาตญาณดิบ
ซึ่งมีราคะ โลภะ โทสะ เป็นพื้นฐานอยู่ และอาจแฝงด้วยโมหะ กล่าวโดยรวมสิ่งที่ ฟรอยด์เรียกว่า อิด (id) นั่นก็
คืออกุ ศลจิตในพระพุ ทธศาสนานั่นเอง (วศิ น อินทสระ,2541, หน้า 82) พฤติกรรมที่เกิดจากอีโก้ (ego) คือ
พฤติกรรมที่เป็นไปตามหลักเหตุผล และความเป็นจริง เช่น นายแดงอยากฟังเพลงเสียงดัง เขาจะไม่เปิดให้
เสียงดังเพราะจะทาให้คนอื่นเดือดร้อน แต่เขาจะคิดหาเหตุผลว่าทาอย่างไรจึงจะสนองความต้องการได้ แสดง
ว่าพฤติกรรมแบบอีโก้ (ego) แม้จะเป็น พฤติกรรมที่เป็นไปตามหลักเหตุผลก็จริง แต่ยังมีความต้องการสนอง
ความพอใจของตนเอง เรียกว่า ยังมี “อัสมิมานะ” ได้แก่ ความรู้สึกว่า ตัวฉัน ตัวเรา คืออหังการ หรือความรู้สึก
ของจิตที่ยังมีอหังการอยู่ ยังมีอัสมิมานะอยู่นั่นเองพฤติกรรมที่เกิดจากซุปเปอร์อีโก้ (super ego) ซุปเปอร์อีโก้
เป็นส่วนของคุณธรรม คนที่มีซุปเปอร์อีโก้จะเป็นคนที่มีคุณธรรม และมีความรับผิดชอบสูง แสดงว่ามนุษย์ยังมี
คุณธรรม จริยธรรม หรือทางพระเรียกว่ามี “กุศลเจตสิก” คอยยับยั้งเอาไว้ ไม่ให้กระทาตามใจอยากเสียทุก
อย่าง คนที่มีซุปเปอร์อีโก้สูงจึงเป็นคนมีคุณธรรมจริยธรรมและมีความรับผิดชอบสูง ซุปเปอร์อีโก้ เป็นส่วนที่
เกิดจากการอบรมสั่งสอน การถูกควบคุมโดยขนบธรรมเนียมประเพณี การกลัวโทษทัณฑ์เมื่อทาผิด เมื่ออิด
(id) กับ ซุปเปอร์อีโก้ (super ego) เกิดขึ้นในจิตพร้อมกัน อีโก้ (ego) จะต้องทาหน้าที่ตัดสินว่า จะเอาอย่างไรดี
ซึ่งจะก่อให้เกิดความขัดแย้งขึ้นในตน (self–conflict) ทาให้มนุษย์ยุ่งยากใจในการตัดสินใจ แม้ธรรมจะชนะ
อธรรมในบางคราว ก็ ไม่ ได้แปลว่าอิด (id) จะหายไป มั นเพียงแต่ถูก กดข่ม ไว้เท่ านั่น เมื่ อใดจริยธรรมหรือ
ซุปเปอร์อีโก้อ่อนแอลง เมื่อนั้นอิด (id) จะแผลงฤทธิ์ ขึ้นมาอีก และอาจรุนแรงกว่าเดิม เพราะถูกเก็บกดไว้มาก
ในสังคมมนุษย์มี ขนบประเพณีเข้ม งวดกวดขัน มนุษย์ต้องอยู่ในกรอบทั้งที่ไม่สมัครใจนั่น ดูอาการภายนอก
เหมือนว่าเรียบร้อยดี เพราะอิด (id) ถูกกดข่มไว้ด้วยขนบธรรมเนียมประเพณีและศีลธรรม แต่ภายในใจของ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 62


เขาจะ รุ่ม ร้อ นวุ่นวาย สับสน ไม่เหมือนผู้ที่อยู่อย่างสมัครใจ และเห็นคุณค่า จิตของใครมีแต่ซุปเปอร์อีโก้
(superego) ไม่มีอิด (id) จิตนั้นจะสงบร่มเย็น ไม่มีความขัดแย้ง สดชื่นอยู่ภายในเสมอ
6. สาระการเรียนรู้
6.1 เนื้อเรื่อง ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา
6.2 ทฤษฏีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalytic theory)
6.3 ลักษณะนิสัยของตัวละคร ได้แก่ ขุนช้าง ขุนแผน วันทอง พลายงาม พระพันวษา
6.4 หลักการวิเคราะห์ วิจารณ์วรรณคดีเบื้องต้น
7. กิจกรรมการเรียนรู้ (แบบ Active Learning)
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (10 นาที)
7.1 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ
7.2 นัก เรี ยนฟั ง การบรรยายเกี่ ยวกั บ ทฤษฏี จิต วิเ คราะห์ (Psychoanalytic theory) ประกอบ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์
7.3 นักเรียนร่วมตอบคาถามและแสดงความคิดเห็นจากประเด็น ดังนี้
 นัก เรียนคิดว่าอุป นิสัยส่วนตัวของพระพันวษาเป็นปัจ จัยที่ท าให้นางวันทองต้องตายใช่
หรือไม่
 นักเรียนมีความคิดเห็นอย่างไรกับการที่ขุนช้างถวายฎีกา
 หากนักเรียนเป็นขุนแผน ขุนช้าง หรือพลายงาม นักเรียนจะมีแนวทางในการช่วยเหลือ
นางวันทองไม่ให้ได้รับโทษประหารอย่างไร
ขั้นสอน (35 นาที)
7.4 นักเรียนทาใบงานเทคนิค “KWL Plus” จากการศึกษาเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้าง ถวาย
ฎีกา ตามขั้นตอน ดังนี้
7.4.1 นักเรียนเขียนความรู้เดิมของนักเรียนที่มีเกี่ยวกับ ลักษณะนิสัยและบทบาทของตัวละคร
ในเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา ลงในช่อง K (What do I know?) ความรู้เดิม
7.4.2 ก่อนศึกษาบทเรียน นักเรียนตั้งคาถามเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการรู้เกี่ยวกับลักษณะนิสัยและ
บทบาทของ ตัวละครในเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา ลงในช่อง W (What do I want to
learn?) สิ่งที่อยากรู้
7.5 นัก เรียนแบ่ง กลุ่ม 5 กลุ่ม จากนั้นร่วมกั นวิเคราะห์ลัก ษณะนิสั ยของตัวละคร ได้แก่ ขุน ช้าง
ขุนแผน วันทอง พลายงาม พระพันวษา โดยใช้วิธีการจับสลากเลือก ตัวแทนกลุ่มสวมหมวกรูปภาพตัวละคร
นาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน ประเด็นที่ต้องวิเคราะห์ มีดังนี้ 1) ลักษณะนิสัย 2) บทบาทสาคัญ ในเรื่อง 3)
ระบบของจิตอยู่ในระดับใด (อิด,อีโก้,ซุปเปอร์อีโก้)

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 63


7.6 หลังจบกิจกรรมกลุ่ม นักเรียนสนทนาร่วมกับ ครู และบันทึกความรู้เพิ่มเติมในใบงานเทคนิค
“KWL Plus” ในประเด็นเกี่ยวกับลักษณะนิสัยและบทบาทของตัวละครในเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้าง
ถวายฎีกา โดยเขียนลงในช่อง L (What did I learn?) สิ่งที่ได้เรียนรู้
ขั้นสรุป (5 นาที)
7.7 นัก เรียนสรุป ความรู้ที่ ได้จ ากกิ จ กรรมกลุ่ม ร่วมกั บ เพื่อนในชั้นเรียน เพื่อนาไปเขียนแผนผัง
ความคิด (Plus) ประเด็น ข้อมูลน่ารู้ เรื่อง ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา ลงในสมุดบันทึกความรู้
7.8 ครูแนะนาแหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม
 เว็บไซต์ของสานักพิมพ์หกเหลี่ยม https://www.sixfacetspress.net/content/4849/
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของซิกมันด์-ฟรอยด์-บิดาแห่งจิตวิเคราะห์
8. สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้
8.1 แบบเรียนวรรณคดี วรรณกรรม
8.2 บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ทฤษฏีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalytic theory)
8.3 หมวกรูปภาพตัวละคร
8.4 ใบงานเทคนิค “KWL Plus”
8.5 แผนผังความคิด (Plus) ประเด็น ข้อมูลน่ารู้ เรื่อง ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา
(ผลิตโดยนักเรียน)
8.6 เว็บไซต์ของสานักพิมพ์หกเหลี่ยม
9. ชิ้นงาน/ ภาระงาน
9.1 ใบงานเทคนิค “KWL Plus”
9.2 บันทึกความรู้ในรูปแบบแผนผังความคิด (Plus) ประเด็นเกี่ยวกับลักษณะนิสัยและ บทบาทของ
ตัวละคร
10. เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน
10.1 แนวคาตอบของใบงานเทคนิค “KWL Plus”
K (What do I know?) W (What do I want to learn?) L (What did I learn?)
ความรู้เดิม สิ่งที่อยากรู้ สิ่งที่ได้เรียนรู้
- ขุนแผนคนดี ขุนช้างคนไม่ดี - เหตุใดไม่มีใครช่วยเหลือนางวันทอง - การตัดสินโทษ ขึ้นอยู่กับพระราชอานาจของ
- พระพันวษาใช้อานาจตัดสิน ให้รอดจากการถูกประหาร พระมหากษัตริย์
ชีวิตผู้อื่น - ขุนช้างเป็นต้นเหตุที่ทาให้นางวันทอง - การถวายฎีกาของขุนช้างเป็นสาเหตุ
- นางวันทองเป็นผู้หญิงน่าสงสาร โดนประหารชีวิตใช่หรือไม่ หนึ่งของการถูกประหาร
- ตัวละครชายในเรื่องไม่มีใคร - พระพันวษา เป็นกษัตริย์ที่ใช้อานาจ - พระพันวษา เป็นกษัตริย์ที่ใช้อานาจ
ช่วยเหลือนางวันทองได้ เกินกว่าเหตุหรือไม่ ตามระบอบการปกครองในสมัยนั้น
- การถวายฎีกา เป็นสิ่งที่ควรกระทา - การถวายฎีกา เป็นสิ่งที่กระทาได้
หรือไม่ ขึ้นอยู่กับความทุกข์ คดีความที่ไปยื่นฎีกา

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 64


10.2 เกณฑ์การประเมินการบันทึกความรู้
บันทึกความรู้ได้ครบถ้วน 5 คะแนน
เขียนแผนผังความคิดถูกต้อง 5 คะแนน
รวม 10 คะแนน ผ่านเกณฑ์ 5 คะแนนขึ้นไป
11. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน
ประเมินผล
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: อธิบ าย 1.สังเกตพฤติกรรม 1.แบบสังเกต 1.นักเรียนให้
หลั ก การวิเคราะห์ วิจ ารณ์ สัง เคราะห์ จากกิจกรรมกลุ่ม พฤติกรรมรายกลุ่ม ความร่วมมือ
ประเมิ น ค่ าแนวคิ ด จากเรื่ อ งที่ อ่ านได้ 2.ตรวจใบงานเทคนิค 2.แนวคาตอบ 2.ตอบได้อย่างมี
อย่างมีเหตุผล “KWL Plus” 3.เกณฑ์ การ
เหตุผลมากกว่า
2.2 ด้านทั กษะ/กระบวนการ(Process: 3.ตรวจสมุดบันทึก ประเมิน ร้อยละ80
P) วิเคราะห์ สังเคราะห์ เชื่อมโยงทฤษฏี ความรู้ การบันทึกความรู้ 3. บันทึกความรู้มี
จิตวิเคราะห์ (Psychoanalytictheory) ผลคะแนน
กั บ ลั ก ษณะนิ สั ย ของตั ว ละครในเรื่อ ง ผ่านเกณฑ์
ขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกาได้ 5 คะแนนขึ้นไป
2.3 ด้ า นคุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์
(Attitude : A) บอกแนวทางการเสริม
สร้างคุณธรรม จริยธรรมให้ตนเอง

12. สรุปผลการจัดการเรียนรู้
12.1 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….............
12.2 ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.3 ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………...........

ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 65


13. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….....
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….....

ลงชื่อ .................................................
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 66


บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 4
รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา บทเสภาเสนาะกรรณ
***********************************************************************************************************
1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก
...............................................................................................................................................................................
2. ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1) การประเมินผลความรู้หลังการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.....................
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก................................................................................................................................................................
2) การประเมินด้านทักษะกระบวนการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.............
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ...........
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มีนักเรียนทาใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกาหนดเวลา
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน
 อื่น ๆ ..............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนาแผนไปปรับปรุง เรื่อง .......................................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 67


โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
รหัสวิชา ท33101 รายวิชา ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา บทเสภาเสนาะกรรณ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง การพูดวิเคราะห์วิจารณ์ ประเมินคุณค่าวรรณศิลป์ (1) จานวน 1 คาบ ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ความคิด ความรู้ในโอกาส
ต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
ม.4-6/2 วิเคราะห์แนวคิด การใช้ภาษา และความน่าเชื่ อถือจากเรื่องที่ ฟังและดูอย่างมี
เหตุผล
ม.4-6/3 ประเมินเรื่องที่ฟังและดู แล้วกาหนดแนวทางนาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต
ม.4-6/5 พูดในโอกาสต่าง ๆ พูดแสดงทรรศนะโต้แย้ง โน้มน้าวใจ และเสนอแนวคิดใหม่ด้วย
ภาษาถูกต้อง เหมาะสม
ม.4-6/6 มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ
นามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ม.4-6/1 วิเคราะห์ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) อธิบ ายหลัก การวิเคราะห์ วิจ ารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม
ด้านวรรณศิลป์ ตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้นได้อย่างมีเหตุผล
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (Process: P) วิเคราะห์ สังเคราะห์ คุณค่าด้านวรรณศิลป์จากเรื่อง
ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกาได้
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude: A) พรรณนาความซาบซึ้งและอรรถรสทางภาษา
ของเรื่อง ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกาได้
3. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs)
 R1–Reading (อ่านออก)
 C1–Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะ
ในการแก้ปัญหา)
 C3–Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์)
 C5–Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ
และรูเ้ ท่าทันสื่อ)

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 68


 C6–Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสือ่ สาร)
4. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ และกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
5. สาระสาคัญ
โวหารที่ปรากฏในเนื้อเรื่อง
 การบรรยายโวหาร (รสวรรณคดีไทย:เสาวรจนีย์)
ฟ้าขาวดาวเด่นดวงสว่าง จันทร์กระจ่างทรงกลดหมดเมฆสิ้น
จึงเซ่นเหล้าข้าวปลาให้พรายกิน เสกขมิ้นว่านยาเข้าทาตัว
 การพรรณนาโวหาร (รสวรรณคดีไทย:นารีปราโมทย์)
จะเป็นตายง่ายยากไม่จากรัก จะฟูมฟักเหมือนเมื่ออยู่ในกลางเถื่อน
ขอโทษที่พี่ผิดอย่าบิดเบือน เจ้าเพื่อนเสน่หาจงอาลัย
ภาพพจน์ที่ปรากฏในเนื้อเรื่อง
 การใช้อุปมา
อีวันทองตัวมันเหมือนแก้ว ถ้าตัดโคนขาดแล้วก็ใบเหี่ยว
ใครจะควรสู่สมอยู่กลมเกลียว ให้เด็ดเดี่ยวรู้กันแต่วันนี้
 การใช้อุปลักษณ์
เต่าเตี้ยดอกอย่าต่อให้ตีนสูง มิใช่ยูงอย่ามาย้อนให้เห็นขัน
หิ่งห้อยหรือจะแข่งแสงพระจันทร์ อย่าปั้นน้าให้หลงตะลึงเงา
 การใช้อติพจน์
ครานั้นขุนช้างได้ฟังว่า แค้นดังเลือดตาจะหลั่งไหล
ดับโมโหโกรธาทาว่าไป เราก็ไม่ว่าไรสุดแต่ดี
 การใช้สัทพจน์
ใต้เตียงเสียงหนูก็กุกกก แมงมุมทุ่มอกที่ริมฝา
ยิ่งหวาดหวั่นพรั่นตัวกลัวมรณา ดังวิญญาณ์นางจะพรากไปจากกาย
รสวรรณคดีที่ปรากฏในเรื่อง
 รสวรรณคดีสันสกฤต หาสยรส (ตลกขบขัน)
ขุนช้างเห็นข้าไม่มาใกล้ ขัดใจลุกขึ้นทั้งแก้ผ้า
แหงนเถ่อเป้อปังยืนจังกา ย่างเท้าก้าวมาไม่รู้ตัว
 รสวรรณคดีสันสกฤต รุทรรส (โกรธเคือง) = รสวรรณคดีไทย พิโรธวาทัง
อิฐผาหาหาบมาทุ่มถม ก็จ่อมจมสูญหายไปหมดสิ้น
อีแสนถ่อยจัญไรใจทมิฬ ดังเพชรนิลเกิดขึ้นในอาจม

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 69


รูปงามนามเพราะน้อยไปหรือ ใจไม่ซื่อสมศักดิ์เท่าเส้นผม
แต่ใจสัตว์มันยังมีที่นิยม สมาคมก็แต่ถึงฤดูมัน
 รสวรรณคดีสันสกฤต ภยานกรส (กลัว ตกใจ)
สิ้นฝันครั้นตื่นตกประหม่า หวีดผวากอดผัวสะอื้นไห้
เล่าความบอกผัวด้วยกลัวภัย ประหลาดใจน้องฝันพรั่นอุรา
ใต้เตียงเสียงหนูก็กุกกก แมงมุมทุ่มอกที่ริมฝา
ยิ่งหวาดหวั่นพรั่นตัวกลัวมรณา ดังวิญญานางจะพรากไปจากกาย
6. สาระการเรียนรู้
6.1 เนื้อเรื่อง ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา
6.2 หลักการวิเคราะห์ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมด้านวรรณศิลป์
7. กิจกรรมการเรียนรู้ (แบบ Active Learning)
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (15 นาที)
7.1 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ
7.2 นักเรียนดูรายการโทรทัศน์ 4 โพดาการละคร ช่อง 31 จากคลิปวีดีโอ ที่ครูเปิดให้ร่วมกันชม จาก
https://www.youtube.com/watch?v=_A5VCz7tagc
7.3 นักเรียนร่วมตอบคาถามและแสดงความคิดเห็นจากประเด็น ดังนี้
 นักเรียนคิดว่าบทประพันธ์ในเรื่องมีความไพเราะหรือไม่ อย่างไร
 นักเรียนมีความคิดเห็นอย่างไรที่ ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกาได้รับ การยกย่องจาก
วรรณคดีสโมสรว่ามีความดีเด่นด้านกลอน
 หากนักเรียนมีโอกาส นักเรียนจะอนุรักษ์วรรณคดีเรื่องนี้อย่างไร
ขั้นสอน (35 นาที)
7.4 นั ก เรี ย นฟั ง การบรรยายเกี่ ย วกั บ หลั ก การวิ เ คราะห์ วิ จ ารณ์ ว รรณคดี แ ละวรรณกรรม
ด้านวรรณศิลป์ประกอบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์
7.5 นัก เรียนยกตัวอย่างบทประพันธ์ที่ชื่นชอบในตอน ขุนช้างถวายฎีก า จากนั้นวิเคราะห์โวหาร
ภาพพจน์และรสวรรณคดี บันทึกลงในสมุดบันทึกความรู้ คนละ 2 บท จากนั้นนาเสนอหน้าชั้นเรียน
7.6 นักเรียนชมคลิปวีดีโอ "ขยับกรับ ขับเสภา" ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา
จาก https://www.youtube.com/watch?v=tkJQo0AT49Y
ขั้นสรุป (5 นาที)
7.7 นักเรียนสรุป คุณค่าโวหาร ภาพพจน์และรสวรรณคดี อันเป็นคุณค่าด้านวรรณศิลป์ที่ ได้รับ จาก
เรื่อง ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา ลงในสมุดบันทึกความรู้ของตนเอง

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 70


8. สื่อการเรียนรู/้ แหล่งเรียนรู้
8.1 แบบเรียนวรรณคดี วรรณกรรม
8.2 บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง หลักการวิเคราะห์ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม ด้านวรรณศิลป์
8.3 คลิปวีดีโอรายการ 4 โพดา https://www.youtube.com/watch?v=_A5VCz7tagc
8.4 คลิปวีดีโอ "ขยับกรับ ขับเสภา" ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา
จาก https://www.youtube.com/watch?v=tkJQo0AT49Y
9. ชิ้นงาน/ ภาระงาน
9.1 สมุดบันทึกความรู้ เรื่อง โวหาร ภาพพจน์และรสวรรณคดี
10. เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน
10.2 เกณฑ์การประเมินการบันทึกความรู้
บันทึกความรู้ได้ครบถ้วน 5 คะแนน
เขียนแผนผังความคิดถูกต้อง 5 คะแนน
รวม 10 คะแนน ผ่านเกณฑ์ 5 คะแนนขึ้นไป
11. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ เครื่องมือ เกณฑ์
ประเมินผล การประเมิน
2.1 ด้ า นความรู้ (Knowledge: K) 1.สังเกตพฤติกรรม 1.แบบสังเกต 1.นักเรียนให้
อธิบ ายหลั ก การวิเ คราะห์ วิจ ารณ์ รายบุคคล พฤติกรรมรายกลุ่ม ความร่วมมือ
วรรณ คดี แ ล ะ วรรณ ก รรม ด้ าน 2. ตรวจสมุด 2.เกณฑ์การประเมิน 2.บันทึกความรู้
วรรณศิ ล ป์ ตามหลั ก การวิ จ ารณ์ บันทึกความรู้ การบันทึกความรู้ มีผลคะแนนผ่านเกณฑ์
เบื้องต้นได้อย่างมีเหตุผล 5 คะแนนขึ้นไป
2.2 ด้ า น ทั ก ษ ะ /ก ร ะ บ วน ก า ร
(Process: P) วิเคราะห์ สัง เคราะห์
คุ ณ ค่ า ด้ า นวรรณ ศิ ล ป์ จ ากเรื่ อ ง
ขุน ช้ างขุ น แผน ตอน ขุ น ช้ างถวาย
ฎีกา
2.3 2.3 ด้ า น คุ ณ ลั กษณ ะอั น พึ ง
ประสงค์ (Attitude: A) พรรณนา
ความซาบซึ้งและอรรถรสทางภาษา
ของเรื่ อ ง ขุ น ช้ า งขุ น แผ น ต อ น
ขุนช้างถวายฎีกาได้

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 71


12. สรุปผลการจัดการเรียนรู้
12.1 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.2 ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..........
12.3 ข้อเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….........

ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

13. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….....
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….....

ลงชื่อ .................................................
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 72


บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 5
รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา บทเสภาเสนาะกรรณ
***********************************************************************************************************
1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก
...............................................................................................................................................................................
2. ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1) การประเมินผลความรู้หลังการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.....................
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก................................................................................................................................................................
2) การประเมินด้านทักษะกระบวนการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.............
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ...........
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มีนักเรียนทาใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกาหนดเวลา
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน
 อื่น ๆ ..............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนาแผนไปปรับปรุง เรื่อง .......................................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 73


บทนำ
กำรวิเครำะห์หลักสูตรรำยวิชำภำษำไทยพื้นฐำน ระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 ปีกำรศึกษำ 2564
หลักสูตรแกนกลำงพุทธศักรำช 2551 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย
วิสัยทัศน์หลักสูตร
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒ นาผู้เรียนทุกคนให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้า นร่างกาย
ความรู้ คุณ ธรรม มี จิต ส านึ ก ในความเป็ น ไทยและเป็ น พลโลก ยึ ดมั่ น ในการปกครองตามระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้ และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จาเป็น
ต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ บนพื้นฐาน
ความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
หลักกำร
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหลักการที่สาคัญ ดังนี้
1. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้เป็น
เป้าหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของความเป็น
ไทยควบคู่กับความเป็นสากล
2. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค
และมีคุณภาพ
3. เป็ นหลักสูต รการศึกษาที่สนองการกระจายอ านาจ ให้ สัง คมมีส่วนร่ วมในการจัดการศึก ษาให้
สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น
4. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัดการเรียนรู้
5. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
6. เป็นหลักสูตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก
กลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์
จุดหมำย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพ
ในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกั บผู้เรียนเมื่อจบการศึกษาขั้น
พื้นฐาน ดังนี้
1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตน
ตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
2. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญ หา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะ
ชีวิต

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย 5 (ท33101) ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 1


3. มีสุขภาพกายสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกาลังกาย
4. มี ค วามรั ก ชาติ มี จิ ต ส านึ ก ในความเป็ น พลเมื อ งไทยและพลโลก ยึ ด มั่ น ในวิ ถี ชี วิ ต และ
การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
5. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญ ญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
มีจิตสาธารณะที่มุ่งทาประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ
ตามมาตรฐานที่กาหนด ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ดังนี้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 5 ประการ คือ
1) ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร ที่ใช้ถ่ายทอดความคิด
ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อัน
จะเป็ น ประโยชน์ ต่ อ การพั ฒ นาตนเองและสั ง คม รวมทั้ ง การเจรจาต่ อ รองเพื่ อ ขจั ด และลดปั ญ หา
ความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจน
การเลือกใช้วิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม
2) ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด
อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนพไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือ
สารสนเทศเพื่อตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
3) ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นสามารถในการแก้ปัญ หาและอุปสรรค์ต่าง ๆ ที่เผชิญ ได้
อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุ ผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์
และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกัน
และแก้ไขปัญ หา มีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพ โดยคานึงถึงผลกระทบที่เกิดต่อตนเอง สัง คมและ
สิ่งแวดล้อม
4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน
การดาเนินชีวิตในประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทางาน และการอยู่
ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขั ดแย้ง
ต่าง ๆ อย่ างเหมาะสม การปรับ ตัวให้ ทัน การเปลี่ ยนแปลงของสัง คมและสภาพสัง คม และการรู้จั ก
หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น
5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ
และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร
การทางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้องเหมาะสม และมีคุณธรรรม

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย 5 (ท33101) ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 2


คุณลักษณะอันพึงประสงค์
คุณลักษณะอันพึงประสงค์มุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถอยู่รวมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุขในฐานะ
เป็นพลเมืองไทยและพลโลก 8 ข้อ นอกจากนี้ยังเปิดโอกาสให้สถานศึกษาสามารถกาหนดคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์เพิ่มเติมให้สอดคล้องตามบริบทและจุดเน้นของตนเองได้

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย ์ 5. อยูอ่ ย่างพอเพียง
2. ซื่อสัตย์สจุ ริต 6. มุ่งมั่นในการทางาน

3. มีวินยั 7. รักความเป็ นไทย


4. ใฝ่ เรียนรู ้ 8. มีจิตสาธารณะ

โครงสร้ำงเวลำเรียน
หลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน กำหนดกรอบโครงสร้ำงเวลำเรียน ดังนี้

เวลำเรียน

กลุ่มสำระกำรเรียนรู้/ ระดับมัธยมศึกษำ
ระดับประถมศึกษำ ระดับมัธยมศึกษำตอนต้น
กิจกรรม ตอนปลำย

ป. 1 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 ป. 6 ม. 1 ม. 2 ม. 3 ม. 4 – 6

 กลุ่มสำระกำร 120 120 120 240


เรียนรู้ ภาษาไทย 200 200 200 160 160 160
(3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) (6 นก.)

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย 5 (ท33101) ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 3


คุณภำพผู้เรียน

จบชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6
 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็นทานองเสนาะได้ถูกต้อง เข้าใจ ตีความ แปล
ความ และขยายความเรื่องที่อ่านได้ วิเคราะห์ วิจารณ์เรื่องที่อ่าน แสดงความคิดเห็นโต้แย้งและเสนอ
ความคิ ด ใหม่ จ ากการอ่ านอย่ างมี เหตุ ผ ล คาดคะเนเหตุ ก ารณ์ จ ากเรื่อ งที่ อ่ า น เขี ย นกรอบแนวคิ ด
ผังความคิด บันทึก ย่อความ และเขียนรายงานจากสิ่งที่อ่าน สังเคราะห์ ประเมินค่า และนาความรู้
ความคิด จากการอ่านมาพั ฒ นาตน พั ฒ นาการเรีย น และพั ฒ นาความรู้ ท างอาชีพ และน าความรู้
ความคิดไปประยุกต์ใช้แก้ปัญหาในการดาเนินชีวิต มีมารยาทและมีนิสัยรักการอ่าน
 เขียนสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ โดยใช้ภาษาได้ถูกต้องตรงตามวัตถุประสงค์ ย่อความจากสื่อที่มี
รูปแบบและเนื้อหาที่หลากหลาย เรียงความแสดงแนวคิดเชิงสร้างสรรค์โดยใช้โวหารต่ าง ๆ เขียนบันทึก
รายงานการศึกษาค้นคว้าตามหลักการเขียนทางวิชาการ ใช้ข้อมูลสารสนเทศในการอ้างอิง ผลิตผลงาน
ของตนเองในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งสารคดีและบันเทิงคดี รวมทั้ งประเมิน งานเขียนของผู้อื่น และนามา
พัฒนางานเขียนของตนเอง
 ตั้งคาถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู มีวิจารณญาณในการเลือกเรื่องที่ฟัง
และดู วิเคราะห์วัตถุประสงค์ แนวคิด การใช้ภาษา ความน่าเชื่อถือของเรื่องที่ฟังและดู ประเมินสิ่งที่
ฟังและดูแล้วนาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต มีทักษะการพูดในโอกาสต่าง ๆ ทั้งที่เป็นทางการและไม่
เป็นทางการ โดยใช้ภาษาที่ถูกต้อง พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าว และเสนอแนวคิดใหม่อย่างมี
เหตุผล รวมทั้งมีมารยาทในการฟัง ดู และพูด
 เข้าใจธรรมชาติของภาษา อิทธิพลของภาษา และลักษณะของภาษาไทย ใช้คาและกลุ่มคา
สร้างประโยคได้ตรงตามวัตถุประสงค์ แต่งคาประพันธ์ประเภทกาพย์ โคลง ร่าย และฉันท์ ใช้ภาษาได้
เหมาะสมกับกาลเทศะและใช้คาราชาศัพท์และคาสุภาพได้อย่างถูกต้อง วิเคราะห์หลักการสร้างคาใน
ภาษาไทย อิทธิพลของภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศในภาษาไทยและเข้าใจภาษาถิ่น วิเคราะห์และ
ประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
 วิเคราะห์ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์วรรณคดีเบื้องต้น รู้และเข้าใจ
ลักษณะเด่นของวรรณคดี ภูมิปัญญาทางภาษา และวรรณกรรมพื้นบ้าน เชื่อมโยงกับการเรียนรู้ทาง
ประวัติศาสตร์และวิถีไทย ประเมินคุณ ค่าด้านวรรณศิลป์ นาข้อคิดจากวรรณคดี และวรรณกรรมไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย 5 (ท33101) ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 4


สำระและมำตรฐำนกำรเรียนรู้

สำระที่ 1 : กำรอ่ำน
มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาใน
การดาเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน
สำระที่ 2 : กำรเขียน
มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความและเขียนเรื่องราว
ในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ
สำระที่ 3 : กำรฟัง กำรดู และกำรพูด
มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลื อ กฟั ง และดู อ ย่ างมี วิ จ ารณญาณ และพู ด แสดงความรู้ ค วามคิ ด
ความรู้สึกในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
สำระที่ 4 : หลักกำรใช้ภำษำ
มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง
ของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
สำระที่ 5 : วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท 5.1 เข้ าใจและแสดงความคิ ดเห็น วิจารณ์ วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็ น
คุณค่า และนามาประยุกต์ใช้ในชีวิต

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย 5 (ท33101) ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 5


ตัวชี้วัดและสำระกำรเรียนรู้แกนกลำง
สำระที่ 1 กำรอ่ำน
มาตรฐาน ท 1.1 ใช้ ก ระบวนการอ่ า นสร้ า งความรู้ แ ละความคิ ด เพื่ อ น าไปใช้ ตั ด สิ น ใจ
แก้ปัญหาในการดาเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน
ชัน้ ตัวชี้วัด สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง

ม. 4 - 6 1. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง  อ่านออกเสียง ประกอบด้วย


ได้ถูกต้อง ไพเราะ และเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน - บทร้อยแก้วประเภทต่าง ๆ เช่น
บทความ นวนิยาย และความเรียง
- บทร้อยกรอง เช่น โคลง ฉันท์
กาพย์ กลอน ร่าย และลิลิต

2. ตีความ แปลความ และขยายความ  การอ่านจับใจความจากสื่อต่าง ๆ เช่น


เรื่องที่อ่าน - ข่าวสารจากสื่อพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และ
3. วิ เคราะห์ และวิ จ ารณ์ เรื่ อ งที่ อ่ านในทุ ก ๆ แหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ในชุมชน
ด้านอย่างมีเหตุผล - บทความ
4. คาดคะเนเหตุ ก ารณ์ จ ากเรื่ อ งที่ อ่ านและ - นิทาน
ประเมินค่าเพื่อนาความรู้ ความคิดไปใช้ตัดสินใจ - เรื่องสั้น
แก้ปัญหาในการดาเนินชีวิต - นวนิยาย
5. วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็นโต้แย้ง - วรรณกรรมพื้นบ้าน
เกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน และเสนอความคิดใหม่อย่าง - วรรณคดีในบทเรียน
มีเหตุผล - บทโฆษณา
6. ตอบค าถามจากการอ่านงานเขียน ประเภท - สารคดี
ต่าง ๆ ภายในเวลาที่กาหนด - บันเทิงคดี
7. อ่ านเรื่ อ งต่ าง ๆ แล้ วเขี ย นกรอบแนวคิ ด - ปาฐกถา
ผังความคิด บันทึก ย่อความ และรายงาน - พระบรมราโชวาท
8. สังเคราะห์ความรู้จากการอ่าน สื่อสิ่งพิมพ์ - เทศนา
สื่ออิ เล็กทรอนิกส์ และแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ มา - คาบรรยาย
พัฒนาตน พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรู้ - คาสอน
ทางอาชีพ - บทร้อยกรองร่วมสมัย
- บทเพลง
- บทอาเศียรวาท
- คาขวัญ
9. มีมารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอ่าน

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย 5 (ท33101) ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 6


สำระที่ 2 : กำรเขียน
มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความและเขียนเรื่องราว
ในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ
ชั้น ตัวชี้วัด สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง
ม. 4 - 6 1. เขี ยนสื่อ สารในรูป แบบต่ าง ๆ ได้ ต รง  การเขียนสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ เช่น
ตามวัต ถุประสงค์ โดยใช้ภาษาเรียบเรีย ง - อธิบาย
ถูกต้องมีข้อมูลและสาระสาคัญชัดเจน - บรรยาย
- พรรณนา
- แสดงทรรศนะ
- โต้แย้ง
- โน้มน้าว
- เชิญชวน
- ประกาศ
- จดหมายกิจธุระ
- โครงการและรายงานการดาเนินโครงการ
- รายงานการประชุม
- การกรอกแบบรายการต่าง ๆ
2. เขียนเรียงความ  การเขียนเรียงความ
3. เขีย นย่อ ความจากสื่ อ ที่ มี รูป แบบและ  การเขียนย่อความจากสื่อต่าง ๆ เช่น
เนื้อหาหลากหลาย - กวีนิพนธ์ และวรรณคดี
- เรื่องสั้น สารคดี นวนิยาย บทความทาง
วิชาการ และวรรณกรรมพื้นบ้าน
4. ผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบ  การเขียนในรูปแบบต่าง ๆ เช่น
ต่าง ๆ - สารคดี
- บันเทิงคดี
5. ประเมินงานเขียนของผู้อื่น แล้วนามา  การประเมินคุณค่างานเขียนในด้านต่าง ๆ
พัฒนางานเขียนของตนเอง เช่น
- แนวคิดของผู้เขียน
- การใช้ถ้อยคา
- การเรียบเรียง
- สานวนโวหาร
- กลวิธีในการเขียน

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย 5 (ท33101) ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 7


ชั้น ตัวชี้วัด สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง
ม. 4 - 6 6. เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่องที  การเขียนรายงานเชิงวิชาการ
สนใจตามหลักการเขีย นเชิง วิชาการและ  การเขียนอ้างอิงข้อมูลสารสนเทศ
ข้อมูลสารสนเทศอ้างอิงอย่างถูกต้อง
7. บั น ทึ ก การศึ ก ษาค้ น คว้ า เพื่ อ น าไป  การเขียนบันทึกความรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่
พัฒนาตนเองอย่างสม่าเสมอ หลากหลาย
8. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน

สำระที่ 3 : กำรฟัง กำรดู และกำรพูด


มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ความคิด
ความรู้ในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
ชั้น ตัวชี้วัด สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง
ม. 4 - 6 1. สรุ ป แนวคิ ด และแสดงความคิ ด เห็ น  การสรุปแนวคิดและแสดงความคิด เห็น จาก
จากเรื่องที่ฟังและดู เรื่องที่ฟังและดู
2. วิเคราะห์แนวคิด การใช้ภาษา และ  การวิ เคราะห์ แ นวคิ ด การใช้ ภ าษา และ
ความน่าเชื่อถือจากเรื่องที่ฟังและดูอย่างมี ความน่าเชื่อถือจากเรื่องที่ฟัง และดู
เหตุผล  การประเมินเรื่องที่ฟังและดู เพื่อกาหนด
3. ประเมินเรื่องที่ ฟังและดู แล้วกาหนด แนวทางนาไปประยุกต์ใช้
แนวทางน าไปประยุ ก ต์ ใช้ ในการด าเนิ น
ชีวิต
4. มีวิจารณญาณในการเลือกเรื่องที่ฟัง  การเลือกเรื่องที่ฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ
และดู
5. พูดในโอกาสต่าง ๆ พูดแสดงทรรศนะ  การพูดในโอกาสต่าง ๆ เช่น
โต้ แ ย้ ง โน้ ม น้ า วใจ และเสนอ แนวคิ ด - การพูดต่อที่ประชุมชน
ใหม่ด้วยภาษาถูกต้อง เหมาะสม - การพูดอภิปราย
- การพูดแสดงทรรศนะ
- การพูดโน้มน้าวใจ
6. มีมารยาทในการฟัง การดู และการ  มารยาทในการฟัง การดู และการพูด
พูด

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย 5 (ท33101) ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 8


สำระที่ 4 : หลักกำรใช้ภำษำ
มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง
ของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
ชั้น ตัวชี้วัด สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง
ม. 4 - 6 1. อธิบายธรรมชาติของภาษา พลังของ  ธรรมชาติของภาษา
ภาษาและลักษณะของภาษา  พลังของภาษา
 ลักษณะของภาษา
- เสียงในภาษา
- ส่วนประกอบของภาษา
- องค์ประกอบของพยางค์และคา
2. การใช้คาและกลุ่มคาสร้างประโยคตาม  การใช้คาและกลุ่มคาสร้างประโยค
วัตถุประสงค์ - คาและสานวน
- การร้อยเรียงประโยค
- การเพิ่มคา
- การใช้คา
- การเขียนสะกดคา
3. ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาสกาลเทศะ  ระดับของภาษา
และบุคคล รวมทั้งคาราชาศัพท์อย่าง  คาราชาศัพท์
เหมาะสม
4. แต่งบทร้อยกรอง  กาพย์ โคลง ร่าย และฉันท์
5. วิเคราะห์อิทธิพลของ  อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น
ภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น
6. อธิบายและวิเคราะห์หลักการสร้างคา  หลักการสร้างคาในภาษาไทย
ในภาษาไทย
7. วิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจาก  การประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และ
สื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย 5 (ท33101) ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 9


สำระที่ 5 : วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่าง
เห็นคุณค่า และนามาประยุกต์ใช้ในชีวิต
ชั้น ตัวชี้วัด สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง
ม. 4 - 6 1. วิ เคราะห์ แ ละวิ จ ารณ์ ว รรณคดี แ ละ  หลักการวิเคราะห์และวิจารณ์ วรรณคดีและ
วรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น วรรณกรรมเบื้องต้น
- จุดมุ่งหมายของการแต่ง
- การพิจารณารูปแบบ
- การพิจารณาเนื้อหาและกลวิธี
- การวิเคราะห์และการวิจารณ์
2. วิ เคราะห์ ลั ก ษณะเด่ น ของวรรณคดี  การวิเคราะห์ ลักษณะเด่น ของวรรณคดีและ
เชื่อมโยงกับการเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ วรรณกรรมเกี่ ย วกั บ เหตุ ก ารณ์ ประวั ติ ศ าสตร์
และวิถีชีวิตของสังคมในอดีต และวิถีชีวิตของสังคมในอดีต
3. วิ เ คราะห์ แ ละประเมิ น คุ ณ ค่ า ด้ า น  การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและ
วรรณศิลป์ของวรรณคดีและวรรณกรรมใน วรรณกรรม
ฐานะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ - ด้านวรรณศิลป์
- ด้านสังคมและวัฒนธรรม
4. สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดี  การสังเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณกรรม เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจาวัน
5. รวบรวมวรรณกรรมพืน้ บ้านและ  วรรณกรรมพื้นบ้านที่แสดงถึง
อธิบายภูมิปัญญาทางภาษา - ภาษากับวัฒนธรรม
- ภาษาถิ่น
6. ท่ อ งจ าและบอกคุ ณ ค่ า บทอาขยาน  บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า
ตามที่กาหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่า - บทอาขยานตามที่กาหนด
ตามความสนใจและนาไปใช้อ้างอิง - บทร้อยกรองตามความสนใจ

โครงสร้ำงหลักสูตรกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทยระดับมัธยมศึกษำปีที่ 6
รำยวิชำพื้นฐำน
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6
วิชาภาษาไทย 5 ท 33101 1.0 นก. 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ 40 ชั่วโมง/ภาคเรียน
วิชาภาษาไทย 6 ท 33102 1.0 นก. 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ 40 ชั่วโมง/ภาคเรียน

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย 5 (ท33101) ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 10


ส่วนที่ 1 กำรวิเครำะห์ข้อมูลพื้นฐำน
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ตำรำงวิเครำะห์หลักสูตร รำยวิชำภำษำไทยพื้นฐำน ระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
รำยวิชำ ท33101 ภำษำไทย 5 จำนวน 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกิต
ภำคเรียนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย
สำระที่ 1 กำรอ่ำน
มำตรฐำน ท 1.1 ใช้กระบวนกำรอ่ำนสร้ำงควำมรู้และควำมคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหำใน
กำรดำเนินชีวิตและมีนิสัยรักกำรอ่ำน
มำตรฐำนกำรเรียนรู้/ตัวชี้วัด ผู้เรียนรู้อะไร ผู้เรียนทำอะไรได้ สำระท้องถิ่น
ท 1.1
1. อ่ า นออกเสี ย งบทร้ อ ยแก้ ว  หลักการอ่าน  อ่านออกเสียง -
และ บ ท ร้ อ ย ก ร องได้ อ ย่ าง ออกเสียงบทร้อยแก้วและ ได้ถูกต้องทั้งบทร้อยแก้ว
ถูก ต้ อ ง ไพเราะและเหมาะสม บทร้อยกรอง และบทร้อยกรอง
กับเรื่องที่อ่าน
ท 1.1
2. ตีความ แปลความและขยาย  หลักการอ่าน  ตีความ แปล -
ความเรื่องที่อ่าน ตี ค วาม แป ลค วาม และ ความ และขยายความ
ขยายความเรื่องที่อ่าน เรื่องที่อ่านจากสื่อได้
ถูกต้อง
ท 1.1
3. วิเคราะห์ วิจารณ์เรื่องที่อ่าน  หลักการวิเคราะห์  วิเคราะห์ -
ในทุก ๆ ด้าน อย่างมีเหตุผล วิ จ าร ณ์ ว ร ร ณ ค ดี แ ล ะ  วิจารณ์
วรรณกรรมเบื้องต้น วรรณคดีและวรรณกรรม
ตาม ห ลั ก ก ารวิ จ ารณ์
เบื้องต้นได้อย่างมีเหตุผล
ท 1.1 -
4. คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่อง  หลักการอ่าน เพื่อ  สนทนา ตอบ
ที่อ่าน และประเมินค่า เพื่อน า คาดคะเนเหตุ ก ารณ์ แ ละ ค าถาม อภิ ป ราย สรุ ป
ความรู้ ความคิ ด ไปใช้ ตั ด สิ น ประเมินคุณค่าแนวคิด และสร้างองค์ความรู้ใหม่
แก้ปญ ั หาในการดาเนินชีวิต เกี่ ย ว กั บ แ น ว คิ ด มิ ติ
สังคม ประโยชน์ คุณค่า

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย 5 (ท33101) ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 11


มำตรฐำนกำรเรียนรู้/ตัวชี้วัด ผู้เรียนรู้อะไร ผู้เรียนทำอะไรได้ สำระท้องถิ่น
ท 1.1
5. วิ เ คราะห์ วิ จ ารณ์ แสดง  หลักการวิเคราะห์  วิเคราะห์ -
ความคิ ด เห็ น โต้ แ ย้ ง เกี่ ย วกั บ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็น วิ จ าร ณ์ แ ส ด ง ค ว าม
เรื่อ งที่อ่ าน และเสนอความคิ ด โต้ แ ย้ ง และการน าเสนอ คิ ด เห็ น โต้ แ ย้ ง แ ล ะ
ใหม่อย่างมีเหตุผล ความคิ ด ใหม่ ใ นรู ป แบบ นาเสนอความคิดใหม่ใน
ต่าง ๆ อย่างสร้างสรรค์ รูป แบบต่ า ง ๆ ได้ อ ย่ า ง
สร้างสรรค์
ท 1.1
6. ตอบค าถามจากงานเขี ย น  หลักการอ่าน  จับใจความ -
ประเภทต่ า ง ๆ ภายในเวลาที่ จับใจความ สาคัญจากเรื่องที่อ่านได้
กาหนด
ท 1.1 -
7. อ่ า นเรื่ อ งต่ า ง ๆ แล้ ว เขี ย น  หลักการเขียน  เขียนกรอบ
ก รอบ แน ว คิ ด ผั ง ค วามคิ ด กรอบแนวคิด ผังความคิด แ น ว คิ ด ผั งค ว าม คิ ด
บันทึก ย่อความ และรายงาน บั น ทึ ก ย่ อ ค ว าม แ ล ะ บั น ทึ ก ย่ อ ความ และ
รายงาน รายงานได้

สำระที่ 2 กำรเขียน
มำตรฐำน ท 2.1 ใช้กระบวนกำรเขียน เขียนสื่อสำร เขียนเรียงควำม ย่อควำม และเขียนเรื่องรำว
ในรูปแบบต่ำงๆ เขียนรำยงำน ข้อมูลสำรสนเทศและรำยงำนกำรศึกษำค้นคว้ำอย่ำงมีประสิทธิภำพ
มำตรฐำนกำรเรียนรู้/ตัวชี้วัด ผู้เรียนรู้อะไร ผู้เรียนทำอะไรได้ สำระท้องถิ่น
ท 2.1
1. เขียนสื่อสารในรูปแบบต่างๆ ได้  หลักการเขียน  เขียนสื่อสารใน -
ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ สื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ รูปแบบอธิบาย บรรยาย
ภาษาเรียบเรียงถูกต้อง มีข้อมูล รวมถึงหลักการใช้ภาษาและกพรรณนา แสดงทรรศนะ
และสาระสาคัญชัดเจน การอ้างอิงข้อมูล โต้แย้ง และโน้มน้าวใจได้

8. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทใน  เขียนหรือ -


การเขียน วิ เคราะห์ วิ จ ารณ์ ง าน
เขียนอย่างมีมารยาท

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย 5 (ท33101) ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 12


สำระที่ 3 กำรฟัง กำรดู และกำรพูด
มำตรฐำน ท 3.1 สำมำรถเลือกฟังและดูอย่ำงมีวิจำรณญำณ และพูดแสดงควำมรู้ ควำมคิด
ควำมรู้สึก ในโอกำสต่ำงๆ อย่ำงมีวิจำรณญำณ และสร้ำงสรรค์
มำตรฐำนกำรเรียนรู้/ตัวชี้วัด ผูเ้ รียนรู้อะไร ผู้เรียนทำอะไรได้ สำระท้องถิ่น
ท 3.1  แนวทางการสรุป  สรุปแนวคิด -
1. สรุปแนวคิด และแสดงความ แนวคิ ด และแสดงความ และแสดงความคิ ด เห็ น
คิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู คิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู จากเรื่องที่ฟังและดู สื่อ
วีดีทัศน์ คลิปวีดีโอ
ท 3.1  หลักและแนวทาง  วิเคราะห์ -
2. วิ เ คราะห์ แนวคิ ด การใช้ ก ารวิ เ คราะ ห์ แน วคิ ด แน วคิ ด การใช้ ภ าษ า
ภาษา และความน่าเชื่อถือจาก การใช้ ภ าษา และความ และความน่าเชื่อถือจาก
เรื่องที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล น่ า เชื่ อ ถื อ จากเรื่ อ งที่ ฟั ง เรื่ อ งที่ ฟั ง และดู ผ่ า นสื่ อ
และดู วี ดี ทั ศ น์ คลิ ป วี ดี โ อ ได้
อย่างมีเหตุผล
ท 3.1  หลักและแนวทาง  ประเมินเรื่องที่ -
3. ประเมินเรื่องที่ฟังและดู แล้ว ประเมินเรื่องที่ฟังและดู ฟั ง และดู แล้ ว ก าหนด
กาหนดแนวทางนาไปประยุกต์  แนวทาง กลวิธี แนวทางนาไปประยุกต์
ใช้ในการดาเนินชีวิต การประยุกต์ใช้ใน ใช้ ในการด าเนิ น ชี วิ ต ได้
การดาเนินชีวิต อย่างเหมาะสม
ท 3.1  หลักการฟังและดู  มีวิจารณญาณ -
4. มี วิ จ ารณญาณในการเลื อ ก อย่างมีวิจารณญาณ ในการฟังและดูสื่อต่าง ๆ
เรื่องที่ฟังและดู
ท 3.1  หลักการพูดแสดง  พูดแสดง -
5. พูดในโอกาสต่างๆ พูดแสดง ทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าว ทรรศน ะ โต้ แ ย้ ง พู ด
ทรรศนะ โต้ แ ย้ ง โน้ ม น้ า วใจ ใจ และเสนอแนวคิดใหม่ น าเส น อ แน วคิ ด ให ม่
และเสนอแนวคิดใหม่ด้วยภาษา โดยใช้ภาษาที่เหมาะสม โดยใช้ภาษาที่เหมาะสม
ถูกต้องเหมาะสม
ท 3.1  มารยาทในการฟัง  ฟัง ดู และพูด -
6. มี ม ารยาทในการฟั ง การดู การดู และการพูด อย่างมีมรายาท
และการพูด

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย 5 (ท33101) ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 13


สำระที่ 4 หลักกำรใช้ภำษำไทย
มำตรฐำน ท 4.1 เข้ำใจธรรมชำติของภำษำและหลักภำษำไทย กำรเปลี่ยนแปลงของภำษำและ
พลังของภำษำ ภูมิปัญญำทำงภำษำ และรักษำภำษำไทยไว้เป็นสมบัติของชำติ
มำตรฐำนกำรเรียนรู้/ตัวชี้วัด ผู้เรียนรู้อะไร ผู้เรียนทำอะไรได้ สำระท้องถิ่น
ท 4.1  หลักการใช้ภาษา  ใช้ภาษาไทยให้ -
3. ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาส ภาษาตามระดั บ ภาษ า เห ม าะ ส ม แ ก่ โอ ก า ส
กาลเทศะและบุ ค คล รวมทั้ ง และการใช้คาราชาศัพท์ ก าล เท ศะ และ บุ คค ล
คาราชาศัพท์อย่าง รวมทั้ ง ค าราชาศั พ ท์
อย่างถูกต้อง
ท 4.1  อิทธิพลของ  วิเคราะห์ -
5. วิเคราะห์ อิท ธิพ ลของภาษา ภาษาต่ า งประเทศและ อิทธิพลของภาษาต่าง
ต่างประเทศและภาษาถิ่น ภาษาถิ่นที่มีในภาษาไทย ประเทศและภาษาถิ่ น ที่
พบในภาษาไทย
ท 4.1  หลักการวิเคราะห์  วิเคราะห์และ -
7. วิเคราะห์และประเมินการใช้ และประเมิน การใช้ภ าษา ประเมิ น การใช้ ภ าษ า
ภาษาจากสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ แ ละสื่ อ จากสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ แ ละสื่ อ จากสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ แ ละสื่ อ
อิเล็กทรอนิกส์ อิเล็กทรอนิกส์ อิเล็กทรอนิกส์ได้อย่างมี
เหตุผล

สำระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม
มำตรฐำน ท 5.1 เข้ำใจและแสดงควำมคิดเห็น วิจำรณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่ำงเห็นคุณค่ำ
และนำมำประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
มำตรฐำนกำรเรียนรู้/ตัวชี้วัด ผู้เรียนรู้อะไร ผู้เรียนทำอะไรได้ สำระท้องถิ่น
ท 5.1  หลักการวิเคราะห์  วิเคราะห์ -
1. วิ เค ร าะ ห์ แ ละ วิ จาร ณ์ และวิจารณ์วรรณคดี และ วิ จ ารณ์ จุ ด มุ่ ง หมาย
วรรณคดี แ ละวรรณกรรมตาม วรรณ กรรม ตามหลั ก ใน การแต่ ง พิ จ ารณ า
หลักการวิจารณ์เบื้องต้น การวิจารณ์เบื้องต้น รู ป แ บ บ เนื้ อ ห าแ ล ะ
กลวิ ธี ใ นวรรณคดี แ ละ
วรรณ กรรมได้ อ ย่ า งมี
เหตุผล

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย 5 (ท33101) ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 14


มำตรฐำนกำรเรียนรู้/ตัวชี้วัด ผู้เรียนรู้อะไร ผู้เรียนทำอะไรได้ สำระท้องถิ่น
ท 5.1  แนวทาง  สังเคราะห์ -
4 . สั ง เค ร า ะ ห์ ข้ อ คิ ด จ า ก การสั งเคราะห์ ข้ อ คิ ด จาก ข้อคิดจากวรรณคดีและ
วรรณคดี แ ละวรรณกรรมเพื่ อ วรรณคดีแ ละวรรณกรรม วรรณ กรรมเพื่ อ น าไป
นาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง เพื่ อ น าไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ น ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ชีวิตจริง
5. รวบรวมวรรณกรรมพื้นบ้าน  หลักการสืบค้น  รวบรวม - วรรณกรรม
และอธิบายภูมิปัญญาทางภาษา และรวบรวมวรรณกรรม ว ร ร ณ ก ร ร ม พื้ น บ้ าน ท้องถิ่น
พื้นบ้าน ประเภทวรรณกรรมแปล
 ข้อมูลเกี่ยวกับ และอธิ บ ายภู มิ ปั ญ ญา
ภูมิปัญญาทางภาษา ทางภาษาที่ไดรับ
6. ท่ องจ าแ ละ บ อก คุ ณ ค่ า  คุณค่าของ  ท่องบทอาขยาน -
บทอาขยานตามที่ก าหนดและ บทอาขยาน ได้ ถู ก ต้อ ง ไพเราะ และ
บทร้ อ ยกรองที่ มี คุ ณ ค่ า ตาม ซาบซึ้ ง ในบทอาขยาน
ความสนใจและนาไปใช้อ้างอิง ประเภทกลอนเสภา

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย 5 (ท33101) ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 15


----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ตำรำงวิเครำะห์ผู้เรียน รำยวิชำภำษำไทยพื้นฐำน ระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
วิธีกำรกำรวิเครำะห์ผู้เรียน ใช้วิธีกำรทดสอบก่อนเรียนแบบออนไลน์ ปรนัย 20 ข้อ
ผลกำรประเมิน (จำนวน 241 คน)
ชั้น/ห้อง จำนวนนักเรียน
กลุ่มเก่ง กลุ่มปำนกลำง กลุ่มอ่อน
6/1 22 10 7 5
6/2 30 12 13 5
6/3 22 10 6 6
6/4 34 10 14 10
6/5 42 10 24 8
6/6 42 8 28 6
6/7 16 3 7 6
6/8 33 9 17 7
รวม 241 72 116 53
ร้อยละ 100 29.87 48.13 21.99

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย 5 (ท33101) ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 16


----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ตำรำงวิเครำะห์ควำมต้องกำรของผู้เรียน รำยวิชำภำษำไทยพื้นฐำน ระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
วิธีการ การวิเคราะห์ความต้องการของผู้เรียน โดยใช้วิธีการสอบถาม ในรูปแบบแบบสอบถามความต้องการ
ของผู้เรียนใน 5 ประเด็น ได้ แก่ 1. ความต้องการหรือสนใจในเนื้อหา 2. ความต้ องการวิธีการในการเรียนรู้
3. ความต้องการวิธีการวัดและประเมินผล 4. ความต้องการสื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ 5. ข้อเสนอแนะ
เพิ่มเติม โดยสรุปได้ ดังนี้
ควำมต้องกำรของผู้เรียน (ตอบได้มำกกว่ำ 1 ข้อ) จำนวน ร้อยละ
1. ควำมต้องกำรหรือสนใจในเนื้อหำ
เรื่อง การอ่าน เรื่อง หลักการอ่านและพิจารณาวรรณคดี 87 36.09
เรื่อง หลักภาษา เรื่อง ประโยค 45 18.67
เรื่อง การเขียน เรื่อง การเขียนบันเทิงคดี 89 36.92
เรื่อง การฟัง ดู พูด เรื่อง การพูดเพื่อการนาเสนอ 20 8.29
2. ควำมต้องกำรวิธีกำรในกำรเรียนรู้
- ศึกษานอกสถานที่ในท้องถิ่น 37 15.35
- ศึกษาจากเอกสารใบความรู้ที่ครูเตรียมให้ 23 9.54
- ฝึกปฏิบัติในสถานการณ์จริง 52 21.57
- อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างเพื่อน 41 17.01
- ศึกษาแหล่งเรียนรู้ทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรียน 56 23.23
- จัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านเว็บไซต์หรือสังคมออนไลน์ 32 13.27
3. ควำมต้องกำรวิธีกำรวัดและประเมินผล
- การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบ 59 24.48
- การตรวจผลงาน ชิ้นงาน/ภาระงาน/รายงาน 46 19.08
- การสอบถาม 62 25.72
- การสัมภาษณ์ 57 23.65
- การใช้แฟ้มสะสมผลงาน 17 7.05
4. ควำมต้องกำรสื่อกำรเรียนรู้และแหล่งกำรเรียนรู้
- สื่อสิ่งพิมพ์ (เอกสาร ใบงาน ตารา หนังสือพิมพ์ นิตยสาร) 51 21.16
- สื่อเทคโนโลยี PowerPoint วีดิทัศน์ อินเทอร์เน็ต 124 51.45
- สื่ออื่น ๆ (บุคคล/กิจกรรม/วัสดุ/ตัวอย่าง) 66 27.38

5. ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ......................................................................................................................................

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย 5 (ท33101) ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 17


ตำรำงวิเครำะห์กำรออกแบบกำรจัดกำรเรียนรู้
หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 1 ขุนช้ำงขุนแผน ตอน ขุนช้ำงถวำยฎีกำ บทเสภำเสนำะกรรณ จำนวน 10 ชั่วโมง คะแนน 15 คะแนน
ตัวชี้วัด/ กำรวิเครำะห์ตัวชี้วัด/ ควำมสอดคล้อง ภำระงำน/ กำรวัดและ กิจกรรมกำรเรียนรู้/ สื่อกำรเรียนรู้/ บูรณำกำร
ผลกำร ผลกำรเรียนรู้ กับผู้เรียน/บริบท ชิ้นงำนรวบยอด กำรประเมินผล กลยุทธ์ในกำรจัด แหล่งกำรเรียนรู้
เรียนรู้ ของสถำนศึกษำ/ กำรเรียนรู้
ท้องถิ่น
ท 1.1 สำระกำรเรียนรู้ 1.อัตลักษณ์ : 1.เขียนแสดง วิธีกำรวัดและ 1.บรรยาย 1.แบบเรียนวรรณคดี 1.บูรณาการ
ม 4-6/1 กำรอ่ำน ยุวชนคนดี ทรรศนะ โต้แย้ง กำรประเมินผล 2.อภิปราย วรรณกรรม ข้ามกลุ่มสาระ
ม 4-6/2 - การอ่านตีความ แปล ทีปังกร ประเด็นแนวคิด 1.การสังเกต 3.สนทนา สอบถาม 2.แบบเรียนหลัก การเรียนรู้
ม 4-6/3 ความ ขยายความ 2.วัฒนธรรม บทบาท อานาจ พฤติกรรมรายบุคคล สัมภาษณ์ ภาษาและการใช้ 2.บูรณาการ
ม 4-6/4 วิเคราะห์ วิจารณ์ ประเพณีไทย ของผู้ชายที่มีต่อ 2.การสังเกต 4.สาธิตการขับเสภา ภาษา หลักสูตร
ม 4-6/5 คาดคะเนเหตุการณ์ สตรีไทยในอดีต 5.เทคนิคการสอนKWL 3.บทเรียน
พฤติกรรมกลุ่ม โรงเรียน
ม 4-6/6 แสดงความคิดเห็น 2.ท่อง 6.กิจกรรมกลุ่มโดยใช้ อิเล็กทรอนิกส์
3.การมีส่วนร่วมใน มาตรฐาน
ม 4-6/7 โต้แย้ง และประเมิน บทอาขยาน การระดมสมอง (powerpoint)
การสนทนา สอบถาม สากล
ม 4-6/8 คุณค่า ด้านเนื้อหา (Brainstroming 4.สารคดีเกี่ยวกับ
ม 4-6/9 สัมภาษณ์ อภิปราย Method) วัฒนธรรมประเพณี 3.บูรณาการ
ด้านวรรณศิลป์ และ
ท 2.1 ด้านสังคมวัฒนธรรม 4.พิจารณาผลงาน/ 7.ศึกษาค้นคว้าด้วย ในสมัยอยุธยา กับค่านิยม 12
ม 4-6/1 ตามหลักการวิจารณ์ ชิ้นงาน ตนเอง 5.คลิปวีดีโอ ประการ
ม4-6/8 เบื้องต้น ตอบคาถาม 5.การทดสอบความรู้ 8.กิจกรรมเกม 6.คลิปเสียง
และสรุปแนวคิดสาคัญ 6.การปฏิบัติ 7.ใบความรู้

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย 5 (ท33101) ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 18


ตัวชี้วัด/ กำรวิเครำะห์ตัวชี้วัด/ ควำมสอดคล้อง ภำระงำน/ กำรวัดและ กิจกรรมกำรเรียนรู้/ สื่อกำรเรียนรู้/ บูรณาการ
ผลกำร ผลกำรเรียนรู้ กับผู้เรียน/บริบท ชิ้นงำนรวบยอด กำรประเมินผล กลยุทธ์ในกำรจัดกำร แหล่งกำรเรียนรู้
เรียนรู้ ของสถำนศึกษำ/ เรียนรู้
ท้องถิ่น
ท 3.1 - การอ่านออกเสียง เครื่องมือวัดและ 8.แหล่งเรียนรู้ 4.บูรณาการ
ม 4-6/1 บทร้อยกรองประเภท ประเมินผล ออนไลน์ กับประชาคม
ม 4-6/2 กลอนเสภา 1.แบบสังเกต 9.รูปภาพ อาเซียน
ม 4-6/3 กำรเขียน พฤติกรรมรายบุคคล 10.งานวิจัย 5.พระราโชบาย
ม 4-6/4 - การเขียนแสดง 2.แบบสังเกต ด้านการศึกษา
ม 4-6/5 ทรรศนะ โต้แย้ง ในหลวง ร.10
พฤติกรรมกลุ่ม
ม 4-6/6 กำรฟัง ดู พูด
3.แบบประเมิน/
ท 4.1 - การวิเคราะห์แนวคิด
เกณฑ์การประเมิน
ม 4-6/3 ประเมินคุณค่าเรื่องที่
ท 5.1 ฟังและดู 4.แนวการตอบ/เฉลย
ม 4-6/1 - การพูดสรุปความคิด
ม 4-6/4 และการแสดงความ
ม 4-6/6 คิดเห็นจากเรื่องที่ฟัง
และดู

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย 5 (ท33101) ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 19


หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 2 ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ โลกกำเนิดของมนุษย์ จำนวน 9 ชั่วโมง คะแนน 20 คะแนน
ตัวชี้วัด/ กำรวิเครำะห์ตัวชี้วัด/ กับผู้เรียน/บริบท ภำระงำน/ กำรวัดและ กิจกรรมกำรเรียนรู้/ สื่อกำรเรียนรู้/ บูรณาการ
ผลกำร ผลกำรเรียนรู้ ของสถำนศึกษำ/ ชิ้นงำนรวบยอด กำรประเมินผล กลยุทธ์ในกำรจัดกำร แหล่งกำรเรียนรู้
เรียนรู้ ท้องถิ่น เรียนรู้

ท 1.1 กำรอ่ำน 1.อัตลักษณ์ : 1.รูปภาพอินโฟ วิธีกำรวัดและ 1.บรรยาย 1.แบบเรียนวรรณคดี 1.บูรณาการ


ม 4-6/1 - การอ่านตีความ แปล ยุวชนคนดี กราฟิกส์ กำรประเมินผล 2.อภิปราย วรรณกรรม ข้ามกลุ่มสาระ
ม 4-6/2 ความ ขยายความ ทีปังกร (Infographic) 1.การสังเกต 3.สนทนา สอบถาม 2.แบบเรียนหลัก การเรียนรู้
ม 4-6/3 วิเคราะห์ วิจารณ์ 2.วัฒนธรรม จากการวิเคราะห์ พฤติกรรมรายบุคคล สัมภาษณ์ ภาษาและการใช้ 2.บูรณาการ
ม 4-6/4 คาดคะเนเหตุการณ์ ประเพณีไทย เปรียบเทียบ 2.การสังเกต 4.การจัดแสดงผลงาน ภาษา หลักสูตร
ม 4-6/5 แสดงความคิดเห็น เชิงบูรณาการ 5.การนาเสนอ 3.บทเรียน
พฤติกรรมกลุ่ม โรงเรียน
ม4-6/6 โต้แย้ง และประเมิน วิวัฒนาการของ 6.กิจกรรมกลุ่มโดยใช้ อิเล็กทรอนิกส์
3.การมีส่วนร่วมใน มาตรฐาน
ม 4-6/7 คุณค่าด้านเนื้อหา การเกิดตาม การระดมสมอง (powerpoint)
การสนทนา สอบถาม สากล
ม 4-6/8 ด้านวรรณศิลป์ และ ธรรมชาติของ (Brainstroming 4.คลิปวีดีโอ
ม 4-6/9 ด้านสังคมวัฒนธรรม มนุษย์ ระหว่าง สัมภาษณ์ อภิปราย Method) 5.งานวิจัย 3.บูรณาการ
ท 2.1 ตามหลักการวิจารณ์ ไตรภูมิพระร่วง 4.พิจารณาผลงาน/ 7.ศึกษาค้นคว้าด้วย 6.แหล่งเรียนรู้ กับค่านิยม 12
ม 4-6/1 เบื้องต้น ตอบคาถาม กับวิวัฒนาการ ชิ้นงาน ตนเอง ออนไลน์ ประการ
ม 4-6/8 และสรุปแนวคิดสาคัญ ทางการแพทย์ 5.การทดสอบความรู้ 8.กิจกรรมเกม 7.รูปภาพ 4.บูรณาการ
(เนื้อเรื่อง) สมัยใหม่ แล้วเล่า 6.การปฏิบัติ 9.การปฏิบัตจิ ริง 8.เอกสาร ตารา กับประชาคม
เรื่องเป็น อาเซียน

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย 5 (ท33101) ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 20


ตัวชี้วัด/ กำรวิเครำะห์ตัวชี้วัด/ กับผู้เรียน/บริบท ภำระงำน/ กำรวัดและ กิจกรรมกำรเรียนรู้/ สื่อกำรเรียนรู้/ บูรณาการ
ผลกำร ผลกำรเรียนรู้ ของสถำนศึกษำ/ ชิ้นงำนรวบยอด กำรประเมินผล กลยุทธ์ในกำรจัดกำร แหล่งกำรเรียนรู้
เรียนรู้ ท้องถิ่น เรียนรู้
ท 3.1 กำรเขียน 2.แบบทดสอบ เครื่องมือวัดและ
ม 4-6/1 - การเขียนอธิบาย ออนไลน์20ข้อ ประเมินผล
ม 4-6/2 บรรยาย พรรณนา 1.แบบสังเกต
ม 4-6/3 กำรฟัง ดู พูด พฤติกรรมรายบุคคล
ม 4-6/4 - การวิเคราะห์แนวคิด 2.แบบสังเกต
ม 4-6/5 ประเมินคุณค่าเรื่องที่
พฤติกรรมกลุ่ม
ม 4-6/6 ฟังและดู
3.แบบประเมิน/
ท 4.1 - การพูดสรุปความคิด
เกณฑ์การประเมิน
ม 4-6/7 และการแสดงความ
ท 5.1 คิดเห็นจากเรื่องที่ฟัง 4.แนวการตอบ/เฉลย
ม 4-6/1 และดู
ม4-6/5

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย 5 (ท33101) ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 21


ตัวชี้วัด/ กำรวิเครำะห์ตัวชี้วัด/ กับผู้เรียน/บริบท ภำระงำน/ กำรวัดและ กิจกรรมกำรเรียนรู้/ สื่อกำรเรียนรู้/ บูรณาการ
ผลกำร ผลกำรเรียนรู้ ของสถำนศึกษำ/ ชิ้นงำนรวบยอด กำรประเมินผล กลยุทธ์ในกำรจัดกำร แหล่งกำรเรียนรู้
เรียนรู้ ท้องถิ่น เรียนรู้
หลักกำรใช้ภำษำ
- การวิเคราะห์และ
ประเมินการใช้ภาษา
จากสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์
วรรณคดีวรรณกรรม
- วิเคราะห์วิจารณ์
พิจารณา จุดมุ่งหมาย
รูปแบบ เนื้อหา กลวิธี
สังเคราะห์ข้อคิด ภูมิ
ปัญญา เพื่อนาไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย 5 (ท33101) ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 22


หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 2 สำมก๊ก ตอน กวนอูไปรับรำชกำรกับโจโฉ ประชันกลเกมศึก จำนวน 20 ชั่วโมง คะแนน 20 คะแนน
ตัวชี้วัด/ กำรวิเครำะห์ตัวชี้วัด/ กับผู้เรียน/บริบท ภำระงำน/ กำรวัดและ กิจกรรมกำรเรียนรู้/ สื่อกำรเรียนรู้/ บูรณาการ
ผลกำร ผลกำรเรียนรู้ ของสถำนศึกษำ/ ชิ้นงำนรวบยอด กำรประเมินผล กลยุทธ์ในกำรจัดกำร แหล่งกำรเรียนรู้
เรียนรู้ ท้องถิ่น เรียนรู้
ท 1.1 กำรอ่ำน 1.อัตลักษณ์ : 1.เขียนโครงการ วิธีกำรวัดและ 1.บรรยาย 1.แบบเรียนวรรณคดี 1.บูรณาการ
ม 4-6/1 - การอ่านตีความ แปล ยุวชนคนดี รายงาน กำรประเมินผล 2.อภิปราย วรรณกรรม ข้ามกลุ่มสาระ
ม 4-6/2 ความ ขยายความ ทีปังกร การดาเนิน 1.การสังเกต 3.สนทนา สอบถาม 2.แบบเรียนหลัก การเรียนรู้
ม 4-6/3 วิเคราะห์ วิจารณ์ 2.วัฒนธรรม โครงการ และ พฤติกรรมรายบุคคล สัมภาษณ์ ภาษาและการใช้ 2.บูรณาการ
ม 4-6/4 คาดคะเนเหตุการณ์ ประเพณีไทย รายงาน 2.การสังเกต 4.การจัดแสดงผลงาน ภาษา หลักสูตร
ม 4-6/5 แสดงความคิดเห็น การประชุม 5.การนาเสนอ 3.บทเรียน
พฤติกรรมกลุ่ม โรงเรียน
ม4-6/6 โต้แย้ง และประเมิน 2.พูดวิเคราะห์ 6.กิจกรรมกลุ่มโดยใช้ อิเล็กทรอนิกส์
3.การมีส่วนร่วมใน มาตรฐาน
ม 4-6/7 คุณค่าด้านเนื้อหา พฤติกรรมของตัว การระดมสมอง (powerpoint)
การสนทนา สอบถาม สากล
ม 4-6/8 ด้านวรรณศิลป์ และ ละครที่สอดคล้อง (Brainstroming 4.คลิปวีดีโอ
ม 4-6/9 ด้านสังคมวัฒนธรรม กับบริบทของชาว สัมภาษณ์ อภิปราย Method) 3.บูรณาการ
5.งานวิจัย
ท 2.1 ตามหลักการวิจารณ์ จีน และสรุปเป็น 4.พิจารณาผลงาน/ 7.ศึกษาค้นคว้าด้วย 6.แหล่งเรียนรู้ กับค่านิยม 12
ม 4-6/1 เบื้องต้น ตอบคาถาม แผนผังกราฟฟิก ชิ้นงาน ตนเอง ออนไลน์ ประการ
ม 4-6/8 และสรุปแนวคิดสาคัญ (Graphic 5.การทดสอบความรู้ 8.กิจกรรมเกม 7.รูปภาพ 4.บูรณาการ
- การอ่านปาฐากถา Organizers :GO) 6.การปฏิบัติ 9.การปฏิบัตจิ ริง 8.เอกสาร ตารา กับประชาคม
บทความเทศนา บท 9.หนังสือวรรณคดี อาเซียน
โฆษณา

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย 5 (ท33101) ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 23


ตัวชี้วัด/ กำรวิเครำะห์ตัวชี้วัด/ กับผู้เรียน/บริบท ภำระงำน/ กำรวัดและ กิจกรรมกำรเรียนรู้/ สื่อกำรเรียนรู้/ บูรณาการ
ผลกำร ผลกำรเรียนรู้ ของสถำนศึกษำ/ ชิ้นงำนรวบยอด กำรประเมินผล กลยุทธ์ในกำรจัดกำร แหล่งกำรเรียนรู้
เรียนรู้ ท้องถิ่น เรียนรู้
ท 3.1 - การอ่านออกเสียง เครื่องมือวัดและ 10.ตัวอย่างโครงการ 5.พระราโชบาย
ม 4-6/1 ร้อยแก้ว ประเมินผล รายงานการดาเนิน ด้านการศึกษา
ม 4-6/2 กำรเขียน โครงการ และ ในหลวง ร.10
1.แบบสังเกต
ม 4-6/3 - การเขียนโครงการ รายงานการประชุม 6ศิลปวัฒนธรรม
พฤติกรรมรายบุคคล
ม 4-6/4 รายงาน จีน/ต่างชาติ
2.แบบสังเกต
ม 4-6/5 การดาเนินโครงการ
พฤติกรรมกลุ่ม
ม 4-6/6 - การเขียนรายงานการ
3.แบบประเมิน/
ท 4.1 ประชุม
เกณฑ์การประเมิน
ม 4-6/5 กำรฟัง ดู พูด
ท 5.1 - การวิเคราะห์แนวคิด 4.แนวการตอบ/เฉลย
ม 4-6/1 ประเมินคุณค่าเรื่องที่
ม4-6/5 ฟังและดู
- การพูดสรุปความคิด
และการแสดงความ
คิดเห็นจากเรื่องที่ฟัง
และดู

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย 5 (ท33101) ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 24


ตัวชี้วัด/ กำรวิเครำะห์ตัวชี้วัด/ กับผู้เรียน/บริบท ภำระงำน/ กำรวัดและ กิจกรรมกำรเรียนรู้/ สื่อกำรเรียนรู้/ บูรณาการ
ผลกำร ผลกำรเรียนรู้ ของสถำนศึกษำ/ ชิ้นงำนรวบยอด กำรประเมินผล กลยุทธ์ในกำรจัดกำร แหล่งกำรเรียนรู้
เรียนรู้ ท้องถิ่น เรียนรู้
หลักกำรใช้ภำษำ
- อิทธิพล
ภาษาต่างประเทศและ
ภาษาถิ่น
วรรณคดีวรรณกรรม
- วิเคราะห์วิจารณ์
พิจารณา จุดมุ่งหมาย
รูปแบบ เนื้อหา กลวิธี
สังเคราะห์ข้อคิด ภูมิ
ปัญญา เพื่อนาไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
- รวบรวมววรณกรรม
พื้นบ้าน (วรรณกรรม
แปล) และอธิบาย
ภูมิปัญญาทางภาษา

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย 5 (ท33101) ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 25


ส่วนที่ 2 แผนกำรจัดกำรเรียนรู้

คำอธิบำยรำยวิชำ
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิชำภำษำไทย
รำยวิชำภำษำไทย รหัสวิชำ ท 33101 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6
เวลำ 40 ชั่วโมง/ภำคเรียน จำนวน 1.0 หน่วยกิต ภำคเรียนที่ 1

ศึกษาวิเคราะห์ ฝึกทักษะทางภาษาเกี่ยวกับ การอ่าน การเขียน การฟัง การดู การพูด หลักภาษา


การใช้ภาษา วรรณคดีวรรณกรรม โดยการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ตีความ แปลความ ขยายความ วิเคราะห์
สังเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิด เห็น เชิงประเมิน ค่า และอ่านบทร้อยกรอง เขียนเชิง สร้างสรรค์ อธิบ าย
บรรยาย พรรณนา เขี ย นแสดงทรรศนะ โต้ แ ย้ ง เขี ย นโครงการ รายงานการด าเนิ น โครงการ รายงาน
การประชุม วิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินค่าสิ่งที่ฟัง ดู อย่างมีเหตุผล ฝึกพูดในโอกาสต่าง ๆ ทั้งที่เป็นทางการและ
ไม่เป็น ทางการ ท่อ งจาและบอกคุณ ค่าบทอาขยาน ศึก ษาลั กษณะของภาษาไทย ระดับ ของภาษา การใช้
คาราชาศัพท์ อิทธิพลภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น รวมทั้งวิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์
และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ พิจารณาคุณค่าของงานประพันธ์วรรณคดีและวรรณกรรม
โดยใช้ กระบวนการเรียนภาษา กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการ
กลุ่ม กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการเสริมสร้างคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
เพื่ อให้เกิด ความรู้ ความเข้ าใจ มี ทัก ษะสามารถพั ฒ นาสมรรถภาพการเรียนรู้ การศึก ษาค้น คว้ า
นาความคิดไปใช้ในการตัดสินใจแก้ปัญหา และสร้างวิสัยทัศน์ในการดาเนินชีวิตให้สอดคล้องกับขนบธรรมเนียม
ประเพณี และวัฒนธรรม สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้

รหัสตัวชี้วัด
ท 1.1 ม.6/1 , ม.6/2 , ม.6/3 , ม.6/4 , ม.6/5 , ม.6/6 , ม.6/7 , ม.6/8 , ม.6/9
ท 2.1 ม.6/1 , ม.6/8
ท 3.1 ม.6/1 , ม.6/2, ม.6/3 , ม.6/4 , ม.6/5 , ม.6/6
ท 4.1 ม.6/3 , ม.6/5, ม.6/7
ท 5.1 ม.6/1 , ม.6/4, ม.6/5 , ม.6/6
รวม 24 ตัวชี้วัด

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย 5 (ท33101) ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 26


โรงเรียนทีปังกรวิทยำพัฒน์ (ทวีวัฒนำ) ในพระรำชูปถัมภ์ ฯ
โครงสร้ำงรำยวิชำ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย
รำยวิชำ ภำษำไทย 5 รหัสวิชำ ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6
ภำคเรียนที่ 1 ปีกำรศึกษำ 2564 จำนวน 2 คำบ/สัปดำห์ รวมจำนวน 40 ชั่วโมง
หน่วย ชื่อหน่วย มำตรฐำน สำระกำรเรียนรู้ เวลำ น้ำหนัก
ที่ กำรเรียนรู้ กำรเรียนรู้/ตัวชี้วัด (ชั่วโมง) คะแนน
- ปฐมนิเทศ - ชี้แจงรายละเอียดของเนื้อหาวิชา 1 -
พร้อมแจกประมวลรายวิชา (1)
1 ขุนช้ำงขุนแผน ท 1.1 กำรอ่ำน 2
ตอน ขุนช้ำง ม 4-6/1 ม 4-6/2 - การอ่านตีความ แปลความ ขยาย
ถวำยฎีกำ ม 4-6/3 ม 4-6/4 ความ วิเคราะห์ วิจารณ์ คาดคะเน
บทเสภำเสนำะ ม 4-6/5 ม 4-6/6 เหตุการณ์ แสดงความคิดเห็น โต้แย้ง
กรรณ ม 4-6/7 ม 4-6/8 และประเมินคุณค่าด้านเนื้อหา ด้าน
ม 4-6/9 วรรณศิลป์ และด้านสังคมวัฒนธรรม
ตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น ตอบ
คาถามและสรุปแนวคิดสาคัญ
(เนื้อเรื่อง)
- การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง
ประเภทกลอนเสภา
ท 2.1 กำรเขียน 2
ม 4-6/1 ม4-6/8 - การเขียนแสดงทรรศนะ โต้แย้ง
ชิ้นงำน:เขียนแสดงทรรศนะ โต้แย้ง 10
ประเด็นแนวคิดบทบาท อานาจของ
ผู้ชายที่มีต่อสตรีไทยในอดีต
ท 3.1 กำรฟัง ดู พูด 2
ม 4-6/1 ม 4-6/2 - การวิเคราะห์แนวคิด ประเมิน
ม 4-6/3 ม 4-6/4 คุณค่าเรื่องที่ฟังและดู
ม 4-6/5 ม 4-6/6 - การพูดสรุปความคิด และการแสดง
ความคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู
กิจกรรม:ดูสารคดีเกี่ยวกับวัฒนธรรม
ประเพณีในสมัยอยุธยา

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย 5 (ท33101) ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 27


หน่วย ชื่อหน่วย มำตรฐำน สำระกำรเรียนรู้ เวลำ น้ำหนัก
ที่ กำรเรียนรู้ กำรเรียนรู้/ตัวชี้วัด (ชั่วโมง) คะแนน
ท 4.1 หลักกำรใช้ภำษำ 2
ม 4-6/3 - ระดับภาษา และคาราชาศัพท์
ท 5.1 วรรณคดีวรรณกรรม 2
ม 4-6/1 ม 4-6/4 - วิเคราะห์วิจารณ์ พิจารณา
ม 4-6/6 จุดมุ่งหมาย รูปแบบ เนื้อหา กลวิธี
สังเคราะห์ข้อคิด ภูมิปัญญา เพื่อ
นาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
- การท่องจาบทอาขยาน
ชิ้นงำน:ท่องอาขยาน (10) 5
2 ไตรภูมิพระร่วง ท 1.1 กำรอ่ำน 2
ตอน มนุสสภูมิ ม 4-6/1 ม 4-6/2 - การอ่านตีความ แปลความ ขยาย
โลกกำเนิดของ ม 4-6/3 ม 4-6/4 ความ วิเคราะห์ วิจารณ์ คาดคะเน
มนุษย์ ม 4-6/5 ม4-6/6 เหตุการณ์ แสดงความคิดเห็น โต้แย้ง
ม 4-6/7 ม 4-6/8 และประเมินคุณค่าด้านเนื้อหา ด้าน
ม 4-6/9 วรรณศิลป์ และด้านสังคมวัฒนธรรม
ตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น ตอบ
คาถามและสรุปแนวคิดสาคัญ
(เนื้อเรื่อง)
ท 2.1 กำรเขียน 2
ม 4-6/1 ม 4-6/8 - การเขียนอธิบาย บรรยาย
พรรณนา
กิจกรรม:เขียนอธิบาย บรรยายหรือ
พรรณนาประเด็น “พรประเสริฐใน
การเกิดเป็นมนุษย์”
ท 3.1 กำรฟัง ดู พูด 2
ม 4-6/1 ม 4-6/2 - การวิเคราะห์แนวคิด ประเมิน
ม 4-6/3 ม 4-6/4 คุณค่าเรื่องที่ฟังและดู
ม 4-6/5 ม 4-6/6 - การพูดสรุปความคิด และการแสดง
ความคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย 5 (ท33101) ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 28


หน่วย ชื่อหน่วย มำตรฐำน สำระกำรเรียนรู้ เวลำ น้ำหนัก
ที่ กำรเรียนรู้ กำรเรียนรู้/ตัวชี้วัด (ชั่วโมง) คะแนน
ชิ้นงำน:วิเคราะห์เปรียบเทียบเชิง 10
บูรณาการวิวัฒนาการของการเกิด
ตามธรรมชาติของมนุษย์ ระหว่าง
ไตรภูมิพระร่วงกับวิวัฒนาการทาง
การแพทย์สมัยใหม่ แล้วเล่าเรื่องเป็น
รูปภาพอินโฟกราฟิกส์ (Infographic)
ท 4.1 หลักกำรใช้ภำษำ 1
ม 4-6/7 - การวิเคราะห์และประเมินการใช้
ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์
ท 5.1 วรรณคดีวรรณกรรม 2
ม 4-6/1 ม4-6/5 - วิเคราะห์วิจารณ์ พิจารณา
จุดมุ่งหมาย รูปแบบ เนื้อหา กลวิธี
สังเคราะห์ข้อคิด ภูมิปัญญา เพื่อ
นาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ชิ้นงำน:แบบทดสอบออนไลน์20ข้อ (9) 10
รวม 2 หน่วย รวม 23 ตัวชี้วัด รวม 5 สำระ 20 35
สอบกลำงภำค 15 คะแนน คะแนนเก็บ 35 คะแนน รวม 50 คะแนน
3 สำมก๊ก ตอน ท 1.1 กำรอ่ำน 6
กวนอูไปรับ ม 4-6/1 ม 4-6/2 - การอ่านตีความ แปลความ ขยาย
รำชกำรกับ ม 4-6/3 ม 4-6/4 ความ วิเคราะห์ วิจารณ์ คาดคะเน
โจโฉ ประชัน ม 4-6/5 ม4-6/6 เหตุการณ์ แสดงความคิดเห็น โต้แย้ง
กลเกมศึก ม 4-6/7 ม 4-6/8 และประเมินคุณค่าด้านเนื้อหา ด้าน
ม 4-6/9 วรรณศิลป์ และด้านสังคมวัฒนธรรม
ตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น ตอบ
คาถามและสรุปแนวคิดสาคัญ
(เนื้อเรื่อง)
- การอ่านปาฐากถา บทความเทศนา
บทโฆษณา
- การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย 5 (ท33101) ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 29


หน่วย ชื่อหน่วย มำตรฐำน สำระกำรเรียนรู้ เวลำ น้ำหนัก
ที่ กำรเรียนรู้ กำรเรียนรู้/ตัวชี้วัด (ชั่วโมง) คะแนน
ท 2.1 กำรเขียน 4
ม 4-6/1 ม 4-6/8 - การเขียนโครงการ รายงาน
การดาเนินโครงการ
- การเขียนรายงานการประชุม
ชิ้นงำน:เขียนโครงการ รายงาน 10
การดาเนินโครงการ และรายงาน
การประชุม
ท 3.1 กำรฟัง ดู พูด 4
ม 4-6/1 ม 4-6/2 - การวิเคราะห์แนวคิด ประเมิน
ม 4-6/3 ม 4-6/4 คุณค่าเรื่องที่ฟังและดู
ม 4-6/5 ม 4-6/6 - การพูดสรุปความคิด และการแสดง
ความคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู
ชิ้นงำน:พูดวิเคราะห์พฤติกรรมของ 10
ตัวละครที่สอดคล้องกับบริบทของ
ชาวจีน และสรุปเป็นแผนผังกราฟฟิก
(Graphic Organizers :GO)
ท 4.1 หลักกำรใช้ภำษำ 3
ม 4-6/5 - อิทธิพลภาษาต่างประเทศและ
ภาษาถิ่น
ท 5.1 วรรณคดีวรรณกรรม 3
ม 4-6/1 ม4-6/5 - วิเคราะห์วิจารณ์ พิจารณา
จุดมุ่งหมาย รูปแบบ เนื้อหา กลวิธี
สังเคราะห์ข้อคิด ภูมิปัญญา เพื่อ
นาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
- รวบรวมววรณกรรมพืน้ บ้าน
(วรรณกรรมแปล) และอธิบาย
ภูมิปัญญาทางภาษา (20)
รวม 1 หน่วย รวม 20 ตัวชี้วัด รวม 5 สำระ 20 20

สอบปลำยภำค 30 คะแนน คะแนนเก็บ 20 คะแนน รวม 50 คะแนน

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย 5 (ท33101) ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 30


ลงชื่อ................................................ครูผู้สอน
( นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ )

ลงชื่อ................................................หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
( นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ )

ลงชื่อ.................................................รองผู้อานวยการกลุ่มบริหารวิชาการ
(นางสาวจิราภรณ์ ไข่เกตุ)

ลงชื่อ.................................................
(นางลัดดา เจียมจูไร)
ผู้อานวยการ
โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย 5 (ท33101) ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 31


ประมวลรำยวิชำ(Course Syllabus) ภำษำไทย 5 รหัสวิชำ ท 33101 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6
ภำคเรียนที่ 1 ปีกำรศึกษำ 2564 โรงเรียนทีปังกรวิทยำพัฒน์ (ทวีวฒ
ั นำ) ในพระรำชูปถัมภ์ฯ

คำบ หน่วย ภำระงำน/


หน่วยกำรเรียนรู้ย่อย กระบวนกำรเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ คะแนน
เรียนที่ กำรเรียนรู้ ชิ้นงำน
1 ปฐมนิเทศ การบรรยาย ประมวลรายวิชา - -
2 ขุนช้ำงขุนแผน 1. บทนาเรื่อง ของวรรณคดี เรื่อง เสภาขุนช้าง สาธิตขับเสภา,บรรยาย, - แบบเรียน ท่องบทอาขยาน 5
ตอน ขุนช้ำง ขุนแผน ศึกษาด้วยตนเอง - บทเรียน
3-4 ถวำยฎีกำ 2. คุณค่าด้านเนื้อหา เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ศึกษาเนื้อเรื่อง อิเล็กทรอนิกส์ - -
บทเสภำเสนำะ ตอน ขุนช้างถวายฎีกา วิเคราะห์ วิจารณ์ - แหล่งเรียนรู้อื่น ๆ
5-6 กรรณ 3. คุณค่าด้านวรรณศิลป์ เสภา เรื่อง ขุนช้าง สังเคราะห์ - ผลงานเขียน
ขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา แสดงความคิดเห็น
7 4. คุณค่าด้านสังคม เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอน จากเรื่องที่อ่าน ฟังดู
ขุนช้างถวายฎีกา และศึกษาด้วยตนเอง

8-9 5. การเขียนแสดงทรรศนะ โต้แย้งประเด็นแนวคิด วิเคราะห์,วิพากษ์,เขียน เขียนแสดง 10


“บทบาท อานาจของผู้ชายที่มีต่อสตรีไทยในอดีต” แสดงทรรศนะ ทรรศนะ โต้แย้ง
10 - 11 6. ระดับภาษา และคาราชาศัพท์ บรรยาย / ศึกษาด้วย - แบบเรียน - -
ตนเอง - บทเรียน
อิเล็กทรอนิกส์
12 ไตรภูมิพระร่วง 1. บทนาเรื่อง ของวรรณคดี ไตรภูมิพระร่วง บรรยาย ศึกษาเนื้อเรื่อง - แบบเรียน - -
ตอน มนุสสภูมิ ตอน มนุสสภูมิ วิเคราะห์สังเคราะห์ - บทเรียน
13 - 14 โลกกำเนิดของ 2. คุณค่าด้านเนื้อหา เรื่องไตรภูมิพระร่วง วิพากษ์ วิจารณ์ อิเล็กทรอนิกส์
มนุษย์ ตอน มนุสสภูมิ แสดงความคิดเห็น - แหล่งเรียนรู้อื่น ๆ
15 - 16 3. คุณค่าด้านเวรรณศิลป์ และสังคม เรื่อง ไตรภูมิ จากเรื่องที่ อ่าน ฟังดู - ผลงานรูปภาพ
พระร่วง ตอน มนุสสภูมิ และศึกษาด้วยตนเอง อินโฟกราฟิกส์
17 - 18 4. วิเคราะห์เปรียบเทียบเชิงบูรณาการวิวัฒนาการ ศึกษาด้วยตนเอง (Infographic) รูปภาพอินโฟ 10
ของการเกิดตามธรรมชาติของมนุษย์ ระหว่าง วิเคราะห์,สังเคราะห์, กราฟิกส์
ไตรภูมิพระร่วงกับวิวัฒนาการทางการแพทย์ วิพากษ์,กิจกรรมกลุ่ม, (Infographic)
สมัยใหม่ แล้วเล่าเรื่องเป็นรูปภาพอินโฟกราฟิกส์ ออกแบบชิ้นงาน
(Infographic) ,นาเสนอ
19 - 20 5. วิเคราะห์วิจารณ์ พิจารณา จุดมุ่งหมาย รูปแบบ วิเคราะห์/สังเคราะห์/ แบบทดสอบ 10
เนื้อหา กลวิธี สังเคราะห์ข้อคิด ภูมิปัญญา ศึกษาด้วยตนเอง ออนไลน์
6. วิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจาก วิเคราะห์/สังเคราะห์/ ปรนัย 20 ข้อ
สื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ศึกษาด้วยตนเอง - -

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย 5 (ท33101) ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 32


คำบ หน่วย ภำระงำน/
หน่วยกำรเรียนรู้ย่อย กระบวนกำรเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ คะแนน
เรียนที่ กำรเรียนรู้ ชิ้นงำน
สอบกลางภาค 15
21 - 22 สามก๊ก ตอน 1. บทนาเรื่อง ของวรรณคดี เรื่อง สามก๊ก บรรยาย ศึกษาเนื้อเรื่อง - แบบเรียน - -
23 - 24 กวนอูไปรับ 2. คุณค่าด้านเนื้อหา เรื่องสามก๊ก ตอน กวนอูไปรับ วิเคราะห์สังเคราะห์ - บทเรียน
ราชการกับ ราชการกับโจโฉ วิพากษ์ วิจารณ์ อิเล็กทรอนิกส์
25 - 26 โจโฉ ประชัน 3. คุณค่าด้านวรรณศิลป์ เรื่อง สามก๊ก ตอน กวนอู แสดงความคิดเห็น - แหล่งเรียนรู้อื่น ๆ
กลเกมศึก ไปรับราชการกับโจโฉ จากเรื่องที่ อ่าน ฟังดู - ผลงานแผนผัง
27 - 28 4. คุณค่าด้านสังคม เรื่อง สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับ และศึกษาด้วยตนเอง กราฟฟิก (Graphic
ราชการกับโจโฉ Organizers :GO)
29 - 31 5. พูดวิเคราะห์พฤติกรรมของตัวละครที่สอดคล้อง วิเคราะห์,สังเคราะห์, แผนผังกราฟฟิก 10
กับบริบทของชาวจีน และสรุปเป็นแผนผังกราฟฟิก เทคนิคการเรียนรู้ แบบ (Graphic
(Graphic Organizers :GO) GO,กิจกรรมกลุ่มและ Organizers
นาเสนอ :GO)
32 - 34 6. วิเคราะห์วิจารณ์ พิจารณา จุดมุ่งหมาย รูปแบบ ศึกษาเนื้อเรื่อง - บทเรียน - -
เนื้อหา กลวิธี สังเคราะห์ภูมิปัญญาทางภาษาจาก วิเคราะห์สังเคราะห์ อิเล็กทรอนิกส์
วรรณกรรมแปล จากเรื่องที่ อ่าน ศึกษา - แหล่งเรียนรู้อื่น ๆ
แบบ
สืบเสาะหาความรู้ 5E
35 - 37 7. อิทธิพลภาษาต่างประเทศและ บรรยาย,ศึกษาด้วย - แบบเรียน - -
ภาษาถิ่น ตนเอง - บทเรียน
38 - 40 8. เขียนโครงการ รายงาน อิเล็กทรอนิกส์ โครงการ 10
การดาเนินโครงการ และรายงาน - แหล่งเรียนรู้อื่น ๆ รายงานการ
การประชุม ดาเนินงานและ
รายงานการ
ประชุม
สอบปลายภาค 30
รวมตลอดภำคเรียน 100

คะแนนระหว่างภาค : คะแนนปลายภาค 70 : 30
ประเมินตามสภาพจริง : แบบทดสอบ 55 : 45
ภาระงาน/ชิ้นงานสาคัญ 1. ท่องบทอาขยาน 5 คะแนน
2. เขียนแสดงทรรศนะ โต้แย้ง 10 คะแนน
3. แบบทดสอบออนไลน์ 10 คะแนน
4. รูปภาพอินโฟกราฟิกส์ 10 คะแนน
5. แผนผังกราฟฟิก 10 คะแนน
6. โครงการ รายงาน 10 คะแนน

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย 5 (ท33101) ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 33


การตัดสินผลการการเรียน
ผลการเรียน คะแนน ผลการเรียน คะแนน
0 น้อยกว่า 50 2.5 65-69
1 50-54 3 70-74
1.5 55-59 3.5 75-79
2 60-64 4 80 ขึ้นไป
การเข้าชั้นเรียน
1. นักเรียนสามารถขาดเรียนได้ไม่เกิน 8 ครั้ง หากขาดเรียนมากกว่า 8 ครั้ง จะหมดสิทธิ์สอบใน
รายวิชานี้
2. นักเรียนสามารถเข้าชั้นเรียนช้าได้ไม่เกิน 10 นาที หากเกินเวลาถือเป็นการมาสาย
3. หากนักเรียน มาสาย 3 ครั้งเท่ากับ การขาดเรียน 1 ครั้ง
การใช้ห้องเรียน
1. ห้ามนาอาหารหรือเครื่องดื่มเข้ามารับประทานในห้องเรียน
2. ห้ามใช้โทรศัพท์หรือเครื่องมือสื่อสารในห้องเรียน กรณีมีเหตุจาเป็นให้ขออนุญาตก่อน
3. นักเรียนมีหน้าที่รักษาความสะอาดของห้องเรียน
4. นักเรียนมีหน้าที่รักษาทรัพย์สินในห้องเรียนและทรัพย์สินต่าง ๆ ของโรงเรียน

ลงชื่อ................................................ครูผู้สอน
( นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ )

ลงชื่อ................................................หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
( นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ )

ลงชื่อ.................................................รองผู้อานวยการกลุ่มบริหารวิชาการ
(นางสาวจิราภรณ์ ไข่เกตุ)

ลงชื่อ.................................................
(นางลัดดา เจียมจูไร)
ผู้อานวยการ
โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย 5 (ท33101) ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 34


ส่วนที่ 3 กำรวัดและประเมินผล
เกณฑ์กำรวัดและกำรประเมินผลกำรเรียนรู้เพื่อตัดสินผลกำรเรียน
รำยวิชำ ภำษำไทย 5 รหัสวิชำ ท33101 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 ภำคเรียนที่1/2564
ครูผู้สอน นำงสำวเกศรินทร์ หำญดำรงค์รักษ์ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. ร้อยละของอัตรำส่วนคะแนนกำรประเมินสภำพจริงกับแบบทดสอบ 70 : 30
2. คะแนนกำรประเมินสภำพจริง รวม 55 คะแนน (ร้อยละ 55) ประกอบด้วย
 ท่องบทอาขยานทานองเสนาะ 5 คะแนน (ร้อยละ 5)
 การเขียนแสดงทรรศนะ โต้แย้ง 10 คะแนน (ร้อยละ 10)
 รูปภาพอินโฟกราฟิกส์ (Infographic) วิเคราะห์เปรียบเทียบวิวัฒนาการ
ของการเกิดตามธรรมชาติของมนุษย์ 10 คะแนน (ร้อยละ 10)
 ทดสอบออนไลน์ เรื่อง การใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์
และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 10 คะแนน (ร้อยละ 10)
 แผนผังกราฟฟิก (Graphic Organizers :GO)
วิเคราะห์พฤติกรรมของตัวละครในสามก๊ก 10 คะแนน (ร้อยละ 10)
 โครงการ รายงานการดาเนินงานและรายงานการประชุม 10 คะแนน (ร้อยละ 10)
3. แบบทดสอบตำมตัวชี้วัดผลกำรเรียนรู้ รวม 45 คะแนน (ร้อยละ 45) ประกอบด้วย
 การสอบกลางภาค 15 คะแนน (ร้อยละ 15)
 การสอบปลายภาค 30 คะแนน (ร้อยละ 30)
4. รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน
ลงชื่อ.......................................ครูผู้สอน ลงชื่อ.................................หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์) (นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)

ลงชื่อ................................................รองผู้อานวยการกลุ่มบริหารวิชาการ
(นางสาวจิราภรณ์ ไข่เกตุ)

ความเห็นของผู้อานวยการ ⬜ เห็นชอบ ⬜ …………….................

ลงชื่อ.................................................
(นางลัดดา เจียมจูไร)
ผู้อานวยการโรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย 5 (ท33101) ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 35


กำรวัดและกำรประเมินผล รำยวิชำ ภำษำไทย 5 รหัสวิชำ ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6
ในการวัดและประเมิน ผลรายวิชา เป็ นการวัดและประเมิน ผลที่อยู่ ในกระบวนการจัด การเรียนรู้
ผู้สอนดาเนินการเป็นปกติและสม่าเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใช้เทคนิคการประเมินอย่างหลากหลาย
เช่น การสอบถาม การสังเกต การสัมภาษณ์ การอภิปราย การตรวจงาน การประเมินชิ้นงาน / ภาระงาน
การใช้แบบทดสอบ การปฏิบัติจริง ฯลฯ โดยผู้สอนเป็นผู้ประเมินเอง และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนประเมินตนเอง
เพื่ อ นประเมิ น เพื่ อ น ผู้ ป กครองร่ ว มประเมิ น ในกรณี ที่ ไ ม่ ผ่ า นตั ว ชี้ วั ด ให้ มี ก ารสอนซ่ อ มเสริ ม ซึ่ ง เป็ น
การตรวจสอบว่า ผู้เรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้าในการเรียนรู้ อันเป็นผลมาจากการจัดกิ จกรรมการเรียน
การสอนโดยสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1. เกณฑ์กำรวัดและประเมินผลกำรเรียน
1.1 การตัดสินผลการเรียน
ในการตัดสินผลการเรียนรายวิชาได้ตัดสิน ตามตัวชี้วัด ที่ระบุในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ครบทั้ง 5 สาระ ได้แก่ การอ่าน การเขียน การฟัง
ดูและพูด หลักภาษาและการใช้ภาษา วรรณคดีวรรณกรรม รวมถึงการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยคานึงถึงศักยภาพผู้เรียนรายบุคคลเป็นสาคัญ และเพื่อการพัฒนาผู้เรียนให้มี
ศักยภาพสูง ขึ้น จึ งได้ เก็บ รวบรวมข้อมู ลของผู้เรียนทุ กด้านอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่ องในแต่ละภาคเรีย น
รวมทั้ งสอนซ่อมเสริมผู้เรียนที่มีผลการประเมินไม่ผ่านตามเกณฑ์ ให้สามารถพัฒ นาจนเต็มตามศัก ยภาพ
โดยในการตัดสินเพื่อให้ระดับผลการเรียนรายวิชา ได้ใช้ตัวเลขแสดงระดับผลการเรียนเป็น 8 ระดับ ดังนี้
คะแนนร้อยละ ระดับผลกำรเรียน ควำมหมำยของผลกำรประเมิน
80 - 100 4 ดีเยี่ยม
75 - 79 3.5 ดีมาก
70 - 74 3.0 ดี
65 - 69 2.5 ค่อนข้างดี
60 - 64 2.0 ปานกลาง
55 - 59 1.5 พอใช้
50 - 54 1.0 ผ่านเกณฑ์ขั้นต่า
0 - 49 0 ต่ากว่าเกณฑ์
1.2 การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ผู้เรียนมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และ
เขียน ในระดับ “ผ่ำน”
1.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์นนั้ ให้ระดับผลการประเมินเป็น ดีเยี่ยม ดี และผ่านการกาหนด
ความหมายของผลการประเมินโดยผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับ “ผ่ำน”
2. อัตรำส่วนคะแนนวัดผล
ระหว่างภาคเรียน : ปลายภาคเรียน เท่ากับ 70 : 30
คะแนนเก็บระหว่างภาคเรียน : คะแนนสอบ เท่ากับ 55 :45

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย 5 (ท33101) ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 36


ตำรำงวิเครำะห์ชิ้นงำน/ภำระงำนรวบยอดรำยวิชำ รำยวิชำ ภำษำไทย 5 รหัสวิชำ ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6
ที่ หน่วยกำรเรียนรู้ ชิ้นงำน/ภำระงำน วิธีกำร เครื่องมือ คะแนน เกณฑ์กำรประเมิน
1 ขุนช้างขุนแผน 1.ท่องบทอาขยาน 1.ประเมินการท่อง 1.เกณฑ์การประเมินการท่อง 5 ระดับคุณภาพอยู่ในเกณฑ์
ตอน ขุนช้างถวาฎีกา 2.เขียนแสดงทรรศนะ บทอาขยาน อาขยาน ระดับ พอใช้ ขึ้นไป
บทเสภาเสนาะกรรณ โต้แย้ง ประเด็นแนวคิด 2.ประเมินชิ้นงานการเขียน 2.เกณฑ์การประเมินชิ้นงานการ 10
“บทบาท อานาจของผู้ชาย แสดงทรรศนะ โต้แย้ง เขียนแสดงทรรศนะ โต้แย้ง
ที่มีต่อสตรีไทยในอดีต”
2 ไตรภูมิพระร่วง ตอน 1.รูปภาพอินโฟกราฟิกส์ 1.ประเมินชิ้นงานรูปภาพ 1.เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน 10 ระดับคุณภาพอยู่ในเกณฑ์
มนุสสภูมิ โลกกาเนิด (Infographic)วิเคราะห์ อินโฟกราฟิกส์ รูปภาพอินโฟกราฟิกส์ ระดับ พอใช้ ขึ้นไป
ของมนุษย์ เปรียบเทียบเชิงบูรณาการ (Infographic) (Infographic)
วิวัฒนาการของการเกิด 2.แบบเฉลยคาตอบ 2.เกณฑ์การประเมิน 10
ของมนุษย์
2.แบบทดสอบออนไลน์
ปรนัย 20 ข้อ
3 สามก๊ก ตอน กวนอู 1.แผนผังกราฟฟิก 1.ประเมินชิ้นงานแผนผัง 1.เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน 10 ระดับคุณภาพอยู่ในเกณฑ์
ไปรับราชการกับโจโฉ 2.รายงานการดาเนินงาน กราฟฟิก แผนผังกราฟฟิก ระดับ พอใช้ ขึ้นไป
ประชันกลเกมศึก โครงการ 2.ประเมินชิ้นงานรายงาน 2.เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน 10
การดาเนินงานโครงการ รายงานการดาเนินงานโครงการ
รวมคะแนน

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย 5 (ท33101) ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 37


ตำรำงวิเครำะห์แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ (Test Blueprint) รำยวิชำ ภำษำไทย 5 รหัสวิชำ ท33101 ชั้นมัธยมศึกษำปีท่ี 6
กำรสอบกลำงภำคเรียนที่ 1 ปีกำรศึกษำ 2564

ควำมรู้/ทักษะตำมตัวชี้วัด (จำนวนข้อ) อันดับ


รูปแบบ ควำมรู้ ทักษะและกระบวนกำรคิด ควำมสำคัญ
สำระ มำตรฐำน ตัวชี้วัด
แบบทดสอบ ความจา ความ การ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การประเมินค่า รวม
เข้าใจ ประยุกต์ใช้
1 1.1 5 เลือกตอบ - - - 5 - - 5 3
4 4.1 3,5,7 เลือกตอบ 2 3 5 3 3 4 20 1
5 5.1 1,4,5 เลือกตอบ - 2 5 4 4 5 20 2
ความเรียง - - 1 - - - 1
รวมจำนวนแบบทดสอบ 46

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย 5 (ท33101) ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 38


ตำรำงวิเครำะห์แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ (Test Blueprint) รำยวิชำ ภำษำไทย 5 รหัสวิชำ ท33101 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6
กำรสอบปลำยภำคเรียนที่ 1 ปีกำรศึกษำ 2564

ควำมรู้/ทักษะตำมตัวชี้วัด (จำนวนข้อ) อันดับ


รูปแบบ ควำมรู้ ทักษะและกระบวนกำรคิด ควำมสำคัญ
สำระ มำตรฐำน ตัวชี้วัด
แบบทดสอบ ความจา ความ การ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การประเมินค่า รวม
เข้าใจ ประยุกต์ใช้
1 1.1 5 เลือกตอบ - - - 5 - - 5 3
4 4.1 2,4 เลือกตอบ 3 4 5 3 3 2 20 1
5 5.1 1,2,3 เลือกตอบ - 2 5 4 4 5 20 2
รวมจำนวนแบบทดสอบ 45

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย 5 (ท33101) ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 39


แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย 5 (ท33101) ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 40
โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
รหัสวิชา ท33101 รายวิชา ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา บทเสภาเสนาะกรรณ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง การพูดวิเคราะห์วิจารณ์ ประเมินคุณค่าวรรณศิลป์ (2) จานวน 1 คาบ ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ความคิด ความรู้ในโอกาสต่าง ๆ
อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
ม.4-6/2 วิเคราะห์แนวคิด การใช้ภาษา และความน่าเชื่อถือจากเรื่องที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล
ม.4-6/3 ประเมินเรื่องที่ฟังและดู แล้วกาหนดแนวทางนาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต
ม.4-6/5 พูดในโอกาสต่าง ๆ พูดแสดงทรรศนะโต้แย้ง โน้ม น้าวใจ และเสนอแนวคิดใหม่ด้วย
ภาษาถูกต้อง เหมาะสม
ม.4-6/6 มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนามา
ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ม.4-6/1 วิเคราะห์ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้ า นความรู้ (Knowledge: K) อธิ บ ายหลั ก การวิเ คราะห์ วิจ ารณ์ ว รรณคดี แ ละวรรณกรรม
ด้านวรรณศิลป์ ตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้นได้อย่างมีเหตุผล
2.2 ด้านทั ก ษะ/กระบวนการ (Process: P) วิเคราะห์ สัง เคราะห์ คุณ ค่า ด้านวรรณศิล ป์ จ ากเรื่อ ง
ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกาได้
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude: A) พรรณนาความซาบซึ้งและอรรถรสทางภาษาของ
เรื่อง ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกาได้
3. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs)
 R1–Reading (อ่านออก)
 C1–Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะใน
การแก้ปัญหา)
 C3–Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์)
 C5–Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ
และรูเ้ ท่าทันสื่อ)

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 74


 C6–Computing and ICT Literacy (ทั ก ษะด้ า นคอมพิ ว เตอร์ และเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ
การสื่อสาร)
4. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ และกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
5. สาระสาคัญ
กลวิ ธีท างเสี ย ง คือ เสี ยงของถ้ อยค าที่ ป รากฏในเสภาเรื่ องขุน ช้ างขุ น แผน ที่ ผู้ ป ระพั น ธ์ ได้
สร้างสรรค์วรรณศิลป์อันมีความไพเราะสละสลวยขึ้นมา เพื่อให้สอดคล้องกับบริบทของเนื้อหา ในแต่ละตอน
กลวิธีทางเสียงดังกล่าวประกอบด้วย สัมผัส และจังหวะ
 สัมผัส เป็นวิธีการสร้างความงามทางเสียงที่ผู้ประพันธ์ในสังคมไทยมีความนิยมมาก มักจะ
ประพั น ธ์โ ดยการเล่น เสีย งสั ม ผั ส ภายในตัว บท ได้แ ก่ สั ม ผั ส สระ พยัญ ชนะ หรือ วรรณยุ ก ต์ เพื่ อ ให้ เ กิ ด
ความไพเราะในด้านเสียงให้กระทบอารมณ์ผู้อ่าน
เด่นการสัมผัสพยัญชนะ ดังนี้
ตะโกนเรียกในห้องวันทองเอ๋ย หาขานรับเช่นเคยสักคาไม่
ทั้งข้าวของมากมายก็หายไป ปากประตูเปิดไว้ไม่ใส่กลอน
พลางเรียกหาข้าไทอยู่ว้าวุ่น อีอุ่นอีอิ่มอีฉิมอีสอน
อีมีอีมาอีสาคร นิ่งนอนไยหวามาหากู
เด่นการสัมผัสสระ ดังนี้
ครานั้นพระองค์ผู้ทรงเดช ปิ่นปักนัคเรศเรืองศรี
เห็นสามราเข้ามาอัญชลี พระปรานีเหมือนลูกในอุทร
ด้วยเดชะพระเวทวิเศษประสิทธิ เผอิญคิดรักใคร่พระทัยอ่อน
ตรัสถามอย่างความราษฎร ฮ้าเฮ้ยดูก่อนอีวันทอง
 จังหวะ เป็นวิธีการสร้างความงามทางเสียงในคาประพันธ์ เพราะฉันทลักษณ์ทุกชนิดล้วนมี
จังหวะจะโคนตามแบบแผนกาหนด ได้แก่ จังหวะกระชั้น จังหวะเนิบช้า ทั้งนี้จะขึ้นอยู่กับการเลือกเสียงของคา
แต่ละคาให้เข้ากับบรรยากาศในบทประพันธ์
การใช้จังหวะเนิบช้า และกระชั้น
รูปงามนามเพราะน้อยไปฤๅ ใจไม่ซื่อสมศักดิ์เท่าเส้นผม
แต่ใจสัตว์มันยังมีที่นิยม สมาคมก็แต่ถึงฤดูมัน
มึงนี่ถ่อยยิ่งกว่าถ่อยอีท้ายเมือง จะเอาเรื่องไม่ได้สักสิ่งสรรพ์
ละโมบมากตัณหาตาเป็นมัน สักร้อยพันให้มึงไม่ถึงใจ
กลวิธีทางความหมาย คือ ความหมายโดยตรงและโดยนัยของถ้อยคาหรือข้อความที่ ปรากฏใน
เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ซึ่งผู้ประพันธ์ได้เลือกสรรถ้อยคาต่าง ๆ มาเรียงร้อยให้เ กิดความงามทางวรรณศิลป์
โดยถ้อยคาที่ป รากฏสามารถสื่อหรือ ถ่ายทอดความหมายได้อย่างแยบยล ซึ่งกลวิธีทางความหม ายดังกล่าว
ประกอบด้วย คา และเนื้อความ ดังนี้

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 75


1. คา
1.1 การสรรค า คือ การเลือ กใช้ ถ้อยค าให้ เหมาะสมกั บ เนื้อ ความ บริ บ ท ตั วละคร ได้แ ก่
การเลือกใช้คาที่มีศักดิ์สูงสร้างลีลาให้งดงาม การสรรคาใน เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน นี้ถือเป็นสิ่งที่โดดเด่นที่สุดก็
ว่าได้ เนื่องจากผู้ประพันธ์แต่ละท่านมีการเลือกสรรคา โดยเฉพาะคาศัพท์ธรรมดาทั่วไป แต่มีความหมายที่ลึกซึ้ง
กระทบอารมณ์ผู้อ่านและผู้ฟังได้เป็นอย่างดี
การเลือกใช้ถ้อยคาเปรียบเทียบเปรียบเปรยคมคาย
มาอยู่ไยกับไอ้หินชาติ แสนอุบาทว์ใจจิตริษยา
ดังทองคาทาเลี่ยมปากกะลา หน้าตาดาเหมือนมินหม้อมอม
เหมือนแมลงวันว่อนเคล้าที่เน่าชั่ว มาเกลือกกลั้วปทุมาลย์ที่หวานหอม
ดอกมะเดื่อฤๅจะเจือดอกพะยอม ว่านักแม่จะตรอมระกาใจ
1.2 การเล่นคา คือ การนาคาที่มีรูปหรือมีเสียงที่พ้องกันหรือใกล้เคียงกันมาเล่นใน แต่ละวรรคใน
เชิงการเล่นเสียงและความหมาย เพื่อ ให้เกิ ดความไพเราะและมี ความหมายที่ ลึก ซึ้ง ท าให้เกิ ดความเปรียบที่
กระทบอารมณ์ผู้อ่าน
ทั้งชายหญิงง่วงงมล้มหลับ นอนทับคว่าหงายก่ายกันเปรอะ
จี่ปลาคาไฟมันไหลเลอะ โงกเงอะงุยงมไม่สมประดี
ใช้พรายถอดกลอนถอนลิ่ม รอยทิ่มถอดหลุดไปจากที่
ย่างเท้าก้าวไปในทันที มิได้มีใครทักแต่สักคน
1.3 การซ้าคา คือ การใช้คาเดียวกันกล่าวซ้าหลายแห่งในบทประพันธ์แต่ละบท หรือแต่ละวรรค เพื่อย้า
เนื้อความให้หนักแน่นขึ้น การซ้าคาในเชิงวรรณศิลป์มักซ้าคาที่สาคัญ ซึ่งจะช่วยให้เกิดความชัดเจนหนักแน่นของ
สารที่ผู้ประพันธ์ต้องการที่จะสื่อ
6. สาระการเรียนรู้
6.1 เนื้อเรื่อง ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา
6.2 หลักการวิเคราะห์ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมด้านวรรณศิลป์
7. กิจกรรมการเรียนรู้ (แบบ Active Learning)
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (15 นาที)
7.1 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ
7.2 นั ก เรี ย นฟั งการขั บ เสภา ตอน ขุ น ช้ า งถวายฎี ก า จากคลิ ป เสี ย ง ที่ ค รู เ ปิ ด จาก
https://www.youtube.com/watch?v=-oo8rpKP_us
7.3 นักเรียนร่วมตอบคาถามและแสดงความคิดเห็นจากประเด็น ดังนี้
 นักเรียนคิดว่าการขับเสภามีความไพเราะหรือไม่ อย่างไร
 นักเรียนมีความคิดเห็นอย่างไรเกี่ยวกับความสามารถของกวีในการแต่ง
บทประพันธ์ เพื่อใช้ขับเสภาให้มีความไพเราะ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 76


 หากนักเรียนมีโอกาส นักเรียนจะอนุรักษ์การขับเสภาอย่างไร
ขั้นสอน (35 นาที)
7.4 นั ก เรี ย นฟั ง การบรรยายเกี่ ย วกั บ หลั ก การวิ เ คราะห์ วิ จ ารณ์ ว รรณคดี แ ละวรรณกรรม
ด้านวรรณศิลป์ประกอบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์
7.5 นักเรียนยกตัวอย่างบทประพันธ์ที่ชื่นชอบในตอน ขุนช้างถวายฎีกา จากนั้นวิเคราะห์กลวิธีทางเสียง
และกลวิธีทางความหมาย บันทึกลงในสมุดบันทึกความรู้ คนละ 2 บท จากนั้นนาเสนอหน้าชั้นเรียน
7.6 นักเรียนชมคลิปวีดีโอ "ขยับกรับ ขับเสภา" ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา
จาก https://www.youtube.com/watch?v=tkJQo0AT49Y อีกครั้ง
ขั้นสรุป (5 นาที)
7.7 นัก เรียนสรุป คุณค่าด้านวรรณศิลป์ที่ได้รับจาก เรื่อง ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกาลงใน
สมุดบันทึกความรู้ของตนเอง
8. สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้
8.1 แบบเรียนวรรณคดี วรรณกรรม
8.2 บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง หลักการวิเคราะห์ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรณ ด้านวรรณศิลป์
8.3 คลิปเสียงขับเสภา จาก https://www.youtube.com/watch?v=-oo8rpKP_us
8.4 คลิปวีดีโอ "ขยับกรับ ขับเสภา" ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา
จาก https://www.youtube.com/watch?v=tkJQo0AT49Y
9. ชิ้นงาน/ ภาระงาน
9.1 สมุดบันทึกความรู้ เรื่อง คุณค่าวรรณศิลป์
10. เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน
10.2 เกณฑ์การประเมินการบันทึกความรู้
บันทึกความรู้ได้ครบถ้วน 5 คะแนน
เขียนแผนผังความคิดถูกต้อง 5 คะแนน
รวม 10 คะแนน ผ่านเกณฑ์ 5 คะแนนขึ้นไป

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 77


11. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ เครื่องมือ เกณฑ์
ประเมินผล การประเมิน
2.1 ด้ าน ค วา ม รู้ (Knowledge: K) 1.สังเกตพฤติกรรม 1.แบบสังเกต 1.นักเรียนให้
อธิ บ ายหลั ก การวิ เ คราะห์ วิ จ ารณ์ รายบุคคล พฤติกรรมรายกลุ่ม ความร่วมมือ
วร ร ณ ค ดี แ ล ะ วร ร ณ ก ร ร ม ด้ า น 2. ตรวจสมุดบันทึก 2. เกณฑ์ 2.บันทึกความรูม้ ี
วรรณศิ ล ป์ ตามหลั ก การวิ จ ารณ์ ความรู้ การประเมิน ผลคะแนนผ่าน
เบื้องต้นได้อย่างมีเหตุผล การบันทึกความรู้ เกณฑ์ 5 คะแนน
2.2 ด้ า น ทั ก ษ ะ / ก ร ะ บ ว น ก า ร ขึ้นไป
(Process: P) วิ เ คราะห์ สั ง เคราะห์
คุณค่าด้านวรรณศิลป์จากเรื่อง ขุนช้าง
ขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา
2.3 2.3 ด้ า นคุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์
(Attitude: A) พรรณนาความซาบซึ้ ง
และอรรถรสทางภาษาของเรื่อ ง ขุ น
ช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกาได้

12. สรุปผลการจัดการเรียนรู้
12.1 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….........
12.2 ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….........
12.3 ข้อเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….........
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
13. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ลงชื่อ .................................................
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 78


บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 6
รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา บทเสภาเสนาะกรรณ
***********************************************************************************************************
1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก
...............................................................................................................................................................................
2. ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1) การประเมินผลความรู้หลังการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.....................
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก................................................................................................................................................................
2) การประเมินด้านทักษะกระบวนการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.............
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ...........
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มีนักเรียนทาใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกาหนดเวลา
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน
 อื่น ๆ ..............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนาแผนไปปรับปรุง เรื่อง .......................................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 79


โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
รหัสวิชา ท33101 รายวิชา ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา บทเสภาเสนาะกรรณ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง การวิเคราะห์วิจารณ์ สังเคราะห์ ประเมินค่าแนวคิด (2) จานวน 1 คาบ ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ไขปัญหาในการดาเนิน
ชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
ม.4-6/3 วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องที่อ่านในทุก ๆ ด้านอย่างมีเหตุผล
ม.4-6/5 วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็นโต้แย้งเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน และเสนอความคิด
ใหม่อย่างมีเหตุผล
ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่ าและนามา
ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ม.4-6/1 วิเคราะห์ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น
ม.4-6/4 สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีวรรณกรรม เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) อธิบายหลักการวิเคราะห์วิจารณ์ สังเคราะห์ ประเมินค่าแนวคิด
และคุณค่าด้านสังคมจากเรื่องที่อ่านได้อย่างมีเหตุผล
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (Process: P) วิเคราะห์ สังเคราะห์ คุณค่าด้านสังคมที่ปรากฏในเรื่อง
ขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกาได้
2.3 ด้ า นคุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ (Attitude: A) บอกแนวทางการน าความรู้ เกี่ ย วกั บ สั ง คม
วัฒนธรรม วิถีไทยในอดีตไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
3. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs)
 R1–Reading (อ่านออก)
 C1–Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะใน
การแก้ปัญหา)
 C3–Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์)
 C5–Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ
และรูเ้ ท่าทันสื่อ)
 C6–Computing and ICT Literacy (ทั ก ษะด้ า นคอมพิ ว เตอร์ และเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ
การสื่อสาร)

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 80


4. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
 มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
 พระราโชบายด้านการศึกษาของในหลวงรัชกาลที่ 10 ด้านที่ 1 มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง
5. สาระสาคัญ
หลัการวิเคราะห์ สังเคราะห์คุณค่าด้านสังคมในวรรณคดี
การสะท้อนภาพขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม ศิลปะ การเมืองการปกครอง การศึกษา
ศาสนา ความเชื่อ ค่านิยม การคมนาคม กฎหมาย จริยธรรมและภูมิศาสตร์ของไทยในอดีต ทาให้เห็นสิ่งที่
เกี่ ย วข้อ งกั บ ชีวิต ประจ าวันตั้ ง แต่ เกิ ด จนถึง ตายของคนในสั ง คมไทยสมั ยอยุธยาตอนปลาย และสมั ย
รัตนโกสินทร์ ตอนต้น ได้เป็นอย่างดี สามารถพิจารณา คุณค่าด้านสังคมจากเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอน
ขุนช้างถวายฎีกาได้ตามแนวทางได้ ดั้งนี้
1. การเมืองการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์กับบทบาทของกษัตริย์
บทบาทของพระมหากษัตริย์ต่อประชาชนในสังคมไทย สมเด็จ พระพันวษา แม้จะทรงเป็น ดั่ง
เจ้าชีวิต มีพระราชอานาจอันล้นพ้น แต่ก็มิได้ทรงใช้พระราชอานาจ โดยปราศจากเหตุผล หรือ ใช้อานาจ
ด้วยอารมณ์ หากได้ทรงปฏิบัติพระองค์ อย่างเหมาะสม และทรงเมตตาครอบครัวขุนแผน เพราะเห็นแก่
ความดีความชอบ ที่ เคยสร้างไว้ให้แก่ บ้านเมื อง นอกจากนี้ท รงดารงพระองค์อยู่ ในฐานะ ของกษัตริย์
ปกครองประเทศ ซึ่งจะต้อ งแก้ ปัญ หาระดับ ประเทศแล้วยังต้อง แก้ ปัญ หาระดับ ครอบครัวของไพร่ฟ้ า
ข้าแผ่นดินอีกด้วย ทรงเปรียบเสมือน พ่อ หรือ ผู้ใหญ่ในครอบครัว เวลาคนในครอบครัวมีเรื่องเดือดร้อน
หรือเกิ ดการณ์ วุ่นวายมาฟ้ อ งร้อ งพระองค์ท รงมี ห น้าที่ ตัดสินคลี่ คลายปัญ หา เช่ น ในกรณีที่ ขุนช้างมา
ถวายฎีกาครั้งนี้แม้ทรงกริ้ว ด้วยทรงรู้สึกว่า ขุนช้างก่อเรื่องวุ่นวายไม่จบสิ้น แต่ก็มิได้ทรงละเลย ทรงนามา
พิจารณา ดังเช่น
ครานั้นพระองค์ผู้ทรงเดช ปิ่นปักนัคเรศเรืองศรี
เห็นสามราเข้ามาอัญชลี พระปรานีเหมือนลูกในอุทร
ด้วยเดชะพระเวทวิเศษประสิทธิ เผอิญคิดรักใคร่พระทัยอ่อน
ตรัสถามอย่างความราษฎร ฮ้าเฮ้ยดูก่อนอีวันทอง
เมื่อมึงกลับมาแต่ป่าใหญ่ กูสิให้ไอ้แผนประสมสอง
ครั้นกูขัดใจให้จาจอง ตัวของมึงไปอยู่แห่งไร
2. ค่านิยมของคนในสังคมไทยในอดีต
2.1 ค่านิยมเกี่ยวกับการมีสัมมาคารวะ เช่น พลายงามรู้จักแสดงความเคารพ นบน้อมมี
สัมมาคารวะ แม้จะอยู่ในสถานการณ์ที่ทาให้ ขุ่นเคืองใจ แต่เมื่อมาเห็นมารดาก็ยังระลึกถึง พระคุณเข้า ไป
กราบไหว้
จมื่นไวยสารภาพกราบบาทา ลูกมาผิดจริงหาเถียงไม่
รักตัวกลัวผิดแต่คิดไป ก็หักใจเพราะรักแม่วันทอง

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 81


2.2 ค่านิยมความจงรักภัก ดีต่อสถาบันกษัตริย์ เป็นสิ่งที่คนไทยรักษาไว้ม ายาวนาน เนื่องจาก
สถาบันกษัตริย์เป็นสถาบันหลัก ของชาติ เนื่องด้วยกษัตริย์นอกจากจะเป็นผู้บริหารกิจการบ้านเมืองแล้ว
ยังทาหน้าที่เป็นผู้นาทัพออกสู้รบเพื่อปกป้องบ้านเมืองในยามสงคราม และเมื่อยามไพร่ฟ้าประชาชนได้รับ
ความเดือดร้อน ก็จะได้รับความช่วยเหลือจากพระมหากษัตริย์เสมอ ดังเช่น
เจ้าเป็นถึงหัวหมื่นมหาดเล็ก มิใช่เด็กดอกจงฟังคาแม่ว่า
จงเร่งกลับไปคิดกับบิดา ฟ้องหากราบทูลพระทรงธรรม์
พระองค์คงจะโปรดประทานให้ จะปรากฏยศไกรเฉิดฉัน
อันจะมาลักพาไม่ว่ากัน เช่นนั้นใจแม่มิเต็มใจ ฯ
2.3 ค่านิยมเกี่ยวกับผู้หญิงต้องมี สามีคนเดียว ไม่นิยมผู้หญิงที่มีพฤติกรรมเยี่ยงนางวันทองคือมี
สามีสองคน ในเวลาเดียวกัน แม้โดยจริงแท้แล้วมิใช่เกิด จากความปรารถนาของนางเอง แต่ในจุดนี้สังคมก็
มองข้าม และมองว่าเป็นหญิงที่น่ารังเกียจ คาพิพากษาให้ได้รับพระราชอาญาถึงประหารย่อมเป็นยืนยันถึง
ผลของค่านิยมด้านนี้ของสังคมไทย
มึงนี่ถ่อยยิ่งกว่าถ่อยอีท้ายเมือง จะเอาเรื่องไม่ได้สักสิ่งสรรพ์
ละโมบมากตัณหาตาเป็นมัน สักร้อยพันให้มึงไม่ถึงใจ
ว่าหญิงชั่วผัวยังคราวละคนเดียว หาตามตอมกันเกรียวเหมือนมึงไม่
หนักแผ่นดินกูจะอยู่ไย อ้ายไวยมึงอย่านับว่ามารดา
3. ความเชื่อ ซึ่งมีอยู่คู่กับวิถีชีวิตของคนไทยโดยตลอด ดังนี้
3.1 ความเชื่อเกี่ยวกับไสยศาสตร์ เวทย์มนต์คาถา ฤกษ์ยาม ผีสางนางไม้ เช่น การดูเวลาฤกษ์
ยาม การเซ่น ไหว้ภูตผี การเสกขมิ้ น การลงยันต์ การใส่มงคล การเป่ามนตร์ และการบริก รรมคาถา
การมีข้ารับใช้เป็นผี กุมาร เป็นต้น
ครานั้นวันทองเจ้าพลายงาม ได้ฟังความคร้ามครั่นหวั่นไหว
ขุนแผนเรียกวันทองเข้าห้องใน ไม่ไว้ใจจึงเสกด้วยเวทมนตร์
สีขี้ผึ้งสีปากกินหมากเวท ซึ่งวิเศษสารพัดแก้ขัดสน
น้ามันพรายน้ามันจันทน์สรรเสกปน เคยคุ้มขังบังตนแต่ไรมา
แล้วทาผงอิทธิเจเข้าเจิมพักตร์ คนเห็นคนทักรักทุกหน้า
เสกกระแจะจวงจันทน์น้ามันทา เสร็จแล้วก็พาวันทองไป ฯ
3.2 ความเชื่อเกี่ยวกับความฝันและลางสังหรณ์ ก่อนที่นางวันทองจะถูกตัดสินประหารชีวิต นาง
วันทองฝันว่าตนพลัดหลงเข้าป่าและหาทางกลับไม่ได้ จนกระทั่งมีเสือสองตัวตะครุบพานางเข้าไปในป่า นาง
จึงตกใจตื่นผวากอดขุนแผน
ฝันว่าพลัดไปในไพรเถื่อน เลื่อนเปื้อนไม่รู้ที่จะกลับหลัง
ลดเลี้ยวเที่ยงหลงในดงรัง ยังมีพยัคฆร้ายมาราวี
ทั้งสองมองหมอบอยู่ริมทาง พอนางดั้นป่ามาถึงที่
โดดตะครุบคาดคั้นในทันที แล้วฉุดคร่าพารี่ไปในไพร

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 82


3.3 ความเชื่อเกี่ยวกับเรื่องกรรม ตัวละครในเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผนเมื่อประสบชะตากรรม ที่ทา
ให้ตนเองพบกับความทุกข์ มักลงความเห็นว่า เป็นเรื่องของเวรกรรม ดังเช่น พลายงามที่เชื่อว่าสาเหตุที่ทา
ให้นางวันทองต้องไปครองคู่กับขุนช้างเป็นเพราะเคราะห์กรรม ดังเช่น
โอ้แม่เจ้าประคุณของลูกเอ๋ย ไม่ควรเลยจะพรากจากคุณพ่อ
เวรกรรมนาไปไม่รั้งรอ มิพอที่จะต้องพรากก็จากมา
4. วิถึชีวิตของคนไทยในอดีต ได้ แก่ การอยู่อาศัยในบ้านเรือนทรงไทย ใช้ลิ่มประตูแทนกลอน เรือน
ของคนมีฐานะร่ารวยจะประดับตกแต่งด้วยเครื่องแก้ว รใช้เครื่องหอม เช่น กระแจะ การให้สัญญาณบอก
เวลา เช่น การตีฆ้อง การตีกลอง ชนชั้นของคนไทย เช่น พระมหากษัตริย์ ขุนนางข้าราชบริภาร ไพร่ ทาส
การแต่ง กาย เช่ น การนุ่ง ผ้าโจงแบบถกเขมร การท าโทษ เช่น การเฆี่ยนตี หรือประหารชีวิต การปรับ
ค่าสินไหม เป็นต้น ดังเช่น
ใช้พรายถอดกลอนถอนลิ่ม รอยทิ่มถอดหลุดไปจากที่
ย่างเท้าก้าวไปในทันที มิได้มีใครทักแต่สักคน
ข้าไทนอนหลับลงทับกัน สะเดาะกลอนถอนลั่นถึงชั้นสาม
กระจกฉากหลากสลับวับแวมวาม อร่ามแสงโคมแก้วแววจับตา
ม่านมู่ลี่มีฉากประจากั้น อัฒจันทร์เครื่องแก้วก็หนักหนา
ชมพลางย่างเยื้องชาเลืองมา เปิดมุ้งเห็นหน้าแม่วันทอง
5. การใช้กฎหมายในการปกครอง เช่น การถวายฎีกา การตราพระราชกฤษฎีกา พระราชอาญา
6. สาระการเรียนรู้
6.1 เนื้อเรื่อง ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา
6.2 หลักการวิเคราะห์ วิจารณ์คุณค่าด้านสังคม
7. กิจกรรมการเรียนรู้ (แบบ Active Learning)
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (10 นาที)
7.1 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ
7.2 นักเรียนดูบัตรคาศัพท์อิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่
กระแจะ ภูตพราย ว่านยา ฎีกา ฆ้อง
เคราะห์ ถกเขมร กระดานชนวน เครื่องเซ่น ปรอท
สาเภา บุญกรรม อาญาสิทธิ์ กฤษฎีกา ตัณหา
น้ามันจันทน์ แมงมุมทุ่มอก สีผงึ้ เครื่องอาน บายศรี
ลิ่ม มินหม้อ ยันต์ราชะ โคมแก้ว มงคล

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 83


7.3 นักเรียนร่วมจาแนกประเภทของคาศัพท์ ดังนี้
หมวดวิถีชีวิต ได้แก่ กระแจะ น้ามันจันทน์ ลิ่ม ถกเขมร มินหม้อ เครื่องอาน โคมแก้ว
หมวดกฎหมาย ได้แก่ อาญาสิทธิ์ กฤษฎีกา ฎีกา
หมวดความเชื่อ ได้แก่ เคราะห์ ภูตพราย แมงมุ ม ทุ่ มอก ยันต์ราชะ สีผึ้ง เครื่องเซ่น มงคล
บายศรี
หมวดศาสนา ได้แก่ ตัณหา บุญกรรม
หมวดสมุนไพร ยา ได้แก่ ว่านยาน ปรอท
หมวดการศึกษา ได้แก่ กระดานชนวน
หมวดคมนาคม ได้แก่ สาเภา
ขั้นสอน (35 นาที)
7.4 นักเรียนทาใบงานเทคนิค “KWL Plus” จากการศึกษาเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวาย
ฎีกา ตามขั้นตอน ดังนี้
7.4.1 นักเรียนเขียนความรู้เดิมของนักเรียนที่มีเกี่ยวกับลักษณะนิสัยและบทบาทของตัวละคร
ในเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา ลงในช่อง K (What do I know?) ความรู้เดิม
7.4.2 ก่อนศึกษาบทเรียน นักเรียนตั้งคาถามเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการรู้เกี่ยวกับลักษณะนิสัยและ
บทบาทของตัวละครในเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีก า ลงในช่อง W (What do I want to
learn?) สิ่งที่อยากรู้
7.5 นัก เรียนแบ่ง กลุ่ม 5 กลุ่ ม จากนั้น ร่วมกั นวิเ คราะห์ลัก ษณะนิ สัยของตัวละคร ได้แก่ ขุนช้ าง
ขุนแผน วันทอง พลายงาม พระพันวษา โดยใช้วิธีการจับสลากเลือก ตัวแทนกลุ่มสวมหมวกรูปภาพตัวละคร
นาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน ประเด็นที่ต้องวิเคราะห์ มีดังนี้ 1) ลักษณะนิสัย 2) บทบาทสาคัญในเรื่อง 3)
ระบบของจิตอยู่ในระดับใด (อิด,อีโก้,ซุปเปอร์อีโก้)
7.6 หลั ง จบกิ จ กรรมกลุ่ม นัก เรียนสนทนาร่วมกับ ครู และบันทึ กความรู้เพิ่มเติม ในใบงานเทคนิค
“KWL Plus” ในประเด็นเกี่ยวกับลักษณะนิสัยและบทบาทของตัวละครในเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้าง
ถวายฎีกา โดยเขียนลงในช่อง L (What did I learn?) สิ่งที่ได้เรียนรู้
ขั้นสรุป (5 นาที)
7.7 นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้จากกิจกรรมกลุม่ ร่วมกับเพื่อนในชั้นเรียน เพื่อนาไปเขียนแผนผังความคิด
(Plus) ประเด็น ข้อมูลน่ารู้ เรื่อง ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา ลงในสมุดบันทึกความรู้ของตนเอง
7.8 ครูแนะนาแหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม
 เว็บไซต์ของสานักพิมพ์หกเหลี่ยม https://www.sixfacetspress.net/content/4849/
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของซิกมันด์-ฟรอยด์-บิดาแห่งจิตวิเคราะห์

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 84


8. สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้
8.1 แบบเรียนวรรณคดี วรรณกรรม
8.2 บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ทฤษฏีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalytic theory)
8.3 หมวกรูปภาพตัวละคร
8.4 ใบงานเทคนิค “KWL Plus”
8.5 แผนผังความคิด (Plus) ประเด็น ข้อมู ลน่ารู้ เรื่อง ขุนช้ างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีก า
(ผลิตโดยนักเรียน)
8.6 เว็บไซต์ของสานักพิมพ์หกเหลี่ยม
9. ชิ้นงาน/ ภาระงาน
9.1 ใบงานเทคนิค “KWL Plus”
9.2 บันทึกความรู้ในรูปแบบแผนผังความคิด (Plus) ประเด็นเกี่ยวกับลักษณะนิสัยและบทบาท
ของตัวละคร
10. เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน
10.1 แนวคาตอบของใบงานเทคนิค “KWL Plus”
K (What do I know?) W (What do I want to learn?) L (What did I learn?)
ความรู้เดิม สิ่งที่อยากรู้ สิ่งที่ได้เรียนรู้
- ขุนแผนเป็นคนดี ขุนช้างเป็น - เหตุใดไม่มีใครช่วยเหลือนางวันทอง - การตัดสินโทษ ขึ้นอยู่กับ
คนไม่ดี ให้รอดจากการถูกประหาร พระราชอานาจของพระมหากษัตริย์
- พระพันวษาใช้อานาจตัดสิน - ขุนช้างเป็นต้นเหตุที่ทาให้นางวันทอง - การถวายฎีกาของขุนช้างเป็น
ชีวิตผู้อื่น โดนประหารชีวิตใช่หรือไม่ สาเหตุหนึ่งของการถูกประหาร
- นางวันทองเป็นผู้หญิงน่าสงสาร - พระพันวษา เป็นกษัตริย์ที่ใช้อานาจ - พระพั นวษา เป็ น กษั ต ริ ย์ ที่ ใ ช้ อานาจตาม
- ตัวละครชายในเรื่องไม่มีใคร เกินกว่าเหตุหรือไม่ ระบอบการปกครองในสมัย
ช่วยเหลือนางวันทองได้ - การถวายฎีกา เป็นสิ่งที่ควรกระทาหรือไม่ - การถวายฎีกา เป็นสิ่งที่กระทาได้
ขึ้นอยู่กับความทุกข์ คดีความที่ไปยื่นฎีกา

10.2 เกณฑ์การประเมินการบันทึกความรู้
บันทึกความรู้ได้ครบถ้วน 5 คะแนน
เขียนแผนผังความคิดถูกต้อง 5 คะแนน
รวม 10 คะแนน ผ่านเกณฑ์ 5 คะแนนขึ้นไป

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 85


11. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ เครื่องมือ เกณฑ์
ประเมินผล การประเมิน
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) 1.สังเกตพฤติกรรมจาก 1.แบบสังเกต 1.นักเรียนให้
อธิ บ ายหลั ก การวิ เ คราะห์ วิ จ ารณ์ กิจกรรมกลุม่ พฤติกรรมรายกลุ่ม ความร่วมมือ
สังเคราะห์ ประเมิ น ค่าแนวคิด จาก 2.ตรวจใบงานเทคนิค 2.แนวคาตอบ 2.ตอบได้อย่างมี
เรื่องที่อ่านได้อย่างมีเหตุผล “KWL Plus” 3.เกณฑ์ เหตุผล มากกว่า
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ 3.ตรวจสมุดบันทึก การประเมิน ร้อยละ 80
(Process: P) วิเคราะห์ สังเคราะห์ ความรู้ การบันทึกความรู้ 3. บันทึกความรู้มี
เชื่อมโยงทฤษฏีจิตวิเคราะห์ ผลคะแนนผ่าน
(Psychoanalytic theory) กับ เกณฑ์ 5 คะแนน
ลักษณะนิสัยของตัวละครในเรือ่ ง ขุน ขึ้นไป
ช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกาได้
2.3 ด้านคุณลัก ษณะอันพึ งประสงค์
(Attitude: A) บอกแนวทางการเสริม
สร้างคุณธรรม จริยธรรมให้ตนเอง

12. สรุปผลการจัดการเรียนรู้
12.1 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….............
12.2 ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.3 ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
13. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ .................................................
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 86


บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 7
รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา บทเสภาเสนาะกรรณ
***********************************************************************************************************
1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก
...............................................................................................................................................................................
2. ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1) การประเมินผลความรู้หลังการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.....................
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก................................................................................................................................................................
2) การประเมินด้านทักษะกระบวนการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.............
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ...........
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มีนักเรียนทาใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกาหนดเวลา
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน
 อื่น ๆ ..............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนาแผนไปปรับปรุง เรื่อง .......................................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 87


โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
รหัสวิชา ท33101 รายวิชา ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา บทเสภาเสนาะกรรณ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง การเขียนแสดงทรรศนะ โต้แย้ง (1) จานวน 1 คาบ ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความและเขียนเรื่องราวในรูปแบบ
ต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ
ม.4-6/1 เขียนสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ภาษาเรียบเรียงถูกต้องมี
ข้อมูลและสาระสาคัญชัดเจน
ม.4-6/8 มีมารยาทในการเขียน
ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนามา
ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ม.4-6/1 วิเคราะห์ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น
ม.4-6/4 สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีวรรณกรรม เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) อธิบายหลักการเขียนแสดงทรรศนะ โต้แย้งได้
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (Process: P) แสดงทรรศนะ โต้แย้ง และอ้างอิงข้อมูลประกอบได้อย่าง
มีเหตุผล
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude: A) ชี้แจงคุณธรรมและมารยาทของนักเขียนได้
3. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs)
 R1–Reading (อ่านออก)  R2–(W)Riting (เขียนได้)
 C1–Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะใน
การแก้ปัญหา)
 C3–Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์)
 C5–Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ
และรูเ้ ท่าทันสื่อ)
 C6–Computing and ICT Literacy (ทั ก ษะด้ า นคอมพิ ว เตอร์ และเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ
การสื่อสาร)
 C8–Compassion (ความมีเมตตากรุณา วินัย คุณธรรม จริยธรรม)

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 88


4. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
 บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
 มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
 พระราโชบายด้านการศึกษาของในหลวงรัชกาลที่ 10 ด้านที่ 1 มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง
5. สาระสาคัญ
5.1 หลักการเขียนแสดงทรรศนะ โต้แย้ง
การเขียนแสดงทรรศนะ คือ การเขียนแสดงความคิดเห็นต่อเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรื อเหตุการณ์ใด
เหตุการณ์หนึ่ง ซึ่งเป็นการเขียนที่ประกอบด้วยข้อมูลอันเป็นข้อเท็จจริง และการแสดงทรรศนะของผู้เขียนต่อ
เรื่องนั้น ๆ ทั้ งนี้ความคิดเห็นควรจะอยู่บ นพื้นฐานของเหตุผลและเป็นไปในทางสร้างสรรค์ ลัก ษณะของ
การเขียนแสดงทรรศนะขึ้นอยู่กับ จุดมุ่ ง หมายของผู้เ ขียนซึ่งอาจเป็นการเขียนในเชิงตั้ง ข้อสัง เกต ในเชิง
สนับสนุนในเชิงโต้แย้ง หรือในเชิงประเมินค่าก็เป็นได้
ประเภทของการเขียนแสดงทรรศนะ แบ่งออกเป็น ๒ ประเภทใหญ่ ๆ ได้ดังนี้
1. การเขียนแสดงความคิดเห็น คือ การเขียนที่มุ่งแสดงความคิดเห็นถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่งว่ามีข้อดีข้อเสียอย่างไร
และหาวิธีที่จะปรับปรุงแก้ไขได้อย่างไร ผู้เขียนต้องพิจารณาคิดค้นให้รอบคอบละเอียดถี่ถ้วนทุกด้านทุกมุม
ด้วยสติ ปัญญา ความคิดอย่างชัดเจน รวมถึงค้นคว้าข้อมูลอย่างกว้างขวาง แล้วจึงแสดงข้อคิดเห็น อาจเป็น
เชิงตาหนิหรือชม หรือสนับสนุนให้สอดคล้องกับศาสตร์ หรือแขนงวิชาต่าง ๆ แบ่งได้เป็น 2 ประเภทย่อย คือ
1.1 การแสดงความคิ ด เห็ น เชิ ง วิ ชาการ เป็ น การแสดงความคิ ด เห็ น โดยยึ ด ด้ านวิ ช าการมี
เอกสารอ้างอิง
1.2 การแสดงความคิด เห็นโดยทั่ วไปตามอารมณ์ ความรู้สึ ก นึก คิดส่วนตัว เช่น การวิจ ารณ์
เหตุการณ์ทางการเมือง การแสดงออกของวัยรุ่น รวมทั้งการเขียนบทความวิจารณ์ต่าง ๆ เป็นต้น
2. การเขียนโต้แย้ง หมายถึง การแสดงทรรศนะที่ แตกต่างกั นระหว่างบุ คคล 2 ฝ่าย โดยนาข้อมู ล สถิ ติ
หลัก ฐานเหตุผลต่าง ๆ มาอ้างอิงในการสนับ สนุนทัศนะของฝ่ายตน เพื่อคัดค้านอีกฝ่ายหนึ่ง กระบวนการ
โต้แย้งสามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ขั้นตอน ดังนี้
2.1 การตั้งหัวข้อโต้แย้ง
2.2 การค้นคว้าหาข้อสนับสนุนทรรศนะและเรียบเรียงหัวข้อ ตามลาดับ
2.3 การให้ความหมายคาสาคัญที่อยู่ในประเด็นการโต้แย้ง
2.4 การชี้ให้เห็นจุดอ่อนในทัศนะของฝ่ายตรงข้าม
หลักการเขียนแสดงทรรศนะ มีหลักการอยู่ 5 ประการที่ควรจะต้องคานึงถึง ดังนี้
1. การเลือกเรื่องหรือประเด็น ในการวิจารณ์ แสดงความคิดเห็น มีหลักในการเลือกเรื่อง ดังนี้
1.1 เลือกเรื่องที่ตนเองสนใจและมีความรู้ในเรื่องนั้น
1.2 เลือกเรื่องที่กาลังเป็นที่สนใจของประชาชน
2. การสนับสนุนข้อเท็จจริง ในการแสดงทรรศนะ ข้อคิดเห็น โดยผู้เขียนที่มีความรับผิดชอบจะให้ข้อเท็จจริง
แก่ผู้อ่านอย่างตรงไปตรงมา

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 89


3. การแสดงความคิดเห็น ต้องประกอบด้วยข้อเท็จจริงและการแสดงความคิดเห็น ซึ่งในส่วนของการแสดง
ความคิดเห็นนี้ ผู้เขียนสามารถแสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระ นั่นคือการแสดงความคิดเห็นจากทรรศนะของ
ตนเอง อาจแตกต่างจากบุคคลอื่น ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ เช่น ความรู้มุมมอง ประสบการณ์ ความรู้สึกทางจิตใจ
หรืออาจมีผลประโยชน์แอบแฝง เป็นต้น
4. การเรียบเรียงงานเขียนแสดงทรรศนะ เรียงลาดับได้ดังนี้
4.1 การตั้งชื่อเรื่อง ให้สอดคล้องกับเนื้อหา เพื่อดึงดูดใจผู้อ่าน
4.2 การเปิด เรื่อ ง ใช้ ห ลั ก การเขีย นเช่น เดี ยวกั บ การเขีย นค านา คือ เขี ยนให้ ตรงประเด็น ดึง ดู ด
ความสนใจของผู้อ่าน
4.3 การลาดับเรื่อง ให้มีความต่อเนื่องสอดคล้องกันตั้งแต่ต้นจนจบ ไม่เขียนวกวน
4.4 การปิดเรื่อง ใช้หลักการเช่นเดียวกับการเขียนสรุป เช่น จบด้วยคาคม หรือคาประพันธ์
5. การใช้ภาษา ควรใช้ภาษาอย่างสละสลวย ชัดเจน ไม่เยิ่นเย้อ มีการใช้สานวนโวหารอย่างเหมาะสมกับเรื่อง
นอกจากนี้ใช้ถ้อยคาที่สื่อความหมายได้ตรงตามอารมณ์ ทั้งนี้หลีกเลี่ยงการใช้ถ้อยคาแสดงอารมณ์รุนแรง
ที่มา: http://kubow3847.blogspot.com/2010/04/blog-post.html
5.2 ทฤษฎีส ตรีนิย ม อ้างอิ งจากงานวิจัย บทบาทสตรี: ในมุม มองความยุติธรรมในสังคมไทยของ
บุญ วดี มนตรีกุ ล ณ อยุธยา อาจารย์ ป ระจ าภาควิชามนุษ ยศาสตร์ คณะสัง คมศาสตร์และมนุ ษยศาสตร์
มหาวิท ยาลัยมหิดล วารสารการบริห ารปกครอง (Governance Journal) ปีที่ 5 ฉบับ ที่ 2 (กรกฎาคม –
ธันวาคม 2559) โดยมีใจความสาคัญ คือ ทฤษฎีสตรีนิยมเป็นแบบแผนการวิเคราะห์ที่มีวิธีคิดและวิธีดาเนินการ
ที่มีทิศทาง โดยเฉพาะที่มุ่งมั่นไปสู่การปลดปล่อยผู้หญิงให้พ้นจากการกดขี่เอารัดเอาเปรียบ หัวใจสาคัญของ
ทฤษฎีส ตรีนิยม คือ การวิพ ากษ์บ ริบททางสังคมและรื้อสร้างการเลือกปฏิบัติต่าง ๆ ศูนย์รวมความสนใจที่
สาคัญ คือ ระบบสังคมที่ ชายเป็นใหญ่ (Patriarchy) การครอบงาระบบการเมื อง เศรษฐกิจ วัฒ นธรรมและ
กฎหมายโดยผู้ชาย การจัดการทางสังคมชนิดใดที่นาไปสู่การกดขี่เอารัดเอาเปรียบและการทาให้ผู้หญิงต้อง
กลายเป็นคนชายขอบ โดยเชื่อรากเหง้าสาคัญของการแสวงหาความรู้และการปฏิบัติที่มีการกดขี่เอารัดเอา
เปรียบและเลือกปฏิบัติต่อผู้หญิงก็คือ ลัทธิผู้ชายเป็นศูนย์กลาง (Androcentrism) ซิโมน เดอ โบวัวร์ (Simone
de Beauvoir) ซึ่ง เป็นนักสังคมนิยมและนักปรัชญาเอ็กซิส ตรองเชี่ยลลิส ต์ชาวฝรั่งเศส คู่ชีวิตของฌองปอล
ซาร์ต (Jean Paul Satre) ในหนัง สือ The Second Sex (1957) เดอ โบวัวร์ เห็นว่าผู้ห ญิ งนั้นต้ องยอมรับ
สถานภาพเพศที่สอง เดอ โบวัวร์ วิเคราะห์จากการศึกษาบทบาทของหญิงและชายที่แตกต่างกันว่า ผู้หญิงถูก
สอนและปฏิบัติเสมือนเป็นวัตถุที่ผู้ชายเป็นเจ้าเข้าเจ้าของ แทนที่จะอยู่ในฐานะที่ผู้หญิงแต่ละคนมีประสบการณ์
เป็นของตนเอง เบ็ตตี้ ฟรีแดน (Betty Friedan) นักสตรีชาวอเมริกันเป็นอีกผู้หนึ่งที่วิพากษ์ความไม่เท่าเทียม
ทางเพศในหนังสือ The Feminine Mystique (1963) เธอชี้ให้เห็นความไม่เท่าเทียมกันทางเพศที่ฝังลึกอยู่ใน
บทบาทที่สังคมก าหนดสร้างให้ผู้หญิงต้อ งเป็นแม่และแม่ บ้านแต่เพียงเท่านั้น ฟรีแดนยังวิจารณ์ท ฤษฎีของ
ฟรอยด์ว่าเป็นการตีตราบาปให้ผู้หญิง โดยกล่าวหาว่า ผู้หญิงดิ้นรนแสวงหาความเป็นชายและมีความบกพร่อง
ของความเป็นแม่ ฟรีแดนเรียกร้องให้ผู้หญิงได้รับบทบาททางเพศสภาพที่เท่าเทียม โดยเฉพาะย้าเน้นว่าผู้หญิง
ต้องมีโอกาสทางการศึกษาและการทางาน นักสตรีนิยมหัวรุนแรงหรือเรดิกัลมักจะปรามาสว่า ทฤษฎีนี้มี

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 90


ลักษณะอนุรักษ์มากเกินไป ทั้งนี้จุดยืนของทฤษฎีความแตกต่างทางเพศสภาพพยายามอธิบายพัฒนาการของ
ผู้หญิงใน ด้านบวกมากกว่าการยอมรับความอ่อนด้อยของผู้หญิงในทฤษฎีชายเป็นศูนย์กลาง (Androcentric
theories) ทั้ ง หลาย ทฤษฎี ค วามไม่ เสมอภาคในเพศสภาพ คื อ ปฏิ เ สธการอธิ บ ายความแตกต่ า งทาง
บุคลิกภาพระหว่างผู้หญิงและผู้ชาย และชี้ให้เห็นความเหมือนกันของมนุษย์ทุกคน ทั้งนี้ถือว่ามนุษย์ทุกคน
สามารถปรับตัวได้และในส่วนลึกของมนุษย์ทุกคนมีแรงขับอิสระที่จะนาไปสู่ความเข้าใจตนเองอย่างแท้จริง
(Self-actualization) นักทฤษฏีส ตรีนิยมในกลุ่มที่เน้นความไม่เสมอภาคทางเพศสภาพ เห็นว่า โครงสร้าง
พื้นฐานของการกดขี่และการครอบงา ก็คือ ระบบชายเป็นใหญ่ซึ่งเป็นโครงสร้างอานาจหลักที่เป็นสาเหตุของ
การควบคุมผู้หญิงและลิดรอนอานาจของผู้หญิง การกดขี่ทางเพศสภาพเป็นพื้นฐานสาคัญอีกประการหนึ่งที่มี
ความสัมพันธ์กับระบบชายเป็นใหญ่ ความรุนแรงที่กระทาต่อผู้หญิง ทั้งในด้านร่างกายและจิตใจ เกิดขึ้นได้
และดาเนินต่อไปอย่างยากที่จะแก้ไข ก็เพราะว่า ผู้หญิงถูกลิดรอนอานาจในการควบคุมวิถีชีวิต และการเลือก
ที่จะมีชีวิตอย่างที่ตนต้องการ นักวิชาการบางท่านให้ความเห็นว่า การกดขี่ ทางชนชั้นนั้นมีรากเหง้ามาจาก
“วิถีการผลิตสิ่งของ” ส่วนการกดขี่ท างเพศสภาพมี รากเหง้ามาจาก “วิถีก ารผลิตบุคคล” ดังนั้น ระบบ
ทุนนิยมที่มีชายเป็นใหญ่ (Capitalist patriarchy) จึงมีพื้นฐานอยู่ที่ การพยายามทาให้ผู้หญิงต้องตกเป็น
เบี้ยล่าง นั่นเอง
การเปรีย บเทีย บตามหลักการทฤษฎีสตรีกับภาพสะท้อนบทบาทและสถานภาพของสตรีใน
สมัยอยุธยาจากกรณีศึกษาเรื่อง ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา ในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ สุนทรภู่
ได้เขียน สุภาษิตสอนหญิง ไว้เป็นคาสอนสาคัญ เตือนใจผู้หญิงว่าอะไรคือสิ่งที่ควรหรือไม่ควรกระทา และใน
ยุคสมั ยเดียวกั น ในวรรณกรรมไทยยุคต้นรัตนโกสินทร์อย่าง “ขุนช้างขุนแผน” ซึ่งสะท้อนมิติต่าง ๆ ของ
ยุคสมัยนั้นไว้อย่างชัดเจน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการเมือง การปกครอง ความคิด ความเชื่อ ประเพณี และภาพ
ที่ชัดเจนของครอบครัวที่มีผหู้ ญิงเป็นผูน้ า แบบที่เรียกว่าเป็น “แม่เลี้ยงเดี่ยว” (single mom) ทั้งในครอบครัว
ของขุนช้างและขุนแผน คือเป็นทั้งแม่และพ่อในเวลาเดียวกัน ต้องเป็นผู้นา ครอบครัว มีการตัดสินใจในเรื่อง
สาคัญ ๆ อยู่ตลอดเวลา สาหรับครอบครัวขุนแผน ความเก่งของนางทองประศรีนั้นมีอยู่หลายด้าน นอกจาก
จะดูแลงานบ้านงานเรือนแล้ว ยังมี ความรู้รอบตัวในเรื่องโหราศาสตร์ ดูฤกษ์ยามที่ ดีงามเหมาะสมได้ แต่
การนาเสนอเรื่องของขุนช้างขุนแผนกลับเน้นที่จะนาเสนอไปในเรื่องของการรักนวลสงวนตัวมากกว่า ขุนช้าง
ขุนแผนได้แสดงให้เห็นถึง ภาพของความเป็นหญิ งไทยที่ จาเป็นจะต้องระแวดระวังตัวโดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ค่านิยมในเรื่องของความรักเดียวใจเดียวของผู้หญิง ซึ่งถือเป็นเรื่องใหญ่ อย่างนางพิมพิลาไล ที่เมื่อแรกเริ่มตก
เป็นเมียของขุนแผน ต่อมาขุนช้างได้ทาอุบายให้เห็นว่าขุนแผนนั้นสิ้นชีวิตในการรบเสียแล้ว หญิงที่ไม่สามารถ
ปกครองตนเองได้อย่างนางพิมพิลาไล จึงต้องมีขุนช้างคอยดูแล แต่เมื่อวันหนึ่งความจริงปรากฏว่าขุนแผนยังมี
ชีวิตอยู่ นางพิมพิลาไลจึงไม่สามารถตัดสินใจได้ว่าจะอยู่กับใครแม้ขุนช้างจะทาอุบายหลอกล่อนางมา แต่ ก็
ดูแลอย่างดี ถนอมน้าใจด้วยความรักมาโดยตลอด และแม้จะรักขุนแผนมากเท่าใด ความจริงที่ปรากฏอยู่คือ
ขุนแผนมีหญิงอื่นอีกมากมาย เมื่อไม่สามารถจะตัดสินใจได้ว่าจะเลือกใครดีในเวลานั้น และครุ่นคิดกลับไป
กลับมาก็กลายเป็นวันทองสองใจถูกประหารไปในที่สุด

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 91


6. สาระการเรียนรู้
6.1 เนื้อเรื่อง ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา
6.2 หลักการเขียนแสดงทรรศนะ โต้แย้ง
6.3 ทฤษฎีสตรีนิยม
7. กิจกรรมการเรียนรู้ (แบบ Active Learning)
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (10 นาที)
7.1 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ
7.2 นั ก เรียนดูรูป ภาพบุ คคลที่ มี ชื่อเสียง ได้แก่ นางอองซานซูจี เติ้งเสี่ยวผิ ง คุณ วิชัยผู้ส ร้างที ม
เลสเตอร์ ซิตี้ และนางสาวนวลพรรณ ล่าซา ประธานสโมสรฟุตบอลการท่ าเรือในไทยลีก จากนั้นร่วมกั น
อภิปรายเกี่ยวกับความสามารถ ชื่อเสียง หน้าตาทางสังคม ของบุคคลดังกล่าว
7.3 นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นตามประเด็นต่อไปนี้
 นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่ที่นายกรัฐมนตรีส่วนใหญ่เป็นเพศชาย
 หากนักเรียนมีผู้นาหรือผู้บังคับบัญชาในที่ทางาน นักเรียนอยากให้เป็นเพศชาย หรือเพศหญิง
เพราะเหตุใด
 ในครอบครัวของนักเรียนใครเป็นผู้มีอานาจในการตัดสิน แก้ไขปัญหาของครอบครัว
 นักเรียนมีความคิดเห็นอย่างไรที่วัฒนธรรมการสู่ขอเพื่อแต่งงาน ผู้มีบทบาทเลือกคู่คือ
ฝ่ายหญิง
ขั้นสอน (35 นาที)
7.4 นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับหลักการเขียนแสดงทรรศนะ โต้แย้ง จากบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ที่ครูเตรียม
มา จากนั้นครูยกตัวอย่างงานเขียนแสดงทรรศนะ โต้แย้ง
7.5 นักเรียนแบ่งกลุ่ม 4 กลุ่ม จากนั้นร่วมกันแสดงทรรศนะ โต้แย้ง ในประเด็น “บทบาท อานาจของ
ผู้ชายที่มีต่อสตรีไทยในอดีต ” จากกรณีศึก ษาเรื่อง ขุนช้างขุนแผน โดยแบ่งเป็นกลุ่ม ที่มี มุม มองว่าผู้ชายมี
บทบาทและอานาจเหนือผู้หญิง จานวน 2 กลุ่ม และอีกสองกลุ่มมีมุมมองว่าผู้หญิงไม่ได้อยู่ภายใต้อานาจของ
ผู้ชาย มีความเสมอภาคเท่าเทียมกัน โดยแต่ละกลุ่มจะต้องค้นหาข้อมูลมาสนับสนุนอย่างมีเหตุผล
7.6 หลังจบกิจกรรมกลุ่ม ครูเปิดโอกาสให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอทรรศนะ โต้แย้ง หลังจาก
ได้ร่วมอภิปรายกับเพื่อสมาชิกในกลุ่ม
7.7 นักเรียนฟังครูบรรยายเกี่ยวกับทฤษฎีสตรีนิยมจากงานวิจัย จากนั้นครูสอบถามความคิดเห็นของ
นักเรียน หลังจากได้ฟังการบรรยาย
ขั้นสรุป (5 นาที)
7.8 นักเรียนร่วมสรุปการแสดงทรรศนะ โต้แย้งที่ได้ร่วมอภิปรายและทากิจกรรมกลุ่มในคาบเรียน
และครูช่วยสรุปเพิ่มเติมในประเด็นดังกล่าว ดังนี้

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 92


 การเปรียบเทียบตามหลักการทฤษฎีสตรีนิยมกับภาพสะท้อนบทบาทและสถานภาพของสตรี
ในสมัยอยุธยาจากกรณีศึกษาเรื่อง ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา พบว่า ค่านิยมทางสังคมในยุคนั้นให้
ความสาคัญกับเพศชาย สนับสนุนส่งเสริมให้เพศชายมีโอกาสมากกว่าเพศหญิง ทั้งด้านการเป็นผู้นาครอบครัว
การให้โอกาสทางการศึก ษา การมียศตาแหน่งในการทางาน ดังนั้นจึงไม่แปลกที่ผู้ชายจะมีบ ทบาท อานาจ
ควบคุม ชีวิ ต ความคิด ของสตรีในฐานภรรยาและบุต รธิด า รวมถึง ผู้ ชายเหมาะสมและคู่ ควรกั บ การเป็ น
ผู้ปกครองหรือผู้นาด้านต่าง ๆ
7.9 ครูแนะนาแหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม
 งานวิจัย บทบาทสตรี: ในมุมมองความยุติธรรมในสังคมไทยของ บุญวดี มนตรีกุล ณ อยุธยา
อาจารย์ประจาภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล วารสาร
การบริหารปกครอง (Governance Journal) ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2559)
 http://kubow3847.blogspot.com/2010/04/blog-post.html
8. สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้
8.1 แบบเรียนหลักภาษาและการใช้ภาษา
8.2 บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง หลักการเขียนแสดงทรรศนะ โต้แย้ง
8.6 งานวิจัย บทบาทสตรี: ในมุมมองความยุติธรรมในสังคมไทยของ บุญวดี มนตรีกุล ณ อยุธยา
อาจารย์ประจาภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล วารสาร
การบริหารปกครอง (Governance Journal) ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2559)
9. ชิ้นงาน/ ภาระงาน
9.1 แบบทดสอบออนไลน์ เรื่อง การเขียนแสดงทรรศนะ โต้แย้ง
10. เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน
10.1 เกณฑ์การประเมินการทดสอบออนไลน์ ปรนัย 20 ข้อ (10 คะแนน)
ระดับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ 5 คะแนนขึ้นไป

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 93


11. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ เครื่องมือ เกณฑ์
ประเมินผล การประเมิน
2.1 ด้ า นความรู้ (Knowledge: K) 1.สังเกตพฤติกรรมจาก 1.แบบสังเกต 1.นักเรียนให้
อธิบายหลักการเขียนแสดงทรรศนะ กิจกรรมกลุม่ พฤติกรรมรายกลุ่ม ความร่วมมือ
โต้แย้งได้ 2.ตรวจผลคะแนนจาก 2.แบบทดสอบ 2.มีผลคะแนนผ่าน
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ การทาแบบทดสอบ ออนไลน์ ปรนัย 20 เกณฑ์ 5 คะแนน
(Process: P) แสดงทรรศนะ โต้แย้ง ออนไลน์ ข้อ ขึ้นไป
และอ้างอิงข้อมูลประกอบได้อย่างมี
เหตุผล
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึ งประสงค์
(Attitude: A) ชี้ แ จงคุ ณ ธรรมและ
มารยาทของนักเขียนได้

12. สรุปผลการจัดการเรียนรู้
12.1 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….............
12.2 ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.3 ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..............
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

13. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………........
ลงชื่อ .................................................
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 94


บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 8
รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา บทเสภาเสนาะกรรณ
***********************************************************************************************************
1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก
...............................................................................................................................................................................
2. ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1) การประเมินผลความรู้หลังการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.....................
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก................................................................................................................................................................
2) การประเมินด้านทักษะกระบวนการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.............
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ...........
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มีนักเรียนทาใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกาหนดเวลา
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน
 อื่น ๆ ..............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนาแผนไปปรับปรุง เรื่อง .......................................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 95


โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
รหัสวิชา ท33101 รายวิชา ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา บทเสภาเสนาะกรรณ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง การเขียนแสดงทรรศนะ โต้แย้ง (2) จานวน 1 คาบ ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความและเขียนเรื่องราวในรูปแบบ
ต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ
ม.4-6/1 เขียนสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ภาษาเรียบเรียงถูกต้องมี
ข้อมูลและสาระสาคัญชัดเจน
ม.4-6/8 มีมารยาทในการเขียน
ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนามา
ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ม.4-6/1 วิเคราะห์ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น
ม.4-6/4 สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีวรรณกรรม เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) อธิบายหลักการเขียนแสดงทรรศนะ โต้แย้งได้
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (Process: P) เขียนแสดงทรรศนะ โต้แย้ง และอ้างอิงข้อมูลประกอบได้
อย่างมีเหตุผล
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude: A) มีคุณธรรมและมารยาทในการเขียน
3. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs)
 R1–Reading (อ่านออก)  R2–(W)Riting (เขียนได้)
 C1–Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะใน
การแก้ปัญหา)
 C3–Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์)
 C5–Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ
และรูเ้ ท่าทันสื่อ)
 C6–Computing and ICT Literacy (ทั ก ษะด้ า นคอมพิ ว เตอร์ และเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ
การสื่อสาร)
 C8–Compassion (ความมีเมตตากรุณา วินัย คุณธรรม จริยธรรม)

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 96


4. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
 บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
 มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
 พระราโชบายด้านการศึกษาของในหลวงรัชกาลที่ 10 ด้านที่ 2 มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง มีคุณธรรม
5. สาระสาคัญ
5.1 หลักการเขียนแสดงทรรศนะ โต้แย้ง
การเขียนแสดงทรรศนะ คือ การเขียนแสดงความคิดเห็นต่อเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือเหตุการณ์ใด
เหตุการณ์หนึ่ง ซึ่งเป็นการเขียนที่ประกอบด้วยข้อมูลอันเป็นข้อเท็จจริง และการแสดงทรรศนะของผู้เขียน
ต่อเรื่องนั้น ๆ ทั้งนี้ความคิดเห็นควรจะอยู่บนพื้นฐานของเหตุผลและเป็นไปในทางสร้างสรรค์ ลักษณะของ
การเขียนแสดงทรรศนะขึ้นอยู่กับ จุดมุ่ง หมายของผู้เขียนซึ่งอาจเป็นการเขียนในเชิง ตั้งข้อสังเกต ในเชิง
สนับสนุนในเชิงโต้แย้ง หรือในเชิงประเมินค่าก็เป็นได้
ประเภทของการเขียนแสดงทรรศนะ แบ่งออกเป็น ๒ ประเภทใหญ่ ๆ ได้ดังนี้
1. การเขียนแสดงความคิดเห็น คือ การเขียนที่มุ่งแสดงความคิดเห็นถึงสิ่งใดสิ่ง หนึ่งว่ามีข้อดีข้อเสียอย่างไร
และหาวิธีที่จะปรับปรุงแก้ไขได้อย่างไร ผู้เขียนต้องพิจารณาคิดค้นให้รอบคอบละเอียดถี่ถ้วนทุกด้านทุกมุม
ด้วยสติ ปัญญา ความคิดอย่างชัดเจน รวมถึงค้นคว้าข้อมูลอย่างกว้างขวาง แล้วจึงแสดงข้อคิดเห็น อาจเป็น
เชิงตาหนิหรือชม หรือสนับสนุนให้สอดคล้องกับ ศาสตร์ หรือแขนงวิชาต่าง ๆ แบ่งได้เป็น 2 ประเภทย่อย
คือ
1.1 การแสดงความคิ ด เห็ น เชิ ง วิ ชาการ เป็ น การแสดงความคิ ด เห็ น โดยยึ ด ด้ านวิ ช าการมี
เอกสารอ้างอิง
1.2 การแสดงความคิด เห็นโดยทั่ วไปตามอารมณ์ ความรู้สึ ก นึก คิดส่วนตัว เช่น การวิจ ารณ์
เหตุการณ์ทางการเมือง การแสดงออกของวัยรุ่น รวมทั้งการเขียนบทความวิจารณ์ต่าง ๆ เป็นต้น
2. การเขียนโต้แย้ง หมายถึง การแสดงทรรศนะที่ แตกต่างกันระหว่างบุคคล 2 ฝ่าย โดยนาข้อมู ลสถิติ
หลักฐานเหตุผลต่าง ๆ มาอ้างอิงในการสนับสนุนทัศนะของฝ่ายตน เพื่อคัดค้านอีกฝ่ายหนึ่ง กระบวนการ
โต้แย้งสามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ขั้นตอน ดังนี้
2.1 การตั้งหัวข้อโต้แย้ง
2.2 การค้นคว้าหาข้อสนับสนุนทรรศนะและเรียบเรียงหัวข้อ ตามลาดับ
2.3 การให้ความหมายคาสาคัญที่อยู่ในประเด็นการโต้แย้ง
2.4 การชี้ให้เห็นจุดอ่อนในทัศนะของฝ่ายตรงข้าม
หลักการเขียนแสดงทรรศนะ มีหลักการอยู่ 5 ประการที่ควรจะต้องคานึงถึง ดังนี้
1. การเลือกเรื่องหรือประเด็น ในการวิจารณ์ แสดงความคิดเห็น มีหลักในการเลือกเรื่อง ดังนี้
1.1 เลือกเรื่องที่ตนเองสนใจและมีความรู้ในเรื่องนั้น
1.2 เลือกเรื่องที่กาลังเป็นที่สนใจของประชาชน

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 97


2. การสนับสนุนข้อเท็จจริง ในการแสดงทรรศนะ ข้อคิดเห็น โดยผู้เขียนที่มีความรับผิดชอบจะให้ข้อเท็จจริง
แก่ผู้อ่านอย่างตรงไปตรงมา
3. การแสดงความคิดเห็น ต้องประกอบด้วยข้อเท็จจริงและการแสดงความคิดเห็น ซึ่งในส่วนของการแสดง
ความคิดเห็นนี้ ผู้เขียนสามารถแสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระ นั่นคือการแสดงความคิดเห็นจากทรรศนะ
ของตนเอง อาจแตกต่างจากบุคคลอื่น ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ เช่น ความรู้มุมมอง ประสบการณ์ ความรู้สึก
ทางจิตใจ หรืออาจมีผลประโยชน์แอบแฝง เป็นต้น
4. การเรียบเรียงงานเขียนแสดงทรรศนะ เรียงลาดับได้ดังนี้
4.1 การตั้งชื่อเรื่อง ให้สอดคล้องกับเนื้อหา เพื่อดึงดูดใจผู้อ่าน
4.2 การเปิดเรื่อง ใช้หลักการเขียนเช่นเดียวกับ การเขียนคานา คือ เขียนให้ตรงประเด็นดึงดูด
ความสนใจของผู้อ่าน
4.3 การลาดับเรื่อง ให้มีความต่อเนื่องสอดคล้องกันตั้งแต่ต้นจนจบ ไม่เขียนวกวน
4.4 การปิดเรื่อง ใช้หลักการเช่นเดียวกับการเขียนสรุป เช่น จบด้วยคาคม หรือคาประพันธ์
5. การใช้ภาษา ควรใช้ภาษาอย่างสละสลวย ชัดเจน ไม่เยิ่นเย้อ มีการใช้สานวนโวหารอย่างเหมาะสมกับเรื่อง
นอกจากนี้ใช้ถ้อยคาที่สื่อความหมายได้ตรงตามอารมณ์ ทั้งนี้หลีกเลี่ยงการใช้ถ้อยคาแสดงอารมณ์รุนแรง
ที่มา: http://kubow3847.blogspot.com/2010/04/blog-post.html
6. สาระการเรียนรู้
6.1 หลักการเขียนแสดงทรรศนะ โต้แย้ง
7. กิจกรรมการเรียนรู้ (แบบ Active Learning)
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (10 นาที)
7.1 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ
7.2 นักเรียนดูรายการ "ดวลวาทะ The Arena Thailand" ตอนที่ 12 รอบชิงชนะเลิศ โรงเรียนหอวัง
VS โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย หัวข้อ: ประเทศไทยพร้อมแล้วที่จะเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ย้อนหลังวันจันทร์ที่ 21 ตุลาคม 2556 ( https://www.facebook.com/TheArenaThai...)
ขั้นสอน (35 นาที)
7.3 ครูเชิญชวนนักเรียนร่วมเขียนแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โดยเปิดโอกาสให้นักเรียนเสนอประเด็นใน
การเขียนแสดงทรรศนะ โต้แย้ง เช่น คนที่จะประสบความสาเร็จในชีวิตต้องใช้ความสามารถ การพนันนาไปสู่
หายนะ ธุรกิจออนไลน์สร้างรายได้มหาศาล โควิดระบาดความผิดพลาดของรัฐบาลไทย เป็นต้น
7.4 ครูท บทวนความรู้เกี่ ย วกั บ หลั ก การเขียนแสดงทรรศนะ โต้แย้ง จากนั้น ให้นั ก เรียนร่วมกั น
คัดเลือกประเด็นในการแสดงทรรศนะ โต้แย้ง
7.5 นักเรียนเขียนแสดงทรรศนะ โต้แย้ง ตามประเด็นที่ได้ร่วมกันคัดเลือก
7.6 ครูสุ่มเลือกนักเรียนออกมานาเสนอผลงานของตนเอง จานวน 5 คน จากนั้นเปิดโอกาสให้เพื่อน
ร่วมชั้นรียนได้มีโอกาสแสดงทรรศนะ โต้แย้งร่วมกัน

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 98


ขั้นสรุป (5 นาที)
7.7 ครูเน้นย้าเรื่อ งคุณธรรมและมารยาทในการเขียนแสดงทรรศนะ โต้แย้ง และโน้ม น้าวใจให้
นักเรียนเห็นถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นหากขาดคุณธรรมและมารยาทในการเขียน
8. สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้
8.1 แบบเรียนหลักภาษาและการใช้ภาษา
8.2 บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง หลักการเขียนแสดงทรรศนะ โต้แย้ง
8.3 คลิปวีโอรายการ "ดวลวาทะ The Arena Thailand" ตอนที่ 12 รอบชิงชนะเลิศ โรงเรียนหอวัง
VS โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย หัวข้อ: ประเทศไทยพร้อมแล้วที่จะเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ย้อนหลังวันจันทร์ที่ 21 ตุลาคม 2556 ( https://www.facebook.com/TheArenaThai...)
9. ชิ้นงาน/ ภาระงาน
9.1 ผลงานการเขียนแสดงทรรศนะ โต้แย้ง
10. เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน
10.1 เกณฑ์การประเมินการเขียนแสดงทรรศนะ โต้แย้ง
ระดับคุณภาพ 3 ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน
รายการประเมิน ระดับคุณภาพ
5 4 3
การเขี ย นแสดง สาม ารถเขี ย น แส ด ง ส า ม า ร ถ เขี ย น แ ส ด ง สามารถเขียนแสดงทรรศนะ
ทรรศนะ โต้แย้ง ทรรศนะ โต้แย้ง ได้ตรง ทรรศนะ โต้ แ ย้ ง ได้ ต รง โต้ แ ย้ ง ได้ ต รงตามหลั ก การ
ต า ม ห ลั ก ก า ร เขี ย น ตามหลัก การเขียน แสดง เขียน แสดงทรรศนะ โต้แย้ง
แสดงทรรศนะ โต้แ ย้ ง ทรรศนะ โต้แย้ง โดยเขียน โดย เขี ย น อ ย่ า งมี เห ตุ ผ ล
โดยเขียนอย่างมีเหตุผล อย่ า งมี เ หตุ ผ ล มี ข้ อ มู ล มี ข้ อ มู ล ส นั บ ส นุ น เพี ย ง
มีข้อมู ล สนับ สนุนอย่าง สนั บสนุ น พ อประมาณ เล็ก น้ อย หรือไม่ มี เลย ขาด
เพี ย งพอสมเหตุ ส มผล สมเหตุสมผล และมีความ ความสมเหตุสมผล หรือขาด
และมีความน่าเชื่อถือ น่าเชื่อถือ ความน่าเชื่อถือ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 99


11. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ เครื่องมือ เกณฑ์
ประเมินผล การประเมิน
2.1 ด้ า นความรู้ (Knowledge: K) 1. ตรวจผลงานการเขียน 1.ตรวจและพิจารณา 1.ระดับคุณภาพ
อธิบายหลักการเขียนแสดงทรรศนะ แสดงทรรศนะ โต้แย้ง ตามเกณฑ์ 3 ขึ้นไป ถือว่าผ่าน
โต้แย้งได้ การประเมิน เกณฑ์การประเมิน
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ
(Process: P) เขี ย นแสดงทรรศนะ
โต้แย้ง และอ้างอิงข้อมูลประกอบได้
อย่างมีเหตุผล
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึ งประสงค์
(Attitude: A) มี คุ ณ ธร ร ม แ ล ะ มี
มารยาทในการเขียน

12. สรุปผลการจัดการเรียนรู้
12.1 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….............
12.2 ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.3 ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..............
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

13. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………............
………………………………………………………………………………………………………………………………………………............
ลงชื่อ .................................................
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 100


บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 9
รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา บทเสภาเสนาะกรรณ
***********************************************************************************************************
1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก
...............................................................................................................................................................................
2. ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1) การประเมินผลความรู้หลังการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.....................
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก................................................................................................................................................................
2) การประเมินด้านทักษะกระบวนการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.............
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ...........
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มีนักเรียนทาใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกาหนดเวลา
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน
 อื่น ๆ ..............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนาแผนไปปรับปรุง เรื่อง .......................................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 101


โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
รหัสวิชา ท33101 รายวิชา ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา บทเสภาเสนาะกรรณ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง ระดับภาษา และคาราชาศัพท์ (1) จานวน 1 คาบ ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา
ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
ม.4-6/3 ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาสกาลเทศะ และบุคคล รวมทั้งคาราชาศัพท์อย่างเหมาะสม
ม.4-6/8 มีมารยาทในการเขียน
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) อธิบายความรู้เกี่ ยวกับการใช้ภาษาใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาส
กาลเทศะ และบุคคลได้
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (Process: P) เลือกใช้ถ้อยคาตามระดับภาษาและใช้คาราชาศัพท์ ได้
อย่างถูกต้อง เหมาะสม
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude: A) อธิบายมารยาทในการใช้ภาษาอย่างเหมาะสม
3. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs)
 R1–Reading (อ่านออก)
 C1–Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะใน
การแก้ปัญหา)
 C4–Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีม
และภาวะผู้นา)
 C5–Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ
และรูเ้ ท่าทันสื่อ)
 C6–Computing and ICT Literacy (ทั ก ษะด้ า นคอมพิ ว เตอร์ และเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ
การสื่อสาร)
 C7–Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้)
 C8–Compassion (ความมีเมตตากรุณา วินัย คุณธรรม จริยธรรม)

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 102


4. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
 บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
 บูรณาการหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล (World-class Standard School) รายวิชา IS....
5. สาระสาคัญ
5.1 การแบ่งระดับภาษา สามารถแบ่งได้หลายระดับ ดังนี้
 ภาษาระดั บ ทางการ (แบบแผน) ใช้ในการบรรยาย หรือ อภิ ป รายอย่ างเป็ น ทางการ ใช้ ใน
การประชุม ใช้ในการเขียนข้อความที่จะปรากฏต่อสาธารณชนอย่างเป็นทางการ ในหนังสือที่ติดต่อกันทาง
ราชการ หรือในวงการธุรกิจ ภาษาที่ใช้จึงเป็นภาษาที่ถูกต้อง ผู้ส่งสารและผู้รับ สารมักจะเป็นบุคคลซึ่งมี
หน้าที่ และภารกิจโดยตรงในแต่ละด้านในวงการหรือวงอาชีพเดียวกัน สัมพันธภาพระหว่างทั้งสองฝ่ายจึง
เป็นไปในด้านธุรกิจและการงาน อาจจะไม่รู้จั กกัน การใช้ภาษาระดับนี้มุ่งให้ได้ผลตามจุดประสงค์โดยเร็ว
โดยประหยั ด การใช้ ถ้ อ ยค า และเวลาให้ ม ากที่ สุ ด อาจใช้ ศั พ ท์ เฉพาะมากหรื อน้ อ ยแล้ ว แต่ ลั ก ษณะ
การประชุมและผู้รับสาร ในกรณีจาเป็น ผู้ส่งสารอาจต้องใช้คาอธิบายให้มากขึ้นก็ได้
 ภาษาระดับ กึ่ง ทางการ (กึ่ งแบบแผน) คล้ายกั บภาษาระดับ ทางการ แต่ลดความเป็นการเป็น
งานลงบ้าง มักใช้ในการประชุมในกลุ่มที่เล็กกว่าการประชุมที่ต้องใช้ภาษาระดับทางการ เช่น ในการประชุม
กลุ่มย่อย การบรรยายในห้อ งเรียน การเขียนข่าวและบทความในหนังสือพิมพ์ มั กใช้ภาษาที่ ท าให้รู้สึก
คุ้นเคยมากกว่าภาษาในระดับทางการ และใช้ศัพท์เฉพาะเท่าที่จาเป็น
 ภาษาระดับไม่เป็นทางการ (ไม่เป็นแบบแผน) ใช้ในการสนทนาระหว่างบุคคลหรือกลุ่มไม่เกิน 4-5
คน ในสถานที่และโอกาสที่ไม่ใช่เป็นการส่วนตัว เช่น ในการเขียนจดหมายระหว่างเพื่อน เนื้อหาของสาร
อาจเป็นเรื่องทั่ว ๆ ไป ภาษาที่ใช้อาจมีถ้อยคาที่เคยใช้กันเฉพาะกลุ่ม
6. สาระการเรียนรู้
6.1 การใช้ถ้อยคาตามระดับภาษา
6.2 การใช้คาราชาศัพท์
7. กิจกรรมการเรียนรู้ (แบบ Active Learning)
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (10 นาที)
7.1 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ
7.2 นักเรียนร่วมเล่นเกมทายคาจากรูปภาพ โดยครูจะเปิดสไลด์รูปภาพและให้สัญญาณในการตอบ
นัก เรียนคนใดประสงค์จ ะตอบให้ยกมื อหลังเสียงสัญ ญาณ เมื่ อครูกดกระดิ่ง ให้นัก เรียนตอบทั นที หาก
นักเรียนคนใดเล่นเกมทายคาสะสมคะแนนได้มากที่สุดถือว่าเป็นผู้ชนะ รับรางวัลจากครู
ขั้นสอน (40 นาที)
7.3 ครูสอบถามนักเรียนเกี่ยวกับระดับภาษาของถ้อยคาในเกมทายคา จากนั้นครูร่วมสนทนากับ
นักเรียนเกี่ยวกับระดับภาษาในภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 103


7.4 นักเรียนศึกษาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ประกอบแบบเรียนหลักภาษาและการใช้ภาษา เรื่อง ระดับ
ภาษา จากนั้น ครูสอบถามนักเรียนในประเด็น ดังนี้
 เหตุใดในภาษาไทยต้องมีการแบ่งระดับภาษา
 หากนักเรียนเลือกใช้ถ้อยคาไม่เหมาะสมกับบุคคล กาลเทศะหรือโอกาส จะเกิดผลเสียอย่างไร
 การเลือกใช้ถ้อยคาให้ถูกต้องตามระดับภาษาช่วยสร้างบุคลิกภาพด้วยใช่หรือไม่
 หากนักเรียนอยู่ในสถานการณ์การสัมภาษณ์เพื่อรับเข้าทางาน ควรเลือกใช้ภาษาระดับใดจึง
จะเหมาะสมมากที่สุด
7.5 ครูสุ่มเลือกนักเรียน จานวน 5 คน ครูยื่นซองคาถามให้นักเรียน และสมมุติสถานการณ์ในวันนัด
สัมภาษณ์เพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา ให้นักเรียนอ่านคาถามในซองและตอบคาถาม โดยใช้ภาษาให้
เหมาะสม
7.6 ครูแนะนาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเลือกใช้ถ้อยคาให้ถูกต้อง เหมาะสม และสละสลวยน่าฟัง
ขั้นสรุป (5 นาที)
7.7 นั ก เรี ย นฟั ง คลิ ป เสี ย งในสื่ อ ยู ทู ป เพลงระดั บ ภาษา ท านองเพลงอยู่ บ ารุง ของ Krerkpon
Thongmanokoon เพื่อสรุปเนื้อหา เรื่อง ระดับภาษา
8. สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้
8.1 แบบเรียนหลักภาษาและการใช้ภาษา
8.2 สไลด์รูปภาพในเกมทายคาจากรูปภาพ
8.3 บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ระดับภาษา
8.4 คลิปเสียงในสื่อยูทูป เพลงระดับภาษา ทานองเพลงอยู่บารุง ของ Krerkpon Thongmanokoon
9. ชิ้นงาน/ ภาระงาน
-
10. เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน
-

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 104


11. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ เครื่องมือ เกณฑ์
ประเมินผล การประเมิน
2.1 ด้ า นความรู้ (Knowledge: K) 1. สังเกตพฤติกรรม 1.แบบสังเกต 1.ร่วมกิจกรรมเกม
อธิบายความรู้เกี่ยวกับการใช้ภาษาใช้ รายบุคคล พฤติกรรมรายบุคคล สนทนา ตอบ
ภาษาเหมาะสมแก่ โอกาสกาลเทศะ คาถาม
และบุคคลได้
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ
(Process: P) เลื อ กใช้ ถ้ อ ยค าตาม
ระดั บ ภาษาและใช้ ค าราชาศั พ ท์ ได้
อย่างถูกต้อง เหมาะสม
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึ งประสงค์
(Attitude: A) อธิบายมารยาทในการ
ใช้ภาษาอย่างเหมาะสม

12. สรุปผลการจัดการเรียนรู้
12.1 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….............
12.2 ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.3 ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..............
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

13. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………............
………………………………………………………………………………………………………………………………………………............
ลงชื่อ .................................................
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 105


บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 10
รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา บทเสภาเสนาะกรรณ
***********************************************************************************************************
1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก
...............................................................................................................................................................................
2. ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1) การประเมินผลความรู้หลังการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.....................
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก................................................................................................................................................................
2) การประเมินด้านทักษะกระบวนการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.............
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ...........
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มีนักเรียนทาใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกาหนดเวลา
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน
 อื่น ๆ ..............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนาแผนไปปรับปรุง เรื่อง .......................................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 106


โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
รหัสวิชา ท33101 รายวิชา ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา บทเสภาเสนาะกรรณ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง ระดับภาษา และคาราชาศัพท์ (2) จานวน 1 คาบ ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ
ภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
ม.4-6/3 ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาสกาลเทศะ และบุคคล รวมทั้งคาราชาศัพท์อย่าง
เหมาะสม
ม.4-6/8 มีมารยาทในการเขียน
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) อธิบ ายความรู้เกี่ ยวกั บ การใช้ภ าษาใช้ภาษาเหมาะสมแก่
โอกาสกาลเทศะ และบุคคลได้
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (Process: P) เลือกใช้ถ้อยคาตามระดับภาษาและใช้คาราชาศัพท์
ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude: A) อธิบายมารยาทในการใช้ภาษาอย่างเหมาะสม
3. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs)
 R1–Reading (อ่านออก)
 C1–Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะ
ในการแก้ปัญหา)
 C4–Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีม
และภาวะผู้นา)
 C5–Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ
และรูเ้ ท่าทันสื่อ)
 C6–Computing and ICT Literacy (ทั ก ษะด้ า นคอมพิ วเตอร์ และเทคโนโลยีส ารสนเทศและ
การสื่อสาร)
 C7–Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้)
 C8–Compassion (ความมีเมตตากรุณา วินัย คุณธรรม จริยธรรม)

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 107


4. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
 บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
 บูรณาการหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล (World-class Standard School) รายวิชา IS....
5. สาระสาคัญ
5.1 การใช้คาราชาศัพท์ ภาษาไทยมีวิวัฒนาการมายาวนาน จนมีคาศัพท์มากมายให้ใช้กับ
ผู้คนในระดับต่าง ๆ เช่น ผู้ใหญ่กับผู้น้อย จึงไม่แปลกทีเ่ ราจะมีกลุม่ คาศัพท์สาหรับใช้กัพระมหากษัตริย์
สมาชิกราชวงศ์ หรือพระภิกษุระดับสูงด้วย
5.2.1 การใช้คาว่า “ทรง”
1. ใช้ทรงนาหน้าคานามสามัญบางคาทาให้เป็นกิริยาราชาศัพท์ได้ เช่น ทรงกีฬา (เล่นกีฬา), ทรงธรรม
(ฟังเทศน์), ทรงบาตร (ใส่บาตร), ทรงช้าง (ขี่ช้าง)
2. ใช้ทรงนาหน้าคากิริยาสามัญบางคา ทาให้เป็นกิริยาราชาศัพท์ได้ เช่น ทรงวิ่ง, ทรงยินดี, ทรงอธิบาย
ทรงยิง, ทรงเล่น, ทรงสั่งสอน
3. ใช้ทรงนาหน้าคานามราชาศัพท์บ างคา ทาให้เป็นกริยาราชาศัพท์ ได้ เช่น ทรงพระราชดาริ (คิด),
ทรงพระราชนิพนธ์ (แต่งหนังสือ), ทรงพระสรวล (ยิ้ม), ทรงพระอักษร (อ่าน, เขียน, เรียน)
5.2.2 การใช้คาว่า “พระบรม/พระบรมราช, พระราช, พระ”
1. “พระบรม” และ “พระบรมราช” ใช้นาหน้าคานามที่สาคัญที่เกี่ยวกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เท่านั้น เช่น พระบรมราโชวาท, พระบรมมหาราชวัง, พระบรมฉายาลักษณ์, พระปรมาภิไธย, พระบรม
ราชวโรกาส, พระบรมราชโองการ
2. “พระราช” ใช้กับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว, สมเด็จพระบรมราชินีและอุปราช เช่น พระราช
โทรเลข, พระราชหัตถเลขา, พระราชเสาวนีย์, พระราชปฏิสันถาร
3. “พระ” ใช้นาหน้าคาที่เรียกอวัยวะ เครื่องใช้ หรือนาหน้าคาสามัญบางคาที่ไม่มีราชาศัพท์ใช้ เช่น
พระพักตร์, พระเศียร, พระบาท, พระเก้าอี้, พระมาลา, พระกระยาหาร
5.2.3 การใช้ราชาศัพท์ในคาขึ้นต้นและคาลงท้าย
1. “ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกกระหม่อม ข้าพระพุทธเจ้า ” ลงท้ายว่า “ด้วยเกล้าด้วย
กระหม่อมขอเดชะ” ใช้ในโอกาสกราบบังคมทูลขึ้นก่อนเป็นครั้งแรก
2. “พระพุทธเจ้าข้าขอรับใส่เกล้าใส่กระหม่อม ข้าพระพุทธเจ้า” ลงท้ายว่า “ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม”
ใช้ในโอกาสที่มีพระราชดารัสขึ้นก่อน
3. “พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ เป็ น ล้ น เกล้ า ล้ น กระหม่ อ ม” หรื อ “พระเดชพระคุ ณ เป็ น ล้ น เกล้ าล้ น
กระหม่ อม” ลงท้ ายว่า “ด้วยเกล้าด้วยกระหม่ อม” ใช้ในโอกาสแสดงความขอบคุณ ที่ ได้รับ ความ
ช่วยเหลือ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 108


4. “เดชะพระบารมีปกเกล้าปกกระหม่อม” หรือ “เดชะพระบรมเดชานุภาพเป็นล้นเกล้าล้นกระหม่อม” ลง
ท้ายว่า “ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม” ใช้ในโอกาสแสดงว่ารอดพ้นอันตราย
5. “พระราชอาญาไม่พ้นเกล้าพ้นกระหม่อม” หรือ “พระราชอาญาเป็นล้นเกล้าล้นกระหม่อม” ลงท้ายว่า
“ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม” ใช้ในโอกาสทาผิดพลาด
6. “ไม่ ค วรจะกราบบั ง คมทู ล พระกรุณ า” หรือ “ไม่ ควรจะกราบบั ง คมทู ล ให้ ท รงทราบฝ่าละอองธุ ลี
พระบาท” ลงท้ายว่า “ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม” ใช้ในโอกาสที่จะต้องกล่าวถึงของไม่สุภาพ คากราบบังคม
ทูลจะต้องใช้ “ฝ่าละอองธุลีพ ระบาท” ไม่ใช้ “ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท” เพราะคาว่า “ใต้ฝ่าละอองธุลี
พระบาท” เป็นคาสรรพนามมีความหมายว่า “ท่าน” เท่านั้น
5.2.4 การใช้คาราชาศัพท์ให้ถูกต้อง
1. ใช้ “เฝ้าฯ รับเสด็จหรือรับเสด็จ” ไม่ใช้ “ถวายการต้อนรับ” ใช้ “มีความจงรักภักดี” หรือ “จงรักภักดี”
ไม่ใช้ “ถวายความจงรักภักดี
2. “อาคั นตุก ะ” หมายถึง แขกที่ ม าหานั้ นเป็น แขกของประธานาธิบ ดี หรือแขกของบุ คคลอื่น ที่ ไม่ ใช่
พระมหากษัตริย์ประเทศใดประเทศหนึ่ง ส่วน “ราชอาคันตุกะ, พระราชอาคันตุกะ” หมายถึง แขกของ
พระมหากษัตริย์ประเทศใดประเทศหนึ่ง
3. “ขอบใจ” ใช้สาหรับสุภาพชน คนเสมอกัน ผู้ใหญ่ใช้พูดกับผู้น้อย พระราชวงศ์ ทรงใช้กับคนสามัญ และ
พระราชาทรงใช้กับประชาชน ส่วน “ขอบพระทัย” ใช้สาหรับคนสามัญกล่าวกับพระราชวงศ์ พระราชวงศ์
ทรงใช้กับพระราชวงศ์หรือพระราชาทรงใช้กับพระราชวงศ์
4. ในการถวายของแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ถ้าเป็นของ
เล็ก ใช้คาว่า “ทู ลเกล้าฯ ถวาย” อ่ านว่า “ทูล เกล้าทู ลกระหม่ อมถวาย” ส่วนถ้าเป็นของใหญ่ ใช้คาว่า
“น้อมเกล้าฯ ถวาย” อ่านว่า “น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวาย”
5.2.5 การใช้ คาสุภาพ คาสุภาพ คือคาในภาษาไทยที่ เราใช้กัน ทั่ว ๆ ไป ที่ ไม่
เกี่ยวเนื่องกับ องค์พ ระมหากษัตริย์ ราชวงศ์ พระสงฆ์ หรือข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ เป็นถ้อยคาที่ เหมาะสม
ไม่ เป็นคาหยาบ ไม่เป็นคากระด้าง ไม่ เป็นคาที่ สั้นหรือห้วนเกินไป เป็นคาที่พูดผวนแล้วไม่ เป็นคาหยาบ
เหมาะสมในการใช้สื่อสารระหว่างสุภาพชน เช่น สามีภรรยา บุตรธิดา ปฏิคม ปฏิสังขรณ์ ปลาใบไม้ กระบือ
สุกร ขนมสอดไส้
6. สาระการเรียนรู้
6.1 การใช้ถ้อยคาตามระดับภาษา
6.2 การใช้คาราชาศัพท์

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 109


7. กิจกรรมการเรียนรู้ (แบบ Active Learning)
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (10 นาที)
7.1 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ
7.2 นักเรียนร่วมเล่นเกมปริศนาอักษรไขว้ที่ครูนามาแจกให้ ครูกาหนดเวลาในการร่วมกิจกรรม 5
นาที จากนั้นให้นักเรียนนามาส่งครู แล้วครูเฉลยคาตอบ นักเรียนคนใดทาได้ครบถ้วนถูกต้องทุกคา คนนั้น
คือ ผู้ชนะ รับรางวัลจากครู
ขั้นสอน (35 นาที)
7.3 นักเรียนดูคลิป วีดีโอข่าวในพระราชสานัก ของวันพุธที่ 22 พฤษภาคม 2562 สานัก ข่าวไทย
TNAMCO : สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุ ม ารี เป็น
ประธานเปิ ด งานประชุ ม วิ ชาการด้ านความหลากหลายทางชี วภาพ (International Conference on
Biodiversity)
7.4 นั ก เรียนบอกคาราชาศัพ ท์ ที่ พ บในข่าว ครูน าไปเขี ยนบนกระดาน นัก เรีย นร่ว มกั นบอก
ความหมายและชนิดของคาราชาศัพท์ที่อยู่บนกระดาน
7.5 นักเรียนศึกษาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การใช้คาราชาศัพท์ จากนั้นครูสอบถามนักเรียน
เกี่ยวกับความจาเป็นในการใช้คาราชาศัพท์ให้ถูกต้อง เช่น เพื่อรักษาขนบธรรมเนียมประเพณี เพื่อรักษา
พระเกียรติยศของพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์
7.6 นักเรียนทาแบบฝึกหัด เรื่อง การใช้คาราชาศัพท์ ลงในสมุ ดบันทึกความรู้ จากนั้นครูเฉลย
คาตอบ
ขั้นสรุป (5 นาที)
7.7 นัก เรียนฟั งคลิป เสียงในสื่อยูทู ป เพลงการใช้คาราชาศัพท์ ท านองเพลงยิ่งรู้จัก ยิ่งรัก เธอ
(ดา เอนโดฟิน) ของ ครูใต้สอนภาษาไทยเก๋ ๆ เพื่อสรุปเนื้อหา เรื่อง การใช้คาราชาศัพท์
8. สื่อการเรียนรู/้ แหล่งเรียนรู้
8.1 แบบเรียนหลักภาษาและการใช้ภาษา
8.2 เกมปริศนาอักษรไขว้
8.3 บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การใช้คาราชาศัพท์
8.4 คลิปเสียงในสื่อยูทูป เพลงการใช้คาราชาศัพท์ ทานองเพลงยิ่งรู้จักยิ่งรักเธอ (ดาเอนโด
ฟิน) ของ ครูใต้สอนภาษาไทยเก๋ ๆ
9. ชิ้นงาน/ ภาระงาน
-
10. เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน
-

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 110


11. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ เครื่องมือ เกณฑ์
ประเมินผล การประเมิน
2.1 ด้ า นความรู้ (Knowledge: K) 1. สังเกตพฤติกรรม 1.แบบสังเกต 1.ร่วมกิจกรรมเกม
อธิบายความรู้เกี่ยวกับการใช้ภาษาใช้ รายบุคคล พฤติกรรมรายบุคคล สนทนา ตอบ
ภาษาเหมาะสมแก่ โอกาสกาลเทศะ คาถาม
และบุคคลได้
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ
(Process: P) เลื อ กใช้ ถ้ อ ยค าตาม
ระดั บ ภาษาและใช้ ค าราชาศั พ ท์ ได้
อย่างถูกต้อง เหมาะสม
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึ งประสงค์
(Attitude: A) อธิบายมารยาทในการ
ใช้ภาษาอย่างเหมาะสม

12. สรุปผลการจัดการเรียนรู้
12.1 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….............
12.2 ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.3 ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..............
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
13. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….........
ลงชื่อ .................................................
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 111


บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 11
รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา บทเสภาเสนาะกรรณ
***********************************************************************************************************
1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก
...............................................................................................................................................................................
2. ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1) การประเมินผลความรู้หลังการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.....................
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก................................................................................................................................................................
2) การประเมินด้านทักษะกระบวนการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.............
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ...........
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มีนักเรียนทาใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกาหนดเวลา
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน
 อื่น ๆ ..............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนาแผนไปปรับปรุง เรื่อง .......................................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 112


โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12
รหัสวิชา ท33101 รายวิชา ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ โลกกาเนิดของมนุษย์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง การอ่านตีความ แปลความ ขยายความ (1) จานวน 1 คาบ ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท 1.1 ใช้ก ระบวนการอ่ านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสิ นใจ แก้ ปัญ หาในการ
ดาเนินชีวิตและ มีนิสัยรักการอ่าน
ม.4-6/2 ตีความ แปลความ และขยายความเรื่องที่อ่าน
ม.4-6/6 ตอบคาถามจากการอ่านงานเขียน ประเภทต่าง ๆ ภายในเวลาที่กาหนด
ม.4-6/7 อ่านเรื่องต่าง ๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อความ และรายงาน
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) ตีความ แปลความ และขยายความเรื่องที่อ่านได้
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (Process: P) ตอบคาถามจากการอ่านบทนาเรื่องได้
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude: A) เขียนบันทึกบรรยายคุ ณค่าของวรรณกรรม
เรื่อง ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิได้
3. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs)
 R1–Reading (อ่านออก)
 C1–Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะ
ในการแก้ปัญหา)
 C5–Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ
และรูเ้ ท่าทันสื่อ)
 C7–Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้)
 C8–Compassion (ความมีเมตตากรุณา วินัย คุณธรรม จริยธรรม)
4. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
 บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 บูรณาการกับประชาคมอาเซียน

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 113


5. สาระสาคัญ
5.1 บทนาเรือ่ ง ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ
ความหมาย ไตรภูมิพระร่วง คาว่า ไตรภูมิ หมายถึง โลกทั้ง 3 ได้แก่ กามภูมิ (โลกที่ยังติดข้องอยู่ใน
กามกิเลส) รูปภูมิ (ดินแดนของพรหมที่มีรูป มีทั้งสิ้น 16 ชั้น) และอรูปภูมิ (เป็นดินแดนของพรหมไม่มีรูป
มีแต่จิตหรือวิญญาณ มี 4 ชั้น) ไตรภูมิเดิมเรียกว่า ไตรภูมิกถา หรือ เตภูมิกถา มีค วามหมายว่า เรื่องราวของ
โลกทั้ง 3 ส่วนพระร่วง หมายถึง พระมหากษัตริย์ในราชวงศ์สุโขทัย มนุสฺส มาจากคาว่า มน (อ่านว่า มะ-นะ)
ซึ่งแปลว่า ใจ รวมกับคาว่า อุสฺส ที่แปลว่า สูง เมื่อรวมความหมายแล้ว แปลว่า ผู้มีใจสูง ภูมิ แปลว่า แผ่นดิน
ที่อยู่ และเมื่อนาคาว่า มนุสฺส มารวมกับคาว่า ภูมิ เป็นมนุสสภูมิ หมายถึง ที่อยู่ของผู้มีใจสูง
ความเป็นมา ไตรภูมิ พ ระร่วง หรือเรียกว่า ไตรภูมิ ก ถา หรือ เตภู มิก ถา นี้ ไม่ มี ต้นฉบับ เดิม เป็ น
หลัก ฐานที่ มี อ ยู่ เป็ น ฉบั บ คั ด ลอกซึ่ ง มี ป รากฏในบานแผนกว่ า พระมหาช่ วยวัด กลาง (ปากน้ า จั ง หวั ด
สมุทรปราการ) เป็นผู้จารแต่เขียนเป็นอักษรขอม สมัยนั้นถือว่าเป็นอักขระที่ขลัง ศักดิ์สิทธิ์และเป็นหนังสือ
ทางศาสนา ต้ น ฉบั บ ไตรภู มิ พ ระร่วงที่ ถ อดเป็ น ตัว อัก ษรไทย พิ ม พ์ เผยแพร่ เป็ น ครั้ง แรกปี พ .ศ. 2454
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ ประทานคาอธิบายโดยสรุปไว้ว่า “หนังสือเรื่องนี้เป็น
เรื่องที่เก่ามาก มีศัพท์เก่า ๆ ที่ไม่เข้าใจและเป็นคาศัพท์อันเคยพบในศิลาจารึกครั้งสุโขทัยหลายศัพท์ น่าเชื่อ
ว่าฉบับเดิมจะได้แต่งครั้งสุโขทัยจริง แม้มีการคัดลอกต่อเติมเมื่อครั้งกรุงเก่าบ้าง ถึงกระนั้นโวหารในหนังสือ
เรื่องนี้ยังเห็นได้ว่าเก่าแก่กว่าหนังสือเรื่องใด ๆ ในภาษาไทย นอกจากศิลาจารึกที่ ได้เคยพบมา.. ” สมเด็จ
พระเจ้ าบรมวงศ์เ ธอ กรมพระยาด ารงราชานุ ภาพ จึง ทรงเปลี่ยนชื่อหนัง สือ เล่ม นี้ เป็ น ไตรภู มิ พ ระร่วง
เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระร่วงจ้าแห่งกรุงสุโขทัยให้คู่กับหนังสือสุภาษิตพระร่วง
ผู้แต่ง พระมหาธรรมราชาที่ 1 (พญาลิไท) เป็นกษัตริย์องค์ที่ 6 แห่งกรุงสุโขทั ย ราชวงศ์พระร่วง
เป็นพระโอรสในพระยาเลอไทย เป็นพระราชนัดดาของพ่อขุนรามคาแหงมหาราช ทรงเป็นกษัตริย์ที่ปกครอง
ประชาชนตามหลักธรรมราชา และทรงยึดมั่นคาสอนของพุทธศาสนา งานพระราชนิพนธ์ของพญาลิไท ได้แก่
ไตรภูมิพระร่วงหรือเตภูมิกถาศิลาจารึกวัดป่ามะม่วงและศิลาจากรึกวัดศรีชุม เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์
กล่าวถึง เหตุ ก ารณ์ และขนบธรรมเนี ยมประเพณี ต่ าง ๆ การสร้างวัด พระศรีรัตนมหาธาตุ การผนวชที่
วัดป่ามะม่วง เป็นต้น
จุดมุ่งหมายในการแต่ง 1. เพื่อเทศนาโปรดพระมารดา เป็นการเจริญธรรมกตัญญู
2. เพื่ อ ใช้สั่ง สอนประชาชนให้มี คุณธรรม เข้าใจพุท ธศาสนาและช่วยกั น
ธารงพระพุทธศาสนา
ลักษณะคาประพันธ์ ร้อ ยแก้ วที่ มี สัมผัส คล้องจอง ประเภทความเรียง โดยใช้โวหารทั้ งเทศนา
โวหาร พรรณนาโวหารและบรรยายโวหาร โดยเฉพาะการพรรณนานั้นใช้ถ้อยคาที่ชัดเจนแจ่มแจ้ง โน้มน้าว
ให้คล้อยตาม

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 114


เนื้อเรื่องย่อ
ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ เป็นตอนที่นามาเรียนอยู่นี้ ได้กล่าวถึง การกาเนิดของมนุษย์ไว้อย่าง
ละเอียดเป็นขั้นตอน ตั้งแต่เริ่มปฏิสนธิจนกระทั่งคลอดจากครรภ์มารดา ไว้ว่า เมื่อแรกปฏิสนธินั้นมนุษย์ที่อยู่
ในครรภ์มารดาจะมีขนาดเท่ากลละ คือ มีรูปแรกเริ่มที่ปฏิสนธิในครรภ์มารดาในช่วงสัปดาห์แรก หลังจากนั้น
ทุก ๆ 7 วัน ทารกจึงจะมีพัฒนาการ ใน 7 วันแรก ทารกจะมีขนาดใหญ่ขึ้นเป็นก้อนดังไข่ไก่ จากนั้น จะเกิด
“เบญจสาขาหูด” คือ มีมือ 2 อัน เท้า 2 อัน และหัวอีก 1 หัว ต่อมาจึงมีขนและเล็บ ซึ่งเป็นจานวนครบ 32
ทารกจะนั่งยอง ๆ กามือทั้งสองคู้คอต่อหัวเข่าอยู่ในครรภ์มารดา ประมาณ 7 - 11 เดือน จึงจะคลอดออกมา
กุมารที่มีอายุ 7 เดือน อาจไม่รอดได้ หากอายุครรภ์ 7 เดือน กุมารมักจะมีสุขภาพอ่อนแอ กุมารผู้มาจากนรก
เมื่อคลอดออกมาจะส่งเสียงร้องไห้ ส่วนผู้ที่มาจากสวรรค์ เมื่อคลอดออกมาจะหัวเราะ กุมารที่เพิ่งคลอดจะไม่
สามารถจาสิ่งจดจาสิ่งต่าง ๆ ที่ผ่านมาได้ ยกเว้นผู้ที่เป็นปัจเจกพุทธเจ้าและผู้ที่เป็นอรหันตาขีณาสพ กาเนิด
ของมนุษย์เป็นสิ่งที่ ยากลาบาก ดังนั้นเมื่อมีโอกาสได้ถือกาเนิดอกมาและอยู่รอดปลอดภัยแล้วก็ควรกระทา
ความดี เพื่อให้กุศลผลแห่งการทาความดีนั้นติดตัว ส่งให้ได้ไปเกิดในชาติภพที่ดีหรือบรรลุนิพพาน
บทวิเคราะห์องค์ประกอบของเรื่อง
1. สาระ เรื่องไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ ได้แสดงการเกิดของมนุษย์ทั้งชาย หญิง ตั้งแต่แรก
ปฏิสนธิจนถึงการคลอดออกจากครรภ์มารดาที่เต็มไปด้วยความเจ็บปวดทรมาน
2. โครงเรื่อง มีการเขียนลาดับความเป็นไปตามขั้นตอนการกาเนิดของมนุษย์ โดยเริ่มตั้งแต่ปฏิสนธิ
เป็น กลละ ที่ เป็นเซลล์ที่ มี ขนาดเล็ ก มาก ค่อย ๆ เจริญ เติบ โตขึ้นเป็น เบญจสาขาหูด หรือหูดห้ากิ่ งและ
เจริญ เติบ โตขึ้นจนเป็นตัวคนนั่ง คุดคู้อ ยู่ในท้ องมารดาจนกระทั่ งถึง เวลาคลอดก็ ถูก ลมดันให้ออกมาสู่โลก
ภายนอก
3. กลวิธีในการแต่ง เป็นการเล่าเรื่องตามล าดับ โดยใช้บ รรยายโวหารเป็นหลัก และใช้พรรณ นา
โวหารในตอนที่ต้องการให้รายละเอียด
6. สาระการเรียนรู้
6.1 บทนาเรื่อง
6.2 เนื้อเรื่องย่อ
7. กิจกรรมการเรียนรู้ (แบบ Active Learning)
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (25 นาที)
7.1 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ
7.2 นักเรียนดูคลิปวีดีโอช่องยูทูป https://www.youtube.com/watch?v=ylaZvvO3gag
จากนั้นครูสอบถามนักเรียนด้วยประเด็นคาถาม ดังนี้
 ไตรภูมิ หมายถึงอะไร
 มนุสสภูมิ มีลักษณะเป็นอย่างไร

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 115


 นักเรียนมีความเชื่อสอดคล้องตามหลักพระพุทธศาสนาเรื่องการทาดีได้ขึ้นสวรรค์
ทาชั่วตกนรกหรือไม่ อย่างไร
 หากนักเรียนเลือกได้ นักเรียนอยากอาศัยอยู่ในภูมิใด เพราะเหตุใด
ขั้นสอน ( 20 นาที)
7.3 นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของเรื่อง ไตรภูมิพระร่วง ประวัติผู้แต่ง จุดมุ่งหมายใน
การแต่ง ลักษณะคาประพันธ์ จากบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ จากนั้นครูเล่าเนื้อเรื่องย่อให้นักเรียนฟัง
7.4 นักเรียนดูสารคดี “ไตรภูมิ :เล่าเรื่ อง ทวีปทั้ ง 4 เมื่อพระพุทธเจ้าพูดถึง มนุษย์ต่างดาว” จาก
https://www.youtube.com/watch?v=xtrVsILB-zE จากนั้นครูสอบถามนักเรียนเกี่ยวกับรูปร่างหน้าตา
และลักษณะของมนุษย์ในแต่ละทวีป ร่วมกันเลือกว่าตนเองประสงค์จะเป็นมนุษย์ในทวีปใด
ขั้นสรุป (5 นาที)
7.5 ครูสรุปความรู้เกี่ยวกับไตรภูมิพระร่วง พร้อมมอบหมายให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม
จากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ นอกห้องเรียน อีกทั้งครูแนะนาแหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม ดังนี้
 https://vajirayana.org/ไตรภูมิพระร่วงฉบับถอดความ
8. สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้
8.1 คลิปวีดีโอช่องยูทูป https://www.youtube.com/watch?v=ylaZvvO3gag
8.2 บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ:บทนาเรื่อง
8.3 สารคดี “ไตรภู มิ :เล่ าเรื่อ ง ทวีป ทั้ ง 4 เมื่ อพระพุ ท ธเจ้าพู ด ถึง มนุ ษ ย์ต่ างดาว” จาก
https://www.youtube.com/watch?v=xtrVsILB-zE
8.4 • https://vajirayana.org/ไตรภูมิพระร่วงฉบับถอดความ
9. ชิ้นงาน/ ภาระงาน
-
10. เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน
-

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 116


11. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ เครื่องมือ เกณฑ์
ประเมินผล การประเมิน
2.1 ด้ า นความรู้ (Knowledge: K) 1. สังเกตพฤติกรรม 1.แบบสังเกต 1.ร่วมสนทนา
ตีความ แปลความ และขยายความ รายบุคคล พฤติกรรมรายบุคคล ตอบคาถาม และ
เรื่องที่อ่านได้ ตั้งใจดูคลิปวีดีโอ
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ
(Process: P) ตอบคาถามจาก
การอ่านบทนาเรื่องได้
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
(Attitude: A) เขียนบัน ทึ ก บรรยาย
คุณค่าของวรรณกรรมเรื่อง

12. สรุปผลการจัดการเรียนรู้
12.1 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….............
12.2 ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.3 ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..............
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

13. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….........
ลงชื่อ .................................................
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 117


บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 12
รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ โลกกาเนิดของมนุษย์
***********************************************************************************************************
1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก
...............................................................................................................................................................................
2. ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1) การประเมินผลความรู้หลังการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.....................
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก................................................................................................................................................................
2) การประเมินด้านทักษะกระบวนการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.............
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ...........
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มีนักเรียนทาใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกาหนดเวลา
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน
 อื่น ๆ ..............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนาแผนไปปรับปรุง เรื่อง .......................................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 118


โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13
รหัสวิชา ท33101 รายวิชา ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ โลกกาเนิดของมนุษย์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง การอ่านตีความ แปลความ ขยายความ (2) จานวน 1 คาบ ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท 1.1 ใช้ ก ระบวนการอ่ านสร้างความรู้แ ละความคิ ด เพื่ อ น าไปใช้ ตั ด สิ น ใจ แก้ ปั ญ หาใน
การดาเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
ม.4-6/3 วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องที่อ่านในทุก ๆ ด้านอย่างมีเหตุผล
ม.4-6/4 คาดคะเนเหตุการณ์จากเรือ่ งทีอ่ ่านและประเมินค่าเพื่อนาความรู้ ความคิดไปใช้
ตัดสินในแก้ปัญหาในการดาเนินชีวิต
ม.4-6/5 วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็นโต้แย้งเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน และเสนอ
ความคิดใหม่อย่างมีเหตุผล
ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า และ
นามาประยุกต์ใช้ในชีวิต
ม.4-6/1 วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น
ม.4-6/4 สั ง เคราะห์ ข้ อคิ ด จากวรรณคดี วรรณกรรม เพื่ อ น าไปประยุ ก ต์ ใช้ในชี วิ ต
ประจาวัน
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) ตีความ แปลความ และขยายความเรื่องที่อ่านได้
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (Process: P) วิเคราะห์วิจารณ์ แสดงความคิดเห็นและสังเคราะห์
คุณค่าด้านเนื้อหาจากเรื่องไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิได้
2.3 ด้ านคุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ (Attitude: A) สรุ ป ข้ อ คิด เพื่ อ น าไปใช้เ ป็ น แนวทางใน
การดาเนินชีวิตได้
3. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs)
 R1–Reading (อ่านออก)
 C1–Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะ
ในการแก้ปัญหา)
 C5–Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ
และรูเ้ ท่าทันสื่อ)
 C7–Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้)

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 119


 C8–Compassion (ความมีเมตตากรุณา วินัย คุณธรรม จริยธรรม)
4. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
 บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 บูรณาการกับประชาคมอาเซียน
5. สาระสาคัญ
5.1 เนื้อเรื่อง ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ
มนุสสภูมิเป็นภูมิหนึ่งในกามภูมิ ซึ่งกล่าวถึงเนื้อหาของการกาเนิดมนุษย์เอาไว้ โดยกล่าวถึง
มนุษย์ผู้ชายหรือผู้หญิงที่ปฏิสนธิในท้องของแม่ จะเริ่มต้นโดยการเป็น “กลละ” หรือเซลล์ที่มีขนาดเล็กที่สุด
พอครบ 7 วัน จะมีลักษณะเหมือนน้าล้ างเนื้อ เรียกว่า “อัมพุทะ” อีก 7 วันถัดมาจะเป็นชิ้นเนื้อในครรภ์
มารดา หรือเรียกว่า “เปสิ” ซึ่งมีลักษณะข้นเหมือนตะกั่วเชื่อมในหม้อ และอีก 7 วันต่อมาจะแข็งเป็นก้อน
เหมื อนไข่ไก่ ซึ่ง เรียกว่า “ฆนะ” จากนั้นจะค่อย ๆ ใหญ่ ขึ้นทุ ก วัน หลัง จากเป็นฆนะได้ 7 วัน ก็ จ ะเป็น
“เบญจสาขาหูด” โดยคาว่าเบญจแปลว่า 5 ดังนั้น จึงหมายถึง หูดที่มี 5 ตุ่ม ได้แก่ หัว 1 ตุ่ม แขน 2 ตุ่ม
และขา 2 ตุ่ม ต่อจากนั้นไปอีก 7 วัน จะเริ่มมีฝ่ามือ นิ้วมือ และเมื่อครบ 42 วันจึงมีขน มีเล็บเท้า เล็บมือ
มีอวัยวะครบถ้วนทุกประการแบบมนุษย์ นอกจากนั้นในไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิยังบอกอีกว่า เด็กที่
เกิดในท้องแม้นั้นมีรูปร่าง 184 ประการ แบ่งออกเป็น ส่วนบน ตั้งแต่คอถึงศีรษะ มี 84 รูป ส่วนกลาง ตั้งแต่
คอถึง สะดือ มี 50 รูป และส่วนล่ าง ตั้ง แต่ส ะดือถึงฝ่าเท้ า มี 50 รูป โดยเด็ก ที่ อยู่ในท้ องนั้นต้องได้รับ
ความลาบากอย่างมาก ต้องทนอยู่ในที่ที่ทั้งชื้นและเหม็น มีพยาธิ ซึ่งอาศัยปนอยู่ในท้องแม่ ดังความว่า
“...เมื่อกุมารอยู่ในท้องแม่นั้นลาบากนักหนา พึงเกลียดพึงหน่ายพ้นประมาณนัก ก็ชื้นแลเหม็น
กลิ่นตืดแลเอือนอันได้ ๘๐ ครอก...ฝูงตืดแลเอือนทั้งหลายนั้นคนกันอยู่ในท้องแม่…”
สาหรับอาหารที่เด็กกินนั้น ก็จะกินผ่านสายสะดือที่ส่งจากผู้เป็นแม่อีกทอดหนึ่ง โดยอาหารที่
แม่ กิ นเข้าไปก่อ นจะอยู่ใต้ตัวเด็ก ส่วนอาหารที่ แม่กิ นเข้าไปใหม่ จ ะทั บ อยู่ บนศีร ษะเด็ก ท าให้เด็ก ได้รับ
ความทุกข์ทรมานยิ่งนัก ตอนที่อยู่ในท้องแม่ เด็กจะนั่งอยู่กลางท้อง ในท่าคู้คอจับเจ่า และกามือแน่น ซึ่ง
ในขณะที่นั่งอยู่นั้น เลือดและน้าเหลืองจะหยดลงเต็มตัวเด็กตลอด ไม่ได้หายใจ รวมถึงไม่ได้เหยียดมือและ
เท้าเลย ต้องเจ็บปวดเหมือนถู กขังไว้ในไห หรือที่คับแคบ เวลาแม่เดิน นอน หรือลุกขึ้น เด็กก็จะเจ็บปวด
ประหนึ่งว่าจะตาย เปรียบได้กับ ลูกเนื้อ ทรายที่อยู่ในมือของคนเมาเหล้า หรือลูกงูที่ หมองูเอาไปเล่น ดัง
ความว่า
“ผิแลว่าเมื่อแม่เดินไปก็ดี นอนก็ดี ฟื้นตนก็ดี กุมารในท้องแม่นั้นให้เจ็บเพียงจะตายแล ดุจดั่ง
ลูกทรายอันพึ่งออกแล อยู่ธรห้อย ผิบ่มิดุจดั่งคนอันเมาเหล้า ผิบ่มิดุจดั่งลูกงูอันหมองูเอาไปเล่นนั้น
แล…”
หลังจากอยู่ในท้องแม่มาประมาณ 6 เดือน หากเด็กคลอดออกมาช่วงนี้ มักจะไม่รอด แต่หาก
7 เดือนแล้วคลอด เด็กมักจะออกมาไม่แข็งแรง นอกจากนี้ยังมีการกล่าวด้วยว่า เด็กที่มีที่มาต่างกัน เมื่ออยู่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 120


ในท้องแม่ จะมีลัก ษณะที่ต่างกัน และเมื่อคลอดออกมาย่อมมีลักษณะต่างกันด้วย เช่น เด็กที่ มาจากนรก
เมื่ ออยู่ในท้องแม่ ก็จะเดือ ดเนื้อร้อนใจ กระสับกระส่าย พลอยให้แม่ ร้อนเนื้อร้อนตัวไปด้วย และเวลาที่
คลอด ตัวเด็กก็จะร้อน ต่างจากเด็กที่มาจากสวรรค์ เมื่ออยู่ในท้องแม่ ก็จะมีแต่ความสุขกายสบายใจ ตัวแม่
ก็พลอยเย็นไปด้วย และเวลาคลอด ตัวของเด็กจะเย็น ต่อมาเมื่อถึงเวลาจะคลอด ก็จะเกิดลมกรรมชวาตพัด
ดันตัวเด็กให้ขึ้นไปด้านบน และหันหัวเด็กลงมาด้านล่าง เตรียมที่จะคลอด ถ้าคลอดออกมาไม่พ้นจากตัวแม่
เด็กคนนั้นก็จะรู้สึกเจ็บเนื้อเจ็บตัวเป็นอย่างมาก เหมือนกับช้างที่ถูกชักถูกเข็นออกจากรูกุญแจ หลังจากออก
จากท้องแม่แล้ว เด็กที่มาจากนรก ก็มักจะคิดถึงความยากลาบากที่เคยเจอมา พอคลอดออกมาก็จะร้องไห้
แต่ถ้าเด็กคนนั้นมาจากสวรรค์ ก็จะคิดถึงความสุขในครั้งก่อน เมื่อคลอดออกมา จะหัวเราะก่อน
นอกจากนั้นไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ ยังกล่าวถึงเด็ก 2 กลุ่ม คือเด็กทั่วไป และเด็กที่เป็น
พระปัจเจกโพธิเจ้า พระอรหันตาขีณาสพ และพระอัครสาวก ซึ่งมีลักษณะแตกต่างกัน คือ เด็กทั่วไป จะไม่
รู้สึกตัวใด ๆ ทั้งตอนมาเกิดในท้องแม่ ตอนอยู่ในท้องแม่ และตอนออกจากท้องแม่ แต่เด็กที่เป็นพระปัจเจก
โพธิเจ้า พระอรหันตาขีณาสพและพระอัครสาวก จะรู้สึกตัวตอนมาเกิดในท้องแม่ และตอนอยู่ในท้องแม่
แต่เมื่ออกจากท้องแม่แล้ว ก็จะลืมทุกอย่างเหมือนเด็กทั่วไป
5.2 คุณค่าด้านเนื้อหา
ความรู้ที่ได้รับ
1. ด้านวรรณคดี ท าให้คนชั้นหลังได้รับ ความรู้ท างวรรณคดี อันเป็นความคิดของคนโบราณ
ซึ่งจะเป็นพื้นฐานของวรรณคดีไทย เช่น พระอินทร์ แท่นบัณฑุกัมพล ช้างเอราวัณ เขาพระสุเมรุ ป่าหิม
พานต์ ต้นปาริชาติ ต้นนารีผล นรก สวรรค์ เป็นความเรียงที่มีสัมผัสคล้องจอง มีความเปรียบเทียบที่ให้
อารมณ์ และเกิดจินตภาพชัดเจน เป็นภาพพจน์เชิงอุปมาและภาษาจินตภาพ มีความงดงามของภาษา
2. ด้านภูมิศาสตร์ เป็นความรู้ทางภูมิศาสตร์ของคนโบราณ โดยเชื่อว่าโลกมีอยู่ 4 ทวีป ได้แก่
ชมพูทวีป บุรพวิเทหทวีป อุตตรกุรุทวีปและอมรโคยานทวีป โดยมีเขาพระสุเมรุเป็นศูนย์กลาง
3. ด้านเพศศึกษา ความรู้เรื่องการกาเนิดมนุษย์ สิ่งมีชีวิตในภูมิต่าง ๆ ในมนุสสภูมินับตั้งสภาพ
ทางกายภาพของสตรีวัยเจริญพันธุ์ การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ วิวัฒนาการของทารกในครรภ์ ทาให้คนสุโขทัย
รู้และเข้าใจเรื่องเพศได้แจ่มชัด
6. สาระการเรียนรู้
6.1 เนื้อเรื่อง ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ
6.2 คุณค่าด้านเนื้อหา
7. กิจกรรมการเรียนรู้ (แบบ Active Learning)
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (15 นาที)
7.1 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 121


7.2 นักเรียนดูคลิปวีดีโอช่องยูทูป
https://www.youtube.com/watch?v=tcpvj2ySn4U&t=162s
จากนั้นครูสอบถามนักเรียนด้วยประเด็นคาถาม ดังนี้
 นักเรียนเคยได้ศึกษา หรือรับฟังประการณ์การตั้งครรภ์หรือไม่ อย่างไร
 นักเรียนคิดอย่างไรกับวลีที่ว่า “กว่าจะเกิดเป็นคนยากลาบากนัก”
 จากที่ได้ดูคลิปวีดีโอ นักเรียนคิดว่าสิ่งที่กล่าวถึงในไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ ตรงกับ
กระบวนการปฏิสนธิ หรือการตั้งครรภ์ตามหลักทางการแพทย์แผนปัจจุบันหรือไม่
ขั้นสอน ( 30 นาที)
7.3 นักเรียนศึกษาเนื้อเรื่องในเรื่อง จากบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ :
คุณค่าด้านเนื้อหา และศึกษาเพิ่ มเติม ประกอบแบบเรียนวรรณคดีวรรณกรรม จากนั้นครูส นทนาร่วมกั บ
นักเรียน ในประเด็นดังต่อไปนี้
 ลาดับวิวัฒนาการการกาเนิดของมนุษย์ ตั้งแต่ปฏิสนธิ เป็นอย่างไร
แนวการตอบ ปฏิสนธิ = กัลละ (ขนาด เศษ 1 ส่วน 256 ของเส้นผม)
7 วัน = อัมพุทะ (น้าล้างเนื้อ)
14 วัน = เปสิ (ชิ้นเนื้อ)
21 วัน = ฆนะ (ก้อนเนื้อ, แท่งเนื้อ ขนาดเท่าไข่ไก่)
28 วัน = เบญจสาขาหูด (มีหัว แขน 2 ขา 2) ครบ 1 เดือน
35 วัน = มีฝ่ามือ นิ้วมือ ลายนิ้วมือ
42 วัน = มีขน เล็บมือ เล็บเท้า (เป็นมนุษย์ครบสมบูรณ์)
50 วัน = ท่อนล่างสมบูรณ์
84 วัน = ท่อนบนสมบูรณ์
184 วัน = เป็นเด็กสมบูรณ์ นั่งกลางท้องแม่ ( 6 เดือน)
 นักเรียนคิดว่า การที่มนุษย์ได้เกิดมาเป็นเรื่องของบุญหรือกรรม
 จากรูปภาพต่อไปนี้ นักเรียนมีอารมณ์ความรู้สึกอย่างไร

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 122


7.4 นักเรียนสืบค้นความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้อื่น แล้วสรุปความรู้ที่ได้รับจากการศึกษา เรื่อง ไตร
ภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ ลงในสมุดบันทึกความรู้ ส่งครู
ขั้นสรุป (5 นาที)
7.5 ครูสรุปความรู้เกี่ยวกับ ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุส สภูมิ พร้อมมอบหมายให้นักเรียนศึกษาค้นคว้า
ความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ นอกห้องเรียน
8. สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้
8.1 คลิปวีดีโอช่องยูทูปhttps://www.youtube.com/watch?v=tcpvj2ySn4U&t=162s
8.2 บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ : คุณค่าด้านเนื้อหา
8.3 รูปภาพทารกในครรภ์มารดา
9. ชิ้นงาน/ ภาระงาน
บันทึกความรู้จากการสืบค้นข้อมูล
10. เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน
บันทึกความรู้จากการสืบค้นข้อมูลได้หลากหลาย 2 คะแนน
รวบรวมข้อมูลเป็นระบบ มีการอ้างอิงที่มา 3 คะแนน
ข้อมูลมีความน่าเชื่อถือ สอดคล้องกับบทเรียน 3 คะแนน
รวมคะแนนเต็ม 10 คะแนน ระดับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ คือ 5 คะแนนขึ้นไป
11. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ เครื่องมือ เกณฑ์
ประเมินผล การประเมิน
2.1 ด้ า นความรู้ (Knowledge: K) 1. สังเกตพฤติกรรม 1.แบบสังเกต 1.ร่วมสนทนา
ตีความ แปลความ และขยายความ รายบุคคล พฤติกรรมรายบุคคล ตอบคาถาม และ
เรื่องที่อ่านได้ 2. บันทึกความรูจ้ าก 2. แนวการบันทึก แสดงความคิดเห็น
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ การสืบค้นข้อมูลเพิม่ เติม ความรู้ เพิ่มเติม
(Process: P) วิ เค ร า ะ ห์ วิ จ าร ณ์ 2. ระดับคะแนน
แสดงความคิ ด เห็ น และสั ง เคราะห์ ที่ผ่านเกณฑ์ คือ
คุณ ค่ าด้ านเนื้ อ หาจากเรื่ อ งไตรภู มิ 5 คะแนนขึ้นไป
พระร่วง ตอน มนุสสภูมิได้
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึ งประสงค์
(Attitude : A) สรุป ข้อ คิดเพื่ อ ไปใช้
เป็นแนวทางในการดาเนินชีวิตได้

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 123


12. สรุปผลการจัดการเรียนรู้
12.1 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….............
12.2 ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.3 ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..............

ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

13. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….........

ลงชื่อ .................................................
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 124


บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 13
รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ โลกกาเนิดของมนุษย์
***********************************************************************************************************
1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก
...............................................................................................................................................................................
2. ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1) การประเมินผลความรู้หลังการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.....................
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก................................................................................................................................................................
2) การประเมินด้านทักษะกระบวนการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.............
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ...........
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มีนักเรียนทาใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกาหนดเวลา
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน
 อื่น ๆ ..............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนาแผนไปปรับปรุง เรื่อง .......................................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 125


โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14
รหัสวิชา ท33101 รายวิชา ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ โลกกาเนิดของมนุษย์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง การวิเคราะห์วิจารณ์คุณค่าด้านวรรณศิลป์ จานวน 1 คาบ ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดาเนิน
ชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
ม.4-6/3 วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องที่อ่านในทุก ๆ ด้านอย่างมีเหตุผล
ม.4-6/5 วิเ คราะห์ วิจ ารณ์ แสดงความคิด เห็น โต้ แย้ง เกี่ ยวกั บ เรื่องที่ อ่าน และเสนอ
ความคิดใหม่อย่างมีเหตุผล
ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า และ
นามาประยุกต์ใช้ในชีวิต
ม.4-6/1 วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น
ม.4-6/3 วิเคราะห์และประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ของวรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะที่
เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) อธิบายหลักการวิเคราะห์วิจารณ์คุณค่าด้านวรรณศิลป์ได้
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (Process: P) วิเคราะห์วิจารณ์ แสดงความคิดเห็นและประเมินค่า
คุณค่าด้านวรรณศิลป์จากเรื่องไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิได้
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude: A) ซาบซึ้งและเห็นคุณค่าด้านวรรณศิลป์
3. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs)
 R1–Reading (อ่านออก)
 C1–Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะ
ในการแก้ปัญหา)
 C2–Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม)
 C5–Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ
และรูเ้ ท่าทันสื่อ)
 C7–Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้)

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 126


4. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
 บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
 บูรณาการกับประชาคมอาเซียน
5. สาระสาคัญ
5.1 หลักการวิเคราะห์วิจารณ์คุณค่าด้านวรรศิลป์
คุ ณ ค่ าด้ า นวรรณศิ ล ป์ คื อ ความไพเราะของบทประพั น ธ์ ซึ่ ง อาจท าให้ ผู้ อ่ านเกิ ด อารมณ์
ความรู้สึกและจินตนาการตามรส ความหมายของถ้อยคาและภาษาที่ผู้แต่งเลือกใช้
การวิเคราะห์ หมายถึง การพิ จารณาองค์ประกอบทุ กส่วน โดยวิธีแยกแยะรายละเอียดต่าง ๆ
ตั้งแต่ถ้อยคาสานวน การใช้คา ใช้ประโยค ตลอดจนเนื้อเรื่องและแนวคิด
การวิจารณ์ หมายถึง การพิจารณาเทคนิคหรือกลวิธีที่แสดงออกมาว่าน่าคิด น่าสนใจ น่าติดตาม
มีชั้นเชิงยอกย้อ นหรือ ตรงไปตรงมา องค์ป ระกอบใดมี คุณ ค่าน่าชมเชย องค์ป ระกอบใดน่าท้ วงติงหรือ
บกพร่องอย่างไร การวิจารณ์สิ่งใดจึงต้องใช้ความรู้ มีเหตุผล มีหลักเกณฑ์ และมีความรอบคอบด้วย
การพิจารณาคุณค่าด้านวรรณศิลป์
วรรณศิล ป์ เป็ น องค์ ป ระกอบที่ ส าคั ญ ซึ่ง ช่ วยส่ ง เสริม ให้ว รรณกรรมมี คุ ณ ค่ าน่ าสนใจ คาว่ า
“วรรณศิล ป์ ” หมายถึง ลัก ษณะดีเด่น ทางด้านวิธีแต่ง การเลือกใช้ถ้อยคา ส านวน ลีล า ประโยค และ
ความเรียงต่ าง ๆ ที่ ป ระณี ต งดงาม หรือ มี ร สชาติ เหมาะสมกั บ เนื้อ เรื่อ งเป็ นอย่างดี วรรณกรรมที่ ใช้
วรรณศิลป์ชั้นสูงนั้นจะทาให้คนอ่านได้รับผลในทางอารมณ์ความรู้สึก เช่น เกิดความสดชื่น เบิกบาน ขบขัน
เพลิดเพลิน ขบคิด เศร้าโศก ปลุกใจ หรืออารมณ์อะไรก็ ตามที่ผู้เขียนต้องการสร้างให้เกิดขึ้นในตัวผู้อ่าน
นั่นคือ วรรณศิลป์ในงานเขียน ทาให้ผู้อ่าน เกิดความรู้สึกในจิตใจและเกิดจินตนาการสร้างภาพคิดในสมอง
ได้ดี การวิเคราะห์งานประพันธ์จึงควรพิจารณาวรรณศิลป์เป็นอันดับแรก
ความไพเราะของวรรณกรรมร้อยกรอง ที่ควรพิจารณามีดังนี้
1. การเลือ กสรรคามาใช้ คือ คาที่ จ ะใช้แฝงลีล า จัง หวะอ่อนเนิบ นิ่ม นวลหรือเร่งเร้า รุนแรง
ตามที่กวีต้องการร่ายทอดอารมณ์หรือบรรยากาศออกมาสู่ผู้อ่าน
ก. การใช้คาเลียนเสียงธรรมชาติ ทาให้ผู้อ่านเกิดความรู้สึกเหมือนได้ยินเสียงหรือเห็นภาพ
ข. ใช้คาน้อยแต่กินความมาก เป็นการกล่าวอย่างกระชับ แต่มีเจตนาจะให้สื่อความหมายคลุม
ค. การเล่นคา คือ การนาคาพ้องรูปพ้องเสียง มาร้อยกรองเข้าด้วยกัน จะทาให้เกิดเสียงไพเราะ
น่าฟัง ถ้านามาใช้ในบทพรรณนา หรือบทคร่าครวญ ก็จะทาให้เกิดความสะเทือน อารมณ์
ง. การใช้คาอัพภาส คือ การซ้าคาชนิดหนึ่ง โดยใช้พยัญชนะซ้าเข้าไปข้างหน้า เช่น ริก เป็นระริก
ยิ้ม เป็น ยะยิ้ม แย้ม เป็น ยะแย้ม
จ. การเล่นเสียงวรรณยุกต์ คือ การนาคาที่มีพยัญ ชนะต้น สระ ตัวสะกดอย่างเดียวกัน แต่ต่าง
วรรณยุกต์กัน นามาเรียงไว้ใกล้กัน ทาให้เกิดเสียงไพเราะดุจดนตรี

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 127


ฉ. การสัมผัสอั กษร – สัมผัสสระ สัมผัสอัก ษร หมายถึง การนาคาที่ มีเสียงพยัญ ชนะเดียวกันมา
เรียบเรียงไว้ใกล้กัน ส่วนสัมผัสสระ หมายถึง การสัมผัสของคาที่มีเสียงสระเดียวกัน
2. กวีโวหารและสานวนโวหาร การใช้กวีโวหารและสานวนโวหารจะช่วยสร้างความไพเราะ ซึ่งทา
ให้ผู้อ่านเกิดภาพในจิตหรือจินตภาพขึ้น ผู้แต่งอาจกล่าวอย่างตรงไปตรงมา หรือกล่าวเป็นโวหารภาพพจน์ก็
ได้ ซึ่งอาจใช้ได้หลายลักษณะ ดังนี้
ก. การเปรียบเทียบหรืออุปมาอุปไมย อาจทาได้ 2 วิธีคือ การเปรียบสิ่งหนึ่งเหมือนอีกสิ่งหนึ่ง ซึ่งจะ
มีคาแสดงความหมาย อย่างเดียวกันกั บ คาว่าเหมื อน ปรากฏว่า ได้แก่ คาว่า เสมื อน เปรียบเหมือน ดุจ
ประดุจ ดั่งดุจดัง เพียง ราว และการเปรียบสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง มักจะมีคาว่า คือ หรือ เป็น ปรากฏ อยู่
ข. การใช้บุคลาธิษฐาน หมายถึง การสมมุติสิ่งต่าง ๆ ให้มีกิริยาอาการของมนุษย์
ค. การใช้สัญลักษณ์หรือสิ่งแทนสัญลักษณ์ หมายถึง สิ่งหนึ่งที่ใช้แทนอีกสิ่งหนึ่ง
ง. การกล่าวเท็จ (อธิพจน์ )เป็นการเน้นความรู้สึกบางอย่างให้ชัดเจนขึ้น ทาให้เกิดความแปลกและ
เรียกร้องความสนใจได้ดี
จ. การใช้โวหารปฏิพากย์ (โวหารขัดแย้ง) คือ การนาคาที่มีความหมายขัดแย้งกันมาเรียงต่อกัน
เพื่อให้มีความหมายกระทบใจผู้อ่าน
5.2 คุณค่าด้านด้านวรรศิลป์
คุณค่าด้านวรรณศิลป์ ใช้ภาษาได้ไพเราะด้วยการเล่นสัมผัสคล้องจอง การซ้าคาเพื่อเน้นความหมาย
การย้าคาเพื่อความเข้าใจที่ชัดเจน การเล่นอักษรและสัมผัสสระให้มีจังหวะกระทบไพเราะ
1. การสรรคา
1.1 การเลือกใช้คาถูกต้องตามความหมายที่ต้องการ โดยเลือกคาเพื่อย้าความให้หนักขึ้นเป็น
จังหวะให้ไพเราะน่าฟัง เช่น
“...อาหารอันแม่กินเข้าไปใหม่นั้นอยู่เหนือกุมารนั้น เมื่อกุมารอยู่ในท้องแม่นั้นบลาบากนักหนา
พึงเกลียดพึงหน่ายพ้นประมาณนัก ก็ขึ้นแลเหม็นกลิ่นตืดและเอือนทัง้ หลายอันได้ 80 ครอก ซึ่งอยู่ในท้องแม่
อันเป็นที่เหม็นที่แลที่ลุกออกจากเต้า ที่เถ้ า ที่ตาย ที่เร่ว ฝูงตืดและเอือนทั้ งหลายนั้นคนกันอยู่ในท้ องแม่
ตืดแลเอือนฝูงนั้นเริ่มตัวกุมารนั้นไสร้ ดุจดังหนอนอันอยู่ในปลาเน่า แลหนอนอันอยู่ในลามกอาจม นั้นแล...”
1.2 การเลือกใช้คาที่เหมาะแก่เนื้อเรื่องและฐานะของบุคคลในเรื่อง เช่น
“...คนผู้ใดอยู่ในท้องแม่ 6 เดือนแลคลอดนั้น บ่ห่อนจะได้สักคาบ คนผู้ใดอยุ่ในท้องแม่ 7เดือน
แลคลอดนั้น แม้เลี้ยงเป็นคนก็ดี บ่มิได้กล้าแข็ง บ่มิทนแดดทนฝนได้แล...”
คาว่า ท้องแม่ และคลอด เป็นคาที่เหมาะแก่เนื้อเรื่อง เพราะกล่าวถึงการตั้ งท้องของแม่ ส่วน
บ่มิได้กล้าแข็ง บ่มิทนแดดทนฝน เป็นคาที่เหมาะแก่ฐานะบุคคล เพราะในเรื่องกล่าวถึงลูกที่คลอดในเวลา 7
เดือนหรือคลอดก่อนกาหนดจะไม่ค่อยแข็งแรง

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 128


1.3 การเลือกใช้คาให้เหมาะสมแก่ลักษณะคาประพันธ์ เช่น
“..ผิรูปอันจะเกิดเป็นชายก็ดีเป็นหญิงก็ดี เกิดมีอาทิแต่เกิดเป็นกลละนั้นโดยใหญ่แต่ละวันแลน้อย
ครั้งถึง 3 วันเป็นดั่งน้าล้างเนื้อนั้นเรียกว่าอัมพุทะ อัมพุทะนั้นโดยใหญ่ไปทุกวารไสร้...”
กวี เลื อ กสรรค าที่ เหมาะแก่ ก ารประพั น ธ์ ไตรภู มิ พ ระร่ ว ง ซึ่ ง การใช้ ภ าษาจะแตกต่ างจาก
คาประพันธ์ทั่วไปเนื่องจากเป็นลักษณะของร้อยแก้วที่มีการเทศนาโวหาร จึงใช้ ก็ดี เป็นการเชื่อมประโยค
1.4 การเลือกใช้คาโดยคานึงถึงเสียง ดังนี้
(1) การเล่นคาสัมผัสคล้องจองทั้งสระและพยัญชนะ เช่น
“ ..แลนั่ง ยองอยู่ในท้ อ งแม่ แลก ามื อทั้ง สองคู้คอต่อหัวเข่าทั้ง สอง เอาหัวไว้เหนือหัวเข่า
เมื่อนั่งอยู่นั้น...”
(2) การใช้คาซ้อนเพื่อเน้นความ เช่น เจ็บเนื้อเจ็บตัว แค้นเนื้ อแค้นใจ เดือดเนื้อเดือดใจทน
แดดทนฝน ออกลูกออกเต้า พึงเกลียดพึงหน่าย กระหนกระหาย เช่น
“...แลกุมานั้นเจ็บเนื้อเจ็บตนดั่งคนอันท่านขังไว้ในไหอันคับแคบนักหนา แค้นเนื้อแค้นใจแล
เดือดเนื้อเดือดใจนักหนา....”
(3) การย้าคาที่มีความหมายเหมือนกันหรือใกล้เคียงกัน เพื่อความเข้าใจชัดเจน เช่น
“...แลภูเขาอันชื่อคังไคยบรรพตหีบแลเหงแลบดบี้นั้นแล...”
“..แลผู้น้อยนั้นก็ได้กินทุกค่าเช้าทุกวัน...........”
(4) การเล่นอักษร เสียงสัมผัสสระและเสียงพยัญญชนะ ให้มีจังหวะไพเราะ เช่น
“...ผิรูปอันจะเกิดเป็นชายก็ดีเป็นหญิงก็ดี..”
“......ออกลูกออกเต้า ที่เถ้า ที่ตายเร่ว...”
“..ด้วยบุญกุมารนั้นจะเป็นคนแลจึงให้บ่มิไหม้บ่มิตาย...........”
2. การใช้โวหาร ดังนี้
2.1 บรรยายโวหาร เป็นการใช้ถ้ อยคาเล่าเรื่องราวต่างๆ ตามล าดับ เหตุการณ์จนเห็นภาพ
ชัดเจน ดังตัวอย่าง
“....สิ่งอาหารอันแม่ กินเข้าไปในท้ องนั้นไหม้และย่อยลง ด้วยอานาจแห่งไปธาตุอันร้อนนั้น
ส่วนตัวกุมารนั้นบ่มิไหม้ เพราะว่าเป็นธรรมดาด้วยบุญกุมารนั้นจะเป็นคนแลจึงให้บ่มิไหม้บ่มิ ตายเพื่อดั่งนั้น
แลแต่กุมารนั้นอยู่ในท้องแม่ บ่ห่อนได้หายใจเข้าออกเสียเลย บ่ห่อนได้เหยียดตีนมือออกดั่งเราท่านทั้งหลาย
นี้สักคาบหนึ่งเลย...”
2.2 พรรณนาโวหาร เป็นการให้รายละเอียดในเรือ่ งโดยแทรกอารมณ์ความรู้สกึ ลงไป เพื่อสร้าง
มโนภาพให้ผู้อ่านเกิดภาพขึ้นในใจ มองเห็นภาพบรรยากาศตามที่กวีต้องการ เช่นการพรรณนา

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 129


ลักษณะทารกที่อยู่ในท้องแม่ ทาให้ผู้อ่านเข้าใจอย่างลึกซึ้ง สามารถมองภาพท่านั่งของทารกใมนท้องแม่อย่า
ชัดเจน ดังตัวอย่าง
“...เบื้องหลังกุมารนั้นต่อหลังท้องแม่ แลนั่งยองอยู่ในท้องแม่ แลกามือทั้งสองคู้คอต่อหัวเข่าทั้ง
สอง เอาหัวไว้เหนือหัวเข่าเมื่อนั่งอยู่นั้น เลือดแลน้าเหลืองย้อยลงเต็มตนยะหยดทุกเมื่อแล....”
2.3 อุปมาโวหาร เป็นโวหารที่กวีนามาใช้ประกอบเรื่องโดยกล่าวเปรียบเทียบ เพื่อให้เห็นภาพ
ชัดเจนมากยิ่งขึ้น กวีใช้โวหารนี้สอดแทรกอยู่ในบรรยายโวหารและพรรณนาโวหารเป็นส่วนมาก ทาให้ผู้อ่าน
เข้าใจความหมายที่กวีต้องการสื่อได้ง่าย ลึกซึ้งและให้คุณค่าด้านอารมณ์ความรู้สึก ดังตัวอย่าง
“...ฝูงตืดแลอวนทั้งหลายนั้นคนกันอยู่ใมนท้องแม่ ตืดแลอวนฝูงนั้นเริ่มตัวกุมารนั้นไสร้ ดุจดั่ง
หนอนอันอยู่ในปลาเน่า แลหนอนอันอยู่ในอาจมนั้นแล อันว่าสายสะดือแห่งกุมารนั้นกลวงดั่งสายก้านบัวอันมี
ชื่อว่าอุบล
“....แลกุม านั้นเจ็บเนื้อ เจ็บ ตนดั่งคนอันท่ านขังไว้ในไหอันคับแคบนัก หนา แค้นเนื้อแค้นใจแล
เดือดเนื้อเดือดใจนักหนา เหยียดมือ เหยียดตีนบ่มิได้ ดั่งท่านเอาใส่ไว้ในที่คับ ผิแลว่าเมื่อแม่เดินไปก็ดี กุมาร
อยู่ในท้องแม่นั้นให้เจ็บเพียงจะตายแลดุจดั่งลูกทรายอันพึ่งออกแล อยู่ธรห้อยผิบ่ มิดุจดั่งคนอันเมาเหล้า ผิบ่มิ
ดุจดั่งลูกงูอันหมองูเอาไปเล่นนั้นแล..”
6. สาระการเรียนรู้
6.1 เนื้อเรื่อง ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ
6.2 คุณค่าด้านวรรณศิลป์
7. กิจกรรมการเรียนรู้ (แบบ Active Learning)
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (15 นาที)
7.1 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ
7.2 นักเรียนดูคลิปมิวสิควีดีโอเพลงทน ศิลปิน Prod. by MOSSHU ช่องยูทูป
https://www.youtube.com/watch?v=wNO6kMJB63I จากนั้นครูสอบถามนักเรียนด้วยประเด็น
คาถาม ดังนี้
 เนื้อเพลงนี้ความโดนเด่นในการเลือกใช้ถ้อยคาอย่างไร
 เพราะเหตุใดเพลงนี้จึงได้รับความนิยมในกลุ่มคนทุกช่วงวัย
 การใช้สานวน โวหาร เป็นอย่างไร
ขั้นสอน ( 30 นาที)
7.3 ครูส อบถาม และร่วมสนทนากับ นัก เรียนเกี่ยวกับ การวิเคราะห์วิจ ารณ์คุณ ค่าวรรณศิล ป์ใน
งานวรรณกรรมและวรรณคดี
7.4 นักเรียนศึกษาบทเรียนอิเล็ กทรอนิก ส์ ไตรภูมิ พระร่วง ตอน มนุสสภูมิ : คุณค่าวรรณศิล ป์
พร้อมทั้งทบทวนเนื้อหาในแบบเรียนวรรณคดีวรรณกรรมเพิ่มเติม

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 130


7.5 นัก เรียนเขียนแผนผังความคิด เพื่อสรุปความรู้เกี่ยวกั บ คุณค่าวรรณศิลป์ ในไตรภูมิ พระร่วง
ตอน มนุสสภูมิ ลงในสมุดบันทึกความรู้ จากนั้นครูสุ่มเลือกนักเรียน จานวน 3 คน นาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน
ขั้นสรุป (5 นาที)
7.6 ครูสรุปความรู้เกี่ยวกับ คุณค่าด้านวรรณศิลป์ในไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ พร้อมเสนอแนะ
ให้นักเรียนฝึกฝนการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม เพื่อประโยชน์ในการศึกษาต่อระดับสูง และเกิด
ความซาบซึ้งถึงคุณค่าวรรณคดีไทย
8. สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้
8.1 คลิปมิวสิควีดีโอเพลงทน ช่องยูทูป
https://www.youtube.com/watch?v=wNO6kMJB63I
8.2 บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ : คุณค่าด้านวรรณศิลป์
9. ชิ้นงาน/ ภาระงาน
9.1 บันทึกสรุปความรู้จากบทเรียน
10. เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน
บันทึกความรู้ถูกต้อง ครบถ้วน 4 คะแนน
แผนผังมีความสร้างสรรค์ น่าสนใจ 3 คะแนน
เพิ่มเติมความคิดเห็นส่วนตัวอย่างน่าสนใจ 3 คะแนน
รวมคะแนนเต็ม 10 คะแนน ระดับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ คือ 5 คะแนนขึ้นไป
11. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ เครื่องมือ เกณฑ์
ประเมินผล การประเมิน
2.1 ด้ า นความรู้ (Knowledge: K) 1. สังเกตพฤติกรรม 1.แบบสังเกต 1.ร่วมสนทนา
อธิ บ ายหลั ก การวิ เ คราะห์ วิ จ ารณ์ รายบุคคล พฤติกรรมรายบุคคล ตอบคาถาม และ
คุณค่าด้านวรรศิลป์ได้ 2. บันทึกสรุปความรู้จาก 2.เกณฑ์การประเมิน แสดงความคิดเห็น
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ บทเรียน เพิ่มเติม
(Process: P) วิ เค ร า ะ ห์ วิ จ าร ณ์ 2. ระดับคะแนน
แสดงความคิ ดเห็น และประเมิ น ค่ า ที่ผ่านเกณฑ์ คือ
คุณค่าด้านวรรศิลป์จากเรื่อ งไตรภูมิ 5 คะแนนขึ้นไป
พระร่วง ตอน มนุสสภูมิได้
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึ งประสงค์
(Attitude: A) ซาบซึ้งและเห็นคุณค่า
ด้านวรรณศิลป์

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 131


12. สรุปผลการจัดการเรียนรู้
12.1 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….............
12.2 ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.3 ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..............

ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

13. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….........

ลงชื่อ .................................................
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 132


บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 14
รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ โลกกาเนิดของมนุษย์
***********************************************************************************************************
1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก
...............................................................................................................................................................................
2. ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1) การประเมินผลความรู้หลังการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.....................
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก................................................................................................................................................................
2) การประเมินด้านทักษะกระบวนการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.............
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ...........
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มีนักเรียนทาใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกาหนดเวลา
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน
 อื่น ๆ ..............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนาแผนไปปรับปรุง เรื่อง .......................................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 133


โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15
รหัสวิชา ท33101 รายวิชา ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ โลกกาเนิดของมนุษย์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง การวิเคราะห์วิจารณ์คุณค่าด้านสังคม จานวน 1 คาบ ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท 1.1 ใช้ก ระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสิ นใจ แก้ ปัญ หาในการ
ดาเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
ม.4-6/3 วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องที่อ่านในทุก ๆ ด้านอย่างมีเหตุผล
ม.4-6/5 วิเ คราะห์ วิจ ารณ์ แสดงความคิด เห็น โต้ แย้ง เกี่ ยวกั บ เรื่องที่ อ่าน และเสนอ
ความคิดใหม่อย่างมีเหตุผล
ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า และ
นามาประยุกต์ใช้ในชีวิต
ม.4-6/1 วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) อธิบายหลักการวิเคราะห์วิจารณ์คุณค่าด้านสังคมได้
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (Process: P) วิเคราะห์วิจารณ์ แสดงความคิดเห็นและประเมินค่า
คุณค่าด้านสังคมจากเรื่องไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิได้
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude: A) เห็นคุณค่าและรวบรวมความรู้ด้านสังคมที่พบ
ในเรื่อง เพื่อนามาประยุกต์ในการดาเนินชีวิตในปัจจุบัน
3. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs)
 R1–Reading (อ่านออก)
 C1–Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทัก ษะ
ในการแก้ปัญหา)
 C2–Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม)
 C5–Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ
และรูเ้ ท่าทันสื่อ)
 C7–Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้)
4. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
 บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
 บูรณาการกับประชาคมอาเซียน

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 134


5. สาระสาคัญ
5.1 หลักการวิเคราะห์วิจารณ์คุณค่าด้านสังคม
คุณค่าด้านสังคมและการสะท้ อนวิถีไทย วรรณคดีเป็นวัฒ นธรรมทางภาษาที่แสดงให้เห็นถึง
ความเจริญรุ่งเรืองในอดีต บอกเล่าเรื่องราวด้านชีวิตความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมประเพณี สภาพสังคม
หรือความรู้สึกนึกคิดของคนในสังคม ซึ่งเป็นลักษณะประจาชาติที่แสดงออกมาทางวรรณคดีด้วยภาษาที่
งดงามไพเราะ ทาให้ผู้อ่านเกิดความรู้สึกเป็นชาติร่วมกัน เพราะต่างรู้สึกว่าได้เป็นเจ้าของขนบธรรมเนียม
ประเพณีและภาษาเดียวกัน แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ
1. วรรณคดีชี้นาสังคม เป็นการพิจารณาคุณค่าด้านสังคมว่าวรรณคดีมี ส่วนเกี่ยวข้อกับ สังคม
สะท้ อนให้ เป็ นสภาพสัง คม ทั้ ง ด้านค่านิ ยมวัฒ นธรรมและความประพฤติของคนในสั ง คม แนวทาง
การปฏิบัติตน หรือชี้ให้เห็นปัญหาที่สังคมขณะนั้นกาลังเผชิญอยู่
2. วรรณคดีสร้างสานึกร่วมในความเป็นชาติ วรรณคดีเป็นสิ่งผูกพันจิตใจของคนในชาติให้ สานึก
ว่าร่วมอยู่ในชาติเดียวกัน วรรณคดีจะเป็นสื่อกลางที่นาไปสู่การรวมเป็นชาติ ซึ่งจะเป็นเครื่องผูกจิตใจคนใน
ชาติให้เป็นหนึ่งเดียวกัน
การวิเคราะห์ หมายถึง การพิจ ารณาองค์ประกอบทุ กส่วน โดยวิธีแยกแยะรายละเอียดต่าง ๆ
ตั้งแต่ถ้อยคาสานวน การใช้คา ใช้ประโยค ตลอดจนเนื้อเรื่องและแนวคิด
การวิจารณ์ หมายถึง การพิจารณาเทคนิคหรือกลวิธีที่แสดงออกมาว่าน่าคิด น่าสนใจ น่าติดตาม
มีชั้นเชิงยอกย้อ นหรือ ตรงไปตรงมา องค์ป ระกอบใดมี คุณ ค่าน่าชมเชย องค์ป ระกอบใดน่าท้ วงติงหรือ
บกพร่องอย่างไร การวิจารณ์สิ่งใดจึงต้องใช้ความรู้ มีเหตุผล มีหลักเกณฑ์ และมีความรอบคอบด้วย
การวิเคราะห์วิจารณ์คุณค่าด้านสังคมและสะท้อนวิถีไทย วรรณคดีและวรรณกรรมทั่วไป ผู้แต่ง
มักสอดแทรกความรู้ ความคิด และอารมณ์ สะท้อนวิถีชีวิต การเมืองการปกครอง การศึกษา เศรษฐกิจ
ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ศาสนา ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ ค่านิยมของคนในสังคม
สมัยนั้นๆ ไว้ในวรรณคดี ผู้อ่านจะต้องมีวิจารณญาณในการอ่าน คือ เมื่ออ่านแล้วนาไปคิดพิจารณาความรู้
ความคิด สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้
1. คุณค่าที่มีต่อผู้อ่าน คือ คุณค่าต่อจิตใจ สติปัญญาและการปลูกฝังให้ผู้อ่านมีความประพฤติและ
การปฏิบัติตนที่เป็นไปในทางดีงาม
2. คุณค่าที่มีต่อสังคม คือ คุณค่าของการสะท้อนภาพของสังคมในยุคนั้น ๆ ให้ชัดเจน มองเห็น
เป็นภาพ จนมีอิทธิพลต่อความเปลี่ยนแปลงของสังคมในระดับใดระดับหนึ่ง
5.2 คุณค่าด้านสังคม ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ
ด้านพุทธศาสนาศาสนา สะท้อนความเชื่อเรื่องบุญ กรรม การเวียนว่ายตายเกิดของสัตว์โลกด้วย
แรงบุญแรงกรรมที่ได้กระทาไว้ในขณะที่ยังมีชีวิตอยู่ หากท่านทาบาปด้วยกาย วาจา ใจ ต้องไปเกิดในนรก
ภูมิ หากรู้จักบาปบุญคุณโทษ รู้จักคุณพระรัตนตรัย มีมนุษยธรรมประจาใจก็ไปเกิดในมนุสสภูมิ ความเชื่อ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 135


เรื่องนรกสวรรค์ เช่น สวรรค์และอุตรกุรุทวี ป ซึ่งเป็นทวีปในอุดมคติที่มนุษย์ทั้งหลายอยากไปเกิดอยู่ที่นั่น
เพราะเป็นดินแดนที่เต็มไปด้วยความสุข ความสบายแบละความสะดวกนานัปการ สะท้อนแนวคิดที่อิงตาม
พระพุทธศาสนา คือ การเกิดของมนุษย์เป็นทุกข์ การเกิดของมนุษย์ในท้องมารดาเป็นทุกข์อย่างหนี่ง ไม่ใช่
เรื่องที่มีความสุข ตั้งแต่แรกเกิดเป็นเพียงกลละ เจริญขึ้นเป็นตัวคนก็ต้องนั่งคุดคู้จับเจ่าอย่างเมื่อยล้าขดในที่
อันคับแคบและร้อนระอุ เมื่อถึงเวลาคลอดต้องถูกดันให้ผ่านออกทางช่องแคบๆ ทาให้เจ็บปวดแสนสาหัส
สะท้อนแนวคิดโดยชี้ให้เห็นถึงสัจธรรมของชีวิต การเปลี่ยนแปลงของสรรพสิ่ งทีมนษย์ทุกคนต้องพบเห็นใน
ชีวิตประจาวัน นั่นคือ วัฏฏสังสาร (การเวียนว่ายตายเกิด)
ด้านศิลปกรรม จิตรกร นิยมนาเรื่องราวและความคิดในไตรภูมิพระร่วงไปเขียนภาพสีไว้ใน โบสถ์
วิหาร โดยจะเขียนภาพนรกไว้ที่ผนังด้านล่าง หรือหลังองค์พระประธานและเขียนภาพสวรรค์ไว้ ที่ผนังเบื้อง
บนรอบโบสถ์วิหารก่อให้เกิดผลงานสร้างคุณค่าด้านจิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปัตยกรรม
ด้านเพศศึก ษา สุขศึกษาและการแพทย์ในอดีต ในตอน มนุส สภูมิ ได้กล่าวถึงการกาเนิดเป็นมนุษย์
ตั้งแต่การปฏิสนธิจนคลอดเป็นมนุษย์ กล่าวไปถึงก่อนการปฏิสนธิเรื่องความสัมพันธ์ทางเพศระหว่างชายหญิง
วิวัฒนาการของทารกในครรภ์มารดา ซึ่งสอดคล้องกับการแพทย์สมัยใหม่ พรรณนาไว้อย่างชัดเจน ทั้งที่ใน
อดีตยังไม่มีเครื่องมือ อุปกรณ์ทางการแพทย์มากนัก
6. สาระการเรียนรู้
6.1 เนื้อเรื่อง ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ
6.2 คุณค่าด้านสังคม
7. กิจกรรมการเรียนรู้ (แบบ Active Learning)
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (15 นาที)
7.1 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ
7.2 นักเรียนดูรูปภาพจิตรกรรมที่ครูนามา จานวน 4 ภาพ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 136


จากนั้นครูสนทนาร่วมกับนักเรียนเกี่ยวกับคุณค่าของงานจิตรกรรมไทย ภาพวาดฝาผนัง มรดกทางศิลปกรรม
ของไทยที่ถูกถ่ายทอดเรื่องราวจากวรรณคดีไทย ผ่านรูปภาพอันเป็นคุณค่าที่ประเมินมูลค่าไม่ได้
ขั้นสอน ( 30 นาที)
7.3 นักเรียนศึกษาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ : คุณค่าด้านสังคม พร้อม
ทั้งทบทวนเนื้อหาในแบบเรียนวรรณคดีวรรณกรรมเพิ่มเติม
7.4 นักเรียนและครูร่วมอภิปรายเกี่ยวกับกุศโลบายในการปกครองบ้านเมืองของพระมหากษัตริย์ไทย
ในอดีตในการใช้วรรณคดีประเภทคาสอน ซึ่งยึดหลักคาสอนตามพระพุทธศานาเป็นเครื่องมือในการปกครอง
บ้านเมืองให้สงบสุข
(พระยาลิไทยทรงเลื่อมใสในศาสนาพุทธเป็นอย่างมาก นโยบายการปกครองที่ใช้ศาสนา เป็นหลักรวม
ความเป็นปึกแผ่น จึงเป็นนโยบายหลักในรัชสมัยนี้ ด้วยทรงดาริว่าการจะขยายอาณาเขตต่อไปเช่นเดียวกับใน
รัชกาลพ่อขุนรามคาแหง พระอัยกา ก็จักต้องนาไพร่พลไปล้มตายอีกเป็นอันมาก พระองค์จึงทรงมีพระราช
ประสงค์ที่ จ ะปกครองบ้านเมื อ งเช่น เดียวกั บ พระเจ้าอโศกมหาราชที่ ท รงปกครองอิ นเดียให้เจริญ ได้ ด้วย
การส่งเสริมพระพุทธศาสนา และสั่งสอนชาวเมืองให้ตั้งอยู่ในศีลธรรมอันจะเป็นวิธีรักษาเมืองให้ยั่งยืนอยู่ได้
พระมหาธรรมราชาที่ 1 ( ลิไทย ) ทรงเห็นว่าการแก้ปัญหาทางการเมืองด้วยการใช้อานาจทางทหารอย่างเดียว
นั้นไม่สามารถทาได้ เพราะอานาจทางการทหารใน สมัยของพระองค์นั้นไม่เข้มแข็งพอ จึงทรงดาเนินพระราช
กุศโลบาย โดยทรงทานุบ ารุงส่ง เสริมพระพุท ธศาสนา ทรงเป็นผู้ป ฏิบัติธรรมเป็นตัวอย่าง และได้ทรงสร้าง
ถาวรวัตถุทางพระพุทธศาสนาไว้ทั่วไปเพื่อเป็นที่เคารพบูชาของประชาชนให้เกิดเลื่อมใสศรัทธา ยึดหลักธรรม
ของพระพุทธศาสนาเป็นหลักในการดาเนินชีวิต สร้างความสามัคคีกลมเกลี ยวกันในแผ่นดิน การปกครองที่
อาศั ย พระพุ ท ธศาสนานี้ เ รี ย กว่ า การปกครองแบบธรรมราชา พระมหากษั ต ริ ย์ จ ะทรง ตั้ ง มั่ น อยู่ ใ น
ทศพิธราชธรรม การปกครองแบบธรรมราชานี้ถูกนามาใช้จ นประทั่ งสิ้นสุดสมั ยสุโ ขทั ย ก็ ด้วยเหตุผ ลที่ ว่า
หากประชาชนในบ้านเมืองตั้งมัน่ ในคาสอนทางพุทธศาสนา ก็จะไม่เกิดความวุ่นวายในบ้านเมือง และจะมีแต่คน
ดีในบ้านเมืองนั่นเอง)
ขั้นสรุป (10 นาที)
7.5 ครูส รุป ความรู้เกี่ ยวกับ คุณค่าด้านสังคมในไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ พร้อมเสนอแนะให้
นัก เรี ยนได้ ต ระหนั ก ถึง ความศรั ท ธาเชื่ อ มั่ น ในค าสอนทางพระพุ ท ธศาสนา เพื่ อ นาไปใช้เ ป็ นแนวทางใน
การดาเนินชีวิตไปในทางที่ดีงาม ถูกต้อง เหมาะสม ไม่สร้างความเดือดร้อนให้แก่ตนเอง ครอบครัว สังคมและ
ประเทศชาติ
8. สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้
8.1 รูปภาพจิตรกรรมที่ครูนามา จานวน 4 ภาพ
8.2 บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ : คุณค่าด้านสังคม
9. ชิ้นงาน/ ภาระงาน
-
10. เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 137


11. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ เครื่องมือ เกณฑ์
ประเมินผล การประเมิน
2.1 ด้ า นความรู้ (Knowledge: K) 1. สังเกตพฤติกรรม 1.แบบสังเกต 1.ร่วมสนทนา
อธิ บ ายหลั ก การวิ เ คราะห์ วิ จ ารณ์ รายบุคคล พฤติกรรมรายบุคคล แสดงความคิดเห็น
คุณค่าด้านสังคมได้ เพิ่มเติม และ
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ อภิปรายความรู้
(Process: P) วิ เค ร า ะ ห์ วิ จ าร ณ์
แสดงความคิ ดเห็น และประเมิ น ค่ า
คุณค่าด้านสังคมจากเรื่องไตรภูมิพระ
ร่วง ตอน มนุสสภูมิได้
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
(Attitude: A) เห็นคุณค่าและรวบ
รวมความรู้ด้ านสัง คมที่ พ บในเรื่อ ง
เพื่อนามาประยุกต์ในการดาเนินชีวิต
ในปัจจุบัน

12. สรุปผลการจัดการเรียนรู้
12.1 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….............
12.2 ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.3 ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..............
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
13. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….........
ลงชื่อ .................................................
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 138


บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 15
รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ โลกกาเนิดของมนุษย์
***********************************************************************************************************
1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก
...............................................................................................................................................................................
2. ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1) การประเมินผลความรู้หลังการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.....................
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก................................................................................................................................................................
2) การประเมินด้านทักษะกระบวนการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.............
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ...........
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มีนักเรียนทาใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกาหนดเวลา
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน
 อื่น ๆ ..............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนาแผนไปปรับปรุง เรื่อง .......................................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 139


โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16
รหัสวิชา ท33101 รายวิชา ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ โลกกาเนิดของมนุษย์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง การวิเคราะห์ประเมินเรื่องที่ฟังและดู (1) จานวน 1 คาบ ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ความคิด ความรู้ในโอกาส
ต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
ม.4-6/3 ประเมินเรื่องที่ฟังและดู แล้วกาหนดแนวทางนาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต
ม.4-6/4 มีวิจารณญาณในการเลือกเรื่องที่ฟังและดู
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) อธิบายหลักการวิเคราะห์ประเมินเรื่องที่ฟังและดูได้
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (Process: P) วิเคราะห์ประเมินเรื่องที่ฟังและดูแล้วบูรณาการความรู้
ที่สามารถนาไปใช้ในการดาเนินชีวิตในปัจจุบันได้
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude: A) บอกประโยชน์ของความรู้ที่จะนาไปใช้ในชีวิต
จริง
3. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs)
 R1–Reading (อ่านออก)
 C1–Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะ
ในการแก้ปัญหา)
 C2–Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม)
 C3–Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์)
 C5–Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ
และรูเ้ ท่าทันสื่อ)
 C7–Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้)
4. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
 บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และสุขศึกษาพลศึกษา
 บูรณาการกับประชาคมอาเซียน
 บูรณาการหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล (World-class Standard School) รายวิชา IS....

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 140


5. สาระสาคัญ
5.1 หลักการวิเคราะห์และประเมินค่าจากการฟังและการดู
การวิเคราะห์ หมายถึง การที่ผู้ฟังและผู้ดูรับ สารแล้วพิจารณาองค์ป ระกอบออกเป็นส่วน ๆ
นามาแยกประเภทลักษณะ สาระสาคัญของสาร กลวีการเสนอและเจตนาของผู้ส่งสาร การวินิจ หมายถึง
การพิจารณาสารด้วยความเอาใจใส่ ฟังและดูอย่างไตรตรองพิจารณาหาเหตุผล แยกแยะข้อดีข้อเสีย คุณค่า
ของสาร ตีความหมายและพิจารณาสานวน ภาษา ตลอดจนนาเสียงและการแสดงของผู้ส่งสาร พยายามทา
ความเข้าใจความหายที่แท้จริงเพื่อให้ได้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ของผู้วินิจ
วิจารณญาณในการฟังและดู หมายถึง การรับสารให้เข้าใจตลอดเรื่องแล้วใช้ปัญญาคิดไตร่ตรอง
โดยอาศัยความรู้ ความคิด เหตุผล และประสบการณ์เดิมแล้วสามารถนาสาระต่าง ๆ ไปใช้ในการดาเนิน
ชีวิตได้อย่างเหมาะสม โดยมีขันตอน ดังนี
1.1 ฟังและดูให้เข้าใจตลอดเรื่อง
1.2 วิเคราะห์เรื่องว่าเป็นเรื่องประเภทใด ลักษณะของเรื่องและตัวละครเป็นอย่างไร มีกลวิธีใน
การเสนอเรื่องอย่างไร
1.3 วินิจ ฉัย พิ จารณาเรื่องที่ ฟังเป็นข้อเท็ จ จริง ความคิดเห็น เจตนาของผู้เสนอเป็นอย่างไร
มีเหตุผลน่าเชื่อถือหรือไม่
1.4 การประเมินค่าของเรื่องผ่านขันตอน 1 – 3 แล้ว ก็ประมาณว่าเรื่องหรือสารนันดีหรือไม่ดี
มีอะไรที่จะนาไปใช้ให้เป็นประโยชน์ได้
1.5 การนาไปใช้ประโยชน์ ผ่านขันตอนที่ 1 – 4 แล้ว ขันสุดท้ายคือ นาคุณค่าของเรื่องที่ฟังและ
ดูไปใช้ได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล
การประเมินค่าเรื่องที่ได้ฟังและดู เมื่อได้วิเคราะห์และวินิจสารที่ฟังและดู โดยใช้วิจารณญาณใน
การฟังและดู นาผลมารายงานบอกกล่าวแสดงความคิดเห็นต่อสิ่งนันอย่างมีเหตุผล มีห ลักฐานประกอบ
และเป็นสิ่งสร้างสรรค์
หลักการฟังอย่างวิจารณญาณ มีหลักปฏิบัติดังนี
1.1 พิจารณาผู้ส่งสารว่ามีจุดมุ่งหมาย และมีความจริงใจในการส่งสารนันเพียงใด
1.2 พิจารณาผู้ส่งสารว่ามีความรู้ ประสบการณ์หรือความใกล้ชิดกับเรื่องราวในสารนันเพียงใด
1.3 พิจารณาผู้ส่งสารว่าใช้กลวิธีในการส่งสารนันอย่างไร คือวิธีการธรรมดาหรือยอกย้อนซ่อนปม
อย่างไร
1.4 พิจารณาเนือหาของสารว่า ส่วนใดเป็นข้อเท็จจริง ส่วนใดเป็นข้อคิดเห็น
1.5 พิจารณาสารว่าเป็นไปได้ และควรเชื่อเพียงใด
1.6 ผู้ฟังควรประเมินว่าสิ่งที่ฟังมีประโยชน์และมีคุณค่ามากน้อยเพียงไร

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 141


หลักการแยกข้อคิดเห็นและข้อเท็จจริง ในการรับฟังสาร นอกจากจะจั บใจความสาคัญของเรื่องที่ฟัง
แล้ว ใจความตอนใดเป็นข้อคิดเห็นส่วนตัวของผู้พูด ซึ่งจะมีลักษณะเมื่อพิจารณาความถูกต้องได้ยาก และ
ตอนใดเป็นข้อเท็จจริง ซึ่งเป็นเรื่องที่สามารถพิสูจน์ความถูกต้องได้ การแยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นมีดังนี
1. การแยกข้อเท็ จจริง เป็นข้อมู ลที่ส ามารถพิสูจน์ได้ เห็นว่าเป็นจริงหรือเป็นเท็จ ได้จากตัวเลขเชิง
ปริมาณต่างๆ ที่มีอยู่ซึ่งทาการตรวจสอบได้ดังนี เช่นประชา หนัก 50 กิโลกรัม ,โอภาสสูงกว่าเสกสรรค์
2. ความคิดเห็นเป็นเรื่องของการคาดคะเน หรือการท านายโดยอาศัยเหตุผลส่วนตัวซึ่งควรจะเปิด
โอกาสให้มีการโต้แย้งหรือสนับสนุน เช่น ของเก่าดีกว่าของใหม่ มีเงินดีกว่ามีเกียรติ
5.2 วิวัฒนาการทารกในครรภ์มารดาตามหลักการแพทย์แผนปัจจุบัน

เริ่มปฏิสนธืในครรภ์มารดา คือ การที่ ชีวิตเริ่มก่อกาเนิดขึนจากเซลล์หนึ่งเซลล์ที่เรียกว่า Zygote เริ่ม


แบ่งจากหนึ่งเป็นสอง จากสองเป็นสี่ จากสีเ่ ป็นแปดเซลล์ กระทั่งเป็นตัวอ่อนที่เรียกว่า Embryo เดินทางผ่าน
ท่อนาไข่เข้าไปฝังตัวที่ผนังมดลูก เมื่อตัวอ่อนฝังตัวเรียบร้อยแล้ว เริ่มมีการสร้างรก สายสะดือและผลิตนาคร่า
เพื่อหล่อเลียงปกป้องตัวอ่อน การแบ่งตัวเพิ่มจานวนเซลล์ มากมายยังดาเนินต่อไป เพื่อจะพัฒนาเป็นอวัยวะ
ทุกส่วนในร่างกาย ในระยะนีตัวอ่อนมีขนาดเล็กประมาณ ¼ นิว จะได้รับอาหารจากถุงไข่แดงที่อยู่ติดกับตัว
อ่อน ก่อนที่รกจะพัฒนาเต็มที่และทาหน้าที่แทน
พัฒนาการทารกในครรภ์เดือนที่ 2 : หัวใจเต้น ตัวอ่อนพัฒนารูปร่างชัดเจนขึน ศีรษะดูใหญ่กว่าส่วนอื่น
เริ่มเห็นใบหน้า ดวงตากลมดา หู จมูก แขนขา มือเท้า เปลือกตาบน ลาตัวเริ่มยืดออก ในช่วงนีทารกมีขนาด
ตัวยาวประมาณ 2-3 เซนติเมตร
พัฒนาการทารกในครรภ์เดือนที่ 3 : เริ่มบ่งบอกเพศได้ อวัยวะพัฒ นาสมบูรณ์ มีดวงตา จมูก ปาก
หน้าผาก ใบหู แขนขา นิวมือนิวเท้า เล็บมือเล็บเท้า สามารถขยับแขนขากามือ เหยียดมือ อ้าปากได้ ช่วงนี
ทารกขนาดตัวยาวประมาณ 10-12 เซนติเมตร รกเริ่มส่งผ่านสารอาหารจากคุณแม่สู่ทารก และขับของเสีย
ออกผ่านทางสายสะดือ
พัฒ นาการทารกในครรภ์เดือ นที่ 4 : ดูดกลืนนาคร่า ทารกตัวใหญ่ขึน ช่วงนีทารกมี ขนาดตัวยาว
16-18 เซนติเมตร นาหนัก 200 กรัม มีผิวบางใสจนเห็นเส้นเลือดภายในชัดเจน มีการพัฒนาเปลือกตา ขนตา
คิว เล็บ ผม ลายมือ และสามารถขยับตัว ขยับแขนขา กาหมัด ดูดนิวโป้ง ดูดกลืนนาคร่าได้ ประสาทสัมผัส
ทางลินเริ่มมีการพัฒนาปุ่ม รับรส กระดูกมีมวลหนาแน่นขึน อวัยวะเพศภายนอกและภายในพัฒนาสมบูรณ์
ทารกเพศหญิงในรังไข่มีไข่นับพันฟองแล้ว

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 142


พัฒนาการทารกในครรภ์เดือนที่ 5 : ทารกเริ่มดิน ทารกตัวใหญ่ขึน มีขนาดตัวยาว 20-25 เซนติเมตร
นาหนัก 400 กรัม กล้ ามเนื อแข็ ง แรงขึน ฟั น ผมเริ่ม งอก และมี ขนอ่อ น ๆ ขึ นตามร่างกายทารกเริ่ ม
พัฒนาการรับรู้สัมผัสในด้านต่าง ๆ ทังแสง เสียง กลิ่น รส
พัฒนาการทารกในครรภ์เดือนที่ 6 : ทารกเริ่มตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น กล้ามเนือสมบูรณ์ขึน ช่วงนี
ทารกมีขนาดตัวยาว 30 เซนติเมตร นาหนัก 600 กรัม ขยับตัว เคลื่อนไหว ได้ยินเสียง มีการพัฒนาเซลล์
เม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาว ระบบหายใจมีการผลิตสารลดแรงตึงผิวในปอด
พัฒนาการทารกในครรภ์เดือนที่ 7 : ทารกเริ่มลืมตา ผิวทารกหนาขึนไม่บางใสแล้ว ช่วงนีทารกขนาด
ตัวยาว 35 เซนติเมตร นาหนัก 1000-1200 กรัม เริ่มกลับหัว ลืมตา กระพริบตา
พัฒนาการทารกในครรภ์เดือนที่ 8 : ทารกเริ่มพัฒนาประสาทรับรู้แสง ระบบภายในร่างกายส่วนใหญ่
พัฒนาได้ดี ช่วงนีทารกมีขนาดตัวยาว 40-45 เซนติเมตร นาหนัก 2000-2500 กรัม ทารกเริ่มกลับตัวหัน
ศีรษะลงด้านล่าง
พัฒนาการทารกในครรภ์เดือนที่ 9 : ปอดและผิวหนังของทารกสมบูรณ์ ช่วงนีทารกมีขนาดตัวยาว 50
เซนติเมตร นาหนัก 2800-3000 กรัม ทารกกลับศีรษะลงสู่ช่องเชิงกรานเพื่อเตรียมพร้อมคลอดแหล่งข้อมูล
https://www.webmd.com/baby/interactive-pregnancy-tool-fetal-development?week=1
สมุ ดบันทึ ก สุขภาพแม่ และเด็ก กระทรวงสาธารณสุข 2556 https://th.theasianparent.com/9-
เดือนในท้องแม่
http://www.si.mahidol.ac.th/sidoctor/e-pl/articledetail.asp?id=425.
พิช ฏา อั งคะนาวิน .การส่ ง เสริม สมองเพื่ อพั ฒ นาการของทารกในครรภ์. สาขาวิท ยาศาสตร์ และ
เทคโนโลยี ปีที่ 3 ฉบับที่ 6 เดือนพฤศจิกายน–ธันวาคม 2559
6. สาระการเรียนรู้
6.1 เนือเรื่อง ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ
6.2 กาเนิดมนุษย์แบบวิทยาศาสตร์และกาเนิดมนุษย์ในไตรภูมิพระร่วง
7. กิจกรรมการเรียนรู้ (แบบ Active Learning)
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (10 นาที)
7.1 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ
7.2 นักเรียนดูคลิปวีดีโอเล่าเรื่องไตรภูมิ : การเกิดมนุษย์ จากช่องยูทูป
https://www.youtube.com/watch?v=8IGUgBwH56Y
จากนันนัก เรียนและครูส นทนาร่วมกั นเกี่ ยวกับ การเกิ ดของมนุษย์ในทางการแพทย์ปัจ จุบัน หรือในทาง
วิทยาศาสตร์ ครูสอบถามความรู้ ประสบการณ์ที่เคยได้ฟังมา
ขั้นสอน ( 40 นาที)
7.3 นักเรียนศึกษางานวิจัยที่ครูนามาแสดง พร้อมแสดงข้อมูลการเปรียบเทียบในรูปแบบตาราง

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 143


งานวิจัยเปรียบเทียบกาเนิดและพัฒนาการของชีวิตมนุษย์ในครรภ์ ระหว่างพระพุทธศาสนากับ
วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ A Comparison Between Scientific and Buddhist Truths of the Birth and
Development of Human Life in the Womb โดย ศุ ภ กาญจน์ วิ ช านาติ คณะมนุ ษ ยศาสตร์ และ
สั ง คม ศาส ตร์ ม ห าวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏพ ระน คร แ ละ วั ช ระ งาม จิ ต รเจ ริ ญ คณ ะศิ ล ป ศาส ต ร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
7.4 นักเรียนแบ่งกลุ่ม โดยมีสมาชิกกลุ่มละ 5 – 6 คน จากนันร่วมกันศึกษางานวิจัยที่ครูอ้างอิงถึง
แล้วร่วมกันสรุปความรู้ที่ได้เกี่ยวกับการกาเนิดและพัฒนาการของชีวิตมนุษย์ในครรภ์ ระหว่างพระพุทธศาสนา
กับวิทยาศาสตร์ ที่พบข้อสรุปจากงานวิจัยนี โดยสรุปความรู้ในรูปแบบรูปภาพอินโฟกราฟิกส์ (Infographic) ลง
ในกระดาษร้อยปอนด์ขนาดกลางที่ครูเตรียมมาให้
7.5 ตัวแทนสมาชิกของแต่ละกลุ่มนาผลงานรูปภาพอินโฟกราฟิกส์ (Infographic) ออกมานาเสนอ
หน้าชันเรียน เพื่อนในชันเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นประกอบเพิ่มเติม ครูกล่าวชื่นชม และเสนอแนะเพิ่ม เติม
ขั้นสรุป (5 นาที)
7.6 ครูสรุปความรู้เชิงบูรณาการเกี่ยวกับ การกาเนิดและพัฒนาการของชีวิตมนุษย์ในครรภ์ ระหว่าง
พระพุ ท ธศาสนากั บ วิท ยาศาสตร์ และชีแจงให้ นัก เรียนเห็ นประโยชน์ ของการบูร ณาการความรู้ที่ ได้ จ าก
การศึกษาวรรณคดีไทย เพื่อนามาประยุกต์ใช้ความรู้ในชีวิตจริง
8. สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้
8.1 คลิปวีดีโอเล่าเรื่องไตรภูมิ : การเกิดมนุษย์ จากช่องยูทูป
https://www.youtube.com/watch?v=8IGUgBwH56Y
8.2 งานวิจัยเปรียบเที ยบก าเนิดและพัฒ นาการของชีวิตมนุษย์ในครรภ์ ระหว่างพระพุท ธศาสนา
กั บ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ A Comparison Between Scientific and Buddhist Truths of the Birth and
Development of Human Life in the Womb โดย ศุ ภ กาญจน์ วิ ช านาติ คณะมนุ ษ ยศาสตร์ แ ละ
สั งคม ศาส ต ร์ ม ห าวิ ท ย าลั ย ราชภั ฏพ ระ น ค ร แ ล ะ วั ช ร ะ งาม จิ ต รเจ ริ ญ คณ ะ ศิ ล ป ศาส ต ร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
8.3 รูปภาพอินโฟกราฟิกส์ (Infographic) : ผลงานนักเรียน
9. ชิ้นงาน/ ภาระงาน
9.1 รูปภาพอินโฟกราฟิกส์ (Infographic) : งานกลุ่ม
10. เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 144


การประเมินชิ้นงานรูปภาพอินโฟกราฟิกส์ (Infographic) : งานกลุ่ม
เกณฑ์การประเมิน ระดับคุณภาพ
5 (ดีมาก) 4 (ดี) 3 (พอใช้)
ด้านเนื้อหา มีการจดบันทึกการเรียนรู้ มีการจดบันทึกการเรียนรู้ มีการจดบันทึกการเรียนรู้
1.หัวข้อและคาสาคัญ 5 – 7 คา 3 – 4 คา 1 – 2 คา
2.เนือหาและความถูกต้อง เนือหาถูกต้อง ครบถ้วน เนือหาถูกต้องส่วนมาก เนือหาถูกต้องบางส่วน
3.การอ้างอิงข้อมูล มีแหล่งอ้างอิงข้อมูล แหล่งอ้างอิงข้อมูลไม่ครบ ขาดแหล่งอ้างอิงข้อมูล
ด้านการออกแบบ ผลงานสร้างสรรค์ ผลงานสร้างสรรค์ ผลงานสร้างสรรค์
1.ความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ ในระดับมาก ในระดับปานกลาง ในระดับน้อย
2.ตาแหน่งและการจัดวาง ข้อความ รูปภาพ จัดวาง ข้อความ รูปภาพ จัดวาง ข้อความ รูปภาพ จัดวาง
เหมาะสมมาก เหมาะสมปานกลาง ไม่เหมาะสม
3.กราฟฟิกและภาพประกอบ ใช้รูปภาพและ ใช้รูปภาพและกราฟฟิก ใช้รูปภาพและกราฟฟิก
กราฟฟิกประกอบระดับดี ประกอบระดับปานกลาง ประกอบระดับน้อย
4.การถ่ายทอดความรู้ เข้าใจง่าย ชัดเจนมาก เข้าใจง่าย ชัดเจนพอใช้ เข้าใจยาก ไม่ชัดเจน
ด้านการทางานเป็นกลุ่ม ทุกคนร่วมมือจนงานสาเร็จ มีบางคนไม่ให้ แต่ละคนมีความคิด
1.ความสามัคคี ความร่วมมือ ขัดแย้งกัน
2.การแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ แบ่งหน้าที่ชัดเจนมาก แบ่งหน้าที่ชัดเจนบางคน บางคนไม่มีหน้าที่
3.การรักษาเวลา ส่งตรงตามเวลาที่กาหนด ส่งเกินเวลาไปเล็กน้อย ส่งเกินเวลาไปมาก

ระดับเกณฑ์การประเมิน คะแนนเต็ม 50 คะแนน


มีระดับคะแนน 35 – 40 คะแนน ระดับคุณภาพ 6
มีระดับคะแนน 41 – 45 คะแนน ระดับคุณภาพ 8
มีระดับคะแนน 46 – 50 คะแนน ระดับคุณภาพ 10
ระดับคุณภาพที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน 6 ขึนไป

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 145


11. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ เครื่องมือ เกณฑ์
ประเมินผล การประเมิน
2.1 ด้ าน ค วาม รู้ (Knowledge: K) 1. สังเกตพฤติกรรมกลุม่ 1.แบบสังเกต 1.ร่วมกิจกรรมใน
อธิบายหลักการวิเคราะห์ประเมินเรื่อง 2. ตรวจผลงานรูปภาพ พฤติกรรมกลุ่ม กระบวนการกลุ่ม
ที่ฟังและดูได้ อินโฟกราฟิกส์ 2.เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 ขึนไป
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (Infographic) 2.ระดับคุณภาพที่
(Process: P) วิเคราะห์ประเมินเรือ่ งที่ ผ่านเกณฑ์
ฟั ง แล ะดู แ ล้ ว บู ร ณ าการความรู้ ที่ การประเมิน
สามารถนาไปใช้ในการดาเนินชีวิตใน 6 ขึนไป
ปัจจุบันได้
2.3 ด้านคุณ ลัก ษณะอั นพึ งประสงค์
(Attitude: A) บ อก ป ระโย ชน์ ขอ ง
ความรู้ที่จะนาไปใช้ในชีวิตจริง รวบรวม
ความรู้ ด้ า นสั ง คมที่ พ บในเรื่ อ ง เพื่ อ
น ามาประยุ ก ต์ ในการด าเนิ น ชี วิต ใน
ปัจจุบัน
12. สรุปผลการจัดการเรียนรู้
12.1 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….............
12.2 ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.3 ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..............
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
13. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….........
ลงชื่อ .................................................
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 146


บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 16
รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ โลกกาเนิดของมนุษย์
***********************************************************************************************************
1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก
...............................................................................................................................................................................
2. ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1) การประเมินผลความรู้หลังการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.....................
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก................................................................................................................................................................
2) การประเมินด้านทักษะกระบวนการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.............
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ...........
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มีนักเรียนทาใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกาหนดเวลา
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน
 อื่น ๆ ..............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนาแผนไปปรับปรุง เรื่อง .......................................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 147


โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17
รหัสวิชา ท33101 รายวิชา ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ โลกกาเนิดของมนุษย์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง การวิเคราะห์ประเมินเรื่องที่ฟังและดู (2) จานวน 1 คาบ ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ความคิด ความรู้ในโอกาส
ต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
ม.4-6/3 ประเมินเรื่องที่ฟังและดู แล้วกาหนดแนวทางนาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต
ม.4-6/4 มีวิจารณญาณในการเลือกเรื่องที่ฟังและดู
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) อธิบายหลักการวิเคราะห์ประเมินเรื่องที่ฟังและดูได้
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (Process: P) วิเคราะห์ประเมินเรื่องที่ฟังและดูแล้วบูรณาการความรู้
ที่สามารถนาไปใช้ในการดาเนินชีวิตในปัจจุบันได้
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude: A) บอกประโยชน์ของความรู้ที่จะนาไปใช้ในชี วิต
จริง
3. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs)
 R1–Reading (อ่านออก)
 C1–Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะใน
การแก้ปัญหา)
 C2–Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม)
 C3–Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์)
 C5–Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ
และรูเ้ ท่าทันสื่อ)
 C7–Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้)
4. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
 บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และสุขศึกษาพลศึกษา
 บูรณาการกับประชาคมอาเซียน
 บูรณาการหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล (World-class Standard School) รายวิชา IS....

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 148


5. สาระสาคัญ
5.1 หลักการวิเคราะห์และประเมินค่าจากการฟังและการดู
การวิเคราะห์ หมายถึง การที่ผู้ฟังและผู้ดูรับสารแล้วพิจารณาองค์ประกอบออกเป็นส่วน ๆ นามา
แยกประเภทลั ก ษณะ สาระส าคัญ ของสาร กลวีก ารเสนอและเจตนาของผู้ส่ ง สาร การวินิ จ หมายถึ ง
การพิจารณาสารด้วยความเอาใจใส่ ฟังและดูอย่างไตรตรองพิจารณาหาเหตุผล แยกแยะข้อดีข้อเสีย คุณค่า
ของสาร ตีความหมายและพิจารณาสานวน ภาษา ตลอดจนนาเสียงและการแสดงของผู้ส่งสาร พยายามทา
ความเข้าใจความหายที่แท้จริงเพื่อให้ได้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ของผู้วินิจ
วิจารณญาณในการฟังและดู หมายถึง การรับสารให้เข้าใจตลอดเรื่องแล้วใช้ปัญญาคิดไตร่ ตรอง
โดยอาศัยความรู้ ความคิด เหตุผล และประสบการณ์เดิมแล้วสามารถนาสาระต่าง ๆ ไปใช้ในการดาเนินชีวิต
ได้อย่างเหมาะสม โดยมีขันตอน ดังนี
1.1 ฟังและดูให้เข้าใจตลอดเรื่อง
1.2 วิเคราะห์เรื่องว่าเป็นเรื่องประเภทใด ลักษณะของเรื่องและตัวละครเป็นอย่างไร มีกลวิธีใน
การเสนอเรื่องอย่างไร
1.3 วินิจ ฉัย พิ จ ารณาเรื่องที่ ฟัง เป็นข้อเท็ จ จริง ความคิด เห็น เจตนาของผู้เสนอเป็นอย่างไร
มีเหตุผลน่าเชื่อถือหรือไม่
1.4 การประเมินค่าของเรื่องผ่านขันตอน 1 – 3 แล้ว ก็ป ระมาณว่าเรื่องหรือสารนันดีหรือไม่ ดี
มีอะไรที่จะนาไปใช้ให้เป็นประโยชน์ได้
1.5 การนาไปใช้ประโยชน์ ผ่านขันตอนที่ 1 – 4 แล้ว ขันสุดท้ายคือ นาคุณค่าของเรื่องที่ฟังและดู
ไปใช้ได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล
การประเมินค่าเรื่องที่ได้ฟังและดู เมื่อได้วิเคราะห์และวินิจสารที่ฟังและดู โดยใช้วิจารณญาณใน
การฟังและดู นาผลมารายงานบอกกล่าวแสดงความคิดเห็นต่อสิ่งนันอย่างมีเหตุผล มีหลักฐานประกอบ และ
เป็นสิ่งสร้างสรรค์
หลักการฟังอย่างวิจารณญาณ มีหลักปฏิบัติดังนี
1.1 พิจารณาผู้ส่งสารว่ามีจุดมุ่งหมาย และมีความจริงใจในการส่งสารนันเพียงใด
1.2 พิจารณาผู้ส่งสารว่ามีความรู้ ประสบการณ์หรือความใกล้ชิดกับเรื่องราวในสารนันเพียงใด
1.3 พิจารณาผู้ส่งสารว่าใช้กลวิธีในการส่งสารนันอย่างไร คือวิธีการธรรมดาหรือยอกย้อนซ่อนปม
อย่างไร
1.4 พิจารณาเนือหาของสารว่า ส่วนใดเป็นข้อเท็จจริง ส่วนใดเป็นข้อคิดเห็น
1.5 พิจารณาสารว่าเป็นไปได้ และควรเชื่อเพียงใด
1.6 ผู้ฟังควรประเมินว่าสิ่งที่ฟังมีประโยชน์และมีคุณค่ามากน้อยเพียงไร

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 149


หลักการแยกข้อคิดเห็นและข้อเท็จจริงในการรับฟังสาร นอกจากจะจับใจความสาคัญของเรื่องที่ฟัง
แล้ว ใจความตอนใดเป็นข้อคิดเห็นส่วนตัวของผู้พูด ซึ่งจะมีลักษณะเมื่อพิจารณาความถูกต้องได้ยาก และ
ตอนใดเป็นข้อเท็จจริง ซึ่งเป็นเรื่องที่สามารถพิสูจน์ความถูกต้องได้ การแยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นมีดังนี
1. การแยกข้อเท็จจริง เป็นข้อมูลที่สามารถพิสูจน์ได้ เห็นว่าเป็นจริงหรือเป็นเท็จ ได้จากตัวเลขเชิง
ปริมาณต่างๆ ที่มีอยู่ซึ่งทาการตรวจสอบได้ดังนี เช่นประชา หนัก 50 กิโลกรัม ,โอภาสสูงกว่าเสกสรรค์
2. ความคิดเห็นเป็นเรื่องของการคาดคะเน หรือการทานายโดยอาศัยเหตุผลส่วนตัวซึ่งควรจะเปิด
โอกาสให้มีการโต้แย้งหรือสนับสนุน เช่น ของเก่าดีกว่าของใหม่ มีเงินดีกว่ามีเกียรติ
5.2 วิวัฒนาการทารกในครรภ์มารดาตามหลักการแพทย์แผนปัจจุบัน

เริ่มปฏิสนธืในครรภ์มารดา คือ การที่ ชีวิตเริ่มก่อกาเนิดขึนจากเซลล์หนึ่งเซลล์ที่เรียกว่า Zygote


เริ่ม แบ่งจากหนึ่งเป็นสอง จากสองเป็นสี่ จากสี่เป็นแปดเซลล์ กระทั่งเป็นตัวอ่อนที่เรียกว่า Embryo เดิน
ทางผ่านท่อนาไข่เข้าไปฝังตัวที่ผนังมดลูก เมื่อตัวอ่อนฝังตัวเรียบร้อยแล้ว เริ่มมีการสร้างรก สายสะดือและ
ผลิตนาคร่าเพื่อหล่อเลียงปกป้องตัวอ่อน การแบ่งตัวเพิ่มจานวนเซลล์มากมายยังดาเนินต่อไป เพื่อจะพัฒนา
เป็นอวัยวะทุกส่วนในร่างกาย ในระยะนีตัวอ่อนมีขนาดเล็กประมาณ ¼ นิว จะได้รับอาหารจากถุงไข่แดงที่
อยู่ติดกับตัวอ่อน ก่อนที่รกจะพัฒนาเต็มที่และทาหน้าที่แทน
พัฒนาการทารกในครรภ์เดือนที่ 2 : หัวใจเต้น ตัวอ่อนพัฒ นารูปร่างชัดเจนขึน ศีรษะดูใหญ่กว่า
ส่วนอื่น เริ่มเห็นใบหน้า ดวงตากลมดา หู จมูก แขนขา มือเท้า เปลือกตาบน ลาตัวเริ่มยืดออก ในช่วงนีทารก
มีขนาดตัวยาวประมาณ 2-3 เซนติเมตร
พัฒนาการทารกในครรภ์เดือนที่ 3 : เริ่มบ่งบอกเพศได้ อวัยวะพัฒนาสมบูรณ์ มีดวงตา จมูก ปาก
หน้าผาก ใบหู แขนขา นิวมือนิวเท้า เล็บมือเล็บเท้า สามารถขยับแขนขากามือ เหยียดมือ อ้าปากได้ ช่วงนี
ทารกขนาดตัวยาวประมาณ 10-12 เซนติเมตร รกเริ่มส่งผ่านสารอาหารจากคุณแม่สู่ทารก และขับของเสีย
ออกผ่านทางสายสะดือ
พัฒนาการทารกในครรภ์เดือนที่ 4 : ดูดกลืนนาคร่า ทารกตัวใหญ่ขึน ช่วงนีทารกมีขนาดตัวยาว
16-18 เซนติเมตร นาหนัก 200 กรัม มีผิวบางใสจนเห็นเส้นเลือดภายในชัดเจน มีการพัฒนาเปลือกตา ขนตา
คิว เล็บ ผม ลายมือ และสามารถขยับตัว ขยับแขนขา กาหมัด ดูดนิวโป้ ง ดูดกลืนนาคร่าได้ ประสาทสัมผัส
ทางลินเริ่มมีการพัฒนาปุ่ม รับรส กระดูกมีมวลหนาแน่นขึน อวัยวะเพศภายนอกและภายในพัฒนาสมบูรณ์
ทารกเพศหญิงในรังไข่มีไข่นับพันฟองแล้ว

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 150


พัฒนาการทารกในครรภ์เดือนที่ 5 : ทารกเริ่มดิน ทารกตัวใหญ่ขึน มีขนาดตัวยาว 20-25
เซนติเมตร นาหนัก 400 กรัม กล้ามเนือแข็งแรงขึน ฟัน ผมเริ่มงอก และมีขนอ่อน ๆ ขึนตามร่างกาย
ทารกเริ่มพัฒนาการรับรู้สัมผัสในด้านต่าง ๆ ทังแสง เสียง กลิ่น รส
พัฒนาการทารกในครรภ์เดือนที่ 6 : ทารกเริ่มตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น กล้ามเนือสมบูรณ์
ขึน ช่วงนีทารกมีขนาดตัวยาว 30 เซนติเมตร นาหนัก 600 กรัม ขยับตัว เคลื่อนไหว ได้ยินเสียง มี
การพัฒนาเซลล์เม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาว ระบบหายใจมีการผลิตสารลดแรงตึงผิวในปอด
พัฒนาการทารกในครรภ์เดือนที่ 7 : ทารกเริ่มลืมตา ผิวทารกหนาขึนไม่บางใสแล้ว ช่วงนี
ทารกขนาดตัวยาว 35 เซนติเมตร นาหนัก 1000-1200 กรัม เริ่มกลับหัว ลืมตา กระพริบตา
พั ฒ นาการทารกในครรภ์เดือนที่ 8 : ทารกเริ่มพั ฒ นาประสาทรับ รู้แสง ระบบภายใน
ร่างกายส่วนใหญ่พั ฒนาได้ดี ช่วงนีทารกมีขนาดตัวยาว 40-45 เซนติเมตร นาหนัก 2000-2500 กรัม
ทารกเริ่มกลับตัวหันศีรษะลงด้านล่าง
พัฒ นาการทารกในครรภ์เดือนที่ 9 : ปอดและผิวหนังของทารกสมบูรณ์ ช่วงนีทารกมี
ขนาดตั ว ยาว 50 เซนติ เ มตร น าหนั ก 2800-3000 กรั ม ทารกกลั บ ศี ร ษะลงสู่ ช่ อ งเชิ ง กรานเพื่ อ
เตรียมพร้อมคลอด
แหล่งข้อมูล
https://www.webmd.com/baby/interactive-pregnancy-tool-fetal-
development?week=1สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก กระทรวงสาธารณสุข 2556
https://th.theasianparent.com/9-เดือนในท้องแม่
http://www.si.mahidol.ac.th/sidoctor/e-pl/articledetail.asp?id=425.
พิชฏา อังคะนาวิน.การส่งเสริม สมองเพื่อพัฒ นาการของทารกในครรภ์. สาขาวิท ยาศาสตร์แล ะ
เทคโนโลยี ปีที่ 3 ฉบับที่ 6 เดือนพฤศจิกายน–ธันวาคม 2559
6. สาระการเรียนรู้
6.1 เนือเรื่อง ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ
6.2 กาเนิดมนุษย์แบบวิทยาศาสตร์และกาเนิดมนุษย์ในไตรภูมิพระร่วง
7. กิจกรรมการเรียนรู้ (แบบ Active Learning)
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (10 นาที)
7.1 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ
7.2 ครูทบทวนความรู้จากการศึกษางานวิจัยในคาบเรียนทีผ่ ่านมา

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 151


ขั้นสอน ( 40 นาที)
7.3 นักเรียนศึกษางานวิจัยที่ครูนามาแสดง พร้อมแสดงข้อมูลการเปรียบเทียบในรูปแบบตาราง
งานวิจัยเปรียบเทียบกาเนิดและพัฒนาการของชีวิตมนุษย์ในครรภ์ ระหว่างพระพุทธศาสนากับ
วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ A Comparison Between Scientific and Buddhist Truths of the Birth and
Development of Human Life in the Womb โดย ศุ ภ กาญ จน์ วิ ช านาติ คณะมนุ ษ ยศาสตร์
และสั ง คมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ พระนคร และ วั ช ระ งามจิ ต รเจริ ญ คณะศิ ล ปศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
7.4 นักเรียนรับผิดชอบติดตามงานที่ได้มอบหมายไว้ในคาบเรียนที่ผ่านมาให้เสร็จสิน
7.5 ตัวแทนสมาชิก ของแต่ละกลุ่ม นาผลงานรูป ภาพอินโฟกราฟิก ส์ (Infographic) ออกมา
นาเสนอหน้าชันเรียนต่อ สาหรับกลุ่มที่ยังไม่ได้นาเสนอในคาบเรียนที่ผ่านมา เพื่อนในชันเรียนร่วมแสดง
ความคิดเห็นประกอบเพิ่มเติม ครูกล่าวชื่นชม และเสนอแนะเพิ่มเติม
ขั้นสรุป (5 นาที)
7.6 ครูสรุปความรู้เชิงบูรณาการเกี่ ยวกับ การก าเนิดและพัฒ นาการของชีวิตมนุษย์ในครรภ์
ระหว่างพระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์ และชีแจงให้นักเรียนเห็นประโยชน์ของการบูรณาการความรู้ที่ได้
จากการศึกษาวรรณคดีไทย เพื่อนามาประยุกต์ใช้ความรู้ในชีวิตจริง
8. สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้
8.1 งานวิจัยเปรียบเทียบกาเนิดและพัฒนาการของชีวิตมนุษย์ในครรภ์ ระหว่างพระพุทธศาสนา
กั บ วิ ท ยาศาสตร์ A Comparison Between Scientific and Buddhist Truths of the Birth and
Development of Human Life in the Womb โดย ศุ ภ กาญ จน์ วิ ช านาติ คณะมนุ ษ ยศาสตร์
และสั ง คมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ พระนคร และ วั ช ระ งามจิ ต รเจริ ญ คณะศิ ล ปศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
8.2 รูปภาพอินโฟกราฟิกส์ (Infographic) : ผลงานนักเรียน
9. ชิ้นงาน/ ภาระงาน
9.1 รูปภาพอินโฟกราฟิกส์ (Infographic) : งานกลุ่ม
10. เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 152


การประเมินชิ้นงานรูปภาพอินโฟกราฟิกส์ (Infographic) : งานกลุ่ม
เกณฑ์การประเมิน ระดับคุณภาพ
5 (ดีมาก) 4 (ดี) 3 (พอใช้)
ด้านเนื้อหา มีการจดบันทึกการเรียนรู้ มีการจดบันทึกการเรียนรู้ มีการจดบันทึกการเรียนรู้

5 – 7 คา 3 – 4 คา 1 – 2 คา
1.หัวข้อและคาสาคัญ
2.เนือหาและความถูกต้อง เนือหาถูกต้อง ครบถ้วน เนือหาถูกต้องส่วนมาก เนือหาถูกต้องบางส่วน

3.การอ้างอิงข้อมูล มีแหล่งอ้างอิงข้อมูล แหล่งอ้างอิงข้อมูลไม่ครบ ขาดแหล่งอ้างอิงข้อมูล


ผลงานสร้างสรรค์
ด้านการออกแบบ ผลงานสร้างสรรค์ ผลงานสร้างสรรค์
ในระดับมาก ในระดับปานกลาง ในระดับน้อย
1.ความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์
2.ตาแหน่งและการจัดวาง ข้อความ รูปภาพ จัดวาง ข้อความ รูปภาพ จัดวาง ข้อความ รูปภาพ จัดวาง
เหมาะสมมาก เหมาะสมปานกลาง ไม่เหมาะสม
3.กราฟฟิกและภาพประกอบ ใช้รูปภาพและ ใช้รูปภาพและกราฟฟิก ใช้รูปภาพและกราฟฟิก
กราฟฟิกประกอบระดับดี ประกอบระดับปานกลาง ประกอบระดับน้อย
4.การถ่ายทอดความรู้ เข้าใจง่าย ชัดเจนมาก เข้าใจง่าย ชัดเจนพอใช้ เข้าใจยาก ไม่ชัดเจน
ด้านการทางานเป็นกลุ่ม ทุกคนร่วมมือจนงานสาเร็จ มีบางคนไม่ให้ แต่ละคนมีความคิด
1.ความสามัคคี ความร่วมมือ ขัดแย้งกัน
2.การแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ แบ่งหน้าที่ชัดเจนมาก แบ่งหน้าที่ชัดเจนบางคน บางคนไม่มีหน้าที่
3.การรักษาเวลา ส่งตรงตามเวลาที่กาหนด ส่งเกินเวลาไปเล็กน้อย ส่งเกินเวลาไปมาก

ระดับเกณฑ์การประเมิน คะแนนเต็ม 50 คะแนน


มีระดับคะแนน 35 – 40 คะแนน ระดับคุณภาพ 6
มีระดับคะแนน 41 – 45 คะแนน ระดับคุณภาพ 8
มีระดับคะแนน 46 – 50 คะแนน ระดับคุณภาพ 10
ระดับคุณภาพที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน 6 ขึนไป

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 153


11. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ เครื่องมือ เกณฑ์
ประเมินผล การประเมิน
2.1 ด้ าน ความ รู้ (Knowledge: K) 1. สังเกตพฤติกรรมกลุม่ 1.แบบสังเกต 1.ร่วมกิจกรรมใน
อธิบายหลักการวิเคราะห์ประเมินเรื่อง 2. ตรวจผลงานรูปภาพ พฤติกรรมกลุ่ม กระบวนการกลุ่ม
ที่ฟังและดูได้ อินโฟกราฟิกส์ 2.เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 ขึนไป
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (Infographic) 2.ระดับคุณภาพที่
(Process: P) วิเคราะห์ป ระเมิ นเรื่อ ง ผ่านเกณฑ์
ที่ ฟั ง และดู แ ล้ ว บู ร ณาการความรู้ ที่ การประเมิน
สามารถนาไปใช้ในการดาเนินชีวิตใน 6 ขึนไป
ปัจจุบันได้
2.3 ด้านคุณ ลัก ษณะอั นพึ ง ประสงค์
(Attitude: A) บ อ กป ระโยชน์ ข อ ง
ความรู้ที่จะนาไปใช้ในชีวิตจริงรวบรวม
ความรู้ ด้ านสั ง คมที่ พ บในเรื่ อ ง เพื่ อ
น ามาประยุ ก ต์ ในการด าเนิ น ชี วิ ต ใน
ปัจจุบัน
12. สรุปผลการจัดการเรียนรู้
12.1 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….............
12.2 ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.3 ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..............
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
13. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….........
ลงชื่อ .................................................
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 154


บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 17
รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ โลกกาเนิดของมนุษย์
***********************************************************************************************************
1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก
...............................................................................................................................................................................
2. ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1) การประเมินผลความรู้หลังการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.....................
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก................................................................................................................................................................
2) การประเมินด้านทักษะกระบวนการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.............
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ...........
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มีนักเรียนทาใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกาหนดเวลา
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน
 อื่น ๆ ..............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนาแผนไปปรับปรุง เรื่อง .......................................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 155


โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 18
รหัสวิชา ท33101 รายวิชา ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ โลกกาเนิดของมนุษย์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง การเขียนอธิบาย บรรยาย พรรณนา (1) จานวน 1 คาบ ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความและเขียนเรื่องราว ในรูปแบบ
ต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ
ม.4-6/1 เขียนสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ภาษาเรียบ
เรียงถูกต้องมีข้อมูลและสาระสาคัญชัดเจน
ม.4-6/5 ประเมินงานเขียนของผู้อื่น แล้วนามาพัฒนางานเขียนของตนเอง
ม.4-6/8 มีมารยาทในการเขียน
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) อธิบายหลักการเขียนอธิบาย บรรยาย พรรณนาได้ถูกต้อง
2.2 ด้ า นทั ก ษะ/กระบวนการ (Process: P) เขี ย นอธิ บ าย บรรยาย พรรณนาได้ อ ย่ า ง
สร้างสรรค์
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude: A) ประเมินค่าผลงานการเขียนของบุคคลอื่น
ได้
3. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs)
 R1–Reading (อ่านออก)  R2–(W)Riting (เขียนได้)
 C1–Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะใน
การแก้ปัญหา)
 C2–Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม)
 C5–Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ
และรูเ้ ท่าทันสื่อ)
 C7–Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้)
4. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
 บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
 บูรณาการกับประชาคมอาเซียน
 บูรณาการหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล (World-class Standard School) รายวิชา IS....

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 156


5. สาระสาคัญ
5.1 หลักการเขียนอธิบาย บรรยาย พรรณนา
การเขียนบรรยาย คือ การเขียนเล่าเรื่อง กล่าวถึงเหตุการณ์ที่ต่อเนื่องกัน ทาให้ผู้อ่านรู้ว่า ใคร
ท าอะไร ที่ ไหน เมื่ อ ไร อย่างไร เพื่ อ อะไร และผลที่ ต ามมาเป็น อย่างไร โดยชี้ให้ เห็น ฉาก สถานที่ เวลา
เหตุการณ์ สาเหตุที่ก่อให้เกิดสภาพแวดล้อม บุคคลที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนผลที่เกิดจากเหตุการณ์นั้น ๆ เนื้อหา
ในการบรรยายอาจเป็นเรื่อ งจริง เช่น ประวัติบุคคล เรื่องเล่าจากประสบการณ์ หรือเป็นเรื่องสมมุติ เช่น
นิทาน นิยาย เรื่องสั้นที่มีการเล่าเรื่อง (จุดประสงค์ คือ เพื่อให้รู้)
ตัวอย่างการเขียนบรรยาย
เกาะสมุย เป็นเกาะที่มีหาดทรายสวย ทรายขาวมีชื่อหลายแห่ง อาทิ หาดเฉวง หาดนาเทียน หาด
ตลิ่งงาม หาดละไม และมีนักท่องเที่ยวที่ต้องการหาดทราย ทะเล สายลม และแสงแดด ชายหาดที่ทอดยาว
ขนานไปกับทะเล ต้นมะพร้าวริมชายหาดและน้าทะเลใส ล้วนเป็นเสน่ห์ ที่ทาให้นักท่องเที่ยวที่เคยไปสมุย
มาแล้วต้องหวนกลับไปอีกครั้งแล้วครั้งเล่า อาหารทะเลสด ๆ ก็เป็นอีกเสน่ห์ที่ชวนให้นึกถึง
หลักการเขียนบรรยายที่ดีควรมีหลักการเขียน ดังนี้
1) การกาหนดจุดมุ่งหมายในการเขียน
2) เลือกเรื่องที่ดีและน่าสนใจ ที่เป็นข้อเท็จจริง
3) วางโครงเรื่องก่อนการเขียน คือ การลาดับเรื่องตั้งแต่ต้นจนจบ ได้แก่ การเปิดเรื่อง การดาเนินเรื่อง
การปิดเรื่อง การลาดับเรื่องไม่ให้ผู้อ่านสับสน เนื้อเรื่องต้องกระชับ กะทัดรัด ชัดเจน
4) ย่อหน้าให้เหมาะสม ในหนึ่งย่อหน้าควรมีเพียงประเด็นเดียว
5) เลือกใช้ภาษาที่ดี มีศิลปะ ใช้ถ้อยคาสื่อความหมายได้ดี เข้าใจ เหมาะสมถูกต้องตามระดับของบุคคล
โอกาส และกาลเทศะ
การเขียนพรรณนา คือ การเขียนโดยให้รายละเอียดของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง สิ่งนั้นอาจจะเป็นบุคคล
วัตถุ สถานที่หรือเหตุการณ์ช่วงใดช่วงหนึ่ง โดยพรรณนาส่วนประกอบแต่ละส่วน ให้แจ่มแจ้งหรือชี้ให้เห็น
ลักษณะเด่นของสิ่งนั้น ๆ สอดแทรกอารมณ์ความรู้สึกของผู้เขียนถ่ายทอดสู่ผู้อ่าน เพื่อให้เกิดความประทับใจ
(จุดประสงค์ คือ เพื่อทาให้เกิดจินตภาพ เข้าถึงอารมณ์ผู้เขียน)
ตัวอย่างการเขียนพรรณนา
“บนเนินเขาเตี้ย มีน้าพุที่ใหน้าตลอดฤดูกาล ทั้งฤดูร อน และฤดูหนาว ในขณะที่น้าไหลผานเนิน
เขา ผานละเมาะหมูไมแลวหายไปในทุงกวางเหนือหมูบานขึ้นไปนั้น เสียงของมันฟงดูไพเราะยิ่งนัก ชาวบาน
กาลัง สรางสะพานเล็ก ๆ ดวยหิน ขามลาธารแหงนี้โดยมีวิศวกรหนุมเปนผูควบคุมดูแล”
หลักการเขียนพรรณนาที่ดีควรมีหลักการเขียน ดังนี้
1) เลือกหรือแยกส่วนที่ต้องการพรรณนา
2) ชี้ให้เห็นลักษณะเด่นของสิ่งที่จะพรรณนา

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 157


3) ) เลือกใช้ถ้อยคาให้เหมาะสมทั้งเสียงและความหมาย ใช้กลวิธีต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความน่าสนใจ เช่น
การแฝงความ การใช้สานวนโวหาร การใช้คาซ้า คาซ้อน คาคล้องจอง เป็นต้น
การเขียนอธิบาย คือ การแจกแจงรายละเอียด ทาให้บุคคลอื่นเข้าใจความจริง ความสัมพันธ์หรือ
ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทั้งที่เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ และเป็นปรากฏการณ์ทางสังคมแยกได้ 5 ประเภท
1) การอธิบ ายตามลาดับ ขั้ นตอน มั กใช้กับ การอธิบ ายประกอบกิ จกรรม การปฏิบัติ การสาธิต หรือ
การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่ เป็นกระบวนการ หรือกรรมวิธี ที่ มี ขั้นตอนเป็นระยะไป เช่น การผลิตสิ่ง ของ
การออกกาลังกาย การประกอบอาหาร เป็นต้น
2) การใช้ตัวอย่าง ใช้เพื่ อ ช่วยในการอธิบ ายในสิ่งที่ เข้ าใจยาก เพื่อให้ผู้อ่านมองเห็นและเข้าใจเป็น
รูปธรรมมากขึ้น
3) การเปรียบเทียบความเหมือนหรือความต่างกัน เหมาะกับการอธิบายสิ่งแปลกใหม่ หรือสิ่งที่ผู้ฟังไม่
คุ้นเคยมาก่อน โดยพยายามเลือกหาสิ่งที่ผู้ฟัง ผู้อ่าน คุ้นเคยหรือรู้จักดีอยู่แล้ว นาสิ่งนั้นมาเทียบเคียงและ
ชี้ให้เห็นว่าสิ่งใหม่ที่อธิบายนั้น มีอะไรบ้างที่คล้ายคลึงหรือแตกต่างไปจากที่คุ้นเคยอยู่
4) การชี้สาเหตุหรือผลลัพธ์ที่สัมพันธ์กัน
5) การนิยาม คือ การให้คาจากัดความ หรือกาหนดขอบเขต ข้อตกลงในเรื่องความหมายของคาหรือ
ศัพท์ เพื่อจะได้เข้าใจตรงกัน (จุดประสงค์ คือ เพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจน)
ตัวอย่างการเขียนอธิบาย
“ คาว่า สลัด เป็น ภาษามลายู หมายความว่า ช่องแคบในทะเล ชาวมลายูซึ่งอยู่ตามชายฝั่งทะเล
ตอนช่องแคบมะละกาในสมั ยโบราณ มั กประพฤติตนเป็นโจร คอยดัก ปล้นเรือสาเภาที่ แล่นผ่านช่องแคบ
มะละกา ถ้าเรือสาเภาลาใดใบไม่ติดลมในคราวลมอับก็ต้องลอยกลางทะเล ชาวทะเลที่อยู่บนฝั่งทะเลในช่อง
แคบ ซึ่งเรียกว่า ชาวสลัด ก็ถือโอกาสยกพวกลงเรือเล็กมาล้อมตีปล้นเรือสาเภาลานั้น คาว่า สลัด จึงติดมา
เป็นคาในภาษาไทย หมายความว่า โจรสมุทรหรือโจรทะเล”
หลักการเขียนอธิบายที่ดีควรมีหลักการเขียน ดังนี้
1) กาหนดวัตถุประสงค์ในการเขียนให้ชัดเจนว่า ต้องการเขียนอธิบายเรื่องอะไร และมีวัตถุประสงค์ใน
การเขียนอย่างไร เพื่อจะได้เลือกวิธีเขียนอธิบายได้อย่างเหมาะสม
2) เตรียมเนื้อ เรื่อ งหรือ ข้อ มู ล โดยศึก ษาค้นคว้าจากหนัง สือหรือสื่ออื่น ๆ เช่น หนัง สือ คู่ มื อ ตารา
นิตยสาร วารสาร วิทยุ โทรทัศน์ และอินเทอร์เน็ต เป็นต้น
3) กาหนดโครงเรื่องที่จะเขียน เพื่อเรียบเรียงความคิดและข้อมูลให้มีความต่อเนื่องและน่าสนใจ
4) เลือกวิธีการอธิบายให้เหมาะสมสอดคล้องกับเรื่อง
5) ควรใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย กระชับ รัดกุม และตรงไปตรงมา

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 158


6. สาระการเรียนรู้
6.1 หลักการเขียนอธิบาย บรรยาย พรรณนา
7. กิจกรรมการเรียนรู้ (แบบ Active Learning)
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (10 นาที)
7.1 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ
7.2 ครูคัดเลือกคาสาคัญของการเขียนแต่ละชนิด พิมพ์ลงบนบัตรคาอิเล็กทรอนิกส์ จากนั้นแสดง
ให้นักเรียนดูครั้งละ 1 บัตรคา จนครบ 9 บัตรคา โดยจะมีบัตรคา 3 บัตรคาเกี่ยวข้องกับการเขียนอธิบาย และมี
3 บัตรคาเกี่ยวข้องกับการเขียนบรรยาย และมีอีก 3 บัตรคาเกี่ยวข้องกับ การเขียนพรรณนา ดังนี้
กระชับ ตรงไปตรงมา เน้นทั้งเสียงและความหมาย สร้างความเข้าใจ
บอกให้รู้ ชี้ให้เห็นลักษณะ สื่ออารมณ์
ลาดับเรื่องไม่วกวน ข้อเท็จจริง เตรียมข้อมูล
7.3 นัก เรียนร่วมกั นจ าแนกบัตรคาให้ส อดคล้องกั บ หลัก การเขียนแต่ล ะชนิด ได้แก่ การเขียน
อธิบาย การเขียนบรรยาย และการเขียนพรรณนา จากนั้นครูเฉลยคาตอบ
บรรยาย พรรณนา อธิบาย
บอกให้รู้ สื่ออารมณ์ สร้างความเข้าใจ
ข้อเท็จจริง ชี้ให้เห็นลักษณะ เตรียมข้อมูล
ลาดับเรื่องไม่วกวน เน้นทั้งเสียงและความหมาย กระชับ ตรงไปตรงมา
ขั้นสอน ( 40 นาที)
7.4 นักเรียนศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับหลักการเขียนบรรยาย พรรณนา และอธิบาย จากแบบเรียนหลัก
ภาษาและการใช้ภาษา ประกอบกับบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ครูบรรยาย พร้อมยกตัวอย่างประกอบ
7.5 นัก เรีย นท าแบบฝึ ก หัด การเขียนบรรยาย พรรณนา และอธิบ าย ในเอกสารที่ ครูแจกให้
จากนั้น ครูเฉลยคาตอบ นักเรียนร่วมเฉลย และแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม
7.6 นักเรียนแบ่งกลุ่ม โดยมีสมาชิกกลุ่มละ 5 – 6 คน จากนั้นครูแจกรูปภาพ และกระดาษเอ4
นักเรียนกลุ่มที่ 1 และ 2 เขียนบรรยายประกอบภาพ นักเรียนกลุ่มที่ 3 และ 4 เขียนอธิบายประกอบภาพ และ
นักเรียนกลุ่มที่ 5 และ 6 เขียนพรรณนาประกอบภาพ

กลุม่ 1,2 กลุม่ 3,4

กลุม่ 5,6

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 159


7.7 ตัวแทนสมาชิกของแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอหน้าชั้นเรียน ครูกล่าวชื่นชมและเสนอแนะ
เพิ่มเติม
ขั้นสรุป (5 นาที)
7.8 ครูสรุปความรู้เรื่อง หลักการเขียนบรรยาย อธิบาย พรรณนา พร้อมสรุปความแตกต่าง
ระหว่างการเขียนทั้งสามชนิดเป็นตารางแสดงบนจอภาพให้นักเรียนดู ดังนี้
การเขียนบรรยาย การเขียนพรรณนา การเขียนอธิบาย
1.มุ่งให้เห็นภาพต่อเนื่อง 1.มุ่งให้เห็นภาพเฉพาะจุด 1.มุ่งให้เกิดความเข้าใจ
เป็นลาดับ 2.มีจินตนาการเป็นแกนของ 2.ยึดหลักวิชาความรู้เป็นแกน
2.มีเหตุการณ์ ข้อเท็จจริง เรื่อง ของเรือ่ ง
เป็นแกนของเรื่อง 3.ผูรับสารอาจตีความตางกัน 3.คานึงถึงพื้นฐานความรู้ของ
3.เลือกใชภาษาทั้งนัยตรงและ ตามจินตนาการ และ ผู้รบั สาร
นัยประหวัด ประสบการณ 4. เน้นให้ผรู้ ับสารมีความเข้าใจ
4.คานึงถึงพื้นฐานรสนิยม และ 4.เลือกใช้ถ้อยคา สละสลวย ตรงกัน
ความสนใจของผูรับสาร ทั้งนัยตรง โดยนัยและนัย 5.เลือกใช้ภาษานัยตรงกัน
5.พบมากในงานเขียนทั่ว ๆ ไป ประหวัด 6.พบมากในงานเขียน
ทั้งบันเทิงคดีและสารคดี 5.พบมากงานเขียนบันเทิงคดี เชิงวิชาการ ธุรกิจ กิจธุระ
8. สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้
8.1 บัตรคาสาคัญ 9 บัตรคา
8.2 แบบเรียนหลักภาษาและการใช้ภาษา
8.3 บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง หลักการเขียนบรรยาย พรรณนา และอธิบาย
8.4 รูปภาพ 4 รูป
8.5 กระดาษเอ4
9. ชิ้นงาน/ ภาระงาน
9.1 ผลงานนักเรียนเขียนบรรยาย อธิบาย พรรณนา : งานกลุ่ม
10. เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 160


การประเมินชิ้นงานการเขียนบรรยาย อธิบาย พรรณนา
รายการ เกณฑ์การให้คะแนน น้าหนัก
ประเมิน จุดเน้น
4 3 2 1

เนื้อหา เขียนเรื่องได้สมบูรณ์ เขียนเรื่องได้สมบูรณ์ เขียนเรื่องไม่ค่อยสมบูรณ์ เขียนเรื่องไม่สมบูรณ์ 5


การเขียน เนื้อหามีลักษณะตรงตาม เนื้อหามีลักษณะตรงตาม เนื้อหามีลักษณะไม่ตรงตาม เนื้อหามีลักษณะไม่ตรงตาม
หลักการเขียนแต่ละชนิด หลักการเขียนแต่ละชนิด หลักการเขียนแต่ละชนิด หลักการเขียนแต่ละชนิด
เรียงลาดับเนื้อเรื่องได้ เรียงลาดับเนื้อเรื่องได้ เรียงลาดับเนื้อเรื่องไม่ เรียงลาดับเนื้อเรื่องสับสน
ต่อเนื่องเหมาะสม ไม่วกวน ไม่ต่อเนื่อง วกวนเล็กน้อย ต่อเนื่อง วกวนมาก
การใช้ ใช้ถ้อยคาสานวนถูกต้อง ใช้ถ้อยคาสานวนถูกต้อง ใช้ถ้อยคาสานวนไม่ค่อย ใช้ถ้อยคาสานวนไม่ 3
ภาษา เหมาะสม สื่อความหมายได้ เหมาะสม สื่อความหมายได้ดี เหมาะสม สื่อความหมายไม่ เหมาะสม สื่อความหมายไม่
ชัดเจน ตรงตามข้อกาหนด พอใช้ ตรงตามข้อกาหนด ชัดเจน แต่ยังตรงตาม ชัดเจน ไม่ตรงตามข้อกาหนด
ของการเขียนแต่ละชนิด ของการเขียนแต่ละชนิด ข้อกาหนดของการเขียน ของการเขียนแต่ละชนิด
ใช้ภาษาถูกต้องตามอักขรวิธี ใช้ภาษาถูกต้องตามอักขรวิธี แต่ละชนิด ผิดอักขรวิธี ผิดอักขรวิธี

องค์ องค์ประกอบของการเขียน องค์ประกอบของการเขียน องค์ประกอบของการเขียน องค์ประกอบของการเขียน 2


ประกอบ ครบถ้วน การเว้นวรรค ครบถ้วน การเว้นวรรค ยังไม่ครบถ้วน การเว้นวรรค ไม่ครบถ้วน การเว้นวรรค
ของ การย่อหน้าเหมาะสม การย่อหน้ายังไม่เหมาะสม การย่อหน้าผิดบางจุด การย่อหน้าผิดเป็นส่วนใหญ่
การเขียน

ระดับเกณฑ์การประเมิน คะแนนเต็ม 40 คะแนน


มีระดับคะแนน 25 – 30 คะแนน ระดับคุณภาพ 6
มีระดับคะแนน 31 – 35 คะแนน ระดับคุณภาพ 8
มีระดับคะแนน 36 – 40 คะแนน ระดับคุณภาพ 10
ระดับคุณภาพที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน 6 ขึ้นไป

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 161


11. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ เครื่องมือ เกณฑ์
ประเมินผล การประเมิน
2.1 ด้ า นความรู้ (Knowledge: K) 1. สังเกตพฤติกรรมกลุม่ 1.แบบสังเกต 1.ร่วมกิจกรรมใน
อธิบายหลักการเขียนอธิบายบรรยาย 2. ตรวจผลงานการเขียน พฤติกรรมกลุ่ม กระบวนการกลุ่ม
พรรณนาได้ถูกต้อง บรรยาย อธิบาย พรรณนา 2.เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 ขึ้นไป
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ 2.ระดับคุณภาพที่
(Process: P) เขีย นอธิ บ ายบรรยาย ผ่านเกณฑ์
พรรณนาได้อย่างสร้างสรรค์ การประเมิน
2.3 ด้านคุณลักษณะอั นพึงประสงค์ 6 ขึ้นไป
(Attitude: A) ประเมิ น ค่ า ผลงาน
การเขียนของบุคคลอื่นได้

12. สรุปผลการจัดการเรียนรู้
12.1 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….............
12.2 ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.3 ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..............

ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

13. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….........

ลงชื่อ .................................................
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 162


บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 18
รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ โลกกาเนิดของมนุษย์
***********************************************************************************************************
1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก
...............................................................................................................................................................................
2. ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1) การประเมินผลความรู้หลังการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.....................
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก................................................................................................................................................................
2) การประเมินด้านทักษะกระบวนการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.............
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ...........
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มีนักเรียนทาใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกาหนดเวลา
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน
 อื่น ๆ ..............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนาแผนไปปรับปรุง เรื่อง .......................................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 163


โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 19
รหัสวิชา ท33101 รายวิชา ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ โลกกาเนิดของมนุษย์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง การเขียนอธิบาย บรรยาย พรรณนา (2) จานวน 1 คาบ ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท 2.1 ใช้ก ระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความและเขียนเรื่องราว ใน
รูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ
ม.4-6/1 เขียนสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ภาษาเรียบเรียง
ถูกต้องมีข้อมูลและสาระสาคัญชัดเจน
ม.4-6/5 ประเมินงานเขียนของผู้อื่น แล้วนามาพัฒนางานเขียนของตนเอง
ม.4-6/8 มีมารยาทในการเขียน
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) อธิบายหลักการเขียนอธิบาย บรรยาย พรรณนาได้ถูกต้อง
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (Process: P) เขียนอธิบาย บรรยาย พรรณนาได้อย่างสร้างสรรค์
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude: A) ประเมินค่าผลงานการเขียนของบุคคลอื่นได้
3. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs)
 R1–Reading (อ่านออก)  R2–(W)Riting (เขียนได้)
 C1–Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะใน
การแก้ปัญหา)
 C2–Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม)
 C5–Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ
และรูเ้ ท่าทันสื่อ)
 C7–Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้)
4. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
 บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
 บูรณาการกับประชาคมอาเซียน
 บูรณาการหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล (World-class Standard School) รายวิชา IS....

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 164


5. สาระสาคัญ
5.1 หลักการเขียนอธิบาย บรรยาย พรรณนา
การเขียนบรรยาย คือ การเขียนเล่าเรื่อง กล่าวถึงเหตุการณ์ที่ต่อเนื่องกัน ทาให้ผู้อ่านรู้ว่า ใคร ท า
อะไร ที่ ไหน เมื่ อ ไร อย่า งไร เพื่ อ อะไร และผลที่ ตามมาเป็ น อย่างไร โดยชี้ ให้ เ ห็ นฉาก สถานที่ เวลา
เหตุก ารณ์ สาเหตุที่ ก่ อให้เกิ ดสภาพแวดล้อม บุคคลที่ เกี่ ยวข้อง ตลอดจนผลที่ เกิ ดจากเหตุก ารณ์นั้น ๆ
เนื้อหาในการบรรยายอาจเป็นเรื่องจริง เช่น ประวัติบุคคล เรื่องเล่าจากประสบการณ์ หรือเป็นเรื่องสมมุติ
เช่น นิทาน นิยาย เรื่องสั้นที่มีการเล่าเรื่อง (จุดประสงค์ คือ เพื่อให้รู้)
ตัวอย่างการเขียนบรรยาย
เกาะสมุ ย เป็นเกาะที่ มีห าดทรายสวย ทรายขาวมีชื่อหลายแห่ง อาทิ หาดเฉวง หาดนาเทียน หาด
ตลิ่งงาม หาดละไม และมีนักท่องเที่ยวที่ต้องการหาดทราย ทะเล สายลม และแสงแดด ชายหาดที่ทอดยาว
ขนานไปกับทะเล ต้นมะพร้าวริมชายหาดและน้าทะเลใส ล้วนเป็นเสน่ห์ที่ทาให้นักท่องเที่ยวที่เคยไปสมุย
มาแล้วต้องหวนกลับไปอีกครั้งแล้วครั้งเล่า อาหารทะเลสด ๆ ก็เป็นอีกเสน่ห์ที่ชวนให้นึกถึง
หลักการเขียนบรรยายที่ดีควรมีหลักการเขียน ดังนี้
1) การกาหนดจุดมุ่งหมายในการเขียน
2) เลือกเรื่องที่ดีและน่าสนใจ ที่เป็นข้อเท็จจริง
3) วางโครงเรื่องก่อนการเขียน คือ การลาดับเรื่องตั้งแต่ต้นจนจบ ได้แก่ การเปิดเรื่อง การดาเนินเรื่อง
การปิดเรื่อง การลาดับเรื่องไม่ให้ผู้อ่านสับสน เนื้อเรื่องต้องกระชับ กะทัดรัด ชัดเจน
4) ย่อหน้าให้เหมาะสม ในหนึ่งย่อหน้าควรมีเพียงประเด็นเดียว
5) เลือกใช้ภาษาที่ดี มีศิลปะ ใช้ถ้อยคาสื่อความหมายได้ดี เข้าใจ เหมาะสมถูกต้องตามระดับของ
บุคคล โอกาส และกาลเทศะ
การเขียนพรรณนา คือ การเขียนโดยให้รายละเอียดของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง สิ่งนั้นอาจจะเป็นบุคคล วัตถุ
สถานที่ ห รือ เหตุก ารณ์ ช่วงใดช่วงหนึ่ง โดยพรรณนาส่วนประกอบแต่ล ะส่วน ให้แจ่ม แจ้งหรือชี้ให้เห็ น
ลั ก ษณะเด่ น ของสิ่ ง นั้ น ๆ สอดแทรกอารมณ์ ค วามรู้ สึ ก ของผู้ เ ขี ย นถ่ า ยทอดสู่ ผู้ อ่ า น เพื่ อ ให้ เ กิ ด
ความประทับใจ (จุดประสงค์ คือ เพื่อทาให้เกิดจินตภาพ เข้าถึงอารมณ์ผู้เขียน)
ตัวอย่างการเขียนพรรณนา
“บนเนินเขาเตี้ย มีน้าพุที่ใหน้าตลอดฤดูกาล ทั้ งฤดูร อน และฤดูหนาว ในขณะที่ น้าไหลผานเนินเขา
ผานละเมาะหมูไมแลวหายไปในทุงกวางเหนือหมูบ านขึ้นไปนั้น เสียงของมันฟงดูไพเราะยิ่งนัก ชาวบาน
กาลัง สรางสะพานเล็ก ๆ ดวยหิน ขามลาธารแหงนี้โดยมีวิศวกรหนุมเปนผูควบคุมดูแล”

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 165


หลักการเขียนพรรณนาที่ดีควรมีหลักการเขียน ดังนี้
1) เลือกหรือแยกส่วนที่ต้องการพรรณนา
2) ชี้ให้เห็นลักษณะเด่นของสิ่งที่จะพรรณนา
3) ) เลือกใช้ถ้อยคาให้เหมาะสมทั้งเสียงและความหมาย ใช้กลวิธีต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความน่าสนใจ เช่น
การแฝงความ การใช้สานวนโวหาร การใช้คาซ้า คาซ้อน คาคล้องจอง เป็นต้น
การเขี ยนอธิบาย คือ การแจกแจงรายละเอียด ท าให้บุคคลอื่นเข้าใจความจริง ความสัม พันธ์ห รือ
ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทั้งที่เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ และเป็นปรากฏการณ์ทางสังคมแยกได้ 5 ประเภท
1) การอธิบ ายตามลาดับขั้นตอน มั ก ใช้กับ การอธิบ ายประกอบกิ จ กรรม การปฏิบัติ การสาธิต หรือ
การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่ เป็นกระบวนการ หรือกรรมวิธี ที่ มี ขั้นตอนเป็นระยะไป เช่น การผลิตสิ่ง ของ
การออกกาลังกาย การประกอบอาหาร เป็นต้น
2) การใช้ตัวอย่าง ใช้เพื่ อ ช่ วยในการอธิบ ายในสิ่งที่ เข้าใจยาก เพื่อให้ผู้อ่านมองเห็นและเข้าใจเป็ น
รูปธรรมมากขึ้น
3) การเปรียบเทียบความเหมือนหรือความต่างกัน เหมาะกับการอธิบายสิ่งแปลกใหม่ หรือสิ่งที่ผู้ฟังไม่
คุ้นเคยมาก่อน โดยพยายามเลือกหาสิ่งที่ผู้ฟั ง ผู้อ่าน คุ้นเคยหรือรู้จักดีอยู่แล้ว นาสิ่งนั้นมาเที ยบเคียงและ
ชี้ให้เห็นว่าสิ่งใหม่ที่อธิบายนั้น มีอะไรบ้างที่คล้ายคลึงหรือแตกต่างไปจากที่คุ้นเคยอยู่
4) การชี้สาเหตุหรือผลลัพธ์ที่สัมพันธ์กัน
5) การนิยาม คือ การให้คาจากัดความ หรือกาหนดขอบเขต ข้อตกลงในเรื่องความหมายของคาหรือ
ศัพท์ เพื่อจะได้เข้าใจตรงกัน (จุดประสงค์ คือ เพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจน)
ตัวอย่างการเขียนอธิบาย
“ คาว่า สลัด เป็น ภาษามลายู หมายความว่า ช่องแคบในทะเล ชาวมลายูซึ่งอยู่ตามชายฝั่งทะเลตอน
ช่องแคบมะละกาในสมัยโบราณ มักประพฤติตนเป็นโจร คอยดักปล้นเรือสาเภาที่แล่นผ่านช่องแคบมะละกา
ถ้าเรือส าเภาลาใดใบไม่ ติดลมในคราวลมอั บก็ ต้องลอยกลางทะเล ชาวทะเลที่ อยู่บ นฝั่งทะเลในช่องแคบ
ซึ่งเรียกว่า ชาวสลัด ก็ถือโอกาสยกพวกลงเรือเล็ก มาล้อมตีป ล้นเรือสาเภาลานั้น คาว่า สลัด จึงติดมาเป็น
คาในภาษาไทย หมายความว่า โจรสมุทรหรือโจรทะเล”
หลักการเขียนอธิบายที่ดีควรมีหลักการเขียน ดังนี้
1) กาหนดวัตถุประสงค์ในการเขียนให้ชัดเจนว่า ต้องการเขียนอธิบายเรื่องอะไร และมีวัตถุประสงค์ใน
การเขียนอย่างไร เพื่อจะได้เลือกวิธีเขียนอธิบายได้อย่างเหมาะสม
2) เตรียมเนื้อเรื่องหรือข้อมูล โดยศึกษาค้นคว้าจากหนังสือหรือสื่ออื่ น ๆ เช่น หนังสือ คู่มือ ตารา นิตยสาร
วารสาร วิทยุ โทรทัศน์ และอินเทอร์เน็ต เป็นต้น
3) กาหนดโครงเรื่องที่จะเขียน เพื่อเรียบเรียงความคิดและข้อมูลให้มีความต่อเนื่องและน่าสนใจ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 166


4) เลือกวิธีการอธิบายให้เหมาะสมสอดคล้องกับเรื่อง
5) ควรใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย กระชับ รัดกุม และตรงไปตรงมา
6. สาระการเรียนรู้
6.1 หลักการเขียนอธิบาย บรรยาย พรรณนา
7. กิจกรรมการเรียนรู้ (แบบ Active Learning)
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (15 นาที)
7.1 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ
7.2 นักเรียนดูคลิปวีดีโอติวทบทวนความรู้เรื่อง การเขียนบรรยาย อธิบาย พรรณนา ของติว
เตอร์ครูอุ้ม Knoc Academe จาก https://www.youtube.com/watch?v=UfGA8wgC3f0
7.3 ครูสอบถามความเข้าใจจากนักเรียนเพิ่มเติม
ขั้นสอน ( 35 นาที)
7.4 ครูทบทวนความรู้อันเป็นแก่นเรื่องของวรรณคดี เรื่อง ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ ได้แก่
เรื่องราวเกี่ยวกับการกาเนิดของมนุษย์ตามความเชื่อทางพระพุทธศาสนา
7.5 นักเรียนดูคลิปวีดีโอ “โชคดีที่ได้เกิดเป็นมนุษย์ : คมธรรมประจาวัน” โดย ท่าน ว.วชิรเมธี
จาก https://www.youtube.com/watch?v=TtGSs4QAijM
7.6 นักเรียนฝึกเขียนโดยใช้กลวิธีการเขียนแบบพรรณนา ในประเด็น “พรประเสริฐในการเกิดเป็น
มนุษย์” ลงในสมุดบันทึกความรู้ ไม่จากัดความยาว ครูกาหนดเวลา 15 นาที
7.7 นักเรียนอ่านเพื่อนาเสนอผลงานของตนเอง หน้าชั้นเรียนรายบุคคล จากนั้นครูกล่าวชื่นชม
เพื่อนร่วมชั้นเรียนเสนอแนะเพิ่ม เติม ให้ส อดคล้องตามเกณฑ์ก ารประเมิน คือ 1.เนื้อหา 2.การใช้ภาษา
3.องค์ประกอบในการเขียน
ขั้นสรุป (5 นาที)
7.8 ครูสรุปความรู้เรื่อง หลักการเขียนบรรยาย อธิบาย พรรณนา ดังนี้
การเขียนบรรยาย การเขียนพรรณนา การเขียนอธิบาย
การเขี ย นเล่ า เรื่ อ งราว การเขี ยนเล่ าเรื่อ งอย่ า ง การเขี ย นชี้ แ จง เพื่ อ ให้
ประวัติ ประสบการณ์หรือสิ่งที่ ละเอี ย ด สอดแทรกอารมณ์ เกิ ด ความเข้ า ใจเรื่ อ งใดเรื่อ ง
พบเห็ น โดยเป็ น ข้ อ มู ล จริ ง ความรู้ สึ ก ของผู้ เ ขี ย นผ่ า น หนึ่ง ที่ อาจเข้าใจได้ยาก หรือ
ตามที่ ผู้ เ ขี ย นสนใจ ใช้ภ าษา เนื้ อ หา ภาษาที่ ใ ช้ ล้ ว นช่ ว ย เป็ น หลั ก วิ ช าการ ใช้ ภ าษา
เข้าใจง่าย อาจมีสานวนโวหาร สร้างจินตภาพ และอารมร์เป็น ตรงไปตรงมา และแสดงซึ่งภูมิ
แทรกในเนื้อเรื่อง อย่างมาก มีการใช้โวหารมาก รู้ของผู้เขียน

8. สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้
8.1 คลิป วีดีโอติวทบทวนความรู้เรื่อง การเขียนบรรยาย อธิบาย พรรณนา ของติวเตอร์ครูอุ้ม
Knoc Academe จาก https://www.youtube.com/watch?v=UfGA8wgC3f0

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 167


8.2 แบบเรียนหลักภาษาและการใช้ภาษา
8.3 คลิปวีดโี อ “โชคดีที่ได้เกิดเป็นมนุษย์ : คมธรรมประจาวัน” โดย ท่าน ว.วชิรเมธี
จาก https://www.youtube.com/watch?v=TtGSs4QAijM
9. ชิ้นงาน/ ภาระงาน
9.1 ผลงานนักเรียนเขียนพรรณนา ในประเด็น “พรประเสริฐในการเกิดเป็นมนุษย์”
10. เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน
การประเมินชิ้นงานการเขียนพรรณนา
รายการ เกณฑ์การให้คะแนน น้าหนัก
ประเมิน จุดเน้น
4 3 2 1

เนื้อหา เขียนเรื่องได้สมบูรณ์ เขียนเรื่องได้สมบูรณ์ เขียนเรื่องไม่ค่อยสมบูรณ์ เขียนเรื่องไม่สมบูรณ์ 5


การเขียน เนื้อหามีลักษณะตรงตาม เนื้อหามีลักษณะตรงตาม เนื้อหามีลักษณะไม่ตรงตาม เนื้อหามีลักษณะไม่ตรงตาม
หลักการเขียนพรรณนา หลักการเขียนพรรณนา หลักการเขียนพรรณนา หลักการเขียนพรรณนา
เรียงลาดับเนื้อเรื่องได้ เรียงลาดับเนื้อเรื่องได้ เรียงลาดับเนื้อเรื่องไม่ เรียงลาดับเนื้อเรื่องสับสน
ต่อเนื่องเหมาะสม ไม่วกวน ไม่ต่อเนื่อง วกวนเล็กน้อย ต่อเนื่อง วกวนมาก
การใช้ ใช้ถ้อยคาสานวนเหมาะสม ใช้ถ้อยคาสานวนเหมาะสม ใช้ถ้อยคาสานวนเหมาะสม ใช้ถ้อยคาสานวนเหมาะสม 3
ภาษา สละสลวย สื่อความหมาย สละสลวย สื่อความหมาย แต่ไม่ค่อยสละสลวย สื่อ แต่ไม่สละสลวย
ชัดเจน สื่ออารมณ์ความรู้สึก ชัดเจน สื่ออารมณ์ความรู้สึก ความหมายไม่ค่อยชัดเจน สื่อความหมายชัดเจน
ได้ดี อักขรวิธีถูกต้อง ได้น้อย อักขรวิธีถูกต้อง สื่ออารมณ์ความรู้สึกได้บ้าง ไม่สื่ออารมณ์ความรู้สึก
อักขรวิธีผิดบางคา อักขรวิธีผิดบางคา

องค์ องค์ประกอบของการเขียน องค์ประกอบของการเขียน องค์ประกอบของการเขียน องค์ประกอบของการเขียน 2


ประกอบ ครบถ้วน การเว้นวรรค ครบถ้วน การเว้นวรรค ยังไม่ครบถ้วน การเว้นวรรค ไม่ครบถ้วน การเว้นวรรค
ของ การย่อหน้าเหมาะสม การย่อหน้ายังไม่เหมาะสม การย่อหน้าผิดบางจุด การย่อหน้าผิดเป็นส่วนใหญ่
การเขียน

ระดับเกณฑ์การประเมิน คะแนนเต็ม 40 คะแนน


มีระดับคะแนน 25 – 30 คะแนน ระดับคุณภาพ 6
มีระดับคะแนน 31 – 35 คะแนน ระดับคุณภาพ 8
มีระดับคะแนน 36 – 40 คะแนน ระดับคุณภาพ 10
ระดับคุณภาพที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน 6 ขึ้นไป

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 168


11. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ เครื่องมือ เกณฑ์
ประเมินผล การประเมิน
2.1 ด้ าน ค วาม รู้ (Knowledge: K) 1.ตรวจผลงานการเขียน 1.เกณฑ์การประเมิน 1.ระดับคุณภาพที่
อธิบ ายหลักการเขียนอธิบ ายบรรยาย พรรณนา ในประเด็น ผ่านเกณฑ์
พรรณนาได้ถูกต้อง “พรประเสริฐในการเกิด การประเมิน
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ เป็นมนุษย์” 6 ขึ้นไป
(Process: P) เขียนอธิบายบรรยาย
พรรณนาได้อย่างสร้างสรรค์
2.3 ด้ านคุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์
(Attitude: A) ป ร ะ เมิ น ค่ า ผ ล งา น
การเขียนของบุคคลอื่นได้

12. สรุปผลการจัดการเรียนรู้
12.1 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….............
12.2 ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.3 ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..............

ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

13. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….........

ลงชื่อ .................................................
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 169


บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 19
รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ โลกกาเนิดของมนุษย์
***********************************************************************************************************
1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก
...............................................................................................................................................................................
2. ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1) การประเมินผลความรู้หลังการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.....................
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก................................................................................................................................................................
2) การประเมินด้านทักษะกระบวนการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.............
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ...........
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มีนักเรียนทาใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกาหนดเวลา
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน
 อื่น ๆ ..............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนาแผนไปปรับปรุง เรื่อง .......................................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 170


โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 20
รหัสวิชา ท33101 รายวิชา ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ โลกกาเนิดของมนุษย์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง การวิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์ จานวน 1 คาบภาคเรียนที่ 1
และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
ผู้สอน นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ ยนแปลงของภาษาและพลัง ของ
ภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
ม.4-6/7 วิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) อธิบ ายหลั ก การวิเคราะห์และประเมิ น การใช้ภาษาจากสื่ อ
สิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ได้ถูกต้อง
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (Process: P) วิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และ
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ได้อย่างมีเหตุผล
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึ งประสงค์ (Attitude: A) บอกคุณธรรมขั้นพื้นฐานของการใช้ภาษาใน
สื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
3. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs)
 R1–Reading (อ่านออก)  R2–(W)Riting (เขียนได้)
 C1–Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะใน
การแก้ปัญหา)
 C4–Collaboration, Teamwork and Leadership (ทั ก ษะด้านความร่วมมื อ การท างานเป็นที ม
และภาวะผู้นา)
 C5–Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ
และรูเ้ ท่าทันสื่อ)
 C7–Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้)
 C8–Compassion (ความมีเมตตากรุณา วินัย คุณธรรม จริยธรรม)
4. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
 บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
 บูรณาการกับประชาคมอาเซียน
 บูรณาการหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล (World-class Standard School) รายวิชา IS....

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 171


5. สาระสาคัญ
5.1 หลักการวิเคราะห์ประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
การวิเคราะห์ เป็นการแยกแยะองค์ประกอบ ความสัมพันธ์ เพื่อทาความเข้าใจให้ชัดเจน รวมทั้ง
การสืบค้นความสัมพันธ์ของส่วนต่าง ๆ เพื่อดูว่าส่วนประกอบย่อย วิเคราะห์ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
ข้อเท็จจริง คือ ข้อมูลที่เป็นจริงมีหลักฐานพิสูจน์ อ้างอิงได้ด้วยตัวเลข สถิติ ทฤษฎี หลักการ ผลการวิจัย
ข้อคิดเห็น คือ ข้อ มูล ที่ เป็นความคิดเห็นส่วนตัว เกิ ดจากการคาดคะเน การท านาย โดยมี เหตุผ ลส่วนตัว
เท่านั้น มักมีข้อความ ควรจะ อาจจะ น่าจะ คงจะ คิดว่า
การประเมินค่า หมายถึง การตัดสินหรือสรุปผลจากการพิจารณาข้อมูลตามเกณฑ์ เพื่อวัดระดับ
คุณภาพ ค้นหาข้อดีข้อด้อย
การวิเคราะห์ประเมินการใช้ ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์แ ละสื่ออิเล็กทรอนิกส์ จึงหมายถึง การท า
ความเข้าใจองค์ประกอบ ความสัมพันธ์ เพื่อรวบรวมข้อมูลมาพิจารณาตัดสินประเมินคุณค่าระดับคุณภาพ
ตามเกณฑ์มาตรฐาน ด้านการใช้ภาษาที่พบในสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ จากการพิจารณา ตรวจสอบ
ข้อมูลที่รวบรวมมาได้
สื่อสิ่งพิม พ์ หมายถึง สื่อ ที่ เป็นสิ่ง พิ มพ์ทุ ก ชนิด ได้แก่ หนังสือพิมพ์ โฆษณา นิตยสาร วารสาร
สารคดี นวนิยาย เรื่องสั้น การ์ตูน แผ่นพับ ป้ายโฆษณา การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ทาได้ด้วย
วิธีการตีพิมพ์ จุดเด่นของสื่อสิ่งพิมพ์คือ คงทนถาวร คงอยู่ตลอดไป
การใช้ภาษาในสื่อสิ่งพิมพ์ ส่วนใหญ่เป็นการใช้ภาษาตามมาตรฐานระดับภาษาไทย และเหมาะสม
กับประเภทของสื่อชนิดนั้น ๆ โดยมีความแตกต่างในเรื่องของระดับภาษา ตามประเภทสิ่งพิมพ์ คือ บันเทิงคดี
หรือสารคดี ยกเว้นสื่อสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือพิมพ์ ที่มีเวลาในการกลั่นกรองน้อย ต้องการจูงใจผู้อ่านจึงต้อง
เลือกใช้ภาษาที่ เร้าความสนใจ สั้น กระชับ ซึ่ง บางครั้ง การใช้ภาษาในหนังสือพิม พ์จึงอาจดูไม่เหมาะสม
ไม่ถูกต้อง เช่น “ส่อแววโอละพ่อ สาวแจ้งจับโจ๋บุกปล้า” “ย้ายสารวัตรคนดัง เซ่นคดีส่วย” เป็นต้น
สื่อ อิเล็ก ทรอนิ กส์ หมายถึ ง สื่ อ ที่ รั บ ส่ ง ข้ อมู ล สารสนเทศ ด้ วยวิธี ก ารทางอิ เล็ ก ทรอนิ ก ส์เ ป็ น
การรับ ส่งหรือบันทึกอั กขระแบบดิจิตอล ไม่ส ามารถอ่านได้ด้วยตาเปล่า ต้องใช้เครื่องแปลรหัสอย่าง เช่น
คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต ในการอ่านและบันทึกข้อมูล มักจะอยู่ในลักษณะของสื่อประสม หรือ
มั ล ติ มี เ ดี ย (Multimedia) แสดงผลออกมาหลายรู ป แบบ เช่ น เป็ น ภาพเคลื่ อ นไหว มี เ สี ย งประกอบ
การเผยแพร่ข้อมู ล ข่าวสารผ่านสื่อ อิเล็ก ทรอนิก ส์ ท าได้ด้วยวิธีออนไลน์ จุดเด่ นของสื่ออิเล็ก ทรอนิก ส์คือ
สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงและพัฒนาได้ตลอดเวลา ทันสมัย
การใช้ ภาษาในสื่ออิเล็กทรอนิกส์ นิยมใช้คาผวน คาสแลง คาคะนอง หรือคาลงท้ ายแปลก ๆ
นับว่าเป็นภาษาที่ใช้กันอย่างอิสระตามใจชอบ ไม่มีกฎเกณฑ์ บางครั้งไม่ถูกต้องตามอักขวิธี ยึดความสะดวก
รวดเร็วเป็ นส าคั ญ บางครั้ง ก็ มี ภาษาพู ด ปะปนในภาษาเขีย นจ านวนมาก ซึ่ง เหมาะแก่ ก ารใช้สื่ อสารใน
กลุ่มบุคคล ไม่เหมาะแก่การเผยแพร่ในสื่อสาธารณะ เช่น

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 172


“ปุกาด ปุกาดจากกาซวงนาค๊า เรื่อง เค้ายอมหั้ยชั้ยเล่มเน้ในโรงเรียลล์ ก็ดิงะ งิงิ”
หลักในการวิเคราะห์ประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ให้พิจารณา ดังนี้
1) การใช้อักษรย่อและคาย่อ เพื่อความรวดเร็ว เช่น รมต.กระทรวงคมนาคม (รมต. หมายถึง
รัฐมนตรี)
2) การละเว้น ไม่ใช้คาลักษณนาม เช่น 2 โจรปล้นร้านทอง (2 โจร หมายถึง โจร 2 คน)
3) การใช้คาสแลง เช่น เจ๋ง เล้าหลือ นก ปังปุริเย่ ตั้ลล้าก
4) การใช้คาภาษาต่างประเทศในลักษณะการทับศัพท์ เช่น ฟรี เชียร์ โหวต เก๋ โอเว่อร์
5) การใช้ความเปรียบหรือสมญานาม เช่น หนุ่มเมืองผู้ดี นักเตะแดนจิงโจ้
6) การใช้วรรณยุกต์ผิดรูป ผิดเสียง
7) การใช้เครื่องหมายวรรคตอน เช่น อัศเจรีย์ (!!!!) ปรัศนีย์ (????) ไม้ยมก ๆๆๆๆ หมายเลข (555)
8) การใช้ภาษาพูดปะปนในภาษาเขียน เช่น ราคาทองร่วง สุ่มตรวจติดโควิดอื้อ โด่งดังแป๊บๆ
9) การใช้คาศัพท์แปลก เน้นความเร้าใจ ผิดความหมาย เช่น ยอดขายรูด แม่ค้าบ่นอุบ
10) การใช้เครื่องหมายอื่น ๆ แทนการใช้ตัวหนังสือ เช่น + (และ)
6. สาระการเรียนรู้
6.1 หลักการวิเคราะห์ประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
7. กิจกรรมการเรียนรู้ (แบบ Active Learning)
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (10 นาที)
7.1 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ
7.2 นักเรียนดูรูปภาพบนจอภาพ จากนั้นให้บอกว่าเป็นสื่อชนิดใด

7.3 ครูชี้แจงเกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์/สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในปัจจุบัน โดยแสดงรูปภาพประกอบ ดังนี้

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 173


ขั้นสอน ( 40 นาที)
7.4 ครูสอบถามนักเรียนในประเด็นต่อไปนี้
 ความต้องการใช้ สื่อสิ่งพิมพ์/สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ในยุคปัจจุบัน
 ข้อดี ข้อด้อยของการใช้สื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
 การใช้ภาษาในสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
 นักเรียนพึงพออใจกับการใช้ภาษาในสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ปัจจุบันหรือไม่
7.5 นักเรียนดูคลิปมิวสิควีดีโอเพลง “อย่านะคะ” ศิลปินพิมรี่พาย
จาก https://www.youtube.com/watch?v=iIJneYduUV4 โดยครูแจ้งให้นักเรียนช่วยกันจดบันทึกหรือจดจา
คาศัพท์ที่เป็นคาที่นิยมพบในสื่อปัจจุบัน ก่อนดู
7.6 ครูบ รรยายประกอบบทเรียนอิเล็ก ทรอนิ ก ส์ เรื่อง การวิเคราะห์ ป ระเมิ น การใช้ภ าษาจาก
สื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
7.7 นักเรียนบันทึกสรุปลักษณะการใช้ภาษาในสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ในปัจจุบัน พร้อม
ยกตัวอย่างประกอบ ลงในสมุดบันทึกความรู้
ขั้นสรุป (5 นาที)
7.8 ครูสรุปสรุปลักษณะการใช้ภาษาในสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในปัจจุบัน ดังนี้
สื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์
1.นิยมใช้อักษรย่อ ตัวย่อ 1.นิ ย มใช้ เ ครื่ อ งหมายวรรคตอน สั ญ ลั ก ษณ์
2.ละค าลั ก ษณนาม,ค าสั น ธาน,ประธานของ รูปภาพ แทนตัวหนังสือ
ประโยค 2.นิยมใช้อักษรย่อ คาย่อ คาตัด
3.นิยมใช้คาแสลง คาของกลุ่มวัยรุ่นสมัยใหม่ 3.มักเขียนรูปวรรณยุกต์ไม่ตรงกับเสียง
4.นิยมใช้คาทับศัพท์สลับกับคาไทย 4.มักเขียนสะกดคาผิด
5.นิยมใช้คาสมญานามเรียกแทนบุคคล,หน่วยงาน 5.นิยมใช้คาแสลง คาของกลุ่มวัยรุ่นสมัยใหม่
องค์กร 6.เปลี่ยนเสียงสระสั้นเป็นยาว หรือยาวเป็นสั้น
6.นิยมใช้คาสัญลักษณ์ เรียกแทนสิ่งหนึ่งสิ่งใด
7.9 ครูเน้นย้าเรื่องคุณธรรมขั้นพื้นฐานของการใช้ภาษาในสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
8. สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้
8.1 รูปภาพสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
8.2 แบบเรียนหลักภาษาและการใช้ภาษา
8.3 คลิปมิวสิควีดีโอเพลง “อย่านะคะ” ศิลปินพิมรี่พาย
จาก https://www.youtube.com/watch?v=iIJneYduUV4
8.4 บทเรี ย นอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เรื่ อ ง การวิ เ คราะห์ ป ระเมิ น การใช้ ภ าษาจากสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ แ ละสื่ อ
อิเล็กทรอนิกส์

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 174


9. ชิ้นงาน/ ภาระงาน
9.1 บันทึกความรู้ สรุปลักษณะการใช้ภาษาในสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในปัจจุบัน
10. เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน
10.1 เกณฑ์การประเมิน
บันทึกความรู้ได้ครบถ้วน ถูกต้อง 5 คะแนน
บันทึกความรู้ได้ครบถ้วน แต่ยังไม่ถูกต้องทั้งหมด 3 คะแนน
ระดับคุณภาพที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน 3 ขึ้นไป
11. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ เครื่องมือ เกณฑ์
ประเมินผล การประเมิน
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) 1.ตรวจสมุดบันทึกความรู้ 1.เกณฑ์การประเมิน 1.ระดับคุณภาพที่
อธิ บ ายหลั ก การวิ เ คราะห์ แ ละ ผ่านเกณฑ์
ป ระ เมิ น ก ารใช้ ภ าษ าจ าก สื่ อ การประเมิน
สิ่ง พิม พ์ และสื่อ อิ เล็ก ทรอนิก ส์ ได้ 3 ขึ้นไป
ถูกต้อง
2.2 ด้ า นทั กษะ/กระบ วนการ
(Process: P) วิ เ ค ร า ะ ห์ แ ล ะ
ป ระ เมิ น ก ารใช้ ภ าษ าจ าก สื่ อ
สิ่ง พิม พ์ และสื่อ อิ เล็ก ทรอนิก ส์ได้
อย่างมีเหตุผล
2 .3 ด้ า น คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พึ ง
ป ร ะ ส ง ค์ (Attitude: A) บ อ ก
คุ ณ ธรรมขั้ น พื้ น ฐานของการใช้
ภ า ษ า ใน สื่ อ สิ่ งพิ ม พ์ แ ล ะ สื่ อ
อิเล็กทรอนิกส์

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 175


12. สรุปผลการจัดการเรียนรู้
12.1 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….............
12.2 ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.3 ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..............

ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

13. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….........
ลงชื่อ .................................................
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 176


บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 20
รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ โลกกาเนิดของมนุษย์
***********************************************************************************************************
1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก
...............................................................................................................................................................................
2. ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1) การประเมินผลความรู้หลังการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.....................
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก................................................................................................................................................................
2) การประเมินด้านทักษะกระบวนการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.............
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ...........
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มีนักเรียนทาใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกาหนดเวลา
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน
 อื่น ๆ ..............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนาแผนไปปรับปรุง เรื่อง .......................................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชา ภาษาไทย 5 (ท33101) ระดับชั้น ม.6 หน้า 177


โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 21
รหัสวิชา ท33101 รายวิชา ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประชันกลเกมศึก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง การอ่านตีความ แปลความ ขยายความ (1) จานวน 1 คาบ ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ไขปัญหาในการดาเนิน
ชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
ม.4-6/2 ตีความ แปลความและขยายความเรื่องที่อ่าน
ม.4-6/6 ตอบคาถามจากงานเขียนประเภทต่าง ๆ ภายในเวลาที่กาหนด
ม.4-6/7 อ่านเรื่องต่าง ๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึกย่อความ และรายงาน
ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ
นามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ม.4-6/1 วิเคราะห์ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) อธิบายความเป็นมา ประวัติผู้แต่ง ลักษณะคาประพันธ์ของเรื่อง
สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉได้ถูกต้อง
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (Process: P) ตอบคาถามเกี่ยวกับเนื้อเรื่อง ลาดับเหตุการณ์ของเรื่อง
สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉได้ถูกต้อง
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude: A) บอกคุณค่าของวรรณกรรมแปลได้
3. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs)
 R1–Reading (อ่านออก)
 C1–Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมี วิจารณญาณและทักษะใน
การแก้ปัญหา)
 C3–Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์)
 C5–Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศและ
รู้เท่าทันสื่อ)
 C6–Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสือ่ สาร)

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 178


 C7–Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้)
4. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
5. สาระสาคัญ
ความเป็นมา
สามกก ฉบับ เจาพระยาพระคลัง (หน) แตงเปนสานวนรอยแกว ความเรียงนิท านที่ แปลจาก
ตนฉบับภาษาจีน สวนตอนที่นามาใหศึกษานี้เปนตอนกวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ซึ่งคัดมาจากหนังสือสามกก
ฉบับเจาพระยาพระคลัง (หน) เลมที่ 1 ซึ่งเนื้อหาตอนนี้บรรจุอยูในตอนที่ 22 ของเลม หนังสือ “สามกก” ฉบับ
เจาพระยาพระคลัง (หน) แปลนี้ ไดรับการยกยองจากวรรณคดี สโมสรในรัชกาลที่ 6 วาเปนยอดแหงความเรียง
นิทาน เนื่องจากความที่แปลนั้นชัดเจน ใชภาษาไดไพเราะงดงามสละสลวยและไดอรรถรส มีลัก ษณะพิเศษ
เฉพาะ จนกระทั่งกลายเปนแบบฉบับ ในการแปลหนังสือพงศาวดารและบันเทิงคดีของจีนเรื่ องอื่น ๆ ในสมัย
ตอมา อีกทั้งเนื้อเรื่องของสามกกนั้นยังเปนตนเคาของวรรณคดีไทยบางเรื่องอีกดวย สมเด็จพระเจาบรมวงศ
เธอ กรมพระยาดา รงราชานุภาพไดทรงอธิบ ายถึง ความมุ ง หมายในการแตงไววา “หนังสือสามกกไมเปน
พงศาวดารสามัญ จีนเรียกวา “สามกกจี่” แปลวา จดหมายเหตุเรื่องสามกก เปนหนังสือซึ่งนักปราชญจีนคน
หนึ่ง เลือ กเอาเรื่อ งในพงศาวดารตอนหนึ่ง มาแตงขึ้น โดยประสงคจะใหเปนเรื่องตาราส าหรับ ศึ ก ษาอุบ าย
การเมืองและการสงคราม และแตงดีอยางยิ่งจึงเปนหนังสือเรื่องหนึ่ง ซึ่งนับถือทั่วไปในประเทศจีนและตลอดไป
จนถึงประเทศอื่น ๆ”
เนื้อเรื่องย่อ
สามกก เริ่ม เรื่อ งตั้ งแตครั้ง ที่ ป ระเทศจี นแตกแยกออกเปนสามกก ในสมั ยพระเจาเลนเตขึ้ น
ครองราชยเมื่อป พ.ศ. 711 เนื่องจากพระเจาเลนเตนั้นปราศจากความสามารถ หลงเชื่อพวกขันทีในราชสานัก
จนเปนเหตุใหพวกขันทีกาเริบ การปกครองแผนดินจึงวิปริตผันแปรและเกิดโจรผูรายชุกชุมเมื่อพระเจาเลนเต
สิ้นพระชนมลง ราชบุตรองคใหญชื่อหองจูเปยนไดรับรัชทายาท นางโฮเฮามเหสีผูเปนชนนีเปนผูสาเร็จราชการ
แผนดิน เปนเหตุใหบานเมืองเกิดจลาจลขึ้น สามพี่นองรวมสาบาน เลาป กวนอู และเตียวหุย พรอมดวยตั๋งโต
ะเขาปราบจลาจลไดสา เร็จ และยกหองจูเหียบ ราชบุตรองคเล็กขึ้นเปนพระเจาแผนดิน ทรงพระนามวา พระ
เจาเหี้ยนเต เลาปถูกแตงตั้งไปปกครองเมืองอันหอกวน ซึ่งเปนเมืองขึ้นเล็ก ๆ โดยมีเตียวหุยและกวนอูติดตาม
ไปดวย ราษฎรในเมือง อันหอกวนสรรเสริญเปนอันมาก ตั๋งโตะไดเปนเซียงกกสา เร็จราชการแผนดิน และทา
การกบฏ พระเจาเหี้ยนเตจึงตองทิ้งเมืองหลวงหลบหนีไป พรอมมีรับสั่งใหหาโจโฉ โจโฉนั้นเปนคนฉลาด แตมัก
ท า การตามอ าเภอใจ ท าใหพระเจาเหี้ ยนเตคับ แคนใจจนตองขอใหผูที่ มี ความจงรั ก ภัก ดีชวยก าจัดโจโฉ
หัวเมืองที่มีกาลังและมิไดเปนพรรคพวกของโจโฉก็ถือวาโจโฉเปนศัตรูของพระเจาแผนดิน เวลาโจโฉมีทองตรา
อางรับสั่งพระเจาเหี้ยนเตออกไปถึงหัวเมืองที่เปนขาศึก หัวเมืองเหลานั้นก็เคารพนบนอบตอทองตรา ทาใหโจโฉ
นัน้ ยังมีชัยชนะ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 179


ปราบหัวเมืองไดมาก โจโฉตองการปราบปรามเลาปซึ่งมีอานาจอยูทางตอนเหนือ เลาปพยายามเอาชนะโจโฉแตก็
ไมสาเร็จ จนกระทั่งไดขงเบงมาเปนที่ปรึกษา ประจวบกับไดซุนกวนผูมีอานาจทางทิศตะวันออกมาเปนพันธมิตร
ท าใหสามารถตอสู กั บ กองทั พ โจโฉจนไดรับ ชัยชนะ ตอมาเลาปและซุน กวนเกิ ดบาดหมางกั น สงผลใหเกิ ด
การรบเปนสามฝาย แตกแยกเปนสามกก คือ วุยกกของฝายโจโฉ จกกกของฝายเลาป และงอกกของฝายซุนกวน
แตละกกตางรบราแยงชิงความเปนใหญยาวนานกวา 60 ปถึงจะรวมแผนดินทั้งสามกกไวเปนหนึ่งเดียว สามกก
ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ที่นามาใหศึกษานี้ มีความเปนมากลาวถึงตอนที่ โจโฉยกกองทัพมาตีเมืองชีจิ๋ว
ของเลาปได ก็ยกทัพมาตีเมืองแหฝอของกวนอู ซึ่งขณะนั้นกวนอู อยูรักษาเมืองและดูแลภรรยาทั้งสองของเลาป
โจโฉตองการใหกวนอูมาอยูรับราชการดวย จึงหาหนทางใหกวนอูออกจากเมือง จากนั้นจึงใหกองกาลังทหารล
อมกวนอูไว แลวใหเตียวเลี้ยวทหารเอกใชความคุนเคยครั้งที่กวนอูเคยชวยชีวิตไวเจรจาเกลี้ยกลอม แตกวนอูก็ไม
ยอมเพราะมีใจซื่อสัตยภักดีกับเลาปเปนที่สดุ เตียวเลี้ยวจึงใชปญญาเจรจาดวยการยกโทษสามประการหากกวนอู
ยังขัดขืนจะ ไมไปอยูกับโจโฉ กวนอูถึงยอมแตก็มีเงื่อนไขแลกเปลี่ยนสามขอ คือ ขอเปนขารับใชพระเจาเหี้ยนเต
ไมใชรับ ใชโจโฉ ขอเบี้ยหวัดของเลาปใหภรรยาทั้ งสองของเลาป และขอไปหาเลาป ทั นที ที่ ท ราบวาอยูที่ ใด
แมโจโฉจะไมพอใจเงื่อนไขของกวนอูนักแตก็ยินยอมเพราะคิดวาวันหนึ่ง กวนอูจะตองเปลี่ยนใจมาภักดีตอตน
โจโฉพยายามดูแลเลี้ยงดูกวนอูและภรรยาของเลาปอยางสุขสบาย แตกวนอูก็มิ ไดหลงใหลกับความสุขที่โจโฉ
จัดสรรให กวนอูยังคงมีความซื่อสัตยอยางเสมอตนเสมอปลายจนโจโฉ นึกนอยใจ แตก็เชื่อวาคนกตัญ ูอยาง
กวนอูจะตองอยูตอบแทนคุณของตนกอนที่จะคิดหนีไปไหน
ประวัติผู้แ ต่ง เจาพระยาพระคลัง (หน) เกิ ดในสมั ยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ในแผนดินสมเด็จ
พระเจาอยูหัวบรมโกศ และถึงแกอสัญกรรมเมื่อป พ.ศ. 2348 ในรัชกาลสมเด็จพระเจากรุงธนบุรีไดรับราชการ
เปนหลวงสรวิชิต แลวไปเปนนายดานเมืองอุทัยธานี ในสมัยรัชกาลที่ 1 แหงกรุงรัตนโกสินทร ไดเลื่อนเปนพระยา
พระคลัง และเปนเจาพระยาพระคลังในที่สุดเจาพระยาพระคลัง (หน) มีความสามารถเปนพิเศษในการประพันธ
ทั้งรอยแกวและรอยกรอง งานประพั นธที่สาคัญ ไดแก นิยายเรื่อง ราชาธิราช สามกก รายยาวมหาเวสสันดร
ชาดก (กัณฑกุมารและกัณฑมัทรี) บทมโหรีเรื่องกากี ลิลิตเพชรมงกุฎและอิเหนาคาฉันท์
ลักษณะคาประพันธ์ ความเรียงร้อยแก้ว
แนวคิดสาคัญ 1. ความจงรกภักดี 2. ความกตัญญู 3. คุณธรรม 4. ความเป็นผู้นา
6. สาระการเรียนรู้
6.1 หลักการอ่านตีความ แปลความ ขยายความ
6.2 บทนาเรื่อง (ความเป็นมา ผู้แต่ง ลักษณะคาประพันธ์ เนื้อเรื่องย่อ แนวคิดสาคัญ คุณค่า)
6.3 เนื้อเรื่อง สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ
7. กิจกรรมการเรียนรู้ (แบบ Active Learning)
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (15 นาที)
7.1 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ
7.2 นักเรียนดูคลิปวีดีโอเล่าเรื่องสามก๊ก
จาก https://www.youtube.com/watch?v=qrDLSq9_-ac

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 180


7.3 นักเรียนร่วมตอบคาถามและแสดงความคิดเห็นจากประเด็น ดังนี้
 นักเรียนเคยมีโอกาสอ่านวรรณกรรมแปลของจีนหรือไม่
 นักเรียนเคยดูภาพยนตร์ เรื่อง สามก๊ก หรือไม่
 นักเรียนรู้จักตัวละครในเรื่องสามก๊กหรือไม่ มีตัวละครใดบ้าง
 จุดเด่นของวรรณกรรมจีนคืออะไร
ขั้นสอน (35 นาที)
7.4 นั ก เรี ย นฟั ง ครู เ ล่ า ประวั ติ ค วามเป็ น มาเรื่ อ ง สามก๊ ก ในประเทศไทย ประกอบบทเรี ย น
อิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง สามก๊ก : บทนาเรื่อง
7.5 ครูนาเสนอประวัติและผลงานของเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จากนั้นสอบถาม ผลงานที่นักเรียน
รู้จัก เช่น ราชาธิราช (งานแปล, พ.ศ. 2328),กากีคากลอน หรือ กากีกลอนสุภาพ,ร่ายยาวมหาชาติกัณฑ์กุมาร
และกัณฑ์มัทรี,ลิลิตพยุหยาตราเพชรพวง,โคลงสุภาษิต,กลอนและร่ายจารึกเรื่องสร้างภูเขาทองที่วัดราชคฤห์และ
ลิลิตศรีวิชัยชาดก
7.6 นักเรียนฟังและดูคลิปวีดีโอเล่าเรื่อง สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ จากช่องยูทูป จาก
https://www.youtube.com/watch?v=OdUvgZYXfMk
7.7 นักเรียนและครูร่วมกันลาดับเหตุการณ์ในเรื่องอีกครั้ง
ขั้นสรุป (5 นาที)
7.8 ครูแนะนาให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม จากแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ
8. สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้
8.1 แบบเรียนวรรณคดี วรรณกรรม
8.2 บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง สามก๊ก : บทนาเรื่อง
8.3 คลิปวีดีโอเล่าเรื่องสามก๊ก
จาก https://www.youtube.com/watch?v=qrDLSq9_-ac
8.4 คลิปวีดีโอเล่าเรื่อง สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ จากช่องยูทูป
จาก https://www.youtube.com/watch?v=OdUvgZYXfMk
9. ชิ้นงาน/ ภาระงาน
-
10. เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน
-

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 181


11. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ เครื่องมือ เกณฑ์
ประเมินผล การประเมิน
2.1 ด้ านความรู้ (Knowledge: K) 1.สังเกตพฤติกรรม 1.แบบสังเกต 1.นักเรียนให้ความ
อธิบ ายความเป็นมา ประวั ติผู้แต่ง การสนทนา และ พฤติกรรมรายบุคคล ร่วมมือในการสนทนา
ลั ก ษณ ะค าประพั นธ์ ข องเรื่ อ ง ตอบคาถาม ตอบคาถาม และร่วม
สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการ กิจกรรม
กับโจโฉได้ถูกต้อง
2.2 ด้ าน ทั ก ษ ะ/ก ระ บ วน ก าร
(Process: P) ตอบคาถามเกี่ยวกั บ
เนื้อเรื่อง ลาดับเหตุการณ์ของเรื่อง
สามก๊ ก ตอน กวนอู ไปรับ ราชการ
กับโจโฉได้ถูกต้อง
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
(Attitude : A) บอกคุ ณ ค่ า ของ
วรรณกรรมแปลได้

12. สรุปผลการจัดการเรียนรู้
12.1 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….....................
12.2 ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………......................
12.3 ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………......................
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
13. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….........
.………………………………………………………………………………………………………………………………………………........
ลงชื่อ .................................................
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 182


บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 21
รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประชันกลเกมศึก
***********************************************************************************************************
1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก
...............................................................................................................................................................................
2. ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1) การประเมินผลความรู้หลังการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.....................
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก................................................................................................................................................................
2) การประเมินด้านทักษะกระบวนการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.............
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ...........
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มีนักเรียนทาใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกาหนดเวลา
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน
 อื่น ๆ ..............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนาแผนไปปรับปรุง เรื่อง .......................................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 183


โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 22
รหัสวิชา ท33101 รายวิชา ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประชันกลเกมศึก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง การอ่านตีความ แปลความ ขยายความ (2) จานวน 1 คาบ ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ไขปัญหาในการดาเนิน
ชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
ม.4-6/2 ตีความ แปลความและขยายความเรื่องที่อ่าน
ม.4-6/3 วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องที่อ่านในทุก ๆ ด้านอย่างมีเหตุผล
ม.4-6/5 วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็นโต้แย้งเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน และเสนอความคิด
ใหม่อย่างมีเหตุผล
ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ
นามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ม.4-6/1 วิเคราะห์ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น
ม.4-6/4 สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีวรรณกรรม เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) สังเคราะห์แนวคิด แก่นเรื่อง และความรู้ที่เชื่อมโยงกับแนวทาง
ในการดาเนินชีวิตในสังคมไทยที่ได้จากเรื่องสามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉได้อย่างมีเหตุผล
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (Process: P) ตีความ แปลความ ขยายความ เนื้อเรื่อง สามก๊ก ตอน
กวนอูไปรับราชการกับโจโฉได้
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude: A) บอกคุณค่าที่ได้ในด้านคุณธรรม จริยธรรม
3. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs)
 R1–Reading (อ่านออก)
 C1–Critical Thinking and Problem Solving (ทั กษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะใน
การแก้ปัญหา)
 C3–Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์)
 C5–Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศและ
รู้เท่าทันสื่อ)

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 184


 C6–Computing and ICT Literacy (ทั ก ษะด้ า นคอมพิ ว เตอร์ และเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ
การสื่อสาร)
 C7–Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้)
4. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
5. สาระสาคัญ
ความเป็นมา
สามกก ฉบับ เจาพระยาพระคลัง (หน) แตงเปนสานวนรอยแกว ความเรียงนิท านที่ แปลจาก
ตนฉบับภาษาจีน สวนตอนที่นามาใหศึกษานี้เปนตอนกวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ซึ่งคัดมาจากหนังสือสามกก
ฉบับเจาพระยาพระคลัง (หน) เลมที่ 1 ซึ่งเนื้อหาตอนนี้บรรจุอยูในตอนที่ 22 ของเลม หนังสือ “สามกก” ฉบับ
เจาพระยาพระคลัง (หน) แปลนี้ ไดรับการยกยองจากวรรณคดี สโมสรในรัชกาลที่ 6 วาเปนยอดแหงความเรียง
นิทาน เนื่องจากความที่แปลนั้นชัดเจน ใชภาษาไดไพเราะงดงามสละสลวยและไดอรรถรส มีลัก ษณะพิเศษ
เฉพาะ จนกระทั่งกลายเปนแบบฉบับ ในการแปลหนังสือพงศาวดารและบันเทิงคดีของจีนเรื่องอื่น ๆ ในสมัย
ตอมา อีกทั้งเนื้อเรื่องของสามกกนั้นยังเปนตนเคาของวรรณคดีไทยบางเรื่องอีกดวย สมเด็จพระเจาบรมวงศ
เธอ กรมพระยาดา รงราชานุภาพไดทรงอธิบ ายถึง ความมุ ง หมายในการแตงไววา “หนังสือสามกกไมเปน
พงศาวดารสามั ญ จีนเรียกวา “สามกกจี่ ” แปลวา จดหมายเหตุเรื่องสามกก เปนหนังสือซึ่งนักปราชญจีน
คนหนึ่งเลือกเอาเรื่องในพงศาวดารตอนหนึ่งมาแตงขึ้น โดยประสงคจะใหเปนเรื่องตาราสาหรับศึกษาอุบาย
การเมื องและการสงคราม และแตงดีอยางยิ่ง จึง เปนหนังสือเรื่องหนึ่ง ซึ่งนับ ถือทั่ วไปในประเทศจีนและ
ตลอดไปจนถึงประเทศอื่น ๆ”
เนื้อเรื่องย่อ
สามกก เริ่ม เรื่อ งตั้ งแตครั้ง ที่ ป ระเทศจี นแตกแยกออกเปนสามกก ในสมั ยพระเจาเลนเตขึ้ น
ครองราชยเมื่อป พ.ศ. 711 เนื่องจากพระเจาเลนเตนั้นปราศจากความสามารถ หลงเชื่อพวกขันทีในราชสานัก
จนเปนเหตุใหพวกขันทีกาเริบ การปกครองแผนดินจึงวิปริตผันแปรและเกิดโจรผูรายชุกชุมเมื่อพระเจาเลนเต
สิ้นพระชนมลง ราชบุตรองคใหญชื่อหองจูเปยนไดรับรัชทายาท นางโฮเฮามเหสีผูเปนชนนีเปนผูสาเร็จราชการ
แผนดิน เปนเหตุใหบานเมื อ งเกิ ดจลาจลขึ้น สามพี่น องรวมสาบาน เลาป กวนอู และเตียวหุย พรอมดวย
ตัง๋ โตะเขาปราบจลาจลไดสาเร็จ และยกหองจูเหียบ ราชบุตรองคเล็กขึ้น เปนพระเจาแผนดิน ทรงพระนามวา
พระเจาเหี้ยนเต เลาปถูกแตงตั้งไปปกครองเมื องอันหอกวน ซึ่งเปนเมืองขึ้นเล็ก ๆ โดยมีเตียวหุยและกวนอู
ติดตามไปดวย ราษฎรในเมือง อันหอกวนสรรเสริญเปนอันมาก ตั๋งโตะไดเปนเซียงกกสา เร็จราชการแผนดิน
และทา การกบฏ พระเจาเหี้ยนเตจึงตองทิ้งเมืองหลวงหลบหนีไป พรอมมีรับสั่งใหหาโจโฉ โจโฉนั้นเปนคนฉลาด
แตมักทา การตามอาเภอใจ ทาใหพระเจาเหี้ยนเตคับแคนใจจนตองขอใหผูที่มีความจงรักภักดีชวยกาจัดโจโฉ
หัวเมืองที่มีกาลังและมิไดเปนพรรคพวกของโจโฉก็ถือวาโจโฉเปนศัตรูของพระเจาแผนดิน เวลาโจโฉมีทองตรา
อางรับสั่งพระเจาเหี้ยนเตออกไปถึงหัวเมืองที่เปนขาศึก หัวเมืองเหลานั้นก็เคารพนบนอบตอทองตรา ทาให
โจโฉนั้นยังมีชัยชนะ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 185


ปราบหัวเมืองไดมาก โจโฉตองการปราบปรามเลาปซึ่งมีอานาจอยูทางตอนเหนือ เลาปพยายามเอาชนะโจโฉแตก็
ไมสาเร็จ จนกระทั่งไดขงเบงมาเปนที่ปรึกษา ประจวบกับไดซุนกวนผูมีอานาจทางทิศตะวันออกมาเปนพันธมิตร
ท าใหสามารถตอสู กั บ กองทั พ โจโฉจนไดรับ ชัยชนะ ตอมาเลาปและซุน กวนเกิ ดบาดหมางกั น สงผลใหเกิ ด
การรบเปนสามฝาย แตกแยกเปนสามกก คือ วุยกกของฝายโจโฉ จกกก ของฝายเลาป และงอกกของฝาย
ซุนกวน แตละกกตางรบราแยงชิงความเปนใหญยาวนานกวา 60 ปถึงจะรวมแผนดินทั้งสามกกไวเปนหนึ่งเดียว
สามกก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ที่นามาใหศึกษานี้ มีความเปนมากลาวถึงตอนที่ โจโฉยกกองทัพมา
ตีเมืองชีจิ๋วของเลาปได ก็ยกทัพมาตีเมืองแหฝอของกวนอู ซึ่งขณะนั้นกวนอู อยูรักษาเมืองและดูแลภรรยาทั้ง
สองของเลาป โจโฉตองการใหกวนอูมาอยูรับราชการดวย จึงหาหนทางใหกวนอูออกจากเมือง จากนั้นจึงใหกอง
กาลังทหารลอมกวนอูไว แลวใหเตียวเลี้ยวทหารเอกใชความคุนเคยครั้งที่กวนอูเคยชวยชีวิตไวเจรจาเกลี้ยกลอม
แตกวนอูก็ ไมยอมเพราะมีใจซื่อสัตยภัก ดีกับ เลาปเปนที่ สุด เตียวเลี้ยวจึงใชปญญาเจรจาดวยการยกโทษสาม
ประการหากกวนอู ยังขัดขืนจะไมไปอยูกั บโจโฉ กวนอูถึงยอมแตก็มีเงื่อนไขแลกเปลี่ ยนสามขอ คือ ขอเปน
ขารับใชพระเจาเหี้ยนเตไมใชรับใชโจโฉ ขอเบี้ยหวัดของเลาปใหภรรยาทั้งสองของเลาป และขอไปหาเลาป ทันที
ที่ทราบวาอยูที่ใด แมโจโฉจะไมพอใจเงื่อนไขของกวนอูนักแตก็ยินยอมเพราะคิดวาวันหนึ่ง กวนอูจะตองเปลี่ยน
ใจมาภักดีตอตน โจโฉพยายามดูแลเลี้ยงดูกวนอูและภรรยาของเลาปอยางสุขสบาย แตกวนอูก็มิไดหลงใหลกับ
ความสุ ข ที่ โจโฉจัด สรรให กวนอู ยัง คงมี ค วามซื่อ สั ตยอยางเสมอตนเสมอปลายจนโจโฉ นึ ก นอยใจ แตก็
เชื่อวาคนกตัญ ูอยางกวนอูจะตองอยูตอบแทนคุณของตนกอนที่จะคิดหนีไปไหน
ลักษณะคาประพันธ์ ความเรียงร้อยแก้ว
แนวคิดสาคัญ 1. ความจงรกภักดี 2. ความกตัญญู 3. คุณธรรม 4. ความเป็นผู้นา
6. สาระการเรียนรู้
6.1 หลักการอ่านตีความ แปลความ ขยายความ
6.2 บทนาเรื่อง (ความเป็นมา เนื้อเรื่องย่อ แนวคิดสาคัญ คุณค่า)
6.3 เนื้อเรื่อง สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ
7. กิจกรรมการเรียนรู้ (แบบ Active Learning)
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (15 นาที)
7.1 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ
7.2 นักเรียนดูคลิปวีดีโอสรุป เรื่องสามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ
จาก https://www.youtube.com/watch?v=XQ_PodvB_yo
7.3 นักเรียนร่วมตอบคาถามและแสดงความคิดเห็นจากประเด็น ดังนี้
 กวนอูกาลังตกอยู่ในสถานการณ์ใด
 ข้อสัญญา 3 ประการ คืออะไร มีอะไรบ้าง
 หากนักเรียนเป็นกวนอู จะตัดสินใจอย่างไร เพราะเหตุใด

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 186


ขั้นสอน (35 นาที)
7.4 นักเรียนฟังครูสรุปเนื้อเรื่องและคุณค่าด้านเนื้อหา เรื่อง สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ
ประกอบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ : คุณค่าด้านเนื้อหา
7.5 ครูนาเสนอบทความวิชาการแบบออนไลน์ ประเด็น ข้อเท็จจริงกรณี “กวนอู” ไปรับราชการกับ
“โจโฉ” จากเพจศิลปวัฒนธรรม https://www.silpa-mag.com/history/article_58793 จากนั้นสอบถาม
นักเรียนในประเด็น ดังต่อไปนี้
1) กวนอูน้องรองไม่อาจหนีไปไหนได้ เพราะรับหน้าที่เป็นผู้ดูแลครอบครัวเล่าปี่ จึงต้องปักหลัก
สู้ตาย และโดนทัพของโจโฉล้อมไว้ที่เมืองแห้ฟือ (เซี่ยผี) หัวเมืองรองของแคว้นชีจิ๋ว
จากสถานการณ์ข้างต้น นักเรียนคิดว่าเพราะเหตุใดกวนอูจึงไม่หนีเอาตัวรอด
2) กวนอูมีบุญ คุณต่อเตียวเลี้ยวมาแต่เก่าก่อน ขณะที่โจโฉเองก็แจ้งในฝีมือและอุปนิสัยใจคอ
ของกวนอูมานานแล้ว
จากสถานการณ์ข้างต้น นักเรียนคิดว่า จุดประสงค์ของเตี้ยวเลี้ยวและโจโฉเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
3) เงื่อนไขทั้งสามมีดังนี้ 1. ต้องถือว่า ตัวเขาเป็นข้ารับใช้ในพระเจ้าเหี้ยนเต้ ไม่ใช่ข้าของโจโฉ
2. ห้ามคนของโจโฉมากล้ากรายถึงที่อยู่ของสองภรรยาของเล่าปี่ และให้เบิกเบี้ยหวัดของเล่าปี่มาเลี้ยงดูฮูหยิน
ทั้งสองพร้อมบ่าวไพร่ 3. หากรู้ว่าเล่าปี่อยู่ที่ไหน เขาจะกลับไปหาทันทีโดยไม่จาเป็นต้องบอกลาโจโฉ
จากสถานการณ์ข้างต้น นักเรียนคิดว่า เงื่อนไขสามข้อนี้ใครได้ประโยชน์ และกวนอูคุ้มค่าหรือไม่
4) “ข้าระลึกเสมอว่า ท่ านโจ (โจโฉ) ดีต่อข้ามาก อย่างไรก็ตาม นายพลเล่า (เล่าปี่) ได้มอบ
ความเมตตาอย่างหาที่สุดมิได้ให้กับข้า ข้าจึงสาบานว่าจะตายเคียงข้างเขา และข้าจะไม่มี วันเนรคุณเขาเป็น
อันขาด สักวันหนึ่ง ข้าคงต้องไป แต่ข้าจะสร้างความชอบตอบแทนท่านโจเสียก่อน จึงจะจากลา”
จากสถานการณ์ข้างต้น นักเรียนคิดว่า กวนอูมีคุณธรรมหรือไม่อย่างไร และหากในสังคมปัจจุบันมีคนอย่าง
กวนอูจานวนมากจะเป็นผลดีอย่างไร
5) ข้อเท็จจริงจากจดหมายเหตุสามก๊กระบุชัดเจนว่า กวนอูถูกจับตัวได้โดยละม่อม ซึ่งในฐานะ
เชลยศึกย่อมไม่มีสิทธิ์ที่จะตั้งเงื่อนไขอันใด หากไม่ยอมเป็นลูกน้องของโจโฉก็ต้องถูกประหารชีวิตสถานเดียว
จากสถานการณ์ข้างต้น นักเรียนคิดว่า การตกเป็นเฉลยศึกมีผลดีหรือผลเสียอย่างไร
7.7 นักเรียนและครูร่วมกันลาดับเหตุการณ์ในเรื่องอีกครั้ง
ขั้นสรุป (5 นาที)
7.8 ครูแนะนาให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม จากแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ ดังนี้
 ชัชวนันท์ สันธิเดช. อ่านสามก๊กอย่างแฟนพันธุ์แท้, พิมพ์ครั้งที่ 2 (กรุงเทพฯ : ชวนอ่าน, 2552),
น. 54-56.
 เจ้าพระยาพระคลัง (หน), สามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน), พิมพ์ครั้งที่ 17. (กรุงเทพฯ :
ดอกหญ้า, 2536), น. 336-378.
 http://cheechud.blogspot.com/2011/06/blog-post_21.html

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 187


8. สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้
8.1 แบบเรียนวรรณคดี วรรณกรรม
8.2 บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ : คุณค่าด้านเนื้อหา
8.3 บทความวิชาการแบบออนไลน์ ประเด็น ข้อเท็จจริงกรณี “กวนอู” ไปรับราชการกับ “โจโฉ”
จากเพจศิลปวัฒนธรรม https://www.silpa-mag.com/history/article_58793
8.4 คลิปวีดีโอสรุป เรื่องสามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ
จาก https://www.youtube.com/watch?v=XQ_PodvB_yo
8.5 ชัชวนันท์ สันธิเดช. อ่านสามก๊กอย่างแฟนพันธุ์แท้, พิมพ์ครั้งที่ 2 (กรุงเทพฯ : ชวนอ่าน, 2552),
น. 54-56.
8.6 เจ้าพระยาพระคลัง (หน), สามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน), พิมพ์ครั้งที่ 17. (กรุงเทพฯ :
ดอกหญ้า, 2536), น. 336-378.
8.7 http://cheechud.blogspot.com/2011/06/blog-post_21.html
9. ชิ้นงาน/ ภาระงาน
-
10. เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน
-
11. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ เครื่องมือ เกณฑ์
ประเมินผล การประเมิน
2.1 ด้ านความรู้ (Knowledge: K) 1.สังเกตพฤติกรรม 1.แบบสังเกต 1.นักเรียนให้ความ
สังเคราะห์แนวคิด แก่นเรื่อ ง และ การสนทนา และ พฤติกรรมรายบุคคล ร่วมมือในการสนทนา
ความรู้ที่ เ ชื่อ มโยงกั บ แนวทางใน ตอบคาถาม ตอบคาถาม และร่วม
การด าเนิ น ชี วิต ในสั ง คมไทยที่ ได้ กิจกรรม
จากเรื่องสามก๊ก ตอน กวนอูไปรั บ
ราชการกั บ โจโฉได้ อ ย่างมี เหตุผ ล
2.2 ด้ าน ทั ก ษ ะ/ก ระ บ วน ก าร
(Process: P) ตี ค วาม แปลความ
ขยายความ เนื้อเรื่อง สามก๊ก ตอน
กวนอูไปรับราชการกับโจโฉได้
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
(Attitude: A) บอกคุ ณ ค่ า ที่ ไ ด้ ใ น
ด้านคุณธรรม จริยธรรม

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 188


12. สรุปผลการจัดการเรียนรู้
12.1 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.2 ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.3 ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............

ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

13. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….......
...………………………………………………………………………………………………………………………………………………....

ลงชื่อ .................................................
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 189


บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 22
รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประชันกลเกมศึก
***********************************************************************************************************
1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก
...............................................................................................................................................................................
2. ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1) การประเมินผลความรู้หลังการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.....................
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก................................................................................................................................................................
2) การประเมินด้านทักษะกระบวนการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.............
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ...........
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มีนักเรียนทาใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกาหนดเวลา
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน
 อื่น ๆ ..............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนาแผนไปปรับปรุง เรื่อง .......................................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 190


โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 23
รหัสวิชา ท33101 รายวิชา ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประชันกลเกมศึก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง วิเคราะห์วิจารณ์คุณค่าด้านเนื้อหา (1) จานวน 1 คาบ ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ไขปัญหาในการ
ดาเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
ม.4-6/3 วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องที่อ่านในทุก ๆ ด้านอย่างมีเหตุผล
ม.4-6/5 วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็นโต้แย้งเกี่ ยวกับ เรื่องที่ อ่าน และเสนอ
ความคิดใหม่อย่างมีเหตุผล
ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ
นามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ม.4-6/1 วิเคราะห์ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น
ม.4-6/4 สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีวรรณกรรม เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) สังเคราะห์แนวคิด แก่ นเรื่อง และความรู้ที่ เชื่อมโยงกั บ
แนวทางในการดาเนินชีวิตในสังคมไทยที่ ได้จากเรื่องสามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับ โจโฉได้อย่างมี
เหตุผล
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (Process: P) วิเคราะห์คุณค่าด้านเนื้อหาจากเนื้อเรื่อง สามก๊ก
ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉได้
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude: A) บอกคุณค่าที่ได้ในด้านคุณธรรม จริยธรรม
3. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs)
 R1–Reading (อ่านออก)
 C1–Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะ
ในการแก้ปัญหา)
 C3–Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์)
 C5–Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสนเทศและ
รู้เท่าทันสื่อ)

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 191



 C6–Computing and ICT Literacy (ทั ก ษะด้ า นคอมพิ ว เตอร์ และเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ
การสื่อสาร)
 C7–Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้)
4. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
5. สาระสาคัญ
เนื้อเรื่องย่อ
สามกก เริ่มเรื่องตั้งแตครั้งที่ป ระเทศจีนแตกแยกออกเปนสามกก ในสมั ยพระเจาเลนเตขึ้น
ครองราชยเมื่อป พ.ศ. 711 เนื่องจากพระเจาเลนเตนั้นปราศจากความสามารถ หลงเชื่อพวกขันทีในราชสานัก
จนเปนเหตุใหพวกขันทีกาเริบ การปกครองแผนดินจึงวิปริตผันแปรและเกิดโจรผูรายชุกชุมเมื่อพระเจาเลนเต
สิ้นพระชนมลง ราชบุตรองคใหญชื่อหองจูเปยนไดรับ รัชทายาท นางโฮเฮามเหสีผู เปนชนนีเปนผู ส าเร็จ
ราชการแผนดิน เปนเหตุใหบานเมืองเกิดจลาจลขึ้น สามพี่นองรวมสาบาน เลาป กวนอู และเตียวหุย พรอม
ดวย ตั๋ง โตะเขาปราบจลาจลไดส าเร็จ และยกหองจูเหียบราชบุ ตรองคเล็ก ขึ้นเปนพระเจาแผนดิน ทรง
พระนามวา พระเจาเหี้ยนเต เลาปถูกแตงตั้งไปปกครองเมืองอันหอกวน ซึ่งเปนเมืองขึ้นเล็ก ๆ โดยมีเตียวหุย
และกวนอูติดตามไปดวย ราษฎรในเมือง อันหอกวนสรรเสริญเปนอันมาก ตั๋งโตะไดเปนเซียงกกสาเร็จราชการ
แผนดิน และทา การกบฏ พระเจาเหี้ยนเตจึงตองทิ้งเมืองหลวงหลบหนีไป พรอมมีรับสั่งใหหาโจโฉ โจโฉนั้น
เปนคนฉลาด แตมักทา การตามอาเภอใจ ทาใหพระเจาเหี้ยนเตคับแคนใจจนตองขอใหผูที่มีความจงรักภักดี
ชวยกาจัดโจโฉ หัวเมืองที่มีกาลังและมิไดเปนพรรคพวกของโจโฉก็ถือวาโจโฉเปนศัตรูของพระเจาแผนดิน
เวลาโจโฉมี ท องตรา อางรับ สั่ง พระเจาเหี้ยนเตออกไปถึงหัวเมื องที่ เปนขาศึก หัวเมื องเหลานั้นก็ เคารพ
นบนอบตอทองตราทาใหโจโฉนั้นยังมีชัยชนะ ปราบหัวเมืองไดมาก โจโฉตองการปราบปรามเลาปซึ่งมีอานาจ
อยูทางตอนเหนือ เลาปพยายามเอาชนะโจโฉแตก็ไมสาเร็จ จนกระทั่งไดขงเบงมาเปนทีป่ รึกษา ประจวบกับได
ซุนกวนผูมี อานาจทางทิ ศตะวันออกมาเปนพันธมิตร ทาใหสามารถตอสูกับ กองทั พโจโฉจนไดรับ ชัยชนะ
ตอมาเลาปและซุนกวนเกิดบาดหมางกัน สงผลใหเกิดการรบเปนสามฝาย แตกแยกเปนสามกก คือ วุยกก
ของฝายโจโฉ จกกกของฝายเลาป และงอกกของฝายซุนกวน แตละกกตางรบราแยงชิง ความเปนใหญ
ยาวนานกวา 60 ปถึงจะรวมแผนดินทั้งสามกกไวเปนหนึ่งเดียว สามกก ตอน กวนอูไปรับ ราชการกับโจโฉ
ที่นามาใหศึกษานี้ มีความเปนมากลาวถึงตอนที่ โจโฉยกกองทัพมาตีเมืองชีจิ๋วของเลาปได ก็ยกทัพมาตีเมือง
แหฝอของกวนอู ซึ่งขณะนั้นกวนอู อยูรักษาเมืองและดูแลภรรยาทั้งสองของเลาป โจโฉตองการใหกวนอู
มาอยูรับราชการดวย จึงหาหนทางใหกวนอูออกจากเมือง จากนั้นจึงใหกองกาลังทหารลอมกวนอูไว แลวให
เตียวเลี้ยวทหารเอกใชความคุนเคยครั้งที่กวนอูเคยชวยชีวิตไวเจรจาเกลี้ยกลอม แตกวนอูก็ไมยอมเพราะมี
ใจซื่อ สัตยภัก ดี กั บ เลาปเปนที่ สุด เตียวเลี้ ยวจึง ใชปญญาเจรจาดวยการยกโทษสามประการหากกวนอู
ยังขัดขืนจะไมไปอยูกั บโจโฉ กวนอู ถึงยอมแตก็มี เงื่อนไขแลกเปลี่ยนสามขอ คือ ขอเปนขารับใชพระเจา
เหี้ยนเต ไมใชรับใชโจโฉ ขอเบี้ยหวัดของเลาปใหภรรยาทั้งสองของเลาปี่ และขอไปหาเลาปทันทีที่ทราบว่าอยู่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 192


ที่ใด แมโจโฉจะไมพอใจเงื่อนไขของกวนอูนักแตก็ยินยอมเพราะคิดวาวันหนึ่ง กวนอูจะตองเปลี่ยนใจมาภักดีต
อตน โจโฉพยายามดูแลเลี้ยงดูกวนอูและภรรยาของเลาปอยางสุขสบาย แตกวนอูก็มิไดหลงใหลกับความสุขที่โจ
โฉจัดสรรให กวนอูยังคงมีความซื่อ สัตยอยางเสมอตนเสมอปลายจนโจโฉ นึกนอยใจ แตก็เชื่อวาคนกตัญ ู
อยางกวนอูจะตองอยูตอบแทนคุณของตนกอนที่จะคิดหนีไปไหน
แนวคิดสาคัญ 1. ความจงรกภักดี 2. ความกตัญญู 3. คุณธรรม 4. ความเป็นผู้นา
การวิเคราะห์คุณค่าด้านเนื้อหา
1) รูปแบบ สามก๊กเป็นยอดวรรณคดีความเรียวนิทาน เป็นวรรณคดีร้อยแก้วแปลจากภาษาจีน
มาเป็นภาษาไทย แล้วเรียบเรียงใหม่ด้วยถ้อยคาที่สละสลวย กะทัดรัด เข้าใจง่าย มีสานวนโวหารเปรียบเทียบ
ลึกซึ้งคมคายและมีคติธรรม
2) องค์ประกอบของเรื่อง จาแนกหัวข้อต่าง ๆ ได้ดังนี้
2.1) สาระ เรื่ อ งสามก๊ ก ตอนกวนอู ไปรั บ ราชการโจโฉ กล่ า วถึ ง โจโฉตั้ ง ตั ว เป็ น
มหาอุปราชในสมัยพระเจ้าเหี้ยนเต้ ต้องการกาจัดเล่าปี่ซึ่งครองเมืองซีจิ๋ว และเข้ายึดเมืองได้สาเร็จ เล่าปี่หนี
ไปเมืองกิจิ๋ว จากนั้นโจโฉก็ยกกองทัพไปตีเมืองแห้ฝือของกวนอู เมื่อโจโฉจับกวนอูได้และให้เตียวเลี้ยวเกลี้ย
กล่อมกวนอูให้มาอยู่ด้วย กวนอูยอมจานวนขอสัญญาสามข้อ โจโฉยอมรับเงื่อนไขของกวนอู โจโฉทาตาม
สัญญาของกวนอูทั้ง 3 ข้อ เอาใจกวนอูและพี่สะใภ้ของกวนอูอย่างดี แต่กวนอูก็ไม่ได้มีน้าใจตอบโจโฉ ยังคง
ซื่อสัตย์และจงรักภักดีต่อเล่าปี่อย่างแนบแน่น โจโฉคิดน้อยใจแต่ก็เชื่อในความกตัญญูของกวนอู ว่าคง
จะไม่หนีไปจนกว่าจะได้ตอบแทนบุญคุณ ความซื่อสัตย์กตัญญูและการใช้กลอุบายเจรจาโน้มน้าวใจเป็นสิ่ง
สาคัญของเรื่องในตอนนี้
2.2) โครงเรื่อง การลาดับเหตุการณ์ต่างๆ แต่ละขั้นตอนในเรื่องสอดคล้องสัมพันธ์กันจน
แสดงให้เห็นถึงแนวคิดที่กวีต้องการสื่อออกมาอย่างชัดเจน ในเรื่องความซื่อสัตย์ของกวนอู สามก๊กตอนที่
เรียนเป็นการทาสงครามของโจโฉกับเล่าปี่และกวนอู โจโฉมีทหารเอกคอยให้คาปรึกษาและวางกลอุบายใน
การศึก จนสามารถเอาชนะเล่าปี่และเกลี้ยกล่อมให้กวนอูเข้ามาอยู่ฝ่ายตน แต่ในที่สุดโจโฉก็ไม่สามารถชนะ
ใจกวนอูผู้มีความซื่อสัตย์จงรักภักดีต่อเล่าปี่ได้
2.3) ฉากและบรรยากาศ เรื่องสามก๊ ก สมัยพระเจ้าเหี้ยนเต้เกิ ดความแตกแยกแย่งชิง
อานาจกัน ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ เป็นช่วงที่โจโฉมีอานาจตั้งตัวเป็นมหาอุปราชและเป็นผู้สาเร็ จ
ราชการแทนพระเจ้าแผ่นดินโจโฉขยายอิทธิพลยกทัพไปปราบหัวเมืองต่าง ๆ
2.4) กลวิธีการแต่ง กวีใช้กลวิธีบรรยายเล่าเรื่องอย่างละเอียด บางตอนให้ตัวละครเป็น
ผู้เล่าด้วยการใช้บ ทสนทนานา ซึ่งจากบทสนทนานี้ท าให้ผู้อ่านได้ท ราบเรื่องราวความเป็นมาของเรื่อง
ตลอดจนทราบลักษณะนิสัยใจคอและอารมณ์ของตัวละครได้
6. สาระการเรียนรู้
6.1 หลักการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีวรรณกรรม (คุณค่าด้านเนื้อหา)
6.2 เนื้อเรื่อง สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 193


7. กิจกรรมการเรียนรู้ (แบบ Active Learning)
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (10 นาที)
7.1 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ
7.2 นัก เรียนดูส ไลด์รูป ภาพพร้อ มวาทะคาคมของตัวละครสาคัญ ในเรื่อง สามก๊ ก ตอน กวนอู
ไปรับราชการกับโจโฉ ดังนี้

7.3 นักเรียนร่วมตอบคาถามและแสดงความคิดเห็นจากประเด็น ดังนี้


 จากวลีข้างต้นนักเรียนคิดว่าคาพูดสามารถส่อถึงนิสัยใจคอของคนได้หรือไม่อย่างไร
 จากวลีข้างต้นนักเรียนคิดว่าการมีสติปัญญาในการดาเนินชีวิตจะเป็นประโยชน์อย่างไร
 นักเรียนคิดว่าวาทะคาคมในเรื่องสามก๊ก จะสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไรในชีวิต
จริงของตนเอง
ขั้นสอน (40 นาที)
7.4 นักเรียนฟังครูทบทวนสรุปเนื้อเรื่องและคุณค่าด้านเนื้อหา เรื่อง สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการ
กับโจโฉ ประกอบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ : คุณค่าด้านเนื้อหา อีก
ครั้ง
7.5 นักเรียนแบ่งกลุ่มร่วมระดมความคิด ร่วมสนทนาวิเคราะห์วิจารณ์เกี่ยวกับคุณค่าด้านเนื้อหาในเรื่อง
สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับ โจโฉ ดังต่อไปนี้
กลุ่มที่ 1 รูปแบบ
กลุ่มที่ 2 องค์ประกอบของเรื่อง
กลุ่มที่ 3 โครงเรื่อง
กลุ่มที่ 4 ฉากและบรรยากาศ
กลุ่มที่ 5 กลวิธีการแต่ง
กลุ่มที่ 6 แนวคิด ข้อคิดที่สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้จริง

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 194


7.6 ตัวแทนสมาชิก ของแต่ล ะกลุ่ม นาเสนอข้อมู ล ที่ ได้จ ากการระดมความคิด ร่วมสนทนา
วิเคราะห์วิจารณ์ในกลุ่มของตนเอง หน้าชั้นเรียน ครูกล่าวชื่นชม แนะนา และเสริมความรู้เพิ่มเติม
7.7 นักเรียนและครูร่วมกันลาดับเหตุการณ์ในเรื่องอีกครั้ง
ขั้นสรุป (5 นาที)
7.8 ครูแนะนาให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม จากแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ ดังนี้
 ชัชวนันท์ สันธิเดช. อ่านสามก๊กอย่างแฟนพันธุ์แท้, พิมพ์ครั้งที่ 2 (กรุงเทพฯ :
ชวนอ่าน, 2552), น. 54-56.
8. สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้
8.1 แบบเรียนวรรณคดี วรรณกรรม
8.2 บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ : คุณค่าด้านเนื้อหา
8.3 สไลด์รูปภาพพร้อมวาทะคาคมของตัวละครสาคัญ
8.4 ชัชวนันท์ สันธิเดช. อ่านสามก๊กอย่างแฟนพันธุ์แท้ , พิมพ์ครั้งที่ 2 (กรุงเทพฯ : ชวนอ่าน,
2552), น. 54-56
9. ชิ้นงาน/ ภาระงาน
-
10. เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน
-
11. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ เครื่องมือ เกณฑ์
ประเมินผล การประเมิน
2.1 ด้ านความรู้ (Knowledge: K) 1.สังเกตพฤติกรรม 1.แบบสังเกต 1.นักเรียนให้ความ
สังเคราะห์แนวคิด แก่นเรื่อ ง และ การสนทนา และ พฤติกรรมรายบุคคล ร่วมมือในการสนทนา
ความรู้ที่ เ ชื่อ มโยงกั บ แนวทางใน ตอบคาถาม 2.แบบสังเกต ตอบคาถาม และร่วม
การด าเนิ น ชี วิต ในสั ง คมไทยที่ ได้ 2.สังเกตพฤติกรรม พฤติกรรมกลุ่ม กิจกรรม
จากเรื่องสามก๊ก ตอน กวนอูไปรับ กลุ่ม 2.นักเรียนสามารถ
ราชการกั บ โจโฉได้ อ ย่างมี เหตุผ ล ทางานเป็นกลุม่ ร่วมกับ
2.2 ด้ าน ทั ก ษ ะ/ก ระ บ วน ก าร ผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
(Process: P) วิเคราะห์คุณค่าด้าน
เนื้อหาจากเนื้อเรื่อ ง สามก๊ก ตอน
กวนอูไปรับราชการกับโจโฉได้
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
(Attitude: A) บอกคุ ณ ค่ า ที่ ไ ด้ ใ น
ด้านคุณธรรม จริยธรรม

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 195


12. สรุปผลการจัดการเรียนรู้
12.1 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.2 ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.3 ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............

ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

13. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….........
.………………………………………………………………………………………………………………………………………………........

ลงชื่อ .................................................
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 196


บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 23
รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประชันกลเกมศึก
***********************************************************************************************************
1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก
...............................................................................................................................................................................
2. ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1) การประเมินผลความรู้หลังการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.....................
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก................................................................................................................................................................
2) การประเมินด้านทักษะกระบวนการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.............
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ...........
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มีนักเรียนทาใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกาหนดเวลา
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน
 อื่น ๆ ..............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนาแผนไปปรับปรุง เรื่อง .......................................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 197


โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 24
รหัสวิชา ท33101 รายวิชา ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประชันกลเกมศึก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง พูดวิเคราะห์วิจารณ์คุณค่าด้านเนื้อหา (1) จานวน 1 คาบ ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ความคิ ด ความรู้ในโอกาส
ต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
ม.4-6/1 สรุปแนวคิดและแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู
ม.4-6/3 ประเมินเรื่องที่ฟังและดู แล้วกาหนดแนวทางนาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต
ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนามา
ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ม.4-6/1 วิเคราะห์ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น
ม.4-6/4 สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีวรรณกรรม เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) อธิบายหลักการวิเคราะห์คุณค่าด้านเนื้อหาที่ได้จากเรื่องสามก๊ก
ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉได้
2.2 ด้านทั กษะ/กระบวนการ (Process: P) พูดวิเคราะห์พฤติกรรมและนิสัยของตัวละครจากเนื้อ
เรื่อง สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉได้อย่างมีเหตุผล
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude: A) บอกคุณค่าที่ได้ในด้านคุณธรรม จริยธรรม
3. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs)
 R1–Reading (อ่านออก)
 C1–Critical Thinking and Problem Solving (ทั ก ษะด้านการคิดอย่างมี วิจ ารณญาณและทั ก ษะใน
การแก้ปัญหา)
 C3–Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์)
 C5–Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสนเทศและรู้เท่า
ทันสื่อ)

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 198


 C6–Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและ การ
สื่อสาร)
4. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
5. สาระสาคัญ
เนื้อเรื่องย่อ
สามกก เริ่มเรื่อ งตั้งแตครั้งที่ ประเทศจีนแตกแยกออกเปนสามกก ในสมัยพระเจาเลนเตขึ้น
ครองราชยเมื่อป พ.ศ. 711 เนื่องจากพระเจาเลนเตนั้นปราศจากความสามารถ หลงเชื่อพวกขันทีในราชสานัก
จนเปนเหตุใหพวกขันทีกาเริบ การปกครองแผนดินจึงวิปริตผันแปรและเกิดโจรผูรายชุกชุมเมื่อพระเจาเลนเต
สิ้นพระชนมลง ราชบุตรองคใหญชื่อหองจูเปยนไดรับรัชทายาท นางโฮเฮามเหสีผูเปนชนนีเปนผูสาเร็จราชการ
แผนดิน เปนเหตุใหบานเมืองเกิดจลาจลขึ้น สามพี่นองรวมสาบาน เลาป กวนอู และเตียวหุย พรอมดวย ตั๋งโต
ะเขาปราบจลาจลไดสาเร็จ และยกหองจูเหียบ ราชบุตรองคเล็ก ขึ้นเปนพระเจาแผนดิน ทรงพระนามวา
พระเจาเหี้ยนเต เลาปถูกแตงตั้งไปปกครองเมื องอันหอกวน ซึ่งเปนเมืองขึ้นเล็ก ๆ โดยมีเตียวหุยและกวนอู
ติดตามไปดวย ราษฎรในเมือง อันหอกวนสรรเสริญเปนอันมาก ตั๋งโตะไดเปนเซียงกกสา เร็จราชการแผนดิน
และทาการกบฏ พระเจาเหี้ยนเตจึงตองทิ้งเมืองหลวงหลบหนีไป พรอมมีรับสั่งใหหาโจโฉ โจโฉนั้นเปนคนฉลาด
แตมักทา การตามอาเภอใจ ทาใหพระเจาเหี้ยนเตคับแคนใจจนตองขอใหผูที่มีความจงรักภักดีชวยกาจัดโจโฉ
หัวเมืองที่มีกาลังและมิไดเปนพรรคพวกของ โจโฉก็ถือวาโจโฉเปนศัตรูของพระเจาแผนดิน เวลาโจโฉมีทองตรา
อางรับสั่งพระเจาเหี้ยนเตออกไปถึงหัวเมืองที่เปนขาศึก หัวเมืองเหลานั้นก็เคารพนบนอบตอทองตราทาใหโจโฉ
นั้นยังมีชัยชนะ ปราบหัวเมืองไดมาก โจโฉตองการปราบปรามเลาปซึ่งมีอานาจอยูทางตอนเหนือ เลาปพยายาม
เอาชนะโจโฉแตก็ ไมส าเร็จ จนกระทั่ งไดขงเบงมาเปนที่ ป รึก ษา ประจวบกั บ ไดซุน กวนผู มี อานาจทางทิ ศ
ตะวันออกมาเปนพันธมิตร ทาใหสามารถตอสูกับกองทัพโจโฉจนไดรับชัยชนะ ตอมาเลาปและซุนกวนเกิด
บาดหมางกัน สงผลใหเกิดการรบเปนสามฝาย แตกแยกเปนสามกก คือ วุยกก ของฝายโจโฉ จกกกของฝาย
เลาป และงอกกของฝายซุนกวน แตละกกตางรบราแยงชิงความเปนใหญยาวนานกวา 60 ปถึงจะรวมแผนดิน
ทั้งสามกกไวเปนหนึ่งเดียว สามกก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ที่นามาใหศึกษานี้ มีความเปนมากลาวถึง
ตอนที่ โจโฉยกกองทัพมาตีเมืองชีจิ๋วของเลาปได ก็ยกทัพมาตีเมืองแหฝอของกวนอู ซึ่งขณะนั้นกวนอู อยูรักษา
เมืองและดูแลภรรยาทั้งสองของเลาป โจโฉตองการใหกวนอูมาอยูรับราชการดวย จึงหาหนทางใหกวนอูออก
จากเมือง จากนั้นจึงใหกองกาลังทหารลอมกวนอูไว แลวใหเตียวเลี้ยวทหารเอกใชความคุนเคยครั้งที่กวนอูเคยช
วยชีวิตไวเจรจาเกลี้ยกลอม แตกวนอูก็ไมยอมเพราะมีใจซื่อสัตยภักดีกับเลาปเปนที่สุด เตียวเลี้ยวจึงใชปญญา
เจรจาดวยการยกโทษสามประการหากกวนอู ยัง ขัดขืน จะไมไปอยู กั บ โจโฉ กวนอูถึง ยอมแตก็ มี เงื่อนไข
แลกเปลี่ยนสามขอ คือ ขอเปนขารับใชพระเจาเหี้ยนเตไมใชรับใชโจโฉ ขอเบี้ยหวัดของเลาปใหภรรยาทั้งสอง
ของเลาป และขอไปหาเลาป ทันที ที่ทราบวาอยูที่ใด แมโจโฉจะไมพอใจเงื่อนไขของกวนอูนักแตก็ยินยอม
เพราะคิดวาวันหนึ่ง กวนอูจะตองเปลี่ยนใจมาภักดีตอตน โจโฉพยายามดูแลเลี้ยงดูกวนอูและภรรยาของเลาป
อยางสุขสบาย แตกวนอูก็มิไดหลงใหลกับความสุขที่โจโฉจัดสรรให กวนอูยังคงมีความซื่อสัตยอยางเสมอตน

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 199


เสมอปลายจนโจโฉ นึกนอยใจ แตก็เชื่อวาคนกตัญ ู อยางกวนอูจะตองอยูตอบแทนคุณของตนกอนที่จะคิด
หนีไปไหน
แนวคิดสาคัญ 1. ความจงรกภักดี 2. ความกตัญญู 3. คุณธรรม 4. ความเป็นผู้นา
การวิเคราะห์คุณค่าด้านเนื้อหา ในส่วนการวิเคราะห์นิสัยและพฤติกรรมของตัวละคร
1) กวนอู เป็นน้องร่วมสาบานของเล่าปี่ มีนิสัยห้าวหาญ และมีความซื่อสัตย์ ครั้งสงครามชีจิ๋ว เล่าปี่
พ่ายแพ้ต่อกองทัพ โจโฉ กวนอูซึ่งรัก ษาเมืองแห้ฝืออยู่ถูกกองทัพ โจโฉโจมตีอย่างหนัก กวนอูยกทัพออกไปรบ
นอกเมื อง ปรากฏว่าถูก กองทั พ โจโฉล้อ มไว้ทุ ก ทิ ศทาง ด้วยความจ าเป็นที่ ต้องดูแลพี่ส ะใภ้และตามหาเล่าปี่
เตียวหุย พี่น้องร่วมสาบานทาให้ต้องยอมแพ้ในที่สุด
2) เตียวเลี้ยว เดิมเป็นทหารเอกของยอดขุนศึกลิโป้ มีจิตใจห้าวหาญ รักความยุติธรรม หลังจากลิโป้
พ่ายแพ้แก่โจโฉ เตียวเลี้ยวก็ได้เข้าร่วมกับกองทัพของโจโฉ ในครั้งสงครามชีจิ๋ว เตียวเลี้ยวขออาสาไปเกลี้ยกล่อม
กวนอูให้มายอมแพ้ (เนื่องจากเตียวเลี้ยวต้องการทดแทนบุญคุณของกวนอู ไม่อยากให้กวนอูต้องมาตายเปล่า
เพราะว่า คนที่ช่วยเตียวเลี้ยวไว้เมื่อคราวที่เตียวเลี้ยวโดนโจโฉจับ ก็คือ กวนอู ซึ่งได้บอกแก่โจโฉให้ไว้ชีวิตเตียว
เลี้ยวในคราวนั้น)
3) โจโฉ ผู้ส าเร็จ ราชการของราชวงศ์ฮั่น (ตาแหน่ง ในตอนนั้น) เป็น คนมี ความสามารถยอดเยี่ยม
ทุกด้าน รักคนมีฝีมือ แต่มีข้อ เสียในเรื่องความขี้ระแวง ในครั้งสงครามชีจิ๋ว โจโฉได้สั่งให้กองทัพเข้าตีชีจิ๋วเป็น
5 กองทัพ ทาให้เล่าปี่ต้องพ่ายแพ้ย่อยยับ หลังจากที่เล่าปี่พ่ายแพ้และโจโฉเข้ายึดเมืองแห้ฝือได้แล้ว มีความคิด
อยากให้กวนอูเข้ามารับราชการด้วย จึงได้ส่งเตียวเลี้ยวไปเกลี้ยกล่อม หลังจากกวนอูเข้ามายอมแพ้แล้ว โจโฉก็ได้
จัดงานเลี้ยงกวนอูทุกวันไม่ได้ขาด รวมไปถึงมอบม้า เซ็กเทา ม้าชั้นเลิศให้กวนอูอีกด้วย
6. สาระการเรียนรู้
6.1 หลักการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีวรรณกรรม (คุณค่าด้านเนื้อหา:วิเคราะห์นิสัยและพฤติกรรม
ของตัวละคร)
6.2 เนื้อเรื่อง สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ
7. กิจกรรมการเรียนรู้ (แบบ Active Learning)
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (15 นาที)
7.1 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ
7.2 นักเรียนร่วมกิจกรรม “ทานายนิสัยคนตามวันเกิดจากตัวละครเรื่องสามก๊ก ” โดยครูนาไพ่
ทานายมาจานวน 8 ใบ สุ่มตัวแทนนักเรียนหยิบไพ่ครั้งละ 1 ใบ ดังนี้

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 200


7.3 ครูสอบถามและสนทนาร่วมกับนักเรียนในประเด็น ดังนี้
 การทานายนิสัยของนักเรียนตามวันเกิดแม่นยาหรือไม่อย่างไร
 ตัวละครในเรื่อ งสามก๊ก ที่ เกิดวันเดียวกั บนัก เรียนมีนิสัยเหมื อนหรือต่างจากนัก เรียน
อย่างไร
 นักเรียนคิดว่านิสัยและพฤติกรรมของคนบ่งบอกถึงคุณธรรมในใจได้หรือไม่อย่างไร
 นักเรียนคิดว่านิสัยและพฤติกรรมของกวนอู โจโฉ และเตียงเลี้ยว ใครเหมาะที่จะเป็น
ผู้นามากที่สุด เพราะเหตุใด
 นักเรียนคิดว่านิสัยและพฤติกรรมของกวนอู โจโฉ และเตียงเลี้ยว เหมาะสมที่จะเป็น
บุคคลที่มีคุณสมบัตปิ ระกอบอาชีพใด เพราะเหตุใด
 นักเรียนคิดว่าหากคนในสังคมเชื่อในเรื่องการทานายมากกว่าการพิสูจน์ความจริงสังคม
จะเป็นเช่นไร เพราะเหตุใด

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 201


ขั้นสอน (35 นาที)
7.4 นักเรียนฟังครูนาเสนองานวิจัยเรื่อง การตัดสินใจภายใต้สถานการณ์วิกฤติ : พฤติกรรมผู้นาใน
พงศาวดารสามก๊ ก (Decision under Crisis: Leaders Behavior in the Romance of Three Kingdoms)
ของเดชา โลจน์ สิ ริ ศิ ล ป์ บทความวิ จั ย นี้ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของการศึ ก ษาหลั ก สู ต รปรั ญ ชาดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต
ทางบริห าร มหาวิท ยาลัยสยาม ซึ่งเมื่อ ศึก ษาพบว่าได้กล่าวถึงงานวิจัยของวราภรณ์ วิเศษพานิชกิจ (2548)
ซึ่งใช้เอกสารพงศาวดารสามก๊กเป็นวัตถุดิบ ในการวิเคราะห์ โดยใช้หลักจริยธรรมเป็นกรอบแนวคิด สรุปได้ว่า
พงศาวดารสามก๊ ก มี ห ลั ก จริ ย ธรรมอย่ างน้ อ ยสามข้ อ คื อ 1) หลั ก จริ ย ธรรมในการปกครองส าหรั บ ผู้ น า
2) หลักจริยธรรมในการดาเนินชีวิตประจาวันสาหรับบุคคลทั่วไป 3) หลัก จริยธรรมจากศาสนา ซึ่ง ทั้ ง สามหลัก
จริยธรรมที่พบเน้นเรื่องความจงรักภักดี ความซื่อสัตย์และรับผิดชอบ มีความกตัญญู ความเพียรและความเมตตา
อีกทั้งในงานวิจัยได้ศึกษาภาวะผู้นาและพฤติกรรมการตัดสินใจของผู้นาภายใต้สถานการณ์วิกฤติ (โจโฉ เล่าปี่
และซุนกวน)
7.5 นักเรียนแบ่งกลุ่มร่วมระดมความคิด ร่วมสนทนาวิเคราะห์วิจารณ์เกี่ยวกับ นิสัยและพฤติกรรม
ของตัวละครสาคัญในเรื่อง สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ได้แก่ กวนอู โจโฉ เตียวเลี้ยว แบ่งกลุ่มดังนี้
กลุ่มที่ 1 และ 2 วิเคราะห์นิสัยและพฤติกรรมของกวนอู
กลุ่มที่ 3 และ 4 วิเคราะห์นิสัยและพฤติกรรมของโจโฉ
กลุ่มที่ 5 และ 6 วิเคราะห์นิสัยและพฤติกรรมของเตียวเลี้ยว
7.6 ตัวแทนสมาชิกของแต่ละกลุ่มนาเสนอข้อมูลที่ได้จากการระดมความคิด ร่วมสนทนาวิเคราะห์
วิจารณ์ในกลุ่มของตนเอง หน้าชั้นเรียน ครูกล่าวชื่นชม แนะนา และเสริมความรู้เพิ่มเติม
ขั้นสรุป (5 นาที)
7.7 ครูแนะนาให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม จากแบบเรียนและแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ
8. สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้
8.1 แบบเรียนวรรณคดี วรรณกรรม
8.2 บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ : คุณค่าด้านเนื้อหา
8.3 ไพ่ทานายนิสัยคนตามวันเกิดจากตัวละครเรื่องสามก๊ก
8.4 งานวิจัยเรื่อ ง การตัดสินใจภายใต้สถานการณ์ วิก ฤติ : พฤติ กรรมผู้นาในพงศาวดารสามก๊ ก
(Decision under Crisis: Leaders Behavior in the Romance of Three Kingdoms) ของเดชา โลจน์
สิริศิลป์
9. ชิ้นงาน/ ภาระงาน
-
10. เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน
-

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 202


11. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ เครื่องมือ เกณฑ์
ประเมินผล การประเมิน
2.1 ด้ านความรู้ (Knowledge: K) 1.สังเกตพฤติกรรม 1.แบบสังเกต 1.นักเรียนให้ความ
อธิ บ ายหลั ก การวิเ คราะห์ คุ ณ ค่ า การสนทนา และ พฤติกรรมรายบุคคล ร่วมมือในการสนทนา
ด้ านเนื้ อ หาที่ ได้ จ ากเรื่อ งสามก๊ ก ตอบคาถาม 2.แบบสังเกต ตอบคาถาม และร่วม
ตอน กวนอู ไปรับ ราชการกั บ โจโฉ 2.สังเกตพฤติกรรม พฤติกรรมกลุ่ม กิจกรรม
ได้ กลุ่ม 2.นักเรียนสามารถ
2.2 ด้ าน ทั ก ษ ะ/ก ระ บ วน ก าร ทางานเป็นกลุม่ ร่วมกับ
( Process: P) พู ด วิ เ ค ร า ะ ห์ ผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
พฤติ ก รรมและนิ สั ย ของตั วละคร
จากเนื้อ เรื่อ ง สามก๊ ก ตอน กวนอู
ไปรั บ ราชการกั บ โจโฉได้ อ ย่ า งมี
เหตุผล
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
(Attitude: A) บอกคุ ณ ค่ า ที่ ไ ด้ ใ น
ด้านคุณธรรม จริยธรรม

12. สรุปผลการจัดการเรียนรู้
12.1 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.2 ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.3 ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............

ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 203


13. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….........
.………………………………………………………………………………………………………………………………………………........

ลงชื่อ .................................................
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 204


บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 24
รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประชันกลเกมศึก
***********************************************************************************************************
1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก
...............................................................................................................................................................................
2. ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1) การประเมินผลความรู้หลังการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.....................
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก................................................................................................................................................................
2) การประเมินด้านทักษะกระบวนการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.............
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ...........
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มีนักเรียนทาใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกาหนดเวลา
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน
 อื่น ๆ ..............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนาแผนไปปรับปรุง เรื่อง .......................................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 205


โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 25
รหัสวิชา ท33101 รายวิชา ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประชันกลเกมศึก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง พูดวิเคราะห์วิจารณ์คุณค่าด้านเนื้อหา (2) จานวน 1 คาบ ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ความคิ ด ความรู้ในโอกาส
ต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
ม.4-6/1 สรุปแนวคิดและแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู
ม.4-6/3 ประเมินเรื่องที่ฟังและดู แล้วกาหนดแนวทางนาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต
ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนามา
ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ม.4-6/1 วิเคราะห์ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น
ม.4-6/4 สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีวรรณกรรม เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) อธิบายหลักการวิเคราะห์คุณค่าด้านเนื้อหาที่ได้จากเรื่องสามก๊ก
ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉได้
2.2 ด้านทั กษะ/กระบวนการ (Process: P) พูดวิเคราะห์พฤติกรรมและนิสัยของตัวละครจากเนื้อ
เรื่อง สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉได้อย่างมีเหตุผล
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude: A) บอกคุณค่าที่ได้ในด้านคุณธรรม จริยธรรม
3. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs)
 R1–Reading (อ่านออก)
 C1–Critical Thinking and Problem Solving (ทั ก ษะด้านการคิดอย่างมี วิจ ารณญาณและทั ก ษะใน
การแก้ปัญหา)
 C3–Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์)
 C5–Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสนเทศและรู้เท่า
ทันสื่อ)

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 206


 C6–Computing and ICT Literacy (ทั ก ษะด้ า นคอมพิ ว เตอร์ และเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ
การสื่อสาร)
4. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
5. สาระสาคัญ
เนื้อเรื่องย่อ
สามกก เริ่มเรื่อ งตั้งแตครั้งที่ ประเทศจีนแตกแยกออกเปนสามกก ในสมัยพระเจาเลนเตขึ้น
ครองราชยเมื่อป พ.ศ. 711 เนื่องจากพระเจาเลนเตนั้นปราศจากความสามารถ หลงเชื่อพวกขันทีในราชสานัก
จนเปนเหตุใหพวกขันทีกาเริบ การปกครองแผนดินจึงวิปริตผันแปรและเกิดโจรผูรายชุกชุมเมื่อพระเจาเลนเต
สิ้นพระชนมลง ราชบุตรองคใหญชื่อหองจูเปยนไดรับรัชทายาท นางโฮเฮามเหสีผูเปนชนนีเปนผูสาเร็จราชการ
แผนดิน เปนเหตุใหบานเมื อ งเกิ ดจลาจลขึ้น สามพี่น องรวมสาบาน เลาป กวนอู และเตียวหุย พรอมดวย
ตั๋งโตะเขาปราบจลาจลไดสาเร็จ และยกหองจูเหียบ ราชบุตรองคเล็กขึ้นเปนพระเจาแผนดิน ทรงพระนามวา
พระเจาเหี้ยนเต เลาปถูกแตงตั้งไปปกครองเมื องอันหอกวน ซึ่งเปนเมืองขึ้นเล็ก ๆ โดยมีเตียวหุยและกวนอู
ติดตามไปดวย ราษฎรในเมือง อันหอกวนสรรเสริญเปนอันมาก ตั๋งโตะไดเปนเซียงกกสา เร็จราชการแผนดิน
และทาการกบฏ พระเจาเหี้ยนเตจึงตองทิ้งเมืองหลวงหลบหนีไป พรอมมีรับสั่งใหหาโจโฉ โจโฉนั้นเปนคนฉลาด
แตมักทา การตามอาเภอใจ ทาใหพระเจาเหี้ยนเตคับแคนใจจนตองขอใหผูที่มีความจงรักภักดีชวยกาจัดโจโฉ
หัวเมืองที่มีกาลังและมิไดเปนพรรคพวกของ โจโฉก็ถือวาโจโฉเปนศัตรูของพระเจาแผนดิน เวลาโจโฉมีทองตรา
อางรับสั่งพระเจาเหี้ยนเตออกไปถึงหัวเมืองที่เปนขาศึก หัวเมืองเหลานั้นก็เคารพนบนอบตอทองตราทาใหโจโฉ
นั้นยังมีชัยชนะ ปราบหัวเมืองไดมาก โจโฉตองการปราบปรามเลาปซึ่งมีอานาจอยูทางตอนเหนือ เลาปพยายาม
เอาชนะโจโฉแตก็ ไมส าเร็จ จนกระทั่ งไดขงเบงมาเปนที่ ป รึก ษา ประจวบกั บ ไดซุน กวนผู มี อานาจทางทิ ศ
ตะวันออกมาเปนพันธมิตร ทาใหสามารถตอสูกับกองทัพโจโฉจนไดรับชัยชนะ ตอมาเลาปและซุนกวนเกิด
บาดหมางกัน สงผลใหเกิดการรบเปนสามฝาย แตกแยกเปนสามกก คือ วุยกก ของฝายโจโฉ จกกกของฝาย
เลาป และงอกกของฝายซุนกวน แตละกกตางรบราแยงชิงความเปนใหญยาวนานกวา 60 ปถึงจะรวมแผนดิน
ทั้งสามกกไวเปนหนึ่งเดียว สามกก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ที่นามาใหศึกษานี้ มีความเปนมากลาวถึง
ตอนที่ โจโฉยกกองทัพมาตีเมืองชีจิ๋วของเลาปได ก็ยกทัพมาตีเมืองแหฝอของกวนอู ซึ่งขณะนั้นกวนอู อยูรักษา
เมืองและดูแลภรรยาทั้งสองของเลาป โจโฉตองการใหกวนอูมาอยูรับราชการดวย จึงหาหนทางใหกวนอูออก
จากเมือง จากนั้นจึงใหกองกาลังทหารลอมกวนอูไว แลวใหเตียวเลี้ยวทหารเอกใชความคุนเคยครั้งที่กวนอูเคยช
วยชีวิตไวเจรจาเกลี้ยกลอม แตกวนอูก็ไมยอมเพราะมีใจซื่อสัตยภักดีกับเลาปเปนที่สุด เตียวเลี้ยวจึงใชปญญา
เจรจาดวยการยกโทษสามประการหากกวนอู ยัง ขัดขืน จะไมไปอยู กั บ โจโฉ กวนอูถึง ยอมแตก็ มี เงื่อนไข
แลกเปลี่ยนสามขอ คือ ขอเปนขารับใชพระเจาเหี้ยนเตไมใชรับใชโจโฉ ขอเบี้ยหวัดของเลาปใหภรรยาทั้งสอง
ของเลาป และขอไปหาเลาป ทันที ที่ทราบวาอยูที่ใด แมโจโฉจะไมพอใจเงื่อนไขของกวนอูนักแตก็ยินยอม
เพราะคิดวาวันหนึ่ง กวนอูจะตองเปลี่ยนใจมาภักดีตอตน โจโฉพยายามดูแลเลี้ยงดูกวนอูและภรรยาของเลาป
อยางสุขสบาย แตกวนอูก็มิไดหลงใหลกับความสุขที่โจโฉจัดสรรให กวนอูยังคงมีความซื่อสัตยอยางเสมอตน

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 207


เสมอปลายจนโจโฉ นึกนอยใจ แตก็เชื่อวาคนกตัญ ู อยางกวนอูจะตองอยูตอบแทนคุณของตนกอนที่จะคิด
หนีไปไหน
แนวคิดสาคัญ 1. ความจงรกภักดี 2. ความกตัญญู 3. คุณธรรม 4. ความเป็นผู้นา
การวิเคราะห์คุณค่าด้านเนื้อหา ในส่วนการวิเคราะห์นิสัยและพฤติกรรมของตัวละคร
1) กวนอู เป็นน้องร่วมสาบานของเล่าปี่ มีนิสัยห้าวหาญ และมีความซื่อสัตย์ ครั้งสงครามชีจิ๋ว เล่าปี่
พ่ายแพ้ต่อกองทัพ โจโฉ กวนอูซึ่งรัก ษาเมืองแห้ฝืออยู่ถู กกองทัพโจโฉโจมตีอย่างหนัก กวนอูยกทัพออกไปรบ
นอกเมื อง ปรากฏว่าถูก กองทั พ โจโฉล้อ มไว้ทุ ก ทิ ศทาง ด้วยความจ าเป็นที่ ต้องดูแลพี่ส ะใภ้และตามหาเล่าปี่
เตียวหุย พี่น้องร่วมสาบานทาให้ต้องยอมแพ้ในที่สุด
2) เตียวเลี้ยว เดิมเป็นทหารเอกของยอดขุนศึ กลิโป้ มีจิตใจห้าวหาญ รักความยุติธรรม หลังจากลิโป้
พ่ายแพ้แก่โจโฉ เตียวเลี้ยวก็ได้เข้าร่วมกับกองทัพของโจโฉ ในครั้งสงครามชีจิ๋ว เตียวเลี้ยวขออาสาไปเกลี้ยกล่อม
กวนอูให้มายอมแพ้ (เนื่องจากเตียวเลี้ยวต้องการทดแทนบุญคุณของกวนอู ไม่อยากให้กวนอูต้องมาตายเปล่า
เพราะว่า คนที่ช่วยเตียวเลี้ยวไว้เมื่อคราวที่เตียวเลี้ยวโดนโจโฉจับ ก็คือ กวนอู ซึ่งได้บอกแก่โจโฉให้ไว้ชีวิตเตียว
เลี้ยวในคราวนั้น)
3) โจโฉ ผู้ส าเร็จ ราชการของราชวงศ์ฮั่น (ตาแหน่ง ในตอนนั้น) เป็น คนมี ความสามารถยอดเยี่ยม
ทุกด้าน รักคนมีฝีมือ แต่มีข้อเสียในเรื่องความขี้ระแวง ในครั้งสงครามชีจิ๋ว โจโฉได้สั่งให้กองทัพเข้าตีชีจิ๋วเป็น
5 กองทัพ ทาให้เล่าปี่ต้องพ่ายแพ้ย่อยยับ หลังจากที่เล่าปี่พ่ายแพ้และโจโฉเข้ายึดเมืองแห้ฝือได้แล้ว มีความคิด
อยากให้กวนอูเข้ามารับราชการด้วย จึงได้ส่งเตียวเลี้ยวไปเกลี้ยกล่อม หลังจากกวนอูเข้ามายอมแพ้แล้ว โจโฉก็ได้
จัดงานเลี้ยงกวนอูทุกวันไม่ได้ขาด รวมไปถึงมอบม้า เซ็กเทา ม้าชั้นเลิศให้กวนอูอีกด้วย
6. สาระการเรียนรู้
6.1 หลักการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีวรรณกรรม (คุณค่าด้านเนื้อหา:วิเคราะห์นิสัยและพฤติกรรม
ของตัวละคร)
6.2 เนื้อเรื่อง สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ
7. กิจกรรมการเรียนรู้ (แบบ Active Learning)
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (5 นาที)
7.1 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ
7.2 นักเรียนดูสไลด์รูปภาพตัวละคร กวนอู โจโฉและเตียวเลี้ยว จากนั้นฟังครูสรุปลักษณะนิสัย
และพฤติกรรมที่ตัวแทนแต่ละกลุ่มได้ออกมานาเสนอในคาบเรียนที่ผ่านมา
7.3 ครูสอบถามและสนทนาร่วมกับนักเรียนในประเด็น ดังนี้
 นักเรียนคิดว่าตัวละครใดเป็นคนดีที่สุด อย่างไร เพราะเหตุใด
 ถ้านักเรียนเลือกได้นักเรียนอยากมีเพื่อนสนิทเป็นตัวละครใด เพราะเหตุใด
 นักเรียนคิดว่าคนในสังคมไทยในปัจจุบันต้องการคนในแบบตัวละครใดมากที่สุด

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 208


ขั้นสอน (45 นาที)
7.4 นักเรียนฟังครูนาเสนอเทคนิคการเรียนรู้ แบบแผนผังกราฟฟิก (Graphic Organizers :GO)
7.5 นักเรียนแบ่งกลุ่มใหม่โดยมีสมาชิกไม่ซ้ากับกลุม่ เดิมในคาบเรียนที่ผ่านมา ร่วมระดมความคิด
ร่วมสนทนาวิเคราะห์วิจารณ์เกี่ยวกับนิสัยและพฤติกรรมของตัวละครสาคัญในเรื่อง สามก๊ก ตอน กวนอูไป
รับราชการกับโจโฉ ได้แก่ กวนอู โจโฉ เตียวเลี้ยว ที่สอดคล้องกับบริบทของชาวจีน ลงในกระดาษร้อยปอนด์
แผ่นใหญ่ที่ครูเตรียมมาให้ โดยแบ่งกลุ่มดังนี้
กลุ่มที่ 1 และ 2 วิเคราะห์นิสัยและพฤติกรรมของกวนอู
กลุ่มที่ 3 และ 4 วิเคราะห์นิสัยและพฤติกรรมของโจโฉ
กลุ่มที่ 5 และ 6 วิเคราะห์นิสัยและพฤติกรรมของเตียวเลี้ยว
7.6 สมาชิก ของแต่ ล ะกลุ่ม ออกมานาเสนอผลงานที่ ได้จ ากการระดมความคิด ร่วมสนทนา
วิเคราะห์วิจารณ์ในกลุ่มของตนเอง หน้าชั้นเรียน ครูกล่าวชื่นชม แนะนา และเสริมความรู้เพิ่มเติม
ขั้นสรุป (5 นาที)
7.7 ครูแนะนาให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม จากแบบเรียนและแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ
8. สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้
8.1 แบบเรียนวรรณคดี วรรณกรรม
8.2 สไลด์รูปภาพตัวละคร กวนอู โจโฉและเตียวเลี้ยว
8.3 บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ประกอบการบรรยายเทคนิคการเรียนรู้แผนผัง กราฟฟิก
8.4 ผลงานนักเรียนแต่ละกลุ่ม
9. ชิ้นงาน/ ภาระงาน
9.1 แผนผังกราฟฟิก (Graphic Organizers :GO)
10. เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน
10.1 เกณฑ์การประเมินแผนผังกราฟฟิก (Graphic Organizers :GO)
ระดับคุณภาพที่ผ่านเกณฑ์ คือ 6 คะแนน

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 209


ระดับคุณภาพตามเกณฑ์การประเมิน
10 9 8 7 6
1.มีสาระและข้อมูล 1.มีสาระและข้อมูล 1.มีสาระและข้อมูล 1.มีสาระและข้อมูล 1.มีสาระและข้อมูล
ถูกต้อง ถูกต้อง ถูกต้อง ถูกต้อง ถูกต้อง
2.นาเสนอข้อมูลให้ 2.นาเสนอข้อมูลให้ 2.นาเสนอข้อมูลให้ 2.นาเสนอข้อมูลให้ 2.นาเสนอข้อมูลให้
เข้าใจง่าย เข้าใจง่าย เข้าใจง่าย เข้าใจง่าย เข้าใจยาก
3.ข้ อ มู ล ที่ เ สนอมี 3.ข้ อ มู ล ที่ เ สนอมี 3.ข้อมูลทีเ่ สนอมี 3.ข้อมูลทีเ่ สนอขาด 3.ข้อมูลทีเ่ สนอขาด
ความสั ม พั น ธ์ แ ละ ความสั ม พั น ธ์ แ ละ ความสัมพันธ์และ ความสัมพันธ์และ ความสัมพันธ์และ
เชื่อมโยงได้ชั ดเจน เชื่อ มโยงได้ชั ดเจน เชื่อมโยงได้ชัดเจน การเชื่อมโยงที่ การเชื่อมโยงที่
และถูกต้อง และถูกต้อง และถูกต้อง ชัดเจนและถูกต้อง ชัดเจนและถูกต้อง
4. เลือกใช้รปู แบบ 4. เลือกใช้รปู แบบ 4. เลือกใช้รปู แบบ 4. เลือกใช้รปู แบบ 4. เลือกใช้รปู แบบ
เหมาะสมกับข้อมูล เหมาะสมกับข้อมูล ไม่เหมาะสมกับ ไม่เหมาะสมกับ ไม่เหมาะสมกับ
และวัตถุประสงค์ที่ และวัตถุประสงค์ที่ ข้อมูลและ ข้อมูลและ ข้อมูลและ
จะนาเสนอ จะนาเสนอ วัตถุประสงค์ที่จะ วัตถุประสงค์ที่จะ วัตถุประสงค์ที่จะ
5.น าเสนอข้ อ มู ล 5.น าเสนอข้ อ มู ล นาเสนอ นาเสนอ นาเสนอ
และสาระที่ ตรงกั บ และสาระที่ ตรงกั บ 5.นาเสนอข้อมูล 5.นาเสนอข้อมูล 5.นาเสนอข้อมูล
หัวข้อ หัวข้อ และสาระไม่ตรงกับ และสาระไม่ตรงกับ และสาระไม่ตรงกับ
6. เป็นผังกราฟิกที่ 6. เป็นผังกราฟิกที่ หัวข้อ หัวข้อ หัวข้อ
ประกอบด้วย มีองค์ประกอบ 6. เป็นผังกราฟิกที่ 6. เป็นผังกราฟิกที่ 6. เป็นผังกราฟิกที่
องค์ประกอบ ไม่ครบถ้วน มีองค์ประกอบ มีองค์ประกอบ มีองค์ประกอบ
ครบถ้วน 7. ผลงานแสดง ไม่ครบถ้วน ไม่ครบถ้วน ไม่ครบถ้วน
7. ผลงานแสดง ศักยภาพของ 7. ผลงานแสดง 7. ผลงานแสดง 7. ผลงานแสดง
ศักยภาพของ ผู้เรียนได้ไม่เต็มที่ ศักยภาพของ ศักยภาพของ ศักยภาพของ
ผู้เรียนและความคิด ขาดความคิด ผู้เรียนได้ไม่เต็มที่ ผู้เรียนได้ไม่เต็มที่ ผู้เรียนได้ไม่เต็มที่
สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ ขาดความคิด ขาดความคิด ขาดความคิด
สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ สร้างสรรค์

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 210


11. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ เครื่องมือ เกณฑ์
ประเมินผล การประเมิน
2.1 ด้ านความรู้ (Knowledge: K) 1.สังเกตพฤติกรรม 1.แบบสังเกต 1.นักเรียนสามารถ
อธิ บ ายหลั ก การวิเ คราะห์ คุ ณ ค่ า กลุ่ม พฤติกรรมกลุ่ม ทางานเป็นกลุม่ ร่วมกับ
ด้ านเนื้ อ หาที่ ได้ จ ากเรื่อ งสามก๊ ก 2.พิจารณาจาก 2.เกณฑ์การประเมิน ผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
ตอน กวนอู ไปรับ ราชการกั บ โจโฉ ผลงานนักเรียน แผนผังกราฟฟิก 2.ระดับคุณภาพทีผ่ ่าน
ได้ แผนผังกราฟฟิก เกณฑ์การประเมินคือ
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ 6 ขึ้นไป
(Process: P) พูดวิเคราะห์
พฤติ ก รรมและนิ สั ย ของตั วละคร
จากเนื้อ เรื่อ ง สามก๊ ก ตอน กวนอู
ไปรั บ ราชการกั บ โจโฉได้ อ ย่ า งมี
เหตุผล
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
(Attitude: A) บอกคุ ณ ค่ า ที่ ไ ด้ ใ น
ด้านคุณธรรม จริยธรรม

12. สรุปผลการจัดการเรียนรู้
12.1 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.2 ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.3 ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............

ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 211


13. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….........
.………………………………………………………………………………………………………………………………………………........

ลงชื่อ .................................................
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 212


บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 25
รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประชันกลเกมศึก
***********************************************************************************************************
1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก
...............................................................................................................................................................................
2. ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1) การประเมินผลความรู้หลังการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.....................
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก................................................................................................................................................................
2) การประเมินด้านทักษะกระบวนการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.............
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ...........
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มีนักเรียนทาใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกาหนดเวลา
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน
 อื่น ๆ ..............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนาแผนไปปรับปรุง เรื่อง .......................................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 213


โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 26
รหัสวิชา ท33101 รายวิชา ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประชันกลเกมศึก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง พูดวิเคราะห์วิจารณ์คุณค่าด้านเนื้อหา (3) จานวน 1 คาบ ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ความคิ ด ความรู้ในโอกาส
ต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
ม.4-6/1 สรุปแนวคิดและแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู
ม.4-6/3 ประเมินเรื่องที่ฟังและดู แล้วกาหนดแนวทางนาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต
ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนามา
ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ม.4-6/1 วิเคราะห์ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น
ม.4-6/4 สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีวรรณกรรม เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) อธิบายหลักการวิเคราะห์คุณค่าด้านเนื้อหาที่ได้จากเรื่องสามก๊ก
ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉได้
2.2 ด้านทั กษะ/กระบวนการ (Process: P) พูดวิเคราะห์พฤติกรรมและนิสัยของตัวละครจากเนื้อ
เรื่อง สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉได้อย่างมีเหตุผล
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude: A) บอกคุณค่าที่ได้ในด้านคุณธรรม จริยธรรม
3. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs)
 R1–Reading (อ่านออก)
 C1–Critical Thinking and Problem Solving (ทั ก ษะด้านการคิดอย่างมี วิจ ารณญาณและทั ก ษะใน
การแก้ปัญหา)
 C3–Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์)
 C5–Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสนเทศและรู้เท่า
ทันสื่อ)

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 214


 C6–Computing and ICT Literacy (ทั ก ษะด้ า นคอมพิ ว เตอร์ และเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ
การสื่อสาร)
4. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
5. สาระสาคัญ
เนื้อเรื่องย่อ
สามกก เริ่มเรื่อ งตั้งแตครั้งที่ ประเทศจีนแตกแยกออกเปนสามกก ในสมัยพระเจาเลนเตขึ้น
ครองราชยเมื่อป พ.ศ. 711 เนื่องจากพระเจาเลนเตนั้นปราศจากความสามารถ หลงเชื่อพวกขันทีในราชสานัก
จนเปนเหตุใหพวกขันทีกาเริบ การปกครองแผนดินจึงวิปริตผันแปรและเกิดโจรผูรายชุกชุมเมื่อพระเจาเลนเต
สิ้นพระชนมลง ราชบุตรองคใหญชื่อหองจูเปยนไดรับรัชทายาท นางโฮเฮามเหสีผูเปนชนนีเปนผูสาเร็จราชการ
แผนดิน เปนเหตุใหบานเมื อ งเกิ ดจลาจลขึ้น สามพี่น องรวมสาบาน เลาป กวนอู และเตียวหุย พรอมดวย
ตั๋งโตะเขาปราบจลาจลไดสาเร็จ และยกหองจูเหียบ ราชบุตรองคเล็กขึ้นเปนพระเจาแผนดิน ทรงพระนามวา
พระเจาเหี้ยนเต เลาปถูกแตงตั้งไปปกครองเมื องอันหอกวน ซึ่งเปนเมืองขึ้นเล็ก ๆ โดยมีเตียวหุยและกวนอู
ติดตามไปดวย ราษฎรในเมือง อันหอกวนสรรเสริญเปนอันมาก ตั๋งโตะไดเปนเซียงกกสา เร็จราชการแผนดิน
และทาการกบฏ พระเจาเหี้ยนเตจึงตองทิ้งเมืองหลวงหลบหนีไป พรอมมีรับสั่งใหหาโจโฉ โจโฉนั้นเปนคนฉลาด
แตมักทา การตามอาเภอใจ ทาใหพระเจาเหี้ยนเตคับแคนใจจนตองขอใหผูที่มีความจงรักภักดีชวยกาจัดโจโฉ
หัวเมืองที่มีกาลังและมิไดเปนพรรคพวกของ โจโฉก็ถือวาโจโฉเปนศัตรูของพระเจาแผนดิน เวลาโจโฉมีทองตรา
อางรับสั่งพระเจาเหี้ยนเตออกไปถึงหัวเมืองที่เปนขาศึก หัวเมืองเหลานั้นก็เคารพนบนอบตอทองตราทาใหโจโฉ
นั้นยังมีชัยชนะ ปราบหัวเมืองไดมาก โจโฉตองการปราบปรามเลาปซึ่งมีอานาจอยูทางตอนเหนือ เลาปพยายาม
เอาชนะโจโฉแตก็ ไมส าเร็จ จนกระทั่ งไดขงเบงมาเปนที่ ป รึก ษา ประจวบกั บ ไดซุน กวนผู มี อานาจทางทิ ศ
ตะวันออกมาเปนพันธมิตร ทาใหสามารถตอสูกับกองทัพโจโฉจนไดรับชัยชนะ ตอมาเลาปและซุนกวนเกิด
บาดหมางกัน สงผลใหเกิดการรบเปนสามฝาย แตกแยกเปนสามกก คือ วุยกก ของฝายโจโฉ จกกกของฝาย
เลาป และงอกกของฝายซุนกวน แตละกกตางรบราแยงชิงความเปนใหญยาวนานกวา 60 ปถึงจะรวมแผนดิน
ทั้งสามกกไวเปนหนึ่งเดียว สามกก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ที่นามาใหศึกษานี้ มีความเปนมากลาวถึง
ตอนที่ โจโฉยกกองทัพมาตีเมืองชีจิ๋วของเลาปได ก็ยกทัพมาตีเมืองแหฝอของกวนอู ซึ่งขณะนั้นกวนอู อยูรักษา
เมืองและดูแลภรรยาทั้งสองของเลาป โจโฉตองการใหกวนอูมาอยูรับราชการดวย จึงหาหนทางใหกวนอูออก
จากเมือง จากนั้นจึงใหกองกาลังทหารลอมกวนอูไว แลวใหเตียวเลี้ยวทหารเอกใชความคุนเคยครั้งที่กวนอูเคยช
วยชีวิตไวเจรจาเกลี้ยกลอม แตกวนอูก็ไมยอมเพราะมีใจซื่อสัตยภักดีกับเลาปเปนที่สุด เตียวเลี้ยวจึงใชปญญา
เจรจาดวยการยกโทษสามประการหากกวนอู ยัง ขัดขืน จะไมไปอยู กั บ โจโฉ กวนอูถึง ยอมแตก็ มี เงื่อนไข
แลกเปลี่ยนสามขอ คือ ขอเปนขารับใชพระเจาเหี้ยนเตไมใชรับใชโจโฉ ขอเบี้ยหวัดของเลาปใหภรรยาทั้งสอง
ของเลาป และขอไปหาเลาป ทันที ที่ทราบวาอยูที่ใด แมโจโฉจะไมพอใจเงื่อนไขของกวนอูนักแตก็ยินยอม
เพราะคิดวาวันหนึ่ง กวนอูจะตองเปลี่ยนใจมาภักดีตอตน โจโฉพยายามดูแลเลี้ยงดูกวนอูและภรรยาของเลาป
อยางสุขสบาย แตกวนอูก็มิไดหลงใหลกับความสุขที่โจโฉจัดสรรให กวนอูยังคงมีความซื่อสัตยอยางเสมอตน

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 215


เสมอปลายจนโจโฉ นึกนอยใจ แตก็เชื่อวาคนกตัญ ู อยางกวนอูจะตองอยูตอบแทนคุณของตนกอนที่จะคิด
หนีไปไหน
แนวคิดสาคัญ 1. ความจงรกภักดี 2. ความกตัญญู 3. คุณธรรม 4. ความเป็นผู้นา
การวิเคราะห์คุณค่าด้านเนื้อหา ในส่วนการวิเคราะห์นิสัยและพฤติกรรมของตัวละคร
1) กวนอู เป็นน้องร่วมสาบานของเล่าปี่ มีนิสัยห้าวหาญ และมีความซื่อสัตย์ ครั้งสงครามชีจิ๋ว เล่าปี่
พ่ายแพ้ต่อกองทัพ โจโฉ กวนอูซึ่งรัก ษาเมืองแห้ฝืออยู่ถู กกองทัพโจโฉโจมตีอย่างหนัก กวนอูยกทัพออกไปรบ
นอกเมื อง ปรากฏว่าถูก กองทั พ โจโฉล้อ มไว้ทุ ก ทิ ศทาง ด้วยความจ าเป็นที่ ต้องดูแลพี่ส ะใภ้และตามหาเล่าปี่
เตียวหุย พี่น้องร่วมสาบานทาให้ต้องยอมแพ้ในที่สุด
2) เตียวเลี้ยว เดิมเป็นทหารเอกของยอดขุนศึ กลิโป้ มีจิตใจห้าวหาญ รักความยุติธรรม หลังจากลิโป้
พ่ายแพ้แก่โจโฉ เตียวเลี้ยวก็ได้เข้าร่วมกับกองทัพของโจโฉ ในครั้งสงครามชีจิ๋ว เตียวเลี้ยวขออาสาไปเกลี้ยกล่อม
กวนอูให้มายอมแพ้ (เนื่องจากเตียวเลี้ยวต้องการทดแทนบุญคุณของกวนอู ไม่อยากให้กวนอูต้องมาตายเปล่า
เพราะว่า คนที่ช่วยเตียวเลี้ยวไว้เมื่อคราวที่เตียวเลี้ยวโดนโจโฉจับ ก็คือ กวนอู ซึ่งได้บอกแก่โจโฉให้ไว้ชีวิตเตียว
เลี้ยวในคราวนั้น)
3) โจโฉ ผู้ส าเร็จ ราชการของราชวงศ์ฮั่น (ตาแหน่ง ในตอนนั้น) เป็น คนมี ความสามารถยอดเยี่ยม
ทุกด้าน รักคนมีฝีมือ แต่มีข้อเสียในเรื่องความขี้ระแวง ในครั้งสงครามชีจิ๋ว โจโฉได้สั่งให้กองทัพเข้าตีชีจิ๋วเป็น
5 กองทัพ ทาให้เล่าปี่ต้องพ่ายแพ้ย่อยยับ หลังจากที่เล่าปี่พ่ายแพ้และโจโฉเข้ายึดเมืองแห้ฝือได้แล้ว มีความคิด
อยากให้กวนอูเข้ามารับราชการด้วย จึงได้ส่งเตียวเลี้ยวไปเกลี้ยกล่อม หลังจากกวนอูเข้ามายอมแพ้แล้ว โจโฉก็ได้
จัดงานเลี้ยงกวนอูทุกวันไม่ได้ขาด รวมไปถึงมอบม้า เซ็กเทา ม้าชั้นเลิศให้กวนอูอีกด้วย
6. สาระการเรียนรู้
6.1 หลักการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีวรรณกรรม (คุณค่าด้านเนื้อหา:วิเคราะห์นิสัยและพฤติกรรม
ของตัวละคร)
6.2 เนื้อเรื่อง สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ
7. กิจกรรมการเรียนรู้ (แบบ Active Learning)
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (5 นาที)
7.1 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ
7.2 ครูท บทวนกิจกรรมในคาบเรียนที่ ผ่านมา จากนั้นเปิดโอกาสให้นัก เรียนได้ร่วมสนทนาถึง
ปัญหาและอุปสรรคในการระดมความคิด วิเคราะห์วิจารณ์ รวมถึงปัญหาที่พบในการเขียนแผนผังกราฟฟิก
ขั้นสอน (45 นาที)
7.4 นั ก เรียนฟั ง ครู ท บทวนความรู้เ กี่ ย วกั บ เทคนิค การเรี ยนรู้ แบบแผนผัง กราฟฟิ ก (Graphic
Organizers :GO) อีกครั้ง
7.5 นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียนต่อจากคาบเรียนที่ผ่านมา จนครบทุกลุ่ม
7.6 ครูสอบถามนักเรียนเกี่ยวกับความรู้และประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนรู้ แบบแผนผังกราฟฟิก
(Graphic Organizers :GO)

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 216


ขั้นสรุป (5 นาที)
7.7 ครูแนะนาให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม จากแบบเรียนและแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ
7.8 ครูแนะนาให้นักเรียนได้นาเทคนิคการเรียนรู้แบบแผนผังกราฟฟิก (Graphic Organizers
:GO)ไปใช้ประโยชน์ในการเรียนรายวิชาอื่น ๆ หรือการสรุปความรู้จากการศึกษาค้นคว้า
8. สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้
8.1 แบบเรียนวรรณคดี วรรณกรรม
8.2 ผลงานนักเรียนแต่ละกลุ่ม
9. ชิ้นงาน/ ภาระงาน
9.1 แผนผังกราฟฟิก (Graphic Organizers :GO)
10. เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน
10.1 เกณฑ์การประเมินแผนผังกราฟฟิก (Graphic Organizers :GO)
ระดับคุณภาพที่ผ่านเกณฑ์ คือ 6 คะแนน

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 217


เกณฑ์การประเมินแผนผังกราฟฟิก (Graphic Organizers :GO)
ระดับคุณภาพตามเกณฑ์การประเมิน
10 9 8 7 6
1.มีสาระและข้อมูล 1.มีสาระและข้อมูล 1.มีสาระและข้อมูล 1.มีสาระและข้อมูล 1.มีสาระและข้อมูล
ถูกต้อง ถูกต้อง ถูกต้อง ถูกต้อง ถูกต้อง
2.นาเสนอข้อมูลให้ 2.นาเสนอข้อมูลให้ 2.นาเสนอข้อมูลให้ 2.นาเสนอข้อมูลให้ 2.นาเสนอข้อมูลให้
เข้าใจง่าย เข้าใจง่าย เข้าใจง่าย เข้าใจง่าย เข้าใจยาก
3.ข้ อ มู ล ที่ เ สนอมี 3.ข้ อ มู ล ที่ เ สนอมี 3.ข้อมูลทีเ่ สนอมี 3.ข้อมูลทีเ่ สนอขาด 3.ข้อมูลทีเ่ สนอขาด
ความสั ม พั น ธ์ แ ละ ความสั ม พั น ธ์ แ ละ ความสัมพันธ์และ ความสัมพันธ์และ ความสัมพันธ์และ
เชื่อมโยงได้ชั ดเจน เชื่อ มโยงได้ชั ดเจน เชื่อมโยงได้ชัดเจน การเชื่อมโยงที่ การเชื่อมโยงที่
และถูกต้อง และถูกต้อง และถูกต้อง ชัดเจนและถูกต้อง ชัดเจนและถูกต้อง
4. เลือกใช้รปู แบบ 4. เลือกใช้รปู แบบ 4. เลือกใช้รปู แบบ 4. เลือกใช้รปู แบบ 4. เลือกใช้รปู แบบ
เหมาะสมกับข้อมูล เหมาะสมกับข้อมูล ไม่เหมาะสมกับ ไม่เหมาะสมกับ ไม่เหมาะสมกับ
และวัตถุประสงค์ที่ และวัตถุประสงค์ที่ ข้อมูลและ ข้อมูลและ ข้อมูลและ
จะนาเสนอ จะนาเสนอ วัตถุประสงค์ที่จะ วัตถุประสงค์ที่จะ วัตถุประสงค์ที่จะ
5.น าเสนอข้ อ มู ล 5.น าเสนอข้ อ มู ล นาเสนอ นาเสนอ นาเสนอ
และสาระที่ ตรงกั บ และสาระที่ ตรงกั บ 5.นาเสนอข้อมูล 5.นาเสนอข้อมูล 5.นาเสนอข้อมูล
หัวข้อ หัวข้อ และสาระไม่ตรงกับ และสาระไม่ตรงกับ และสาระไม่ตรงกับ
6. เป็นผังกราฟิกที่ 6. เป็นผังกราฟิกที่ หัวข้อ หัวข้อ หัวข้อ
ประกอบด้วย มีองค์ประกอบ 6. เป็นผังกราฟิกที่ 6. เป็นผังกราฟิกที่ 6. เป็นผังกราฟิกที่
องค์ประกอบ ไม่ครบถ้วน มีองค์ประกอบ มีองค์ประกอบ มีองค์ประกอบ
ครบถ้วน 7. ผลงานแสดง ไม่ครบถ้วน ไม่ครบถ้วน ไม่ครบถ้วน
7. ผลงานแสดง ศักยภาพของ 7. ผลงานแสดง 7. ผลงานแสดง 7. ผลงานแสดง
ศักยภาพของ ผู้เรียนได้ไม่เต็มที่ ศักยภาพของ ศักยภาพของ ศักยภาพของ
ผู้เรียนและความคิด ขาดความคิด ผู้เรียนได้ไม่เต็มที่ ผู้เรียนได้ไม่เต็มที่ ผู้เรียนได้ไม่เต็มที่
สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ ขาดความคิด ขาดความคิด ขาดความคิด
สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ สร้างสรรค์

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 218


11. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ เครื่องมือ เกณฑ์
ประเมินผล การประเมิน
2.1 ด้ านความรู้ (Knowledge: K) 1.สังเกตพฤติกรรม 1.แบบสังเกต 1.นักเรียนสามารถ
อธิ บ ายหลั ก การวิเ คราะห์ คุ ณ ค่ า
กลุ่ม พฤติกรรมกลุ่ม ทางานเป็นกลุม่ ร่วมกับ
ด้ านเนื้ อ หาที่ ได้ จ ากเรื่อ งสามก๊ ก
2.พิจารณาจาก 2.เกณฑ์การประเมิน ผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
ตอน กวนอู ไปรับ ราชการกั บ โจโฉ ผลงานนักเรียน แผนผังกราฟฟิก 2.ระดับคุณภาพทีผ่ ่าน
ได้ แผนผังกราฟฟิก เกณฑ์การประเมินคือ
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ 6 ขึ้นไป
(Process: P) พูดวิเคราะห์
พฤติ ก รรมและนิ สั ย ของตั วละคร
จากเนื้อ เรื่อ ง สามก๊ ก ตอน กวนอู
ไปรั บ ราชการกั บ โจโฉได้ อ ย่ า งมี
เหตุผล
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
(Attitude: A) บอกคุ ณ ค่ า ที่ ไ ด้ ใ น
ด้านคุณธรรม จริยธรรม
12. สรุปผลการจัดการเรียนรู้
12.1 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.2 ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.3 ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
13. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………....
......…………………………………………………………………………………………………………………………………………....
ลงชื่อ .................................................
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 219


บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 26
รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประชันกลเกมศึก
***********************************************************************************************************
1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก
...............................................................................................................................................................................
2. ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1) การประเมินผลความรู้หลังการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.....................
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก................................................................................................................................................................
2) การประเมินด้านทักษะกระบวนการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.............
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ...........
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มีนักเรียนทาใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกาหนดเวลา
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน
 อื่น ๆ ..............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนาแผนไปปรับปรุง เรื่อง .......................................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 220


โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 27
รหัสวิชา ท33101 รายวิชา ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประชันกลเกมศึก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง วิเคราะห์วิจารณ์คุณค่าด้านสังคม (1) จานวน 1 คาบ ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ
นามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ม.4-6/1 วิเคราะห์ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น
ม.4-6/3 วิเคราะห์และประเมิ นคุณค่าด้านวรรณศิล ป์ของวรรณคดีและวรรณกรรมใน
ฐานะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) อธิบายหลัก การวิเคราะห์ วิจารณ์ คุณค่าด้านสังคมที่ได้จาก
เรื่องสามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉได้
2.2 ด้านทั ก ษะ/กระบวนการ (Process: P) วิเคราะห์ วิจารณ์ คุณค่าด้านสังคมจากเนื้อเรื่อง
สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉได้
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude: A) เห็นคุณค่าของวรรณคดีในฐานะหลักฐาน
ทางประวัติศาสตร์และเครื่องมือในการแสดงวัฒนธรรมต่างชาติ
3. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs)
 R1–Reading (อ่านออก)
 C1–Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะ
ในการแก้ปัญหา)
 C3–Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์)
 C5–Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสนเทศและ
รู้เท่าทันสือ่ )
 C6–Computing and ICT Literacy (ทั ก ษะด้ า นคอมพิ ว เตอร์ และเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ
การสื่อสาร)

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 221


4. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
5. สาระสาคัญ
5.1 หลักการวิเคราะห์วิจารณ์คุณค่าด้านสังคม
การพิ จารณาคุณค่าด้านสังคมที่ป รากฏในวรรณคดีและวรรณกรรม คือ การพิจ ารณาสิ่งที่สะท้อน
จากวรรณคดีและวรรณกรรมซึ่งกวีนิยมแทรกไวใ้นเรื่อง เพื่อเสริมเนื้อความให้มีความชัดเจนและสมจริงมากขึ้น
นอกจากนี้ยังแสดงถึงความรอบรู้ของกวีเกี่ยวกับเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่ปรากฏอยู่ในสังคม เช่น วิถีชีวิต
การเมืองการปกครอง ประวัติศาสตร์ ประเพณีวัฒนธรรม จารีต ค่านิยม ความเชื่อ ศาสนา การศึกษา เศรษฐกิจ
เป็นต้น หนึ่งในคุณค่าที่สาคัญของวรรณกรรมหรือวรรณคดีก็คือ คุณค่าทางด้านประวัติศาสตร์ วรรณคดี ส่วนมาก
นั้นเป็นวรรณกรรมที่แต่งขึ้นในอดีตกาล ได้รับการพิสูจน์แล้วว่าทรงคุณค่า โดยดูได้จากการรักษาสืบต่อถ่ายทอด
ลงมารุ่นสู่รุ่น มิได้เลือนหายไปตามกาลเวลา วรรณคดีเหล่านี้จึงเป็นเสมือนหนึ่งกระจกเงาส่องอดีต ที่ช่วยให้คน
รุ่นหลังสามารถจินตนาการถึงวิถีชีวิตและสภาพสั งคมของคนในอดีตได้เป็นอย่างดี ไม่เพียงแต่ความรู้เกี่ยวกั บ
ประวัติศาสตร์ไทยเท่านั้น ที่สามารถหาได้จากวรรณคดีไทย วรรณคดีแปลอย่าง “สามก๊ก” ก็ให้ความรู้เกี่ยวกับ
ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ประเพณีของจีนสมัยปลายราชวงศ์ฮั่นได้เป็นอย่างดี
5.2 คุณค่าด้านสังคมที่ได้จากเรื่องสามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ
1) สะท้อนแนวคิดเกี่ยวกับการทาสงครามของคนจีน ดังนี้
1.1) การท าสงครามนั้ น มิ ใช่ ใช้ก าลั ง ทหารเพี ยงอย่า งเดี ยว หากแต่ ต้ องอาศั ย สติ ปั ญ ญาและ
เล่ห์เหลี่ยมกลอุบายเป็นสาคัญ จึงจะสามารถเอาชนะข้าศึกศัตรูได้ ดังเช่น ตอนที่เทียหยกวางกลอุบายล่อลวงให้
กวนอูออกจากเมืองแห้ฝือ เพื่อให้ทหารโจโฉเข้ายึดเมืองแห้ฝือ และก็ทาได้สาเร็จ
“ม้าเท้งไปอยู่เมืองเสเหลียงนั้นมีทหารเป็นอันมาก ถ้าท่านจะยกทัพไปตีเอา บัดนี้เมืองเราก็เป็นกังวล
อยู่ ขอให้ท่านเร่งแต่งผู้มีสติปัญญาไปเกลี้ยกล่อมหาตัวม้าเท้งกลับเข้ามา อย่าให้ทันม้าเท้งรู้ว่าท่านจับตังสินกับ
พวกเพื่อนฆ่าเสีย ข้าพเจ้าเห็นว่าเท้งไม่แจ้งเนื้อความทั้งนี้ก็จะเข้ามา จึงจับฆ่าเสียก็จะได้โดยง่าย ”
1.2) บุคลิกภาพผู้นา ผู้นาที่จะยิ่งใหญ่และประสบความสาเร็จ นอกจากจะต้องมีสติปัญญาเฉลียว
ฉลาด เขียวชาญในการรบแล้ว ควรมีความพยายามและความอดทนในการทาการที่มุ่งหวัง ดังเช่น ตอนที่โจโฉใช้
ความเพียรพยายามอดทนและใช้จิตวิทยาเป็นอย่างมากในการผูกมัดใจกวนอูให้เกิดความจงรักภักดีต่อตนเอง
ซึ่งโจโฉก็ทาได้สาเร็จขั้นหนึ่ง แม้กวนอูจะยังคงความซื่อสัตย์ต่อเล่าปี่ไม่คลาย แต่ก็รู้สึกสานึกในบุญคุณของโจโฉ
และพร้อมที่จะตอบแทนบุญคุณในภายหน้า
“ โจโฉจึงถามเทียหยกว่า ท่านจะคิดล่อลวงประการใด เทียหยกจึงว่า ท่านจับทหารเล่าปี่ไว้ได้เป็น
อันมาก จงให้บาเหน็จรางวัลให้ถึงขนาด แล้วสั่งให้ทาตามคาเราจึงปล่อยเข้าไปในเมืองให้บอกว่าหนีกลับมาได้
ถ้าเราจะทาการก็ให้เป็นไส้ศึกอยู่ในเมือง แล้วให้แต่ง ทหารไปรบล่อ ถ้ากวนอูไล่ออกมานอกเมืองแล้ว จึงให้
ทหารซึ่งซุ่มอยู่ทั้งสองข้างล้อมไว้ จึงแต่งให้ผู้มีสติไปเกลี้ยกล่อมกวนอูเห็นจะได้โดยง่าย”

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 222


1.3) ความสาคัญของนักการทูต นักการทูตมีความสาคัญในการช่วยราชการบ้านเมือง แม้กระทั่งใน
ยามศึกสงคราม ผู้ที่ทาหน้าที่ทางการทูตต้องเป็นผู้ที่มีสติปัญญาเฉลียวฉลาด มีโ วหารทางการพูดเป็นเลิศ ดังเช่น
เตียวเลี้ยวที่สามารถโน้มน้าวใจให้กวนอูยอมรับราชการกับโจโฉเป็นผลสาเร็จ
“เตียวเลี้ยวจึงตอบว่า เดิมท่านเล่าปี่ เตียวหุยได้สาบานไว้ต่อกันว่า เป็นพี่น้องร่วมสุขแลทุกข์เป็น
ชีวิตอันเดียวกั น.... เมื่อ ท่ านตายแล้ว เล่าปี่ เตียวหุยก็ จ ะตายด้วย ซึ่ง ท่ านสาบานไว้ต่อหน้ากันก็ จ ะมิ เสีย
ความสัตย์ไปหรือ คนทั้งปวงก็จะล่วงนินทาว่าความคิดท่านน้อย...เตียวเลี้ยวจึงว่า มหาอุปราชให้ทหารล้อมไว้
เป็นอันมาก ถ้าท่านมิส มัครเข้าด้วยเห็นชีวิตท่ านจะถึง แก่ความตายหาประโยชน์มิได้ ขอให้ท่ านอยู่กั บมหา
อุปราชก่อนเถิด จะได้มีประโยชน์สามประการ”
1.4) พลังของความสามัคคีช่วยให้บ้านเมืองอยู่รอดปลอดภัยจากข้าศึกศัตรู ในการทาสงครามถ้ามี
ความเป็นน้าหนึ่งใจเดียวกันย่อมเกิดพลังในการต่อสู้ข้าศึก แต่หากขาดซึ่งความสามัคคีแล้วย่อมเสียทีแก่ข้าศึก
โดยง่าย เช่น การที่อ้วนเสี้ยวไม่ส่งทหารไปช่วยเล่าปี่ เป็นเหตุหนึ่งที่ทาให้เล่าปี่ปราชัย หรือการที่บิต๊ก บิฮอง
กันหยง ทิ้งเมืองเพราะคิดว่าจะสู้โจโฉมิได้ และตันเต๋งกลับเปิดประตูรับโจโฉเป็นเหตุให้โจโฉยึดเมืองชีจิ๋วได้ง่าย
2) สะท้อนค่านิยมในการประพฤติปฏิบัติของคนในสังคม ดังนี้
2.1) ค่านิยมเรื่องความซื่อสัตย์ จากเรื่องสามก๊กตอนกวนอูไปรับราชการกับโจโฉ สะท้อนให้เห็น
ค่านิยมด้านความซื่อสัตย์ได้เนชัดที่สุด ดังความว่า
“โจโฉรู้ดังนั้นก็เกรงใจกวนอูว่ามีความสัตย์ แลกตัญญูต่อเล่าปี่ โจโฉจึงให้กวนอูกับภรรยา
เล่าปี่ไปอยู่ ณ ตึกสองหลังมีชานกลาง กวนอูจึงให้พี่สะใภ้ทั้งสองคนนั้นอยู่ตึกหนึ่ง แล้วให้ทหารที่แก่ราชการอยู่
รักษาประมาณสิบคน ตัวนั้นอยู่ตึกหนึ่งระวังรักษาพี่สะใภ้ทั้งสอง”
กวนอูถือเป็นตัวละครสาคัญ ที่สะท้อนค่านิยมเรื่องความซื่อสัตย์ บทบาทและพฤติกรรมขงกวนอู
ไม่ว่าจะแสดงออกต่อภรรยาของเล่าปี่หรือโจโฉก็ล้วนสนับสนุนค่านิยมเรื่องความซื่อสัตย์ทั้งสิ้น
2.2) ค่านิยมความจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ เช่น การที่โจโฉส่งทหารไปล่อให้กวนอูตามออกมา
นอกเมืองและล้อมจับตัวกวนอูไว้ เตียวเลี้ยวทหารฝ่ายโจโฉซึ่งกวนอูเคยช่วยชีวิตไว้เป็นผู้เข้าไปเกลี้ยกล่อมกวนอู
ให้ไปอยู่กับโจโฉ กวนอูยอมจานนแต่ขอเงื่อนไขเป็นสัญญาคือขอให้ได้เป็นข้าของพระเจ้าเหี้ยนเต้
“ กวนอูจึงว่า เดิมเราได้สาบานกันไว้กับเล่าปี่ เตียวหุยว่าจะช่วยทานุบารุงพระเจ้าเหี้ยนเต้
แลอาณาประชาราษฎรให้อยู่เย็นเป็นสุข ซึ่งเราจะสมัครเข้าด้วยนั้น เราจะขอเป็นข้าพระเจ้าเหี้ยนเต้ประการ
หนึ่ง”
2.3) ค่านิยมความกตัญญูรู้คุณ เช่น ตอนที่เตียวเลี้ยวกล่าวถึงลักษณะนิสัยของกวนอูดังความว่า
“อันน้าใจกวนอู นั้น ถ้าผู้ใดมีแล้วเห็นจะเป็นเหมื อนอิเยียง อันเล่าปี่กั บกวนอูนั้นมิ ได้เห็น
พี่น้องกัน ซึ่งมีความรักกันนั้น เพราะได้สาบานต่อกัน เล่าปี่เป็นแต่ผู้น้อย เลี้ยงกวนอู ไม่ถึงขนาด กวนอูยังมี
น้าใจกตัญญูต่อเล่าปี่ จึงคิดจะติดตามมิได้ทิ้งเสีย ”

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 223


3) สะท้อนเรื่องความเชื่อของคนในสังคม ดังนี้
3.1) ความเชื่อในโชคลาง เช่น แม้โจโฉจะเป็นแม่ทัพที่มีความสามารถในการรบเมื่อยกทัพ มา
เกิดลมพายุพัดธงชัยหัก ก็ต้องพึ่งคาทานายทายทัก จะเห็นได้ว่าเป็นเรื่องสาคัญของการรบโบราณที่ต้องถือฤกษ์
ยามและโชคลาง ดังความว่า
“ฝ่ายโจโฉยกกองทัพมาใกล้จะถึงเมืองเสียวพ่าย พอเกิดลมพายุใหญ่พัดหนักธงชัยซึ่งปัก
มาบนเกวียนนั้นหักทับลง โจโฉเห็นวิปริตดังนั้นก็ให้ทหารหยุดตั้งค่ายมั่นไว้แล้วถามที่ปรึกษาว่า ซึ่งลมพายุพัด
มาถูกธงชัยเราหักลงทั้งนี้ จะเห็นดีแลร้ายประการใด ซุนฮกจึงว่าซึ่งเกิดพายุใหญ่พัดธงชัยหักทับลงมานั้นเป็น
ลมตะวันออก เวลาค่าวันนี้ดีร้ายเล่าปี่จะยกทัพออกมาปล้นค่ายเราเป็ นมั่นคง พอมอกายเข้ามาว่าแก่โจโฉว่า
ลมตะวันออกพัดมาถูกธงหักนั้น ข้าพเจ้าเห็นว่ากลางคืนวันนี้จะมีผู้มาปล้นค่าย”
3.2) ความเชื่อในเรื่องความฝัน เช่น เมื่อนางบิฮูห ยินและกาฮูหยินเล่าความฝันของนางที่
เกี่ยวกับเล่าปี่ให้กวนอูฟัง กวนอูก็เกิดวิตก ดังความว่า
“...นางกาฮูหยินจึงตอบว่า คืนนี้พี่ฝันเห็นเล่าปี่ตกหลุมลงครั้นตื่นขึ้นมาก็ตกใจจึงแก้ฝัน
นางบิฮูหยิน เห็นพร้อมกันว่าเล่าปี่ตายแล้วพี่จึงร้องไห้รัก กวนอูได้ฟังดังนั้น พิเคราะห์ดูเห็นฝันผิดประหลาด
สาคัญว่าเล่าปี่เป็นตายก็ร้องไห้ด้วย ”
3.3) ความเชื่อเรื่องบุญกรรมที่ตนได้กระทาไว้ สามก๊ก ตอนกวนอูไปรับราชการกับโจโฉ
แสดงให้เห็นความเชื่อเรื่องบุญกรรมที่ได้ทามาเช่น
“แล้วว่าบัดนี้ข้าพเจ้าเข้ามาปรึกษาด้วย พี่ทั้งสองจะเห็นประการใด นางกาฮูหยินจึง
ว่าเวลาคืนนี้โจโฉเข้าในเมืองได้พี่นี้เกรงอยู่ว่าจะเป็นอันตรายต่างๆเป็นเดชะบุญของเรา ”
4) สะท้อนเกี่ยวกับขนบธรรมเนียมประเพณีต่าง ๆ ของสังคมจีนดังนี้
4.1) การจัดเลี้ยง การจัดเลี้ยงเป็นเอกลักษณ์ของคนจีน ในสังคมจีนไม่ ว่าจะในโอกาส
แสดงความยินดี ต้อนรับ หรือขอบคุณมักจะจัดอาหารเลี้ยงกันเป็นประจาจนกลายเป็นประเพณีไปโดยปริยาย
ดังความว่า
“...อ้วนถาได้ฟังดังนั้นก็มีความสงสารเป็นอันมาก ก็ให้แต่งโต๊ะเลี้ยงแล้วจัดแจงที่อยู่ให้
เล่าปี่อาศัย จึงแต่งหนังสือบอกไปถึงบิดาตามคาเล่าปี่ให้ม้าใช้ถือไปก่อน...”
4.2) การให้ของกานัล การให้ของกานัลเป็นสิ่งที่ชาวจีนนิยมทากันในเกือบทุกโอกาส จาก
เรื่องจะเห็นได้ว่า โจโฉให้เครื่องเงิน เครื่องทองเสื้อผ้าดีๆและให้ผ้าแพรขาวอย่างดีแก่กวนอูเพื่อทาถุงใส่หนวด
การให้ของกานัลเช่นนี้เป็นกลวิธีหนึ่งที่ชาวจีนนิยมกระทาเพื่อเป็นเครื่องผูกใจดังความว่า
“ครั้นอยู่มาวันหนึ่ง โจโฉให้เชิญกวนอูมากินโต๊ะ เห็นกวนอูห่มเสื้อขาด โจโฉจึงเอา
เสื้ออย่างดีให้กวนอู กวนอูรับเอาเสื้อแล้ว จึงเอาเสื้อใหม่นั้นใส่ชั้นใน เอาเสื้อเก่านั้นใส่ชั้นนอก ”
“กวนอูจึงตอบว่าหนวดของข้าพเจ้าประมาณร้อยเส้น ครั้นถึงเทศกาลหนาวก็หล่นไป
บ้าง ข้าพเจ้าจึงทาถุงใส่ไว้ โจโฉได้ฟังดังนั้นจึงเอาแพรขาวอย่างดี ทาถุงให้กวนอูสาหรับใส่หนวด”

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 224


6. สาระการเรียนรู้
6.1 หลักการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีวรรณกรรม (คุณค่าด้านสังคม)
6.2 เนื้อเรื่อง สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ
7. กิจกรรมการเรียนรู้ (แบบ Active Learning)
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (15 นาที)
7.1 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ
7.2 ครูชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน (The 5 E’s of
Inquiry-Based Learning) ที่ครูจะใช้ในกิจกรรมการเรียนรู้วันนี้
7.3 นัก เรียนดูล ะครโทรทั ศน์เรื่อง สามก๊ ก ตอน กวนอูไปรับ ราชการกับ โจโฉ โดยครูเปิด
ละครจากการสแกนคิวอาร์โค้ด
การสร้างความสนใจ
(Engagement)

7.4 ครูสอบถามนักเรียนในประเด็น ดังต่อไปนี้


 นักเรียนเห็นอะไรบ้างในละคร (ตัวอย่างเช่น เครื่องแต่งกายนักรบ,อาวุธ,ที่อยู่อาศัย)
 นักเรียนคิดว่าสิ่งต่าง ๆ ที่พบเห็นในละครเรื่องสามก๊ก สะท้อนวัฒนธรรมชนชาติใด (จีน)
ขั้นสอน (35 นาที)
การสารวจและค้นหา (Exploration)
7.5 นัก เรียนฟั งครูท บทวนความรู้ ที่ ได้รับจากเรื่อง สามก๊ ก ตอน กวนอูไปรับ ราชการกั บ โจโฉ
ประกอบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์
7.6 นักเรียนทาใบกิจกรรม สืบค้นคุณค่าด้านสังคมจากสามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ
โดยแนะนาให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลจากแบบเรียน และแหล่งเรียนรู้ออนไลน์ที่น่าเชื่อถือ เช่น เพจสามก๊ก
วิทยา เพจศิลปวัฒนธรรม เป็นต้น
การอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation)
7.7 ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยใบกิจกรรม สืบค้นคุณค่าด้านสังคมจากสามก๊ก ตอน กวนอูไปรับ
ราชการกับโจโฉ จากนั้นครูบรรยายสรุปความรู้ ประกอบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์
การขยายความรู้ (Elaboration)
7.8 นักเรียนร่วมกันอภิปรายความรู้เกี่ยวกับคุณค่าด้านสังคมที่ได้รับจากเรื่อง ด้านประสบการณ์
ตรงหรือเคยพบในงานวรรณคดีวรรณกรรมเรื่องอื่น ๆ ในประเด็นดังต่อไปนี้

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 225


 แนวคิดเกี่ยวกับการทาสงครามของคนจีน เช่น ภาวะผู้นา บุคลิกภาพ การพูดเจรจา
 ค่านิยมในการประพฤติปฏิบัติของคนในสังคม เช่น ความซื่อสัตย์ กตัญญู จงรักภักดี
 ความเชื่อของคนในสังคม เช่น เรื่องโชคลาง ความฝัน บุญกรรม
 ขนบธรรมเนียมประเพณีต่าง ๆ ของสังคมจีน เช่น การจัดเลี้ยง ของกานัล
ขั้นสรุป (5 นาที)
การประเมินผล (Evaluation)
7.9 ครูสรุป คุณค่าด้านสังคม จากสามก๊ก ตอน กวนอูไปรับ ราชการกับ โจโฉ อีก ครั้ง จากนั้นแนะนา
แหล่งเรียนรู้ สืบค้น แสวงหาข้อมูลเพิ่มเติม เช่น เพจวชิรญาณ เพจวิกิพีเดีย เพจวิกิคาคม
8. สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้
8.1 แบบเรียนวรรณคดี วรรณกรรม
8.2 เทคนิคการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน (The 5 E’s of Inquiry-Based Learning)
8.3 ละครโทรทัศน์เรื่อง สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ
8.4 บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์เรื่อง สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ:คุณค่าด้านสังคม
8.5 ใบกิจกรรม สืบค้นคุณค่าด้านสังคมจากสามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ
8.6 เพจการศึกษาต่าง ๆ เช่น เพจวชิรญาณ เพจวิกิพีเดีย เพจวิกิคาคม
9. ชิ้นงาน/ ภาระงาน
9.1 ใบกิจกรรม สืบค้นคุณค่าด้านสังคมจากสามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ
10. เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน
10.1 แบบเฉลยใบกิจกรรม สืบค้นคุณค่าด้านสังคมจากสามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ
ระดับคุณภาพที่ผ่านเกณฑ์ คือ 6 คะแนน จาก 10 คะแนน

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 226


11. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ เครื่องมือ เกณฑ์
ประเมินผล การประเมิน
2.1 ด้ านความรู้ (Knowledge: K) 1. พิจารณาจาก 1.แบบเฉลย 1. ระดับคุณภาพทีผ่ ่าน
อธิบ ายหลัก การวิเคราะห์วิจ ารณ์ ใบกิจกรรม สืบค้น ใบกิจกรรม สืบค้น เกณฑ์การประเมินคือ
คุ ณ ค่ า ด้ า นสั ง คมที่ ไ ด้ จ ากเรื่ อ ง
คุณค่าด้านสังคมจาก คุณค่าด้านสังคมจาก 6 ขึ้นไป จากคะแนน
สามก๊ ก ตอน กวนอู ไปรับ ราชการ สามก๊ก ตอน กวนอู สามก๊ก ตอน กวนอู เต็ม 10 คะแนน
กับโจโฉได้ ไปรับราชการกับโจโฉ ไปรับราชการกับโจโฉ
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ
(Process: P) วิ เ คราะห์ วิ จ ารณ์
คุ ณ ค่ า ด้ า นสั ง คมจากเนื้ อ เรื่ อ ง
สามก๊ ก ตอน กวนอู ไปรับ ราชการ
กับโจโฉได้
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
(Attitude: A) เห็ น คุ ณ ค่ า ข อ ง
วรรณคดี ใ นฐานะหลั ก ฐานทาง
ประวัติศาสตร์และเครื่องมือในการ
แสดงวัฒนธรรมต่างชาติ
12. สรุปผลการจัดการเรียนรู้
12.1 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.2 ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.3 ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
13. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………....
ลงชื่อ .................................................
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 227


บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 27
รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประชันกลเกมศึก
***********************************************************************************************************
1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก
...............................................................................................................................................................................
2. ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1) การประเมินผลความรู้หลังการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.....................
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก................................................................................................................................................................
2) การประเมินด้านทักษะกระบวนการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.............
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ...........
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มีนักเรียนทาใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกาหนดเวลา
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน
 อื่น ๆ ..............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนาแผนไปปรับปรุง เรื่อง .......................................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 228


โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 28
รหัสวิชา ท33101 รายวิชา ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประชันกลเกมศึก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง วิเคราะห์วิจารณ์คุณค่าด้านสังคม (2) จานวน 1 คาบ ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ
นามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ม.4-6/1 วิเคราะห์ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น
ม.4-6/2 วิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดีเชื่อมโยงกับการเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์และ
วิถีชีวิตของสังคมในอดีต
ม.4-6/3 วิเคราะห์และประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ของวรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะที่
เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) อธิบายหลักการวิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดีเชื่อมโยง
กับการเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์และวิถีชีวิตของสังคมในอดีต
2.2 ด้านทั ก ษะ/กระบวนการ (Process: P) วิเคราะห์ วิจ ารณ์คุณค่าด้านสังคมจากเนื้อเรื่อง
สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉได้
2.3 ด้านคุณลักษณะอั นพึงประสงค์ (Attitude: A) เห็นคุณค่าของวรรณคดีในฐานะหลักฐาน
ทางประวัติศาสตร์และเครื่องมือในการแสดงวัฒนธรรมต่างชาติ
3. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs)
 R1–Reading (อ่านออก)
 C1–Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะ
ในการแก้ปัญหา)
 C3–Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์)
 C5–Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสนเทศและ
รู้เท่าทันสือ่ )
 C6–Computing and ICT Literacy (ทั ก ษะด้ า นคอมพิ ว เตอร์ และเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ
การสื่อสาร)

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 229


4. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
5. สาระสาคัญ
5.1 หลักการวิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดีเชื่อมโยงกับการเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์และวิถีชีวิต
ของสังคมในอดีต
วรรณคดีประวัติศาสตร์ หมายถึง วรรณคดีที่แต่งขึ้นโดยมีเนื้ อหาทางประวัติศาสตร์ เป็นแก่นของ
เรื่อง ลักษณะของเนื้อเรื่องในวรรณคดีประวัติศาสตร์ คือ สดุดีวีรกรรมของพระมหากษัตริย์ บันทึกและรายงาน
เหตุการณ์สาคัญที่ เกิดขึ้นในบ้านเมื อง กล่าวถึงลางสังหรณ์และอิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์ และบันทึกเกร็ดเบื้องหลัง
ประวัติศาสตร์ นักวรรณคดีนาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นมาเรียบเรียง โดยสอดแทรกจินตนาการ และใช้ภาษาให้ไพเราะ
งดงามน่ าประทั บ ใจ วรรณคดี ที่ ก ล่าวถึ งการศึก ษาสงครามและสดุดี วีร ชนผู้ก ล้ าหาญ เช่ น ลิลิต ยวนพ่ าย
ศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหง ราชาธิราช สามก๊ก เป็นต้น วรรณคดีที่ กล่าวถึงการสู้รบนี้ จะมี เนื้อหาที่ก ล่าวถึง
ความสามารถของวีรชน ให้รายละเอียดเกี่ยวกับเหตุการณ์ในการรบและยกย่องชมเชยความกล้าหาญของวีรชน
ก่อให้เกิด ความภาคภูมิใจในชาติ และเลื่อมใสศรัทธาในตัววีรชน
การวิเคราะห์วรรณกรรม: มิติอันหลากหลาย ของเฉลิมลาภ ทองอาจ โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในส่วนของการวิเคราะห์ความเป็นมาของเรื่อง
ได้กล่าวถึง การศึกษาที่มาและการวิเคราะห์เกี่ยวกับปูมหลังของวรรณกรรมแต่ละเรื่อง ที่ อาจเป็นประโยชน์อยู่
ช่วยให้เราเข้าใจวัตถุประสงค์ของการนาวรรณกรรมมาใช้ เพื่อกิจบางประการเป็นการเฉพาะ และได้ยกตัวอย่าง
วรรณกรรมเรื่องสามก๊ก ฉบับหอพระสมุด ซึ่งเรียบเรียงโดยเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ไว้ว่า วรรณกรรมเรื่องนี้
หากพิจารณาในแง่ประวัติจะพบว่า พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช มีพระราชดาริให้แปลและ
แต่งไว้เป็ นสมบัติสาหรับ พระนครที่ สร้างใหม่ เดิมมี ความเข้าใจว่า พระราชประสงค์คือเพื่อให้ข้าราชการทั้ ง
ฝ่ายพลเรือนและทหาร เห็นแบบฉบับ อั นพึ งปฏิบัติ ในการประกอบการกิ จ ต่าง ๆ อีก ทั้ง ยัง เป็นตัวอย่างของ
เรีย งความร้อ ยแก้ วชั้ น เยี่ย ม แต่นั ก วิชาการในชั้น หลัง โดยเฉพาะนัก วิช าการด้ านรัฐศาสตร์ ได้ วิเคราะห์
ความเป็นมาของเรื่อง แล้วเสนอเป็นแนวคิดว่า วรรณกรรมเรื่องสามก๊กนั้น แท้ที่จริงแล้ว สื่อให้เห็นแนวคิดเรื่อง
การปราบดาภิเษกของรัชกาลที่ ๑ ว่า เป็นสิ่งที่ชอบธรรม เนื่องจากทรงเป็นผู้มี บุญญาธิการ กอปรด้วยปัญญา
บารมี อีกทั้งทรงเป็นผู้กาจัดภัยพิ บัติต่าง ๆ ให้แก่ราชสานัก ดังเช่นที่เล่าปี่ได้กระทาเพื่อรักษาราชสมบัติของ
พระเจ้าเหี้ ยนเต้ แต่ ภายหลั งเล่าปี่ก็ ได้ตั้ง ตนเป็น กษัต ริย์ในวงศ์ฮั่น เสีย เอง เป็ นต้น ดัง ที่ ได้ยกตั วอย่างมานี้
การแปลวรรณกรรมเรื่องสามก๊ก เมื่อวิเคราะห์ที่ มาแล้ว จึงน่าจะเป็นประโยชน์ในฐานะเครื่องมือการปกครอง
ของชนชั้นนา มากกว่าประโยชน์ทางด้านหนังสือ หรือทางศิลปกรรมดังที่เข้าใจมาแต่เดิม
ข้อมูลจากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรีเกี่ยวกับข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ในสามก๊ก แสดงรายการ
เนื้อเรื่องที่แต่งเสริมขึ้นในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก เรียงตามลาดับเหตุการณ์ พร้อมอธิบาย
ความแตกต่างระหว่างเนื้อเรื่องในวรรณกรรมและข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 230


วรรณกรรมเรื่องสามก๊กมีเนื้อหาที่องิ มาจากประวัติศาสตร์ปลายยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออกต่อยุคสามก๊ก
ซึ่งได้รับ ความนิ ยมอย่างแพร่ห ลาย จึงท าให้ผู้อ่านหลายคนเข้าใจผิดว่าเนื้อเรื่องที่ป รากฏในวรรณกรรมเป็น
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในยุคสามก๊ก แหล่งข้อมูลของประวัติศาสตร์ยุคสามก๊กที่เชื่อถือได้มากที่สุดคือจดหมาย
เหตุสามก๊ก (ซันกั๋วจื้อหรือสามก๊กจี่) ที่เขียนโดยตันซิ่ว และเพิ่มอรรถาธิบายโดยเผยซงจือ แหล่งข้อมูลอื่น ๆ ที่
ครอบคลุมประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊กได้แก่ โฮ่วฮั่นซู (จดหมายเหตุราชวงศ์ฮั่นยุคหลัง) ของฟ่านเย่ และ จิ้นซู
(จดหมายเหตุราชวงศ์จิ้น) ของฝางเสฺวียนหลิ่ง ด้วยความที่วรรณกรรมเรื่องสามก๊กเป็นนิยายอิงประวัติศาสตร์
เนื้อเรื่องหลายส่วนจึงเป็นเนื้อเรื่องที่แต่งเสริมขึ้น หรือนามาจากนิทานพื้นบ้าน หรืออิงมาจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
ในยุ ค อื่ น ๆ ของประวั ติ ศ าสตร์ จี น สามก๊ ก ตอน กวนอู ไปรั บ ราชการกั บ โจโฉ ในจดหมายเหตุ ส ามก๊ ก
บทชีวประวัติก วนอู ได้ร ะบุว่า เล่าปี่เข้าตีแคว้นชีจิ๋วอย่างฉั บ พลัน ไม่ ให้กี เหมาทั นตั้ง ตัวแล้วสังหารกี เหมา
จากนั้นจึงให้กวนอูไปรักษาเมืองแห้ฝือ ส่วนตัวเล่าปี่ไปรักษาเมืองเสียวพ่าย ในปี ค.ศ. 200 โจโฉนาทัพเข้าตีเล่าปี่
แตกพ่าย เล่าปี่หนีไปพึ่งอ้วนเสีย้ ว ส่วนกวนอูถูกทหารโจโฉจับตัวได้แล้วถูกนาตัวไปเมืองฮูโต๋ โจโฉตั้งให้กวนอูเป็น
ขุนพลเพียนเจียงจวิน และปฏิบัติต่อกวนอูอย่างดี ไม่มีการกล่าวถึงการยอมจานนของกวนอู รวมถึงเรื่องที่กวนอู
เสนอเงื่อนไขสามข้อในการยอมจานน
6. สาระการเรียนรู้
6.1 หลักการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีวรรณกรรม (คุณค่าด้านสังคม)
6.2 เนื้อเรื่อง สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ
7. กิจกรรมการเรียนรู้ (แบบ Active Learning)
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (15 นาที)
7.1 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ
7.2 ครูชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับ การเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน (The 5 E’s of
Inquiry-Based Learning) ที่ครูจะใช้ในกิจกรรมการเรียนรู้วันนี้
การสร้างความสนใจ (Engagement)
7.3 นักเรียนดูรายการโทรทัศน์ แฟนพันธุ์แท้สามก๊ก
จาก youtube.com/watch?v=9XaitIe-HhE
7.4 ครูสอบถามนักเรียนในประเด็น ดังต่อไปนี้
 นักเรียนคิดว่าเรื่องสามก๊กมีเรื่องราวที่เกิดขึ้นจริงในประวัติศาสตร์จีนจริงหรือไม่
 การศึกษาวรรณคดีประวัติศาสตร์ทาให้เราได้ประโยชน์อะไรบ้าง
 นักเรียนคิดว่าเรื่องสามก๊กที่แปลขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 1 มีอิทธิพลต่อการเมืองการปกครอง
หรือการสงครามในไทยหรือไม่ อย่างไร

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 231


ขั้นสอน (35 นาที)
การสารวจและค้นหา (Exploration)
7.5 นั ก เรีย นศึ ก ษา ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ ประวั ติ ศ าสตร์ จี น ที่ ถู ก อ้ า งอิ ง ในสามก๊ ก จากเพจวิกิ พี เดี ย
สารานุกรมเสรีจากนั้นครูกล่าวถึงคุณค่าและประโยชน์ในการเชื่อมโยงกับการเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์และวิถี
ชีวิตของสังคมในอดีตจากวรรณคดี เพื่อนามาใช้ประโยชน์กัตนเอง
7.6 นักเรียนทาใบกิจกรรม สืบ ค้นคุณค่า ทางประวัติศาสตร์ จากสามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการ
กับโจโฉ โดยแนะนาให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลจากแบบเรียน และแหล่งเรียนรู้ออนไลน์ที่น่าเชื่อถือ เช่น เพจสามก๊ก
วิทยา เพจศิลปวัฒนธรรม เพจวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี เป็นต้น
การอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation)
7.7 ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยใบกิจกรรม สืบค้นคุณค่าทางประวัติศาสตร์จากสามก๊ก ตอน กวนอู
ไปรับราชการกับโจโฉ จากนั้นครูบรรยายสรุปความรู้ ประกอบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์
การขยายความรู้ (Elaboration)
7.8 นักเรียนร่วมกันอภิปรายความรู้เกี่ยวกับคุณค่าคุณค่าทางประวัติศาสตร์ที่ได้รับจากเรื่องสามก๊ก
ที่เคยพบในงานวรรณคดีวรรณกรรมเรื่องอื่น ๆ ในประเด็นดังต่อไปนี้
สงครามในจีนในยุคสามก๊กเป็นอย่างไร
คุณธรรมในด้านความรักชาติ ความจงรักภักดีต่อสถาบันกษัตริย์เป็นอย่างไร
เหตุใดเรื่องสามก๊กจึงมีอิทธิพลต่อวรรณกรรมอื่นในยุคต่อมา
7.9 ครูนาเสนอวรรณกรรมในยุคต่อมาที่ได้รับอิทธิพลจากเรื่องสามก๊ก ดังนี้
1.พิชัยสงครามสามก๊ก ฉบับบูรณาการ สังข์ พัธโนทัยสุขภาพใจ ( BOOK TIME บุ๊คไทม์ )
2.ศิลปะการใช้กลยุทธ์ในสามก๊ก บุญศักดิ์ แสงระวีสุขภาพใจ ( BOOK TIME บุ๊คไทม์ )
3.จดหมายเหตุสามก๊ก ตอน ยอดกุนซือวุยก๊ก ยศไกร ส.ตันสกุล สานักพิมพ์แสงดาว
4. 101 คาถามสามก๊ก หลี่ฉวนจวินและคณะMatichonbook-สานักพิมพ์มติชน
5.สามก๊ก ฉบับ บริหารความขัดแย้งด้วยทฤษฎีเกม เปี่ยมศักดิ์ คุณากรประทีปโพสต์บุ๊กส์
ขั้นสรุป (5 นาที)
การประเมินผล (Evaluation)
7.10 ครูสรุปคุณค่าทางประวัติศาสตร์ จากสามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ อีกครั้ง จากนั้น
แนะนาแหล่งเรียนรู้ สืบค้น แสวงหาข้อมูลเพิ่มเติม เช่น เพจวชิรญาณ เพจวิกิพีเดีย เพจวิกิคาคม
8. สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้
8.1 แบบเรียนวรรณคดี วรรณกรรม
8.2 เทคนิคการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน (The 5 E’s of Inquiry-Based Learning)
8.3 รายการโทรทัศน์ แฟนพันธุ์แท้สามก๊ก จาก youtube.com/watch?v=9XaitIe-HhE
8.4 ใบกิจกรรม สืบค้นคุณค่าทางประวัติศาสตร์จากสามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 232


8.6 เพจการศึกษาต่าง ๆ เช่น เพจวชิรญาณ เพจวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี เพจวิกิคาคม
9. ชิ้นงาน/ ภาระงาน
9.1 ใบกิจกรรม สืบค้นคุณค่าทางประวัติศาสตร์จากสามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ
10. เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน
10.1 แบบเฉลยใบกิ จกรรม สืบค้นคุณค่าทางประวัติศาสตร์จากสามก๊ ก ตอน กวนอูไปรับ
ราชการกับโจโฉ ระดับคุณภาพที่ผ่านเกณฑ์ คือ 6 คะแนน จาก 10 คะแนน
11. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ เครื่องมือ เกณฑ์
ประเมินผล การประเมิน
2.1 ด้ านความรู้ (Knowledge: K) 1. พิจารณาจาก 1.แบบเฉลย 1. ระดับคุณภาพทีผ่ ่าน
อธิบ ายหลัก การวิเคราะห์ลัก ษณะ ใบกิจกรรม สืบค้น ใบกิจกรรม สืบค้น เกณฑ์การประเมินคือ
เด่ น ของวรรณ คดี เ ชื่ อ มโยงกั บ คุณค่าทาง คุณค่าทาง 6 ขึ้นไป จากคะแนน
การเรียนรู้ท างประวัติศาสตร์และ ประวัติศาสตร์จาก ประวัติศาสตร์จาก เต็ม 10 คะแนน
วิถีชีวิตของสังคมในอดีต สามก๊ก ตอน กวนอู สามก๊ก ตอน กวนอู
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ ไปรับราชการกับโจโฉ ไปรับราชการกับโจโฉ
(Process: P) วิ เ คราะห์ วิ จ ารณ์
คุณค่าด้านสังคมจากเนื้อเรื่อง สาม
ก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจ
โฉได้
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
(Attitude: A) เห็ น คุ ณ ค่ า ข อ ง
วรรณคดี ใ นฐานะหลั ก ฐานทาง
ประวัติศาสตร์และเครื่องมือในการ
แสดงวัฒนธรรมต่างชาติ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 233


12. สรุปผลการจัดการเรียนรู้
12.1 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.2 ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.3 ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............

ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
13. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………....

ลงชื่อ .................................................
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 234


บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 28
รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประชันกลเกมศึก
***********************************************************************************************************
1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก
...............................................................................................................................................................................
2. ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1) การประเมินผลความรู้หลังการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.....................
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก................................................................................................................................................................
2) การประเมินด้านทักษะกระบวนการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.............
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ...........
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มีนักเรียนทาใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกาหนดเวลา
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน
 อื่น ๆ ..............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนาแผนไปปรับปรุง เรื่อง .......................................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 235


โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 29
รหัสวิชา ท33101 รายวิชา ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประชันกลเกมศึก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง วิเคราะห์วิจารณ์คุณค่าวรรณศิลป์ (1) จานวน 1 คาบ ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท 5.1 เข้ าใจและแสดงความคิ ดเห็น วิจ ารณ์ วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็น คุณ ค่าและนามา
ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ม.4-6/1 วิเคราะห์ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น
ม.4-6/3 วิเคราะห์และประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ของวรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะที่เป็นมรดก
ทางวัฒนธรรมของชาติ
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) อธิบายหลัก การวิเคราะห์ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตาม
หลักการวิจารณ์ด้านวรรณศิลป์
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (Process: P) วิเคราะห์วิจารณ์คุณค่าด้านวรรณศิลป์ จากเนื้อเรื่อง สาม
ก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉได้
2.3 ด้ า นคุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ (Attitude: A) เห็ น คุ ณ ค่ า ของวรรณคดี ในฐานะศิ ล ปะด้ า น
วัฒนธรรม
3. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs)
 R1–Reading (อ่านออก)
 C1–Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมี วิจารณญาณและทักษะใน
การแก้ปัญหา)
 C3–Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์)
 C5–Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสนเทศและ
รู้เท่าทันสือ่ )
 C6–Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร)
4. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 236


5. สาระสาคัญ
5.1 หลักการวิเคราะห์วิจารณ์คุณค่าด้านวรรณศิลป์
คุณ ค่าด้านวรรณศิล ป์ คือ ความไพเราะของบทประพันธ์ ซึ่ง อาจท าให้ผู้อ่านเกิ ดอารมณ์
ความรู้สึกและจินตนาการตามรส ความหมายของถ้อยคาและภาษาที่ผู้แต่งเลือกใช้
การวิเคราะห์ หมายถึง การพิจารณาองค์ประกอบทุกส่วน โดยวิธีแยกแยะรายละเอียดต่าง ๆ
ตั้งแต่ถ้อยคาสานวน การใช้คา ใช้ประโยค ตลอดจนเนื้อเรื่องและแนวคิด
การวิจ ารณ์ หมายถึง การพิ จ ารณาเทคนิ คหรือกลวิธี ที่ แ สดงออกมาว่าน่ าคิด น่ าสนใจ
น่าติดตาม มีชั้นเชิงยอกย้อนหรือตรงไปตรงมา องค์ประกอบใดมีคุณค่าน่าชมเชย องค์ประกอบใดน่าท้วง
ติงหรือบกพร่องอย่างไร การวิจารณ์สิ่งใดจึงต้องใช้ความรู้ มีเหตุผล มีหลักเกณฑ์ และมีความรอบคอบด้วย
การพิจารณาคุณค่าด้านวรรณศิลป์ วรรณศิลป์เป็นองค์ประกอบที่สาคัญ ซึ่งช่วยส่งเสริมให้
วรรณกรรมมีคุณค่าน่าสนใจ คาว่า “วรรณศิลป์” หมายถึง ลักษณะดีเด่นทางด้านวิธีแต่ง การเลือกใช้
ถ้อยคา สานวน ลีลา ประโยค และความเรียงต่าง ๆ ที่ประณีต งดงาม หรือมีรสชาติเหมาะสมกับเนื้อเรื่อง
เป็นอย่างดี วรรณกรรมที่ใช้วรรณศิลป์ชั้นสูงนั้นจะท าให้คนอ่านได้รับผลในทางอารมณ์ความรู้สึก เช่น
เกิดความสดชื่น เบิกบาน ขบขัน เพลิดเพลิน ขบคิด เศร้าโศก ปลุกใจ หรืออารมณ์อะไรก็ตามที่ผู้เขียน
ต้องการสร้างให้เกิดขึ้นในตัวผู้อ่าน นั่นคือ วรรณศิลป์ในงานเขียน ทาให้ ผู้อ่าน เกิดความรู้สึกในจิตใจและ
เกิดจินตนาการสร้างภาพคิดในสมองได้ดี ในวรรณคดีร้อยแก้วสามารถพิจารณคุณค่าด้านวรรณศิลป์ได้
ดังนี้
1. การสรรคา คือการเลือกใช้คาให้สื่อความคิด ความเข้าใจ ความรู้สึก และอารมณ์ได้อย่าง
งดงาม การเล่นเสียงอักษร เสียงสระ และเสียงวรรณยุกต์ เพื่อเพิ่มความไพเราะ และยังถือเป็นการแสดง
ความสามารถของกวีที่แม้จะเล่นเสียงของคาแต่ก็ยังคงความหมายไว้ได้อีกด้วย โดยการสรรคาทาได้ดังนี้
- การเลือกคาให้เหมาะแก่เนื้อเรื่องและฐานะของบุคคลในเรื่อง
- การใช้คาให้ถูกต้องตรงตามความหมาย
- การเลือกใช้คาพ้องเสียง คาซ้า
- การเลือกใช้คาโดยคานึงถึงเสียงสัมผัส
- การเลือกใช้คาเลียนเสียงธรรมชาติ
- การเลือกใช้คาไวพจน์ได้ถูกต้องตรงตามความหมาย
2. การเรียบเรียงคา คือ การจัดวางคาที่เลือกสรรแล้วให้เรียงร้อยกันอย่างต่อเนื่องเป็นจังหวะ
ตามโครงสร้างภาษาหรือตามฉันทลักษณ์ ซึ่งมีหลายวิธี เช่น
- จัดลาดับความคิดหรือถ้อยคาจากสิ่งสาคัญน้อยไปหาสิ่งสาคัญมาก จนถึงสิ่งสาคัญที่สุดเป็น
ลาดับสุดท้าย
- จัดลาดับความคิดหรือถ้อยคาจากสิ่งสาคัญน้อยไปหามาก แล้วหักมุมความคิดผู้อ่าน

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 237


- จัดลาดับคาให้เป็นคาถามที่ไม่ต้องการคาตอบหรือมีคาตอบอยู่ในตัวคาถามเองแล้ว
- เรียงถ้อยคาเพื่อให้ผู้อ่านแปลความหมายไปในทางตรงกันข้าม
- เรียงคา วลี และประโยค ที่มีความสาคัญเท่า ๆ กัน เคียงขนานกันไป
3. การใช้โวหาร คือ การใช้ถ้อยคาเพื่อให้ผู้อ่านเกิดจินตภาพหรือเรียกว่า “ภาพพจน์” ซึ่งมีหลายวิธี
ที่ควรรู้จัก ได้แก่
- อุปมา คือการเปรียบเทียบลักษณะที่เหมือนกันของสองสิ่งที่แตกต่างกัน โดยมักใช้คาเปรียบเทียบ
ดังนี้ “เหมือน เสมือน ดุจ เฉก เช่น ดัง เพียง ราว ปาน” ตัวอย่างเช่น
“พักตร์น้องผ่องเพี้ยงจันทร์เพ็ญ”
“พอถึงเวลาเลิกงานเธอก็รีบพุ่งตัวออกประตูไปอย่างว่องไวปานสายฟ้าแลบ
- อุปลักษณ์ คือ การเปรียบเที ยบความเหมื อนกันของสิ่งสองสิ่งโดยนัย มัก ไม่มี คาเปรียบโดยตรง ถ้ามี
คาเปรียบ ก็มักจะใช้คาเหล่านี้ ได้แก่ “เป็น คือ เท่า” ตัวอย่างเช่น
“รสรินคือจุดอ่อนของทีม เชิญค่ะ”
“ชุดเดรสนี้เหมาะกับตุ่มเดินได้
- บุคลาธิษฐาน คือการสมมุติสิ่งไม่มีชีวิตต่างๆ ให้มีกริยาอาการหรือความรู้สึกเหมือนมนุษย์เพื่อขับเน้น
อารมณ์ความรู้สึก ตัวอย่างเช่น
“พระพายโลมไล้เรือนร่างของนางอย่างเสน่หา”
“ทะเลคลุ้มคลั่งซัดเรือน้อยใหญ่จมลงไปนอนนิ่งอยู่ใต้ก้นมหาสมุทร”
- อธิพจน์ คือการกล่าวเกินจริง เพื่อขับเน้นข้อความนั้นให้มีน้าหนักยิ่งขึ้น ตัวอย่างเช่น
“เจ๊ศรีเป็นริดสีดวงขนาดใหญ่เท่าลูกนิมิต”
“รถคันนี้ภายในกว้างขวาง ควายมานอนดิ้นตายได้สามตัวครึ่ง”
- อวพจน์ คือการกล่าวน้อยกว่าความเป็นจริง ตรงกันข้ามกับ อธิพจน์ แต่ ใช้เพื่อขับเน้นข้อความเช่นกั น
ตัวอย่างเช่น
“แม่ค้าตักข้าวให้น้อยยังกะเซ่นผี”
“พ่อให้เงินมาวันละสองพัน แค่เดินห้างสามนาทีก็หมดแล้ว”
5.2 คุณค่าด้านวรรณศิลป์ในสามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ
1) การสรรคา สามก๊กเป็นวรรณคดีที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นยอดของความเรียงประเภทนิทาน เพราะ
แต่งดีทั้งเนื้อเรื่องและสานวนที่แปลเป็นไทยด้วยการเลือกใช้ถ้อยคาได้อย่างไพเราะดังนี้
1.1) การเลือกใช้คาได้ถูกต้องตรงตามความหมายที่ต้องการ กวีใช้คาได้ตรงความหมายและถ้อยคา
ที่ใช้ก็ไม่ใช่ศัพท์ยาก อ่านแล้วจะเข้าใจสถานการณ์ได้ทันที มีความไพเราะ สละสลวยเรียบง่าย เช่น

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 238


“..กวนอูได้ฟังดังนั้นก็โกรธ จึงว่าแก่เตียวเลี้ยวว่า เดิ มเราถามตัวว่าจะเกลี้ยกล่อมหรือ
ตัวว่าหามิได้ แลตัวมากล่าวดังนี้ จะว่าไม่เกลี้ยกล่อมนั้นตัวจะประสงค์สิ่งใดเล่า แล้วว่าเราอยู่ในที่นี้ก็
เป็นที่คับขันอยู่ ซึ่งเราจะเข้าด้วยผู้ใดนอกจากเล่าปี่นั้นอย่าสงสัยเลย...”
1.2) การเลือ กใช้คาที่ เหมาะแก่ เนื้อเรื่องและฐานะของบุคคลในเรื่อง เช่น ตอนที่ ก วนอูไป
เข้าเฝ้าพระเจ้าเหี้ยนเต้ซึ่งเป็นกษัตริย์ กวีเลือกใช้คาราชาศัพท์ได้ถูกต้องเหมาะสมแก่เนื้อ เรื่องและฐานะ
ของบุคคลในเรื่องเช่น
“...ครั้นเวลาเช้ากวนอูเข้าไปเฝ้า พระเจ้าเหี้ยนเต้ทอดพระเนตรเห็นกวนอูใสถุงหนวด
ดังนั้นจึงตรัสถามว่า ถุงใส่สิ่งใดแขวนอยู่ที่คอนั้น กวนอูจึงทูลว่า ถุงนี้มหาอุปราชให้ข้าพเจ้าสาหรับใส่
หนวดไว้ แล้วกวนอูก็ถอดถวายให้ทอดพระเนตร พระเจ้าเหี้ยนเต้เห็นหนวดกวนอูยาวถึงอกเส้นละเอียด
งามเสมอกัน แล้วตรัสสรรเสริญว่ากวนอูนี้หนวดงาม จึงพระราชทานชื่อว่าบีเยียงก๋ง แปลภาษาไทยว่า
เจ้าหนวดงาม แล้วก็เสด็จขึ้น...”
1.3) การเลือกใช้คาได้เหมาะแก่ลักษณะคาประพันธ์ เรื่องสามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการ
กับโจโฉ กวีใช้ภาษาความเรียงนิทานประเภทร้อยแก้ว การใช้ถ้อยคาและเรียงความเรียบร้อยสม่าเสมอ
อ่านเข้าใจง่าย ไม่มีศัพท์ยากภาษาไม่ซับซ้อน ดังความว่า
“...ฝ่ายทหารเล่าปี่ซึ่งเข้าไปหากวนอูนั้น ครั้นเวลาพลบค่ามิได้เห็นกวนอูกลับเข้าเมื องก็
ชวนกันเปิดประตูออกมาหวังจะรับโจโฉ ม้าใช้เห็นดังนั้นก็เอาเนื้อความมาบอกโจโฉ โจโฉมีความยินดีก็
คุมทหารเข้าเมืองแห้ฝือ แล้วให้เอาเพลิงเผาเมืองขึ้น หวังจะให้กวนอูเสียน้าใจ ...”
2) การใช้โวหาร กวีเลือ กใช้ถ้อยคาในการบรรยายได้อย่างเหมาะสมกั บ เนื้อเรื่อง ท าให้ผู้อ่าน
มองเห็นภาพชัดเจน ดังนี้
2.1) อุ ป มาโวหาร เป็น โวหารที่ ป รากฏในเรื่องสามก๊ ก ตอนกวนอูไปรับ ราชการโจโฉ เป็ น
ความเปรียบที่ เข้าใจง่ายท าให้เกิดภาพที่ ชัดเจนขึ้น เช่น ตอนโจโฉคิดหาหนทางก าจัดเล่าปี่และกล่าว
เปรียบเล่าปี่ว่าเหมือนลูกนก ดังความว่า
“...เล่าปี่นั้นเป็นคนมี สติปัญ ญา ถ้าละไว้ช้าก็ จ ะมีก าลัง มากขึ้น อุป มาเหมื อนลูก นกอัน
ขนปีก ยังไม่ขึ้นพร้อม แม้เราจะนิ่งไว้ให้อยู่ในรังฉะนี้ ถ้าขนขึ้นพร้อมแล้วก็จะบินไปทางไกลได้ ซึ่งจะจับ
ตัวนั้นจะได้ความขัดสน ...”
เมื่อกวนอูปฏิเสธที่จะไปรับราชการกับโจโฉ เตียวเลี้ยวพยายามหาเหตุผลโน้มน้าวใจกวนอู
โดยกล่าวเปรียบความลาบากที่กวนอูต้องเผชิญ ว่าเหมือนการลุยไฟและการข้ามมหาสมุทรที่กว้างใหญ่
หากทาได้ก็จะเป็นที่รู้จักสรรเสริญในภายภาคหน้า ดังความว่า

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 239


“...เหตุใดท่านจึงไม่รักษาชีวิตไว้คอยท่าเล่าปี่ จะได้ช่วยกันคิด การทานุบารุงแผ่นดินให้อยู่เย็นเป็น
สุข ถึงมาตรว่าท่านจะได้รับความลาบากก็อุปมาเหมือนหนึ่งลุยเพลิงอันลุกแลข้ามพระมหาสมุทรอันกว้างใหญ่
ก็จะลือชาปรากฏชื่อเสียงท่านไปภายหน้า ...”
เมื่อทหารโจโฉล้อมจับกวนอูไว้ แล้วเตียวเลี้ยวขี่ม้าเข้า มาหาเพื่อเกลี้ยกล่อมให้กวนอูเข้ากับฝ่ายโจโฉ
กวนอูได้ฟังเตียวเลี้ยวก็โกรธกล่าวตอบโต้ไปว่าหากตายก็ไม่เสียดายชีวิต โดยเปรียบว่าความตายเหมือนการ
นอนหลับไม่น่ากลัว ดังความว่า
“...ซึ่งเราจะเข้าด้วยผู้ใดนอกจากเล่าปี่นั้นอย่าสงสัยตัวเราก็มิได้รักชีวิต อันความตายอุปมาเหมือน
นอนหลับ ท่านเร่งกลับไปบอกแก่โจโฉให้ตระเตรียมทหารไว้ให้พร้อม เราจะยกลงไปรบ....”
จากตัวอย่างความเปรียบที่ยกมานั้นจะเห็นได้ว่า เป็นความเปรียบแบบอุป มา คือสิ่งหรือข้อความที่ยก
มาเปรียบเทียบกับสิ่งที่เรากล่าวถึง เพื่อทาให้ผู้อ่านเข้าใจสิ่งที่กาลังกล่าวถึงได้อย่างชัดเจนและลึกซึ้งยิ่งขึ้น
2.2) การใช้สานวนโวหาร การที่คนไทย เป็นคนเจ้าบทเจ้ากลอนชอบพูดจาให้เป็นสานวนต่างๆ
จึงปรากฏในเรื่องสามก๊กตอนนี้ ได้แก่ ได้ใหม่แล้วลืมเก่า ดังตอนที่กวนอูกล่าวกับโจโฉว่าเหตุที่เอาเสื้อใหม่ที่
โจโฉให้ใส่ไว้ชั้นใน แล้วเอาเสื้อเก่าใส่ชั้นนอกว่า
“กวนอูจึงว่าเสื้อ เก่ านี้ของเล่าปี่ให้ บัดนี้จะไปอยู่ที่ ใดมิได้แจ้ง ข้าพเจ้าจึงเอาเสื้อผืนนี้ใส่
ชั้นนอก หวังจะดูต่างหน้าเล่าปี่ ครั้นจะเอาเสื้อใหม่ใส่ชั้นนอก คนทั้งปวงจะครหานินทาว่าได้ใหม่แล้วลืมเก่า ”
สานวนที่ปรากฏอีก 1 สานวน ได้แก่ ตัวตายก่อนไข้ ซึ่งปัจจุบันไม่ใช้แต่ใช้สานวนว่า ตีตนไป
ก่อนไข้ ดังปรากฏตอนที่อ้วนเสี้ยวแกล้งทาเป็นทุกข์ เตียนห้องจึงกล่าวกับอ้วนเสี้ยวว่า
“คนทั้งปวงก็ลือชาปรากฏว่า ท่านเป็นใหญ่อยู่ในหัวเมืองฝ่ายเหนือ เหตุใดท่านมาคิดย่อท้อ
จะมาตีตัวตายก่อนไข้นั้นไม่ควร”
6. สาระการเรียนรู้
6.1 หลักการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีวรรณกรรม (คุณค่าวรรณศิลป์)
6.2 เนื้อเรื่อง สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ
7. กิจกรรมการเรียนรู้ (แบบ Active Learning)
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (10 นาที)
7.1 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ
7.2 ครูยกตัวอย่างสานวนที่พบในเนื้อเรื่อง สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ดังนี้
 ได้ใหม่แล้วลืมเก่า
 ตีตนไปก่อนไข้
 รู้จักที่หนักที่เบา
จากนั้นครูสนทนาร่วมกับนักเรียนเกี่ยวกับความโดดเด่นของสานวนเหล่านี้
(เป็นคาง่าย ๆ มีใช้อยู่ทั่วไป แปลความและตีความไม่ซับซ้อน)

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 240


ขั้นสอน (40 นาที)
7.3 ครู แ สดงข้ อ ความที่ เ ป็ น บทเด่ น ในเรื่ อ งสามก๊ ก ตอน กวนอู ไปรั บ ราชการกั บ โจโฉ
บนจอภาพ ดังนี้
 “เล่าปี่นั้นเป็นคนมีสติปัญญา ถ้าละไว้ช้าก็จะมีกาลังมากขึ้น อุปมาเหมือนลูกนกอันขนปีกยังไม่ขึ้น
พร้อม แม้เราจะนิ่งไว้ให้อยู่ในรังฉะนี้ ถ้าขนขึ้นพร้อมแล้วก็จะบินไปทางไกลได้ ซึ่งจะจับตัวนั้นเห็นจะ
ได้ความขัดสน อ้วนเสี้ยวนั้นมีทหารมากก็จริง แต่สติปัญญาน้อย ถึงจะคิดประการใดเราก็ไม่กลัว”
(อุปมาโวหาร)
 “แล้วว่าเราอยู่ในที่นี้ก็เป็นที่คับขันอยู่ ซึ่งเราจะเข้าด้วยผู้ใดนอกจากเล่าปี่นั้น อย่าสงสัยเลย ตัวเราก็
มิได้รักชีวิต อันความตายอุปมาเหมือนนอนหลับ ให้ตระเตรียมทหารไว้ให้พร้อม เราจะยกลงไปรบ”
(อุปมาโวหาร)
 “เหตุใดท่านจึงไม่รักษาชีวิตไว้คอยท่าเล่าปี่ จะได้ช่วยกันคิดการทานุบารุงแผ่นดิน ให้อยู่เย็นเป็นสุข
ถึงมาตรว่าท่านจะได้ความลาบากก็อุปมาเหมือนหนึ่งลุยเพลิงอันลุก แลข้ามพระมหาสมุทรอันกว้าง
ใหญ่ ก็จะลือชาปรากฏชื่อเสียงท่านไปภายหน้า ว่าเป็นชาติทหารมีใจสัตย์ซื่อกตัญญต่อแผ่นดิน”
(อุปมาโวหาร)
 “กวนอูจึงว่าเสื้อเก่านี้ของเล่าปี่ให้ บัดนี้เล่าปี่จะไปอยู่ที่ใดมิได้แจ้ง ข้าพเจ้าจึงเอาเสื้อผืนนี้ใส่ชั้นนอก
หวังจะดูต่างหน้าเล่าปี่ ครั้นจะเอาเสื้อใหม่นั้นใส่ชั้นนอก คนทั้งปวงจะครหานินทาว่าได้ใหม่แล้วลืม
เก่า”
(สานวน ได้ใหม่ลืมเก่า=หลงระเริงกับสิ่งใหม่ทอดทิ้งสิ่งเก่า)
 “ธรรมดาเกิดมา เป็นชายให้รู้จักที่หนักที่เบา ถ้าผู้ใดมิได้รู้จักที่หนักที่เบา คนทั้งปวงก็จะล่วงติเตียน
ว่า ผู้นั้นหาสติปัญ ญาไม่ อันมหาอุปราชนี้มีน้าใจเมตตาท่าน ทานุบ ารุงท่านยิ่งกว่าเล่าปี่ อีก เหตุใด
ท่านจึงมีใจคิดถึงเล่าปี่อยู่”
(สานวน รู้จักที่หนักที่เบา=รู้ดีรู้ชั่ว)
 “กวนอูจึงว่า ซึ่งมหาอุปราชมีคุณแก่เราก็จริงอยู่ แต่จะเปรียบเล่าปีนั้นยังมิได้ ด้วยเล่าปี่ นั้นมีคุณแก่
เราก่ อน ประการหนึ่งก็ได้ส าบานไว้ ต่อกั นว่าเป็ นพี่น้อง เราจึงได้ ตั้งใจรัก ษาสัตย์อยู่ ทุก วันนี้เราก็
คิดถึงคุณมหาอุปราชอยู่มิได้ขาด ถึงมาตรว่าเราจะไปจาก ก็จะขอแทนคุณเสียก่อนให้มีชื่อปรากฏไว้
เราจึงจะไป”
(สะท้อนอารมณ์ความรู้สึกกินใจ=ความซื่อสัตย์ กตัญญู)
จากนั้นครูให้นักเรียนร่วมอภิปรายว่า ข้อความข้างต้นเป็นบทเด่นที่มีคุณค่าด้านวรรณศิลป์อย่างไร
7.4 ครูยกคายกย่องสามก๊กว่าเป็นวรรณคดีที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นยอดของความเรียงประเภท
นิทาน เพราะแต่งดีทั้งเนื้อเรื่องและสานวนที่ แปลเป็นไทยด้วยการเลือกใช้ถ้อยคาได้อย่างไพเราะ
จากนั้นตีตารางบนกระดานดา แล้วให้นักเรียนร่วมกันคัดเลือกเนื้อความที่มีข้อดีเด่นด้านการสรรคา
สอดคล้องกับหัวข้อที่กาหนดในตาราง

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 241


ข้อดีเด่นด้านการสรรคา เนื้อความ
1.การเลือกใช้คาได้ถูกต้องตรงตามความหมาย
2.การเลือกใช้คาที่เหมาะแก่เนื้อเรื่องและฐานะ
ของบุคคลในเรื่อง
3.การเลือกใช้คาได้เหมาะแก่ลักษณะ
คาประพันธ์ร้อยแก้ว

ขั้นสรุป (5 นาที)
การประเมินผล (Evaluation)
7.5 ครูสรุปคุณค่าด้านวรรณศิลป์จากการวิเคราะห์พิจารณาบทเด่นด้านการใช้สานวนโวหาร และบทเด่น
ด้านการสรรคา จากเนื้อเรื่องในสามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ จากนั้นแนะนาแหล่งเรียนรู้ สืบค้น
แสวงหาข้อมูลเพิ่ มเติม เช่น เพจวิกิพีเดีย เพจวิกิคาคม เพจสามก๊กวิทยา เพื่อศึกษาวาทะคมคาที่มีคุณค่าด้าน
วรรณศิลป์เพิ่มเติม
8. สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้
8.1 แบบเรียนวรรณคดี วรรณกรรม
8.2 แถบข้อความอิเล็กทรอนิกส์
8.3 เพจการศึกษาต่าง ๆ เช่น เพจวิกิพีเดีย เพจวิกิคาคม เพจสามก๊กวิทยา
9. ชิ้นงาน/ ภาระงาน
-
10. เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน
-

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 242


11. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ เครื่องมือ เกณฑ์
ประเมินผล การประเมิน
2.1 ด้ านความรู้ (Knowledge: K) 1. สังเกตพฤติกรรม 1.แบบสังเกต 1. ร่วมตอบคาถาม
อธิบายหลักการวิเคราะห์ วิจ ารณ์ ในการตอบคาถาม พฤติกรรมใน ร่วมสนทนา ร่วม
วรรณ คดี แ ละวรรณ กรรมตาม ร่วมสนทนา อภิปราย การตอบคาถาม อภิปรายรายมากกว่า
หลักการวิจารณ์ด้านวรรณศิลป์ รายบุคคล ร่วมสนทนา อภิปราย ร้อยละ 80
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ รายบุคคล
(Process: P) วิเคราะห์วิจารณ์
คุณค่าด้านวรรณศิลป์จากเนื้อเรื่อง
สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการ
กับโจโฉได้
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
(Attitude: A) เห็นคุณค่าของ
วรรณคดีในฐานะศิลปะด้าน
วัฒนธรรม

12. สรุปผลการจัดการเรียนรู้
12.1 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.2 ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.3 ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
13. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………....

ลงชื่อ .................................................
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 243


บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 29
รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประชันกลเกมศึก
***********************************************************************************************************
1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก
...............................................................................................................................................................................
2. ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1) การประเมินผลความรู้หลังการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.....................
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก................................................................................................................................................................
2) การประเมินด้านทักษะกระบวนการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.............
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ...........
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มีนักเรียนทาใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกาหนดเวลา
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน
 อื่น ๆ ..............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนาแผนไปปรับปรุง เรื่อง .......................................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 244


โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 30
รหัสวิชา ท33101 รายวิชา ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประชันกลเกมศึก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง วิเคราะห์วิจารณ์คุณค่าวรรณศิลป์ (2) จานวน 1 คาบ ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนามา
ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ม.4-6/1 วิเคราะห์ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น
ม.4-6/3 วิเคราะห์และประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ของวรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะที่เป็น
มรดกทางวัฒนธรรมของชาติ
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) อธิบายหลักการวิเคราะห์ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตาม
หลักการวิจารณ์ด้านวรรณศิลป์
2.2 ด้านทั กษะ/กระบวนการ (Process: P) วิเคราะห์วิจ ารณ์คุณค่าด้านวรรณศิล ป์จากเนื้อเรื่อง
สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉได้
2.3 ด้านคุณ ลัก ษณะอั นพึ ง ประสงค์ (Attitude: A) เห็ น คุณ ค่า ของวรรณคดีในฐานะศิล ปะด้าน
วัฒนธรรม
3. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs)
 R1–Reading (อ่านออก)
 C1–Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะ
ในการแก้ปัญหา)
 C3–Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์)
 C5–Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสนเทศและ
รู้เท่าทันสือ่ )
 C6–Computing and ICT Literacy (ทั ก ษะด้านคอมพิ วเตอร์ และเทคโนโลยีส ารสนเทศและการ
สื่อสาร)
4. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 245


5. สาระสาคัญ
5.1 หลักการวิเคราะห์วิจารณ์คุณค่าด้านวรรณศิลป์
คุณ ค่า ด้านวรรณศิ ล ป์ คื อ ความไพเราะของบทประพั น ธ์ ซึ่ ง อาจท าให้ ผู้ อ่านเกิ ด อารมณ์
ความรู้สึกและจินตนาการตามรส ความหมายของถ้อยคาและภาษาที่ผู้แต่งเลือกใช้
การวิเคราะห์ หมายถึง การพิจารณาองค์ประกอบทุกส่วน โดยวิธีแยกแยะรายละเอียดต่าง ๆ
ตั้งแต่ถ้อยคาสานวน การใช้คา ใช้ประโยค ตลอดจนเนื้อเรื่องและแนวคิด
การวิจารณ์ หมายถึง การพิจารณาเทคนิคหรือกลวิธีที่แสดงออกมาว่าน่าคิด น่าสนใจ น่าติดตาม
มีชั้นเชิงยอกย้อนหรือตรงไปตรงมา องค์ประกอบใดมีคุณค่าน่าชมเชย องค์ประกอบใดน่าท้วงติงหรือบกพร่อง
อย่างไร การวิจารณ์สิ่งใดจึงต้องใช้ความรู้ มีเหตุผล มีหลักเกณฑ์ และมีความรอบคอบด้วย
การพิ จารณาคุ ณค่าด้านวรรณศิลป์ วรรณศิลป์เป็นองค์ป ระกอบที่ส าคัญ ซึ่ง ช่วยส่งเสริม ให้
วรรณกรรมมี คุณค่าน่าสนใจ คาว่า “วรรณศิลป์” หมายถึง ลัก ษณะดีเด่นทางด้านวิธีแต่ง การเลือกใช้ถ้อยคา
สานวน ลีลา ประโยค และความเรียงต่าง ๆ ที่ประณีต งดงาม หรือมีรสชาติเหมาะสมกับเนื้อเรื่องเป็น อย่างดี
วรรณกรรมที่ ใช้วรรณศิลป์ชั้นสูงนั้นจะท าให้คนอ่านได้รับ ผลในทางอารมณ์ความรู้สึก เช่น เกิดความสดชื่น
เบิกบาน ขบขัน เพลิดเพลิน ขบคิด เศร้าโศก ปลุกใจ หรืออารมณ์อะไรก็ตามที่ผู้เขียนต้องการสร้างให้เกิดขึ้นใน
ตัวผู้อ่าน นั่นคือ วรรณศิลป์ในงานเขียน ทาให้ ผู้อ่าน เกิดความรู้สึกในจิตใจและเกิดจินตนาการสร้างภาพคิดใน
สมองได้ดี ในวรรณคดีร้อยแก้วสามารถพิจารณคุณค่าด้านวรรณศิลป์ได้ดังนี้
1. การสรรคา คือการเลือกใช้คาให้สื่อความคิด ความเข้าใจ ความรู้สึก และอารมณ์ได้อย่างงดงาม
การเล่นเสียงอักษร เสียงสระ และเสียงวรรณยุกต์ เพื่อเพิ่มความไพเราะ และยังถือเป็นการแสดงความสามารถ
ของกวีที่แม้จะเล่นเสียงของคาแต่ก็ยังคงความหมายไว้ได้อีกด้วย โดยการสรรคาทาได้ดังนี้
- การเลือกคาให้เหมาะแก่เนื้อเรื่องและฐานะของบุคคลในเรื่อง
- การใช้คาให้ถูกต้องตรงตามความหมาย
- การเลือกใช้คาพ้องเสียง คาซ้า
- การเลือกใช้คาโดยคานึงถึงเสียงสัมผัส
- การเลือกใช้คาเลียนเสียงธรรมชาติ
- การเลือกใช้คาไวพจน์ได้ถูกต้องตรงตามความหมาย
2. การเรียบเรียงคา คือ การจัดวางคาที่เลือกสรรแล้วให้เรียงร้อยกันอย่างต่อเนื่องเป็นจังหวะ ตาม
โครงสร้างภาษาหรือตามฉันทลักษณ์ ซึ่งมีหลายวิธี เช่น
- จัดลาดับความคิดหรือ ถ้อยคาจากสิ่งสาคัญ น้อยไปหาสิ่งสาคัญ มาก จนถึงสิ่งสาคัญ ที่ สุดเป็น
ลาดับสุดท้าย
- จัดลาดับความคิดหรือถ้อยคาจากสิ่งสาคัญน้อยไปหามาก แล้วหักมุมความคิดผู้อ่าน

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 246


- จัดลาดับคาให้เป็นคาถามที่ไม่ต้องการคาตอบหรือมีคาตอบอยู่ในตัวคาถามเองแล้ว
- เรียงถ้อยคาเพื่อให้ผู้อ่านแปลความหมายไปในทางตรงกันข้าม
- เรียงคา วลี และประโยค ที่มีความสาคัญเท่า ๆ กัน เคียงขนานกันไป
3. การใช้โวหาร คือ การใช้ถ้อยคาเพื่อให้ผู้อ่านเกิ ดจินตภาพหรื อเรียกว่า “ภาพพจน์” ซึ่ง มี
หลายวิธีที่ควรรู้จัก ได้แก่
- อุปมา คือการเปรียบเทียบลักษณะที่เหมือนกันของสองสิ่งที่แตกต่างกัน โดยมักใช้คาเปรียบเทียบ
ดังนี้ “เหมือน เสมือน ดุจ เฉก เช่น ดัง เพียง ราว ปาน” ตัวอย่างเช่น
“พักตร์น้องผ่องเพี้ยงจันทร์เพ็ญ”
“พอถึงเวลาเลิกงานเธอก็รีบพุ่งตัวออกประตูไปอย่างว่องไวปานสายฟ้าแลบ
- อุปลักษณ์ คือการเปรียบเทียบความเหมือนกันของสิ่งสองสิ่งโดยนัย มักไม่มีคาเปรียบโดยตรง ถ้ามี
คาเปรียบ ก็มักจะใช้คาเหล่านี้ ได้แก่ “เป็น คือ เท่า” ตัวอย่างเช่น
“รสรินคือจุดอ่อนของทีม เชิญค่ะ”
“ชุดเดรสนี้เหมาะกับตุ่มเดินได้
- บุคลาธิษฐาน คือการสมมุติสิ่งไม่มีชีวิตต่างๆ ให้มีกริยาอาการหรือความรู้สึกเหมือนมนุษย์เพื่อขับ
เน้นอารมณ์ความรู้สึก ตัวอย่างเช่น
“พระพายโลมไล้เรือนร่างของนางอย่างเสน่หา”
“ทะเลคลุ้มคลั่งซัดเรือน้อยใหญ่จมลงไปนอนนิ่งอยู่ใต้ก้นมหาสมุทร”
- อธิพจน์ คือการกล่าวเกินจริง เพื่อขับเน้นข้อความนั้นให้มีน้าหนักยิ่งขึ้น ตัวอย่างเช่น
“เจ๊ศรีเป็นริดสีดวงขนาดใหญ่เท่าลูกนิมิต”
“รถคันนี้ภายในกว้างขวาง ควายมานอนดิ้นตายได้สามตัวครึ่ง”
- อวพจน์ คือการกล่าวน้อยกว่าความเป็นจริง ตรงกันข้ามกับอธิพจน์ แต่ใช้เพื่อขับเน้นข้อความเช่นกัน
ตัวอย่างเช่น
“แม่ค้าตักข้าวให้น้อยยังกะเซ่นผี”
“พ่อให้เงินมาวันละสองพัน แค่เดินห้างสามนาทีก็หมดแล้ว”
5.2 คุณค่าด้านวรรณศิลป์ในสามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ
1) การสรรคา สามก๊กเป็นวรรณคดีที่ ได้รับ การยกย่ องว่าเป็นยอดของความเรียงประเภท
นิทาน เพราะแต่งดีทั้งเนื้อเรื่องและสานวนที่แปลเป็นไทยด้วยการเลือกใช้ถ้อยคาได้อย่างไพเราะดังนี้
1.1) การเลือ กใช้ ค าได้ ถู ก ต้ อ งตรงตามความหมายที่ ต้อ งการ กวีใช้ ค าได้ ต รง
ความหมายและถ้อ ยค าที่ ใช้ก็ ไม่ ใช่ศั พ ท์ ย าก อ่ านแล้ วจะเข้ า ใจสถานการณ์ ได้ ทั น ที มี ค วามไพเราะ
สละสลวยเรียบง่าย เช่น

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 247


“..กวนอูได้ฟังดังนั้นก็โกรธ จึงว่าแก่เตียวเลี้ยวว่า เดิมเราถามตัวว่าจะเกลี้ยกล่อมหรือ ตัวว่า
หามิได้ แลตัวมากล่าวดังนี้ จะว่าไม่เกลี้ยกล่อมนั้นตัวจะประสงค์สงิ่ ใดเล่า แล้วว่าเราอยู่ในที่นี้ก็เป็นที่คับขันอยู่
ซึ่งเราจะเข้าด้วยผู้ใดนอกจากเล่าปี่นั้นอย่าสงสัยเลย...”
1.2) การเลือกใช้คาที่เหมาะแก่เนื้อเรื่องและฐานะของบุคคลในเรื่อง เช่น ตอนที่กวนอู
ไปเข้าเฝ้าพระเจ้าเหี้ยนเต้ซึ่งเป็นกษัตริย์ กวีเลือกใช้คาราชาศั พท์ได้ถูกต้องเหมาะสมแก่เนื้อเรื่องและฐานะของ
บุคคลในเรื่องเช่น
“...ครั้นเวลาเช้ากวนอูเข้าไปเฝ้า พระเจ้าเหี้ยนเต้ทอดพระเนตรเห็นกวนอูใสถุงหนวดดังนั้นจึง
ตรัสถามว่า ถุงใส่สิ่งใดแขวนอยู่ที่คอนั้น กวนอูจึงทูลว่า ถุงนี้มหาอุปราชให้ข้าพเจ้าสาหรับใส่หนวดไว้ แล้วกวน
อูก็ถอดถวายให้ทอดพระเนตร พระเจ้าเหี้ยนเต้เห็นหนวดกวนอูยาวถึงอกเส้นละเอียดงามเสมอกัน แล้ว ตรัส
สรรเสริญว่ากวนอูนี้หนวดงาม จึงพระราชทานชื่อว่าบีเยียงก๋ง แปลภาษาไทยว่าเจ้าหนวดงาม แล้วก็เสด็จขึ้น...”
1.3) การเลือกใช้คาได้เหมาะแก่ลักษณะคาประพันธ์ เรื่องสามก๊ ก ตอน กวนอูไปรับ
ราชการกับโจโฉ กวีใช้ภาษาความเรียงนิทานประเภทร้อยแก้ว การใช้ถ้อยคาและเรียงความเรียบร้อยสม่าเสมอ
อ่านเข้าใจง่าย ไม่มีศัพท์ยากภาษาไม่ซับซ้อน ดังความว่า
“...ฝ่ายทหารเล่าปี่ซึ่งเข้าไปหากวนอูนั้น ครั้นเวลาพลบค่ามิได้เห็นกวนอูกลับเข้าเมืองก็ชวนกัน
เปิดประตูออกมาหวังจะรับโจโฉ ม้าใช้เห็นดังนั้นก็เอาเนื้อความมาบอกโจโฉ โจโฉมีความยินดีก็คุมทหารเข้า
เมืองแห้ฝือ แล้วให้เอาเพลิงเผาเมืองขึ้น หวังจะให้กวนอูเสียน้าใจ ...”
2) การใช้โวหาร กวีเลือ กใช้ถ้อยคาในการบรรยายได้อย่างเหมาะสมกับ เนื้อเรื่อง ท าให้ผู้อ่าน
มองเห็นภาพชัดเจน ดังนี้
2.1) อุปมาโวหาร เป็นโวหารที่ปรากฏในเรื่องสามก๊กตอนกวนอูไปรับราชการโจโฉ เป็น
ความเปรียบที่เข้าใจง่ายทาให้เกิดภาพที่ชัดเจนขึ้น เช่น ตอนโจโฉคิดหาหนทางกาจัดเล่าปี่และกล่าวเปรียบเล่าปี่
ว่าเหมือนลูกนก ดังความว่า
“...เล่าปี่นั้นเป็นคนมีสติปัญ ญา ถ้าละไว้ช้าก็จะมีกาลังมากขึ้น อุปมาเหมื อนลูก นกอันขนปีก
ยังไม่ขึ้นพร้อม แม้เราจะนิ่งไว้ให้อยู่ในรัง ฉะนี้ ถ้าขนขึ้นพร้อมแล้วก็จะบินไปทางไกลได้ ซึ่งจะจับตัวนั้นจะได้
ความขัดสน ...”
เมื่อกวนอูปฏิเสธที่จะไปรับราชการกับโจโฉ เตียวเลี้ยวพยายามหาเหตุผลโน้มน้าวใจกวนอู โดย
กล่าวเปรียบความลาบากทีก่ วนอูต้องเผชิญว่าเหมือนการลุยไฟและการข้ามมหาสมุทรที่กว้างใหญ่ หากทาได้ก็จะ
เป็นที่รู้จักสรรเสริญในภายภาคหน้า ดังความว่า

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 248


“...เหตุใดท่านจึงไม่รักษาชีวิตไว้คอยท่าเล่าปี่ จะได้ช่วยกันคิด การทานุบารุงแผ่นดินให้อยู่เย็น
เป็นสุข ถึงมาตรว่าท่านจะได้รับความลาบากก็อุปมาเหมือนหนึ่งลุยเพลิงอันลุกแลข้ามพระมหาสมุทรอัน
กว้างใหญ่ ก็จะลือชาปรากฏชื่อเสียงท่านไปภายหน้า ...”
เมื่ อ ทหารโจโฉล้อมจับ กวนอูไว้ แล้วเตียวเลี้ยวขี่ม้ าเข้ามาหาเพื่อเกลี้ยกล่อมให้ก วนอูเข้ากั บ
ฝ่ายโจโฉ กวนอูได้ฟังเตียวเลี้ยวก็โกรธกล่าวตอบโต้ไปว่าหากตายก็ไม่เสียดายชีวิต โดยเปรียบว่าความตาย
เหมือนการนอนหลับไม่น่ากลัว ดังความว่า
“...ซึ่ง เราจะเข้าด้วยผู้ใดนอกจากเล่าปี่นั้นอย่าสงสัยตัวเราก็ มิ ได้รัก ชีวิต อันความตายอุป มา
เหมือนนอนหลับ ท่านเร่งกลับไปบอกแก่โจโฉให้ตระเตรียมทหารไว้ให้พร้อม เราจะยกลงไปรบ....”
จากตัวอย่างความเปรียบที่ยกมานั้นจะเห็นได้ว่า เป็นความเปรียบแบบอุปมา คือสิ่งหรือข้อความ
ที่ยกมาเปรียบเทียบกับสิ่งที่เรากล่าวถึง เพื่อทาให้ผู้อ่านเข้าใจสิ่งที่กาลังกล่าวถึงได้อย่างชัดเจนและลึกซึ้ง
ยิ่งขึ้น
2.2) การใช้ส านวนโวหาร การที่ คนไทย เป็นคนเจ้าบทเจ้ากลอนชอบพูดจาให้เป็น
สานวนต่างๆ จึงปรากฏในเรื่องสามก๊กตอนนี้ ได้แก่ ได้ใหม่แล้วลืมเก่า ดังตอนที่กวนอูกล่าวกับโจโฉว่าเหตุ
ที่เอาเสื้อใหม่ที่โจโฉให้ใส่ไว้ชั้นใน แล้วเอาเสื้อเก่าใส่ชั้นนอกว่า
“กวนอูจึงว่าเสื้อเก่านี้ของเล่าปี่ให้ บัดนี้จะไปอยู่ที่ใดมิได้แจ้ง ข้าพเจ้าจึงเอาเสื้อผืนนี้ใส่ชั้นนอก
หวังจะดูต่างหน้าเล่าปี่ ครั้นจะเอาเสื้อใหม่ใส่ชั้นนอก คนทั้งปวงจะครหานินทาว่าได้ใหม่แล้วลืมเก่า ”
สานวนที่ปรากฏอีก 1 สานวน ได้แก่ ตัวตายก่อนไข้ ซึ่งปัจจุบันไม่ใช้แต่ใช้สานวนว่า ตีตนไปก่อน
ไข้ ดังปรากฏตอนที่อ้วนเสี้ยวแกล้งทาเป็นทุกข์ เตียนห้องจึงกล่าวกับอ้วนเสี้ยวว่า
“คนทั้งปวงก็ลือชาปรากฏว่า ท่านเป็นใหญ่อยู่ในหัวเมืองฝ่ายเหนือ เหตุใดท่านมาคิดย่อท้อจะ
มาตีตัวตายก่อนไข้นั้นไม่ควร”
6. สาระการเรียนรู้
6.1 หลักการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีวรรณกรรม (คุณค่าวรรณศิลป์)
6.2 เนื้อเรื่อง สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ
7. กิจกรรมการเรียนรู้ (แบบ Active Learning)
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (10 นาที)
7.1 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ
7.2 ครูนาบัตรคาชื่อตัวละครและชื่อสถานที่ในสามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ แสดงให้
นักเรียนดู จากนั้นนักเรียนช่วยกันสังเกตว่า ชื่อของตัวละคร และชื่อสถานที่ในเรื่องนี้ ซึ่งเป็นคาทับศัพท์
ภาษาจีน มีลักษณะเด่นอย่างไร (ใช้รูปและเสียงวรรณยุกต์กากับให้ตรงตามเสียง เพื่อให้อ่านง่าย ถูกต้อง)
(บัตรคา : ตั้งสิน,เล่าปี่,โจโฉ,เทียนหยก,ม้าเท้ง,อ้วนเสี้ยว,กุยแก,ซุนเขียน,เตียนห้อง,เตียวหุย,ซุนฮก,เตียว
เลี้ยว,เคาทู,อิอิ่ม,ลิเดียน,ซิหลง,จักจั่น,แฮหัวตุ๋น,แฮหัวเอง,อ้วนถา,บิต๊ก,บิฮอง,เหี้ยนเต้,บิฮูหยิน,กาฮูหยิน)

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 249


ขั้นสอน (40 นาที)
7.3 ครูให้ข้อ คิดแก่ นัก เรียนว่า ภาษาที่ ใช้ในสามก๊ ก ตอน กวนอูไปรับ ราชการกั บ โจโฉ หลาย
ถ้อยคา หลายข้อความเป็นภาษาโบราณ แต่เหตุใดเมื่อได้อ่านเนื้อเรื่องเราจึงรู้สึกว่าอ่านเข้าใจได้ง่าย
(ใช้ป ระโยคบรรยายตรงไปตรงมา เรียบง่าย ไม่ วกวน ไม่ ซับ ซ้อน ไม่เน้นถ้อยคาสละสวย) จากนั้ นครู
ยกตัวอย่างถ้อยคา ข้อความที่มีลักษณะเป็นภาษาโบราณ พร้อมอธิบายประกอบ ดังนี้
1) ข้าพเจ้าเห็นว่าม้าเท้งไม่แจ้งเนื้อความทั้งนี้ก็จะเข้ามา จึงจับฆ่าเสียก็จะได้โดยง่าย
2) ครั้นจะนิ่งไว้ทหารก็จะเป็นใจประนอมกันเข้า ขอเร่งยกกองทัพไปตีเมืองเสียก่อน
3) เหตุใดท่านมาคิดย่อท้อ จะมาตีตัวตายก่อนไข้นั้นไม่ควร
4) ครั้งนี้ข้าพเจ้าจะขอกินน้าสบถอยู่ทาการด้วยท่าน กว่าจะสาเร็จ
5) การซึ่งเล่าปี่ปลงใจไว้แก่ท่านนั้นก็จะไม่เสียไปหรือ
6) ฝ่ายโจโฉทานุบารุงกวนอูมิให้อนาทร
7) โจโฉได้ฟังดังนั้นก็คิดกริ่งใจ
8) ตัวเราเกิดมาเป็นชายรักษาสัตย์มิให้เสียวาจา
7.4 นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับภาษาที่ใช้ในการบรรยายเรื่องที่เน้นการบรรยายให้
เข้าใจลาดับเหตุการณ์ เนื้อเรื่อง มากกว่าการเน้นพรรณนาความให้ไพเราะสละสลวย เช่น
1) เตียนห้องเห็นหน้าอ้วนเสีย้ วนั้นเศร้าหมองจึงถามว่า วันนี้ข้าพเจ้าเห็นท่าน ไม่สบายนั้นมีวิตก
สิ่งใดหรือ
2) เตียนห้องทอดใจใหญ่เดินกระทืบเท้าออกไป ซุนเขียน ก็ลาอ้วนเสี้ยวกลับไปเมืองเสียวพ่าย
แจ้งเนื้อความแก่เล่าปีตามคาอ้วนเสี้ยวว่า
3) ฝ่ายโจโฉยกกองทัพมาใกล้จะถึงเมืองเสียวพ่าย พอเกิดลมพายุใหญ่พัดหนัก ธงชัยซึ่งปักมา
บนเกวียนนั้นหักทบลง โจโฉเห็นวิปริตดังนั้นก็ให้หยุดทหารตั้งค่ายมั่นไว้
4) โจโฉจึงให้แบ่งทหารเป็นสิบเอ็ดกอง กองหนึ่งให้อยู่รักษาค่าย แปดกองนั้นให้นายทหารเอก
คุมทหารเลวยกแยกออกไปซุ่มอยู่นอกค่ายทั้ง แปดทิศ ถ้าเห็นกองทัพผู้ใดยกมาปล้นค่า ย ก็ให้ท หารทั้ ง
แปดกองตีกระหนาบล้อมเข้ามา สองกองนั้นให้แยกกันไปตั้งสกัดอยู่ปากทางเมืองชีจิ๋วกองหนึ่ง เมืองแห้ฝื
อกองหนึ่ง
5) กวนอูจึงตอบว่า ซึ่งท่านว่ามีประโยชน์แก่เราสามประการนั้นก็จริงอยู่ แต่เราจะขอ สัญญาไว้
สามประการบ้าง ถ้ามหาอุปราชยอม เราจึงจะถอดเกราะออกเสีย
ขั้นสรุป (5 นาที)
7.5 ครูส รุป คุณค่าด้านวรรณศิลป์จากการวิเคราะห์พิจ ารณาการใช้ภาษาโบราณ การใช้รูป และเสียง
วรรณยุกต์กากับคาทับศัพท์ภาษาจีน และการใช้ ภาษาที่ใช้ในการบรรยายเรื่องที่เน้นการบรรยายให้เข้าใจลาดับ
เหตุการณ์ เนื้อเรื่อง มากกว่าการเน้นพรรณนาความให้ไพเราะสละสลวย จากเนื้อเรื่องในสามก๊ก ตอน กวนอูไป
รับราชการกับโจโฉ จากนั้นแนะนาแหล่งเรียนรู้ สืบค้น แสวงหาข้อมูลเพิ่มเติม เช่น เพจวิกิพีเดีย เพจวิกิคาคม
เพจสามก๊กวิทยา เพื่อศึกษาวาทะคมคาที่มีคุณค่าด้านวรรณศิลป์เพิ่มเติม

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 250


8. สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้
8.1 แบบเรียนวรรณคดี วรรณกรรม
8.2 บัตรคาชื่อตัวละครและชื่อสถานที่ในสามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ
8.3 เพจการศึกษาต่าง ๆ เช่น เพจวิกิพีเดีย เพจวิกิคาคม เพจสามก๊กวิทยา
9. ชิ้นงาน/ ภาระงาน
-
10. เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน
-
11. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ เครื่องมือ เกณฑ์
ประเมินผล การประเมิน
2.1 ด้ านความรู้ (Knowledge: K) 1. สังเกตพฤติกรรม 1.แบบสังเกต 1. ร่วมตอบคาถาม
อธิบายหลักการวิเคราะห์ วิจ ารณ์ ในการตอบคาถาม พฤติกรรมใน ร่วมสนทนา ร่วม
วรรณ คดี แ ละวรรณ กรรมตาม ร่วมสนทนา อภิปราย การตอบคาถาม อภิปรายรายมากกว่า
หลักการวิจารณ์ด้านวรรณศิลป์ รายบุคคล ร่วมสนทนา อภิปราย ร้อยละ 80
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ รายบุคคล
(Process: P) วิเคราะห์วิจารณ์
คุณค่าด้านวรรณศิลป์จากเนื้อเรื่อง
สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการ
กับโจโฉได้
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
(Attitude: A) เห็นคุณค่าของ
วรรณคดีในฐานะศิลปะด้าน
วัฒนธรรม

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 251


12. สรุปผลการจัดการเรียนรู้
12.1 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.2 ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.3 ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............

ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

13. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………....

ลงชื่อ .................................................
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 252


บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 30
รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประชันกลเกมศึก
***********************************************************************************************************
1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก
...............................................................................................................................................................................
2. ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1) การประเมินผลความรู้หลังการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.....................
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก................................................................................................................................................................
2) การประเมินด้านทักษะกระบวนการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.............
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ...........
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มีนักเรียนทาใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกาหนดเวลา
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน
 อื่น ๆ ..............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนาแผนไปปรับปรุง เรื่อง .......................................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 253


โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 31
รหัสวิชา ท33101 รายวิชา ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประชันกลเกมศึก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง การอ่านบทความประเภทปาฐากถา (1) จานวน 1 คาบ ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดาเนินชีวิต
และมีนิสัยรักการอ่าน
ม.4-6/7 อ่านเรื่องต่าง ๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อความ และรายงาน
ม.4-6/8 สังเคราะห์ความรู้จากการอ่าน สื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็ก ทรอนิกส์ และแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ มา
พัฒนาตน พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรู้ทางอาชีพ
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) อธิบายหลักการพิจารณาบทความ
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (Process: P) พิจารณาแยกแยะข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นและประโยชน์ที่ได้
จากการอ่านบทความประเภทปาฐากถา
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude: A) เห็นประโยชน์ของการอ่านและมีนิสัยรักการอ่าน
3. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs)
 R1–Reading (อ่านออก)
 C1–Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมี วิจารณญาณและทักษะใน
การแก้ปัญหา)
 C4–Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีม
และภาวะผู้นา)
 C5–Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสนเทศและ
รู้เท่าทันสือ่ )
 C6–Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร)
 C7–Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้)
 C8–Compassion (ความมีเมตตากรุณา วินัย คุณธรรม จริยธรรม)
4. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
 บูรณาการหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล (World-class Standard School) รายวิชา IS....

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 254


5. สาระสาคัญ
5.1 บทความ คือ ความเรียงประเภทหนึ่งที่เขียนเพื่อความรู้ ความคิด มีรูปแบบการเขียนคล้ายกับ
เรียงความ แต่การเขียนบทความจะต้องมีเรื่องราวมาจากข้อเท็จจริงหรือข่าวประจาวัน มีความทันสมั ย
ทันต่อเหตุการณ์ อยู่ในความสนใจของผู้อ่านและผู้เขียนและจะต้องสอดแทรก ข้อเสนอเชิงวิชาการ หรือ
ความคิดเห็นเชิงสร้างสรรค์ไว้ด้วย
บทความมีลักษณะดังต่อไปนี้
1. เรื่องที่เขียนต้องเป็นเรื่องที่มีสาระ เป็นเรื่องจริง มีหลักฐานที่น่าเชื่อถือ เมื่ออ่านแล้วจะได้ความรู้
หรือความคิดเพิ่มขึ้น
2. นาเสนอเรื่อ งที่ ผู้อ่ านส่วนมากกาลังสนใจอยู่ในขณะนั้น ทั นต่อเหตุ การณ์ หรือเรื่องที่ เป็น
ปัญหาและมีความสาคัญเป็นพิเศษ
3. นาเสนอส่วนเป็นทัศนะหรือความคิดเห็นของผู้เขียน โดยนาเสนอแนวคิดที่น่าสนใจชวนให้
ผู้อ่านคิดตามหรือคิดต่อ
4. เลือกใช้ภาษาให้น่าอ่าน และสร้างความสนใจ
5. ความยาวของบทความควรสั้น กะทัดรัด เพื่อให้ผู้อ่านสามารถอ่านได้ในเวลาจากัด
ประเภทของบทความ
1. บทความวิชาการ หรือกึ่งวิชาการ หรือเชิงวิชาการ เป็นบทความที่เขียนเพื่อเผยแพร่ความรู้
โดยตรง ผู้เขียนจึงต้องค้นคว้าจากเอกสาร จากการสังเกต การสัมภาษณ์ การทดลอง มีการวิเคราะห์อย่าง
เป็นระบบ มีหลักฐานอ้างอิงที่เชื่อถือได้ และจะต้องมีบรรณานุกรม และเอกสารอ้างอิงท้ายเรื่องเสมอ ส่วน
บทความกึ่งวิชาการหรือเชิงวิชาการมีลักษณะคล้ายบทความวิชาการ คือ เขียนขึ้นเพื่อเผยแพร่ความรู้เป็น
สาคัญ แต่มี ความแตกต่างกันในเรื่องการใช้ภาษา กล่าวคือ บทความวิชาการมีลักษณะการใช้ภาษาที่เป็น
ทางการ และเป็นภาษาที่ถูกต้องตามหลักภาษา
2. บทความทั่ วไป เป็นบทความที่ ให้ ความรู้ความคิด และความเพลิดเพลินแก่ ผู้อ่าน โดยเน้ น
ความเพลิดเพลินเป็นสาคัญ
องค์ประกอบของบทความ
1. ชื่อเรื่อง ชื่อเรื่องนับว่าเป็นส่วนสาคัญที่จะดึงดูดความสนใจของผู้อ่านเพราะเป็นสิ่งแรกที่ผู้อ่าน
จะอ่านก่อนเสมอ มักมีคาหรือข้อความที่สามารถสื่อสารแก่นเรื่องหรือแนวคิดให้ดีที่สุด ชวนให้อยากอ่าน
เนื้อหาในบทความนั้น
2. บทนา เป็นส่วนสาคัญ อีกส่วนหนึ่งที่ช่วยสร้างความสนใจจากผู้อ่าน ถ้าผู้เขียนบทความขึ้นต้น
บทความได้ดีก็เท่ากับว่าได้รับความสาเร็จไปแล้วครึ่งหนึ่ง

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 255


3. เนื้อเรื่อง เป็นส่วนที่ยาวและสาคัญที่สุด เพราะรวบรวมความคิดและข้อมูลทั้งหมด ย่อหน้าแต่ละ
ย่อหน้าในเนื้อเรื่อ งจะมีสัมพั นธภาพ คือ ร้อยเรียงเป็นเรื่องเดียวกั นและมีล าดับขั้นตอน ผู้เขียนจะลาดับ
เนื้อเรื่องตามเวลา ลาดับตามเหตุผล หรือลาดับตามความสาคัญก็ได้
4. บทสรุป เป็นส่วนที่มีความต่อเนื่องจากเนื้อเรื่อง และเป็นส่วนที่ผู้เขียนต้องการบอกให้ผู้อ่านทราบ
ว่าข้อมู ล ทั้ งหมดที่ เสนอมาได้จบลงแล้ว ผู้เขียนจะมี กลวิธีที่จ ะทาให้ผู้อ่านพอใจ ประทับ ใจ และได้รับ
ความคิดที่ผู้อ่านสามารถนาไปใช้ได้
ปาฐากถา หมายถึง น.ถ้อยคาหรือเรื่อ งราวที่ บรรยายในที่ ชุมนุมชนเป็นต้น ก. บรรยายเรื่องราวในที่
ชุมนุมชน การพูดปาฐกถา คือ การพูดที่บุคคลคนเดียวแสดงถึงความรู้ความคิดเห็นของตนเอง ให้ผู้ฟังจานวน
มาก เป็นการพูดแบบบรรยาย หรืออธิบายขยายความ ให้ผู้ฟังได้เข้าใจเรื่องที่พูดอย่างแจ่มแจ้ง โดยพูดจาก
ความรู้และประสบการณ์ด้านต่าง ๆ อาจเกี่ยวกับวิชาการหรือเป็นความรูท้ ั่ว ๆ ในลักษณะการให้ความคิดเห็น
การเสนอแนะ และการบอกเล่าเรื่องสาคัญ อย่างตรงไปตรงมา และมีหลักฐานอ้างอิงให้ถูกต้องตามความเป็น
จริงและสมเหตุสมผล อาจมีการอ้างสถิติ ตัวเลข ทฤษฎี หรือหลักเกณฑ์ต่าง ๆ
หลักการอ่านและพิจารณาบทความประเภทปาฐากถา ควรพิจารณาในประเด็นต่อไปนี้
1. ข้อเท็จจริง เป็นข้อมูลที่ถูกต้องทันสมัยและน่าเชื่อถือ มีการอ้างอิงแหล่งข้อมูลให้ผู้อ่านสืบค้นต่อไป
2. ข้อคิดเห็น ข้อคิดเห็นควรสอดคล้องกับข้อเท็จจริง มีประโยชน์ในเชิงสร้างสรรค์ มีความเป็นไปได้
สามารถนาไปปฏิบัติได้จริง
3. กลวิธีนาเสนอ มีความน่าสนใจ สอดคล้องและเชื่อมโยงต่อเนื่องกัน เข้าใจได้ง่าย หรือเกิดความสับสน
4. ถ้อยคาสานวนเข้าใจง่าย และชัดเจนหรือไม่
5. ประโยชน์ที่ ได้รับ หรือข้อคิดหรือทรรศนะของผู้เขียนสามารถนาไปปฏิบัติ ตามได้ มี ประโยชน์กั บ
บุคคลเฉพาะกลุ่มหรือบุคคลส่วนใหญ่ในสังคม
6. สาระการเรียนรู้
6.1 หลักการพิจารณาบทความ
6.2 บทความประเภทปาฐากถา
7. กิจกรรมการเรียนรู้ (แบบ Active Learning)
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (15 นาที)
7.1 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ
7.2 นักเรียนดูปาฐากถาธรรม “คิดจะรัก ต้องรักให้เป็น” โดยพระเมธีวชิโรดม (ว.วชิรเมธี)
จาก https://www.youtube.com/watch?v=tAWj1Wa3hpo
7.3 ครูสอบถามความหมายและลักษณะของปาฐากถา รวมถึงประสบการณ์ในการฟังปาฐากถา

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 256


ขั้นสอน (40 นาที)
7.4 ครูบรรยายประกอบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การพิจารณาบทความประเภทปาฐากถาให้
นักเรียนฟัง
7.5 นักเรียนอ่านปาฐกถานิธิ เอียวศรีวงศ์: สังคมไทยไม่ใช่สังคมนักอ่าน
จาก https://prachatai.com/journal/2011/08/36630 จากนั้น ครูสอบถามในประเด็น ต่อไปนี้
 ปาฐากถาข้างต้นมีชื่อว่าอะไร
(สังคมไทยไม่ใช่สังคมนักอ่าน)
 ส่วนนาของปาฐากถา กล่าวถึงอะไร
(การอ่านไม่เป็นที่นิยมในสังคมไทย ส่วนใหญ่เราฟังมากกว่าอ่าน)
 ส่วนเนื้อเรื่องของปาฐากถา กล่าวถึงอะไร
(ประโยชน์ของการอ่าน,สถานการณ์การอ่านในประเทศไทยเมื่อเปรียบเทียบกับต่างประเทศ)
 ส่วนสรุปของปาฐากถา กล่าวถึงอะไร
(ประเทศไทยไม่ใช่ชาติของนักอ่าน แต่หากเราไม่เห็นความสาคัญของการอ่านเราอาจไม่ได้พฒ
ั นา
ความสุขในชีวิตและไม่ได้นาไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาการศึกษา)
7.6 นักเรียนจับคู่ทาใบงาน การพิจารณาบทความประเภทปาฐากถา ในประเด็นดังต่อไปนี้
 ข้อเท็จจริง คืออะไร
 ข้อคิดเห็น คืออะไร
 สามารถนาไปปฏิบัติได้จริงหรือไม่ อย่างไร
 กลวิธีนาเสนอ มีความน่าสนใจ สอดคล้องและเชื่อมโยงต่อเนื่องกัน เข้าใจได้ง่าย หรือเกิด
ความสับสน อย่างไร
 ถ้อยคาสานวนเข้าใจง่าย และชัดเจนหรือไม่ อย่างไร
 ประโยชน์ที่ได้รับ หรือข้อคิดหรือทรรศนะของผูเ้ ขียนสามารถนาไปปฏิบัติตามได้ มี
ประโยชน์กบั บุคคลเฉพาะกลุ่มหรือบุคคลส่วนใหญ่ในสังคม
7.7 ครูเฉลยแนวการตอบใบงาน และอธิบายเพิม่ เติม นักเรียนทบทวนในงานของคู่ของตนเอง
ว่าสอดคล้องกับแนวการตอบของครูหรือไม่ เหมือนหรือแตกต่างอย่างไร
ขั้นสรุป (5 นาที)
7.8 ครูสรุปเกี่ยวกับการพิจารณาบทความประเภทปาฐากถา และแนะนาให้นักเรียนศึกษาความรู้
เพิ่มเติมจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น คากล่าวปาฐกถา “สันติภาพกับสหประชาชาติ”ในเพจมูลนิธิสหพันธ์
สันติภาพสากล (ประเทศไทย) ปาฐกถาพิเศษ "ไทยรัฐวิทยากับชีวิตวิถีใหม่"ในเพจไทยรัฐ เป็นต้น

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 257


8. สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้
8.1 คลิปวีดีโอปาฐากถาธรรม “คิดจะรัก ต้องรักให้เป็น” โดยพระเมธีวชิโรดม (ว.วชิรเมธี)
จาก https://www.youtube.com/watch?v=tAWj1Wa3hpo
8.2 บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การพิจารณาบทความประเภทปาฐากถา
8.3 ปาฐกถานิธิ เอียวศรีวงศ์: สังคมไทยไม่ใช่สังคมนักอ่าน
จาก https://prachatai.com/journal/2011/08/36630
8.4 เพจมูลนิธิสหพันธ์สันติภาพสากล (ประเทศไทย)
8.5 เพจไทยรัฐ
9. ชิ้นงาน/ ภาระงาน
9.1 ใบงาน การพิจารณาบทความประเภทปาฐากถา
10. เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน
10.1 แนวการตอบใบงาน
11. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ เครื่องมือ เกณฑ์
ประเมินผล การประเมิน
2.1 ด้ านความรู้ (Knowledge: K) 1. พิจารณาจาก 1.แนวการตอบ 1. ตอบได้สอดคล้อง
อธิบายหลักการพิจารณาบทความ ใบงาน การพิจารณา ใบงาน การพิจารณา กับแนวการตอบอย่างมี
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ บทความประเภท บทความประเภท เหตุผล มากกว่าร้อยละ
(Process: P) พิจารณาแยกแยะ ปาฐากถา ปาฐากถา 80
ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นและ
ประโยชน์ที่ได้จากการอ่าน
บทความประเภทปาฐากถา
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
(Attitude: A) เห็นประโยชน์ของ
การอ่านและมีนสิ ัยรักการอ่าน

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 258


12. สรุปผลการจัดการเรียนรู้
12.1 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.2 ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.3 ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............

ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

13. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………....

ลงชื่อ .................................................
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 259


บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 31
รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประชันกลเกมศึก
***********************************************************************************************************
1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก
...............................................................................................................................................................................
2. ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1) การประเมินผลความรู้หลังการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.....................
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก................................................................................................................................................................
2) การประเมินด้านทักษะกระบวนการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.............
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ...........
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มีนักเรียนทาใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกาหนดเวลา
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน
 อื่น ๆ ..............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนาแผนไปปรับปรุง เรื่อง .......................................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 260


โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 32
รหัสวิชา ท33101 รายวิชา ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประชันกลเกมศึก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง การอ่านบทโฆษณา จานวน 1 คาบ ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดาเนิน
ชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน
ม.4-6/7 อ่านเรื่องต่าง ๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อความ และรายงาน
ม.4-6/8 สังเคราะห์ความรู้จากการอ่าน สื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็ก ทรอนิกส์ และแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ
มาพัฒนาตน พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรู้ทางอาชีพ
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) อธิบายหลักการพิจารณาบทโฆษณา
2.2 ด้ า นทั ก ษะ/กระบวนการ (Process: P) พิ จ ารณาแยกแยะข้ อ เท็ จ จริ ง ข้ อ คิ ด เห็ น และ
ประโยชน์ที่ได้จากบทโฆษณา
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude: A) เห็นประโยชน์ของการอ่านและมีนิสัยรักการ
อ่าน
3. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs)
 R1–Reading (อ่านออก)
 C1–Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะ
ในการแก้ปัญหา)
 C4–Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีม
และภาวะผู้นา)
 C5–Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสนเทศ
และรูเ้ ท่าทันสื่อ)
 C6–Computing and ICT Literacy (ทั ก ษะด้ านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีส ารสนเทศและ
การสื่อสาร)
 C7–Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้)
 C8–Compassion (ความมีเมตตากรุณา วินัย คุณธรรม จริยธรรม)

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 261


4. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
 บูรณาการหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล (World-class Standard School) รายวิชา IS....
5. สาระสาคัญ
5.1 การอ่านโฆษณา จุดประสงค์ของการเขียนบทโฆษณา คือ การจูงใจให้ผู้อ่านหันมาสนใจและปฏิบัติ
ตาม ดังนั้น สินค้าและบริการ คือสิ่งที่บทโฆษณาต้องการนาเสนอ กลุ่มเป้าหมายที่เป็นผู้อ่านบทโฆษณา จึงควร
พิจารณาแยกแยะข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น หรือถ้อยคาโน้มน้าวใจ ในส่วนของประโยชน์และคุณภาพของสิ่งที่
โฆษณา ก่อนตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าหรือใช้บริการ เพราะมีประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิต
ลักษณะของการโฆษณา
1. การโฆษณาเป็นการสื่อสารจูงใจ มีวัตถุประสงค์เพื่อการจูงใจให้เกิดพฤติกรรมการซื้อโดยวิธีการ
พู ด การเขีย นหรือ การสื่อ ความหมายใด ๆ ที่ มี ผ ลให้ ผู้ บ ริโภคเป้ าหมาย คิ ดคล้ อยตาม กระท าตามหรื อ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปตามที่ผู้โฆษณาต้องการ
2. การโฆษณาเป็นการจูงใจด้วยเหตุผลจริงและเหตุผลสมมติ หมายถึง การจูงใจโดยบอกคุณสมบัติที่
เป็นประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ และการจูงใจโดยใช้หลักการตอบสนองความต้องการด้านจิตวิทยา
3. การโฆษณาเป็นการนาเสนอ สื่อสารผ่านสื่อมวลชนประเภทต่าง ๆ ซึ่งสามารถเผยแพร่ข่าวสาร
เกี่ยวกับสินค้าและบริการในระยะกว้างไกลได้สะดวกรวดเร็วที่สุดไปสู่กลุ่มเป้าหมายอย่างกว้างขวางไปสู่มวลชน
อย่างรวดเร็วเข้าถึงพร้อมกันและทั่วถึง
4. การโฆษณาเป็นการเสนอขายความคิดสินค้าและบริก าร โดยใช้วิธีก ารจูงใจให้ผู้บ ริโภค เกิ ด
ความพอใจเกิดทัศนคติที่ดีอันจะน าไปสู่การเปลี่ยนแปลงในการซื้อสินค้าหรือบริการที่เสนอขาย
5. การโฆษณาต้องระบุผู้สนับสนุนหรือตัวผู้โฆษณา ซึ่งมีผลความเชื่อถือของผู้บริโภคของผู้บริโภค
สร้างความเชื่ อ มั่ น และแสดงให้ เห็ น ว่า เป็ นการโฆษณาสิน ค้า(advertising) มิ ใช่เป็ น การโฆษณาชวนเชื่ อ
(propaganda)
6. การโฆษณาต้องจ่ายค่าตอบแทนในการโฆษณาในสื่อต่าง ๆ เช่น วิทยุกระจายเสียง วิทยุ โทรทัศน์
หนังสือพิม พ์ วารสารและนิตยสาร เป็นต้น ดังนั้นผู้โฆษณาจะต้องมีงบประมาณ เพื่ อการโฆษณาสินค้าหรือ
บริการต่าง ๆ ดังนั้นการโฆษณาจึงจาเป็นต้องพยายามโน้มน้าวให้เกิดการซื้อ เพื่อผลตอบแทนทางธุรกิจ
การอ่ านบทโฆษณา จึงควรใช้ก ารคิดวิเคราะห์ขณะอ่าน มิ ใช่เชื่อไปทั้ ง หมด ข้อความโฆษณายึด
หลั ก การโน้ ม น้ าวเป็ น ส าคั ญ ผู้ เ ขี ย นจึ ง พยายามดึ ง ดู ด ความสนใจโดยอาศั ย ความรู้ ค วามเข้ าใจเกี่ ย วกั บ
ความปรารถนาของผู้บริโภคใน

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 262


5.2 ทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ตามวิธีการอ่านแบบ SQ4R ซึ่งมีกิจกรรม 6 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นที่ 1 S (Survey) การอ่านเนื้อเรื่องอย่างคร่าว ๆ เพื่อหาจุดสาคัญของเรื่อง
ขั้นที่ 2 Q (Question) การตัง้ คาถาม
ขั้นที่ 3 R1 (Read) การอ่านอย่างละเอียดเพื่อหาคาตอบของคาถามที่ตั้งไว้
ขั้นที่ 4 R2 (Record) การจดบันทึกข้อมูลต่าง ๆ ตามความเข้าใจของตนเอง
ขั้นที่ 5 R3 (Recite) การเขียนสรุปใจความสาคัญโดยใช้สานวนของตนเอง
ขั้นที่ 6 R4 (Reflect) การวิเคราะห์วิจารณ์เรื่องที่อ่านแล้วแสดงความคิดเห็น
6. สาระการเรียนรู้
6.1 หลักการพิจารณาและอ่านโฆษณา
6.2 ทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ตามวิธีการอ่านแบบ SQ4R
7. กิจกรรมการเรียนรู้ (แบบ Active Learning)
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (15 นาที)
7.1 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ
7.2 นักเรียนดูโปสเตอร์โฆษณาที่ครูนามา ดังนี้

7.3 ครูสอบถามนักเรียน ดังนี้


 โปสเตอร์โฆษณาที่นามา 3 แผ่นนี้ มีสิ่งที่เหมือนกันอย่างไร
 ในโปสเตอร์โฆษณาประกอบด้วยข้อความที่บ่งบอกอะไรบ้าง
 หากนักเรียนเป็นผู้บริโภค นักเรียนจะตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าในโปสเตอร์นี้หรือไม่ เพราะ
เหตุใด
ขั้นสอน (30 นาที)
7.4 ครูบรรยายประกอบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การอ่านเพื่อพิจารณาบทโฆษณาให้นักเรียนฟัง
7.5 ครูมอบโปสเตอร์โฆษณาให้นักเรียนคนละ 1 แผ่น จากนั้นให้เขียนสรุปลงในสมุดบันทึกความรู้ ใน
ประเด็น ตามขั้นการอ่านของ SQ 4 R ดังนี้

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 263


ขั้นที่ 1 S (Survey) การอ่านเนื้อเรื่องอย่างคร่าว ๆ เพื่อหาจุดสาคัญของเรื่อง
 จากโปสเตอร์โฆษณาสินค้าอะไร
ขั้นที่ 2 Q (Question) การตั้งคาถาม
 ข้อความใดทาให้เกิดการจูงใจให้ซื้อสินค้าหรือบริการ
ขั้นที่ 3 R1 (Read) การอ่านอย่างละเอียดเพื่อหาคาตอบของคาถามที่ตั้งไว้
 คาหรือข้อความใดบอกรายละเอียดของสินค้าหรือบริการ
ขั้นที่ 4 R2 (Record) การจดบันทึกข้อมูลต่าง ๆ ตามความเข้าใจของตนเอง
 เขียนแผนผังเพื่อสรุปความเข้าใจที่ได้รับจากโปสเตอร์โฆษณา
ขั้นที่ 5 R3 (Recite) การเขียนสรุปใจความสาคัญโดยใช้สานวนของตนเอง
 นาสาระจากแผนผังมาสรุปใจความสาคัญด้วยภาษาของตนเอง
ขั้นที่ 6 R4 (Reflect) การวิเคราะห์วิจารณ์เรื่องที่อ่านแล้วแสดงความคิดเห็น
 นักเรียนคิดว่าข้อความโฆษณามีความน่าเชื่อถือหรือไม่ เพราะเหตุใด
ขั้นสรุป (5 นาที)
7.8 ครู ส รุ ป ความรู้ เกี่ ย วกั บ การอ่ านเพื่ อพิ จ ารณาบทโฆษณา และเทคนิ ค การอ่า นแบบ SQ 4 R
เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ในการอ่านสื่ออื่น ๆ ในชีวิตประจาวัน
8. สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้
8.1 โปสเตอร์โฆษณา
8.2 บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การอ่านเพื่อพิจารณาบทโฆษณา
9. ชิ้นงาน/ ภาระงาน
9.1 สมุดบันทึกความรู้
10. เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน
10.1 เกณฑ์การประเมิน
จดบันทึกและฝึกพิจารณาบทโฆษณาตามเทคนิค SQ 4 R ครบถ้วน 5 คะแนน
แผนผังบันทึกความรู้มีความชัดเจน ครอบคลุม 5 คะแนน

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 264


11. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ เครื่องมือ เกณฑ์
ประเมินผล การประเมิน
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) 1. พิจารณาจาก 1.เกณฑ์การประเมิน 1. มีระดับแนนจากการ
อธิบายหลักการพิจารณาบท สมุดบันทึกความรู้ สมุดบันทึกความรู้ ประเมิน 6 คะแนนขึ้น
โฆษณา ไป
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ
(Process: P) พิจารณาแยกแยะ
ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นและ
ประโยชน์ที่ได้จากบทโฆษณา
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
(Attitude: A) เห็นประโยชน์ของ
การอ่านและมีนสิ ัยรักการอ่าน

12. สรุปผลการจัดการเรียนรู้
12.1 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.2 ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.3 ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............

ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

13. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………....

ลงชื่อ .................................................
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 265


บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 32
รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประชันกลเกมศึก
***********************************************************************************************************
1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก
...............................................................................................................................................................................
2. ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1) การประเมินผลความรู้หลังการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.....................
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก................................................................................................................................................................
2) การประเมินด้านทักษะกระบวนการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.............
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ...........
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มีนักเรียนทาใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกาหนดเวลา
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน
 อื่น ๆ ..............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนาแผนไปปรับปรุง เรื่อง .......................................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 266


โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 33
รหัสวิชา ท33101 รายวิชา ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประชันกลเกมศึก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว (1) จานวน 1 คาบ ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดาเนิน
ชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน
ม.4-6/1 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง ไพเราะ และเหมาะสมกับเรื่องที่
อ่าน
ม.4-6/9 มีมารยาทในการอ่าน
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) อธิบายหลักการอ่านออกเสียงร้อยแก้วได้ถูกต้อง
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (Process: P) อ่านออกเสียงงานเขียนประเภทสารคดีได้
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude: A) เห็นประโยชน์ของการอ่านออกเสียงร้อยแก้ว
3. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs)
 R1–Reading (อ่านออก)
 C1–Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะ
ในการแก้ปัญหา)
 C5–Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสนเทศ
และรูเ้ ท่าทันสื่อ)
 C6–Computing and ICT Literacy (ทั ก ษะด้ านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีส ารสนเทศและ
การสื่อสาร)
 C7–Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้)
 C8–Compassion (ความมีเมตตากรุณา วินัย คุณธรรม จริยธรรม)
4. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
 บูรณาการกับประชาคมอาเซียน

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 267


5. สาระสาคัญ
5.1 การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2542 (2546: 1364) ให้ความหมายของคาว่า
“อ่าน” ไว้ว่า การอ่ านตามตัวหนังสือ ถ้าออกเสียงด้วยเรียกว่าอ่านออกเสียง ถ้าไม่ ออกเสียงเรียกว่า
อ่านในใจ สังเกตหรือพิจารณาดูให้เข้าใจ เช่น อ่านสีหน้า อ่านริมฝีปาก อ่านใจ
การอ่านบทร้อยแก้ว
ร้อยแก้ ว หมายถึง บทประพั นธ์ที่ เรียบเรียงตามภาษาที่ ใช้เขียนหรือพูดกั นทั่ วไป ภาษาที่ ใช้
สาหรับร้อยแก้วไม่ มีการบังคับสัมผัสหรือ กาหนดจ านวนคาแต่อย่างใด เป็นภาษาที่ใช้สื่อสารเพื่อให้เกิ ด
ความเข้าใจเป็นสาคัญ
รูปแบบของงานเขียนประเภทร้อยแก้ว แบ่งออกได้เป็น ๒ ประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้
1. บันเทิงคดี เป็นลักษณะงานประพันธ์ที่มี เนื้อหามุ่ง จะเสนอเรื่องที่แต่งขึ้นจากจินตนาการ
เพื่อความเพลิ ดเพลินเป็นหลัก งานประพันธ์ประเภทบันเทิ งคดี ได้แก่ นิทาน เรื่องสั้น นวนิยาย นิยาย
อิงพงศาวดาร และนิทานชาดก
2. สารคดี เป็นลักษณะงานประพันธ์ที่มีเนื้อหามุ่งเสนอข้อเท็จจริงที่เป็นความรู้ ข้อคิดเป็นหลัก
งานประพันธ์ป ระเภทสารคดี ได้แก่ ความเรียง บทความ สารคดี รายงาน ตารา พงศาวดาร กฎหมาย
จดหมายเหตุ พระราชหัตถเลขา จารึก และคัมภีร์ศาสนา
การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว หมายถึง การอ่านถ้อยคาที่มีผู้เรียบเรียงหรือประพันธ์ไว้โดยการเปล่ง
เสียง และวางจังหวะเสียงให้เป็นไปตามความนิยมและเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน มีการใช้ลีลาของเสียงไปตาม
เจตนารมณ์ของผู้ประพันธ์ เพื่อถ่ายทอดอารมณ์นั้นๆ ไปสู่ผู้ฟัง ซึ่งจะทาให้ผู้ฟังเกิดอารมณ์ร่วมคล้อยตามไป
กับเรื่องราวหรือรสของบทประพันธ์
หลัก การอ่านออกเสียงบทร้อ ยแก้ ว เป็นการอ่านออกเสียงธรรมดาหรือสื่อสารให้ ผู้อื่นเข้าใจ
เรื่องราวที่อ่านได้ มีหลักในการอ่าน ดังนี้
1. ก่ อนอ่านควรศึก ษาเรื่องที่อ่ านให้เข้าใจ ทั้งสาระสาคัญ ของเรื่องและข้อความทุ ก ข้อความ
เพื่อจะแบ่งวรรคตอนในการอ่านได้อย่างเหมาะสม
2. อ่านให้ถูกต้องตามอักขรวิธีในภาษา ทั้งภาษาไทยและภาษาที่ยืมมาจากภาษาอื่น ๆ เช่น บาลี
สั น สกฤต เขมร รวมทั้ ง ค าที่ ถู ก ต้ อ งตามความนิ ย ม โดยอาศั ย หลั ก การอ่ า นจากพจนานุ ก รมฉบั บ
ราชบัณฑิตยสถานเป็นสาคัญ
3. ผู้อ่านต้อ งมีส มาธิและความมั่นใจในการอ่าน ไม่อ่านผิด อ่านตก หรืออ่านเติม เวลาอ่าน
ต้องควบคุมสายตาให้ไล่ไปตามตัวอักษรทุกตัวในแต่ละบรรทัดจากซ้ายไปขวาด้วย ความรวดเร็วว่องไวและ
รอบคอบ แล้วย้อนสายตากลับลงไปยังบรรทัดถัดไปอย่างแม่นยา

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 268


4. อ่านออกเสียงให้เป็นเสียงพูดอย่างเป็นธรรมชาติ โดยเน้นเสียงหนัก เบา สูง ต่า ตามลักษณะ
การพูดโดยทั่วไป
5. อ่านออกเสียงให้ดังพอสมควร ให้เหมาะกับ สถานที่และจานวนผู้ฟังไม่ดังหรือค่อยจนเกินไป
จะทาให้ผู้ฟังเกิดความราคาญและไม่สนใจ
6. กาหนดความเร็วให้เหมาะสมกั บผู้ฟังและเรื่องที่ อ่าน ไม่ อ่านเร็วหรือช้าเกินไป การอ่านเร็ว
เกิ นไปท าให้ท าให้ผู้ฟั งจับ ใจความไม่ทั น แต่ก ารอ่านช้าเกินไปทาให้ผู้ฟังเกิ ดความราคาญได้ ผู้อ่านจึงต้อง
พิจารณาพื้นความรู้ของผู้ฟังและพิจารณาประเภทของเรื่องที่อ่านด้วย
7. อ่านให้ถูกต้องจังหวะวรรคตอน ต้องอ่านให้จบคาและได้ใจความ ถ้าเป็นคายาวหรือคาหลาย
พยางค์ ไม่ควรหยุดกลางคาหรือตัดประโยคจนเสียความ
8. มี ก ารเน้ นค าที่ ส าคัญ และคาที่ ต้ องการ เพื่อ ให้ เกิ ดภาพพจน์ ห รือเกิ ดจิ นตภาพที่ ต้ องการ
ควรเน้นเฉพาะคา ไม่ใช่ทั้งวรรคหรือทั้งประโยค เช่น “พิมนิ่งงัน คาพูดของแม่บาดลึกเข้าไปในความรู้สึก”
9. เมื่ออ่านข้อความที่มีเครื่องหมายวรรคตอนกากับ ควรอ่านให้ถูกต้องตามหลักภาษา ส่วนคาที่
ใช้อักษรย่อต้องอ่านให้เต็มคา เช่น
ทูลเกล้าฯ อ่านว่า ทูน-เกล้า-ทูน-กระ-หม่อม
พ.ศ. อ่านว่า พุด-ทะ-สัก-กะ-หราด
10. เมื่อจบย่อหน้าควรผ่อนลมหายใจ และเมื่อขึ้นย่อหน้าใหม่ควรเน้นเสียงและทอดเสียงให้ช้าลง
กว่าปกติเล็กน้อย เพื่อดึงดูดความสนใจจากผู้ฟังจากนั้นจึงใช้เสียงในระดับปกติ
6. สาระการเรียนรู้
6.1 หลักการอ่านออกเสียงร้อยแก้ว
7. กิจกรรมการเรียนรู้ (แบบ Active Learning)
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (15 นาที)
7.1 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ
7.2 นักเรียนดูคลิปวีดีโอรายการกระจกหกด้าน ตอน เกลือ
จากhttps://www.youtube.com/watch?v=rYNjtAma0lc
7.3 ครูสอบถามนักเรียนเกี่ยวกับการออกเสียงของผู้อ่าน มีลักษณะอย่างไร
ขั้นสอน (30 นาที)
7.4 ครูบรรยายประกอบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว
7.5 ครูนาแสดงบทอ่านบนจอภาพ เพื่อให้นักเรียนอ่านออกเสียงพร้อมกัน 1 รอบ จากนั้นครู จึงแนะนา
เพิ่มเติมเกี่ยวกับการเว้นวรรคตอน และการเน้นเสียงหนักเบา และให้อ่านอีก 1 รอบ
7.6 นักเรียนฝึกฝนอ่านตามบทอ่านจนคล่อง จากนั้นครูสุ่มเลือกตัวแทนนักเรียนอ่านออกเสียง จานวน
3 คน พร้อมทั้งแนะนาเพิ่มเติม

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 269


บทอ่าน เรื่อง สร้างวัฒนธรรมคนรุ่นใหม่ให้เป็นนักอ่าน
ในปัจจุบันกล่าวกันว่า/ เรากาลังอยู่ในยุคโลกาภิวัฒน์ หรือเรียกอีกอย่างว่าโลกไร้พรมแดน// แต่จะ
เรียกอย่างไรก็ตามเถิด/ การอ่าน/ ก็เป็นกระบวนการสาคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาคนในทศวรรษนี้/ เพราะ
โลกของการศึกษา/ มิได้จากัดอยู่ภายในห้องเรียน/ ที่มีลักษณะรูปทรงสี่เหลี่ยมเเคบๆ เท่านั้น/ เเต่ข้ อมูล
ข่าวสารสารสนเทศต่างๆ /ได้ ย่อโลกให้เล็กลงเท่ าที่เราอยากรู้ได้รวดเร็ว/ ในชั่วลัดนิ้วมือเดียวอย่างที่คน
โบราณกล่ า วไว้ / จะมี สื่ อ ให้ อ่ า นอย่ า งหลากหลายให้ เ ลื อ ก/ ทั้ ง สื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ ที่ เ ราคุ้ น เคย/ ไปจนสื่ อ
อิเล็ก ทรอนิกส์ที่เรี ยกว่า "อินเทอร์เน็ต " เพราะการต่อสู้รุกรานกั นของมนุษย์ยุคใหม่ / จะใช้ข้อมูล / สติ/
ปัญญา/ และคุณภาพของคนในชาติ/ มากกว่าการใช้กาลังอาวุธเข้าประหัตประหารกัน// หากคนในชาติ
ด้อยคุณภาพ/ ขาดการเรียนรู้/ จะถูกครอบงาทางปัญญาได้ง่ายๆ / จากสื่อต่างๆ จากชาติที่พัฒนาเเล้ว
หากคนไม่ อ่านหนัง สือ / ก็ยากที่ จ ะพั ฒ นาสติปัญ ญา และความรู้ได้/ โดยเฉพาะประเทศที่ ก าลัง
พัฒนา/ จะต้องทุ่มเทให้คนมีนิสัยรักการอ่าน/ มี ทักษะในการอ่าน/ และพัฒนาวิธีการอ่านให้เป็นนักอ่าน
ที่ดี// นักอ่านที่ดีจะมีภูมิคุ้มกันการครอบงาทางปัญญาได้เป็นอย่าง/ รู้เท่ากันคน และสามารถแก้ปัญหาได้ดี
ชาติกา้ วไกลด้วยคนไทยรักการอ่าน : มานพ ศรีเทียม
ขั้นสรุป (10 นาที)
7.7 ครูทบทวนความรู้เกี่ยวกับหลักการอ่านร้อยแบบ เน้นย้าเรื่องการอ่านตก ตู่ เติม ให้ระมัดระวัง มีสติ
และมีสมาธิในการอ่านทุกครั้ง
8. สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้
8.1 คลิปวีดีโอรายการกระจกหกด้าน ตอน เกลือ
จากhttps://www.youtube.com/watch?v=rYNjtAma0lc
8.2 บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว
8.3 บทอ่าน เรื่อง สร้างวัฒนธรรมคนรุ่นใหม่ให้เป็นนักอ่าน
9. ชิ้นงาน/ ภาระงาน
-
10. เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน
-

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 270


11. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ เครื่องมือ เกณฑ์
ประเมินผล การประเมิน
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) 1. สังเกตพฤติกรรม 1.แบบสังเกต 1. ร่วมตอบคาถาม
อธิบายหลักการอ่านออกเสียงร้อย รายบุคคล พฤติกรรมรายบุคคล สนทนาและฝึกปฏิบัติ
แก้วได้ถูกต้อง มากกว่าร้อยละ 80
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ
(Process: P) อ่านออกเสียงงาน
เขียนประเภทสารคดีได้
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
(Attitude: A) เห็นประโยชน์ของ
การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว

12. สรุปผลการจัดการเรียนรู้
12.1 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.2 ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.3 ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............

ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

13. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………....

ลงชื่อ .................................................
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 271


บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 33
รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประชันกลเกมศึก
***********************************************************************************************************
1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก
...............................................................................................................................................................................
2. ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1) การประเมินผลความรู้หลังการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.....................
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก................................................................................................................................................................
2) การประเมินด้านทักษะกระบวนการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.............
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ...........
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มีนักเรียนทาใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกาหนดเวลา
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน
 อื่น ๆ ..............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนาแผนไปปรับปรุง เรื่อง .......................................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 272


โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 34
รหัสวิชา ท33101 รายวิชา ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประชันกลเกมศึก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว (2) จานวน 1 คาบ ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดาเนิน
ชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน
ม.4-6/1 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง ไพเราะ และเหมาะสมกับเรื่องที่
อ่าน
ม.4-6/9 มีมารยาทในการอ่าน
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) อธิบายหลักการอ่านออกเสียงร้อยแก้วได้ถูกต้อง
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (Process: P) อ่านออกเสียงงานเขียนประเภทสารคดีได้
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude: A) เห็นประโยชน์ของการอ่านออกเสียงร้อยแก้ว
3. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs)
 R1–Reading (อ่านออก)
 C1–Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะ
ในการแก้ปัญหา)
 C5–Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสนเทศ
และรูเ้ ท่าทันสื่อ)
 C6–Computing and ICT Literacy (ทั ก ษะด้ านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีส ารสนเทศและ
การสื่อสาร)
 C7–Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้)
 C8–Compassion (ความมีเมตตากรุณา วินัย คุณธรรม จริยธรรม)
4. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
 บูรณาการกับประชาคมอาเซียน

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 273


5. สาระสาคัญ
5.1 การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2542 (2546: 1364) ให้ความหมายของคาว่า
“อ่าน” ไว้ว่า การอ่ านตามตัวหนังสือ ถ้าออกเสียงด้วยเรียกว่าอ่านออกเสียง ถ้าไม่ ออกเสียงเรียกว่า
อ่านในใจ สังเกตหรือพิจารณาดูให้เข้าใจ เช่น อ่านสีหน้า อ่านริมฝีปาก อ่านใจ
การอ่านบทร้อยแก้ว
ร้อยแก้ ว หมายถึง บทประพั นธ์ที่ เรียบเรียงตามภาษาที่ ใช้เขียนหรือพูดกั นทั่ วไป ภาษาที่ ใช้
สาหรับร้อยแก้วไม่ มีการบังคับสัมผัสหรือ กาหนดจ านวนคาแต่อย่างใด เป็นภาษาที่ใช้สื่อสารเพื่อให้เกิ ด
ความเข้าใจเป็นสาคัญ
รูปแบบของงานเขียนประเภทร้อยแก้ว แบ่งออกได้เป็น ๒ ประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้
1. บันเทิงคดี เป็นลักษณะงานประพันธ์ที่มี เนื้อหามุ่ง จะเสนอเรื่องที่แต่งขึ้นจากจินตนาการ
เพื่อความเพลิ ดเพลินเป็นหลัก งานประพันธ์ประเภทบันเทิ งคดี ได้แก่ นิทาน เรื่องสั้น นวนิยาย นิยาย
อิงพงศาวดาร และนิทานชาดก
2. สารคดี เป็นลักษณะงานประพันธ์ที่มีเนื้อหามุ่งเสนอข้อเท็จจริงที่เป็นความรู้ ข้อคิดเป็นหลัก
งานประพันธ์ป ระเภทสารคดี ได้แก่ ความเรียง บทความ สารคดี รายงาน ตารา พงศาวดาร กฎหมาย
จดหมายเหตุ พระราชหัตถเลขา จารึก และคัมภีร์ศาสนา
การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว หมายถึง การอ่านถ้อยคาที่มีผู้เรียบเรียงหรือประพันธ์ไว้โดยการเปล่ง
เสียง และวางจังหวะเสียงให้เป็นไปตามความนิยมและเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน มีการใช้ลีลาของเสียงไปตาม
เจตนารมณ์ของผู้ประพันธ์ เพื่อถ่ายทอดอารมณ์นั้นๆ ไปสู่ผู้ฟัง ซึ่งจะทาให้ผู้ฟังเกิดอารมณ์ร่วมคล้อยตามไป
กับเรื่องราวหรือรสของบทประพันธ์
หลัก การอ่านออกเสียงบทร้อ ยแก้ ว เป็นการอ่านออกเสียงธรรมดาหรือสื่อสารให้ ผู้อื่นเข้าใจ
เรื่องราวที่อ่านได้ มีหลักในการอ่าน ดังนี้
1. ก่ อนอ่านควรศึก ษาเรื่องที่อ่ านให้เข้าใจ ทั้งสาระสาคัญ ของเรื่องและข้อความทุ ก ข้อความ
เพื่อจะแบ่งวรรคตอนในการอ่านได้อย่างเหมาะสม
2. อ่านให้ถูกต้องตามอักขรวิธีในภาษา ทั้งภาษาไทยและภาษาที่ยืมมาจากภาษาอื่น ๆ เช่น บาลี
สั น สกฤต เขมร รวมทั้ ง ค าที่ ถู ก ต้ อ งตามความนิ ย ม โดยอาศั ย หลั ก การอ่ า นจากพจนานุ ก รมฉบั บ
ราชบัณฑิตยสถานเป็นสาคัญ
3. ผู้อ่านต้อ งมีส มาธิและความมั่นใจในการอ่าน ไม่อ่านผิด อ่านตก หรืออ่านเติม เวลาอ่าน
ต้องควบคุมสายตาให้ไล่ไปตามตัวอักษรทุกตัวในแต่ละบรรทัดจากซ้ายไปขวาด้วย ความรวดเร็วว่องไวและ
รอบคอบ แล้วย้อนสายตากลับลงไปยังบรรทัดถัดไปอย่างแม่นยา

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 274


4. อ่านออกเสียงให้เป็นเสียงพูดอย่างเป็นธรรมชาติ โดยเน้นเสียงหนัก เบา สูง ต่า ตามลักษณะ
การพูดโดยทั่วไป
5. อ่านออกเสียงให้ดังพอสมควร ให้เหมาะกับ สถานที่และจานวนผู้ฟังไม่ดังหรือค่อยจนเกินไป
จะทาให้ผู้ฟังเกิดความราคาญและไม่สนใจ
6. กาหนดความเร็วให้เหมาะสมกั บผู้ฟังและเรื่องที่ อ่าน ไม่ อ่านเร็วหรือช้าเกินไป การอ่านเร็ว
เกิ นไปท าให้ท าให้ผู้ฟั งจับ ใจความไม่ทั น แต่ก ารอ่านช้าเกินไปทาให้ผู้ฟังเกิ ดความราคาญได้ ผู้อ่านจึงต้อง
พิจารณาพื้นความรู้ของผู้ฟังและพิจารณาประเภทของเรื่องที่อ่านด้วย
7. อ่านให้ถูกต้องจังหวะวรรคตอน ต้องอ่านให้จบคาและได้ใจความ ถ้าเป็นคายาวหรือคาหลาย
พยางค์ ไม่ควรหยุดกลางคาหรือตัดประโยคจนเสียความ
8. มี ก ารเน้ นค าที่ ส าคัญ และคาที่ ต้ องการ เพื่อ ให้ เกิ ดภาพพจน์ ห รือเกิ ดจิ นตภาพที่ ต้ องการ
ควรเน้นเฉพาะคา ไม่ใช่ทั้งวรรคหรือทั้งประโยค เช่น “พิมนิ่งงัน คาพูดของแม่บาดลึกเข้าไปในความรู้สึก”
9. เมื่ออ่านข้อความที่มีเครื่องหมายวรรคตอนกากับ ควรอ่านให้ถูกต้องตามหลักภาษา ส่วนคาที่
ใช้อักษรย่อต้องอ่านให้เต็มคา เช่น
ทูลเกล้าฯ อ่านว่า ทูน-เกล้า-ทูน-กระ-หม่อม
พ.ศ. อ่านว่า พุด-ทะ-สัก-กะ-หราด
10. เมื่อจบย่อหน้าควรผ่อนลมหายใจ และเมื่อขึ้นย่อหน้าใหม่ควรเน้นเสียงและทอดเสียงให้ช้าลง
กว่าปกติเล็กน้อย เพื่อดึงดูดความสนใจจากผู้ฟังจากนั้นจึงใช้เสียงในระดับปกติ
6. สาระการเรียนรู้
6.1 หลักการอ่านออกเสียงร้อยแก้ว
7. กิจกรรมการเรียนรู้ (แบบ Active Learning)
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (15 นาที)
7.1 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ
7.2 นักเรียนดูคลิปวีดีโอรายการ FEED เปิดชีวิตตัวจริงเสียงจริง เจ้าของเสียงในรายการกระจกหกด้าน
จากhttps://www.youtube.com/watch?v=Gs-Sfq7vwcM
7.3 ครูสอบถามนักเรียนเกี่ยวกับ อาชีพที่เกี่ยวข้องกับการอ่านออกเสียง เช่น ผู้ประกาศข่าว ผู้ดาเนิน
รายการ นักพากย์เสียง
ขั้นสอน (30 นาที)
7.4 ครูทบทวนความรู้เกี่ยวกับ หลักการอ่านออกเสียงร้อยแก้ว อีกครั้ง
7.5 นักเรียนเลือกบทอ่านที่ครูนามาแจกให้ 1 บท จากนั้นฝึกฝนอ่านให้ถูกต้องตามหลักการอ่านออก
เสียงร้อยแก้ว จนเกิดความคล่องแคล่ว
7.6 นักเรียนสอบอ่านออกเสียงร้อยแก้ว รายบุคคล

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 275


ขั้นสรุป (10 นาที)
7.7 ครูสรุปการอ่านออกเสียงด้วยคลิปวีดีโอรายการกระจกหกด้าน ตอน ไอศกรีม
จากhttps://www.youtube.com/watch?v=Fgu9JMgbfbQ
8. สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้
8.1 คลิปวีดีโอรายการกระจกหกด้าน ตอน ไอศกรีม
จากhttps://www.youtube.com/watch?v=Fgu9JMgbfbQ
8.2 บทอ่าน
8.3 คลิปวีดีโอรายการ FEED เปิดชีวิตตัวจริงเสียงจริง เจ้าของเสียงในรายการกระจกหกด้าน
จากhttps://www.youtube.com/watch?v=Gs-Sfq7vwcM
9. ชิ้นงาน/ ภาระงาน
9.1 สอบอ่านออกเสียงร้อยแก้ว
10. เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน
10.1 เกณฑ์การประเมินการอ่านออกเสียงร้อยแก้ว ระดับพอใช้ขึ้นไป
ระดับคะแนน
รายการประเมิน
5 4 3 2 1
1. การอ่านคาตามอักขรวิธี อ่านออกเสียง อ่านออกเสียง อ่านออกเสียง อ่านออกเสียง อ่านออกเสียง
ถูกต้องทุกคา ผิด 1 - 3 คา ผิด 4 - 6 คา ผิด 7 - 9 คา ผิด 10 คา
ขึ้นไป
2. การอ่านตก ตู่ เติม อ่านตก ตู่ เติม อ่านตก ตู่ เติม อ่านตก ตู่ เติม
1 แห่ง 2 แห่ง 3 แห่งขึ้นไป
3. การเว้นวรรคตอนในการอ่าน เว้นวรรคตอน เว้นวรรคตอน เว้นวรรคตอน เว้นวรรคตอน เว้นวรรคตอน
ได้ถูกต้อง ตามจังหวะ ตามจังหวะ ตามจังหวะ ตามจังหวะ
เหมาะสม การอ่าน การอ่าน การอ่าน การอ่าน
ทุกแห่ง ออกเสียง ออกเสียง ออกเสียง ออกเสียง
ไม่ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง
1 แห่ง 2 แห่ง 3 แห่ง 4 แห่ง ขึ้นไป
4. ความชัดเจนในการอ่าน อ่านชัดถ้อย ความชัดเจน ความชัดเจน ความชัดเจน
4.1 อ่านชัดถ้อยชัดคา ชัดคา ในการอ่าน ในการอ่าน ในการอ่าน
4.2 อ่านเสียงดังฟังชัด เสียงดังฟังชัด บกพร่อง บกพร่อง บกพร่อง
ตลอดบทอ่าน 1 - 3 แห่ง 4 - 6 แห่ง 7 แห่ง ขึ้นไป
5. การอ่านในเวลาที่กาหนด อ่านจบภายใน อ่านไม่ทัน อ่านไม่ทัน
เวลา 3 นาที เวลาที่กาหนด เวลาที่กาหนด
1 - 2 บรรทัด 3 บรรทัดขึ้นไป

ระดับคุณภาพ ต่ากว่า 15 คะแนน ปรับปรุง 16 – 20 คะแนน พอใช้ 21 – 25 คะแนน ดี

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 276


11. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ เครื่องมือ เกณฑ์
ประเมินผล การประเมิน
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) 1.สอบอ่านออกเสียง 1.เกณฑ์การประเมิน 1.ระดับคุณภาพ พอใช้
อธิบายหลักการอ่านออกเสียงร้อย ร้อยแก้ว การอ่านออกเสียง ขึ้นไป ผ่านเกณฑ์
แก้วได้ถูกต้อง ร้อยแก้ว
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ
(Process: P) อ่านออกเสียงงาน
เขียนประเภทสารคดีได้
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
(Attitude: A) เห็นประโยชน์ของ
การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว

12. สรุปผลการจัดการเรียนรู้
12.1 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.2 ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.3 ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............

ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

13. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………....

ลงชื่อ .................................................
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 277


บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 34
รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประชันกลเกมศึก
***********************************************************************************************************
1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก
...............................................................................................................................................................................
2. ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1) การประเมินผลความรู้หลังการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.....................
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก................................................................................................................................................................
2) การประเมินด้านทักษะกระบวนการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.............
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ...........
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มีนักเรียนทาใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกาหนดเวลา
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน
 อื่น ๆ ..............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนาแผนไปปรับปรุง เรื่อง .......................................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 278


โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 35
รหัสวิชา ท33101 รายวิชา ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประชันกลเกมศึก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง อิทธิพลภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น (1) จานวน 1 คาบ ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา
ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
ม.4-6/1 วิเคราะห์อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) อธิบายหลักการวิเคราะห์อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและ
ภาษาถิ่นได้ถูกต้อง
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (Process: P) วิเคราะห์อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น
ได้
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude: A) เห็นความสาคัญภาษาต่างประเทศและภาษา
ถิ่นในภาษาไทย
3. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs)
 R1–Reading (อ่านออก)  R2–(W)Riting (เขียนได้)
 C5–Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสนเทศ
และรูเ้ ท่าทันสื่อ)
 C6–Computing and ICT Literacy (ทั ก ษะด้ านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีส ารสนเทศและ
การสื่อสาร)
 C7–Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้)
 C8–Compassion (ความมีเมตตากรุณา วินัย คุณธรรม จริยธรรม)
4. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
 บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 279


5. สาระสาคัญ
5.1 หลักการวิเคราะห์อิทธิพลของภาษาต่างประเทศ
สาเหตุที่ทาให้ภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนในภาษาไทย
การติดต่อ สั ม พั นธ์กั นท าให้ภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนอยู่ในภาษาไทย ด้วยสาเหตุห ลาย
ประการ พอสรุปได้ดังนี้
1.ความสัมพันธ์กันทางเชื้อชาติและถิ่นที่อยู่อาศัยตามสภาพภูมิศาสตร์ ด้วยประเทศไทยมีอาณา
เขตติดต่อหรือใกล้เคียงกันกับมิตรประเทศกับประเทศต่าง ๆ หลายประเทศ ได้แก่ พม่า ลาว มาเลเซีย เขมร
มอญ ญวน จึงท าให้คนไทยที่ อยู่อาศัยบริเวณชายแดนมีความเกี่ยวพันกับ ชนชาติต่าง ๆ โดยปริยาย มี
การเดินทางข้ามแดนไปมาหาสู่ซึ่งกันและกัน แต่งงานกันเป็นญาติกัน
2.ความสัมพันธ์กันทางด้านประวัติศาสตร์ ชนชาติไทยเป็นชนชาติที่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน
มีการอพยพโยกย้ายของคนไทยเข้ามาอยู่ในถิ่น ซึ่งชนชาติอื่นเคยอาศัยอยู่ก่อน หรือมีการทาศึกสงคราม
กับชนชาติอื่น มีการกวาดต้อนชนชาติอื่น เข้ามาเป็นเชลยศึก หรือชนชาติอื่นอพยพเข้ามาอยู่ ในแผ่นดิน
ไทยด้วยเหตุผล ต่าง ๆ
3.ความสัมพันธ์กันทางด้านการค้า จากหลักฐานทางด้านประวัติศาสตร์ ชนชาติไทยมีการติดต่อ
ค้าขาย แลกเปลี่ยนสินค้ากับชนชาติต่าง ๆ มาเป็นเวลาอันยาวนาน เช่น ชาวจีน ชาวโปรตุเกส ฝรั่งเศส
อังกฤษ ฮอลันดา ตลอดถึงญี่ปุ่น ยิ่งปัจจุบั นการค้าขายระหว่างประเทศมี ความสาคัญมากขึ้น มีก ารใช้
ภาษาต่างประเทศในวงการธุรกิจการค้ามากขึ้น
4. ความสัมพั นธ์ท างด้านศาสนา เมื่อยอมรับนับ ถือศาสนาใดก็ย่อมได้รับ ถ้อยคาภาษาที่ ใช้ใน
คาสอน หรือคาเรียกชื่อต่าง ๆ ในทางศาสนาของศาสนานั้น ๆ มาปะปนอยู่ในภาษาไทยด้วย เช่น ศาสนา
พราหมณ์ใช้ภาษาสันสกฤต ศาสนาพุทธใช้ภาษาบาลี ศาสนาอิสลามใช้ภาษาอาหรับ และศาสนาคริสต์ใช้
ภาษาอังกฤษ ดังนั้น ภาษาต่าง ๆ ที่ใช้ ในทางศาสนาก็จะเข้ามาปะปนในภาษาไทยด้วย
5.ความสัม พั นธ์ท างด้านวัฒ นธรรมและประเพณี เมื่ อชนชาติต่าง ๆ เข้ามาสัม พันธ์ติดต่อกั บ
ชนชาติไทย หรือเข้ามาตั้งหลักแหล่งอยู่ในประเทศไทย ย่อมนาเอาวัฒนธรรมและประเพณีที่เคยยึดถือ
ปฏิบัติอยู่ในสังคมเดิมของตนมาประพฤติปฏิบัติในสังคมไทย ดังนั้น ถ้อยคาภาษาที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรม
และประเพณีเหล่านั้น ก็กลายมาเป็นถ้อยคาภาษาที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันของคนไทยมากขึ้น
6.ความก้ าวหน้ าทางวิ ท ยาการและเทคโนโลยี ท าให้เ กิ ด เครื่อ งมื อเครื่อ งใช้ส าหรับ อานวย
ความสะดวกแก่ บุค คลในสั ง คมต่าง ๆ คนไทยก็ ได้ รับ อิท ธิพ ลจากความก้ าวหน้ าทางวิท ยาการและ
เทคโนโลยีของประเทศเหล่านี้มาเช่นเดียวกัน มีการสั่งซื้อเครื่องมือเครื่องใช้ใ หม่ ๆ เข้ามาในประเทศไทย
จานวนมากมาย ชื่อ เรียกของเครื่องมือเครื่องใช้และถ้อยคาได้เข้ามาปะปนอยู่ในภาษาไทยมากขึ้น เช่น
คอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ เอนเตอร์ แผ่นดิสก์ ไอคอน เมาส์ เป็นต้น

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 280


7.การศึกษาวิชาการต่าง ๆ การศึกษาของไทยมีความเจริญก้าวหน้ามากยิ่งขึ้น แต่ความรู้ในสาขาวิชา
การต่ า ง ๆ ส่ ว นใหญ่ รั บ มาจากต่ างประเทศ โดยเฉพาะการศึ ก ษาในระดั บ อุ ด มศึ ก ษา ทั้ ง วิ ท ยาลั ย
มหาวิท ยาลัย และสถาบันต่าง ๆ มีก ารใช้ตาราภาษาต่างประเทศ ประกอบการเรียนและศึก ษาค้นคว้า
นอกจากนี้ คนไทยยังนิยมเดินทางไปศึกษาวิชาการต่าง ๆ ในต่างประเทศ เมื่อกลับมาประเทศก็ได้รับเอาคา
บางคา ของภาษาต่างประเทศเหล่านั้นมาใช้ปะปนกับภาษาไทยด้วย
8.การศึก ษาภาษาต่างประเทศโดยตรง ในประเทศมี ก ารเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ เพื่ อ
ประโยชน์ในการศึกษาวิชาภาษาไทยในระดับสูง เพราะเรารับรูปคาและวิธีการสร้างคาจากภาษาเหล่านั้ นมา
มากได้แก่ การศึกษาภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต และภาษาเขมร และการศึกษาเพื่อประโยชน์ในการสื่อสาร
โดยตรง เช่น การศึกษาภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น เป็นต้น
9.ความสัมพันธ์ส่วนตัวกับคนต่างชาติ มีคนไทยจานวนมากมายที่คบหาสมาคมกับคนต่างชาติและมี
คนไทยจ านวนไม่ น้ อ ย ที่ ส มรสกั บ คนต่างชาติ ท าให้ มี ก ารถ่ายทอดแลกเปลี่ ยนกั นในทางภาษา ใช้ทั้ ง
ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในครอบครัวของตนเอง จึงทาให้ภาษาต่างประเทศเข้ามา ปะปนอยู่ใน
ภาษาไทยเพิ่มมากขึ้น
10.ความสัม พั นธ์ทางการทู ต การเจริญ สัม พันธ์ ไมตรีกั บ ประเทศต่าง ๆ ทาให้มีก ารใช้ภาษาต่าง ๆ
สื่อสารสัมพันธ์กัน ทาให้ภาษาต่าง ๆ มีอิทธิพลต่อภาษาไทย
อิทธิพลภาษาต่างปะเทศที่ทาให้ลักษณะของภาษาไทยเปลี่ยนไปจากเดิม ดังนี้
1.คามีพยางค์มากขึ้น ภาษาไทยเป็นภาษาตระกูลคาโดด คาส่วนใหญ่เป็ นคาพยางค์เดียว เช่น พ่อ แม่
พี่น้อง เดิน ยืน นั่ง นอน เมือง เดือน ดาว ช้าง แมว ม้า ป่า น้า เป็นต้น เมื่อยืมคาภาษาอื่นมาใช้ ทาให้คามี
มากพยางค์ขึ้น เช่น คาสองพยางค์ เช่น บิดา มารดา เชษฐา กนิษฐา ยาตรา ธานี จันทร กุ ญ ชร วิฬาร์
เป็นต้น คาสามพยางค์ เช่นโทรเลข โทรศัพท์ พาหนะ จั ก รยาน ปรารถนา บริบูร ณ์ เป็นต้น และคา
มากกว่าสามพยางค์ เช่น กัลปาวสาน สาธารณะ อุทกภัย วินาศกรรม ประกาศนียบัตร เป็นต้น
2.มีคาควบกล้าใช้มากขึ้น โดยธรรมชาติของภาษาไทยจะไม่มีคาควบกล้า เมื่อรับภาษาอื่นเข้ามาใช้เป็น
เหตุให้มีคาควบกล้ามากขึ้น เช่น บาตร ศาสตร์ ปราชญ์ พรหม ปราศรัย โปรด ปลูก ทรวง เกรด เคลียร์
เอ็นทรานซ์ ดรัมเมเยอร์ เป็นต้น
3.มีคาไวพจน์ใช้มากขึ้น (คาไวพจน์ คือ คาที่มีความหมายเหมือนกัน) ซึ่งสะดวกและสามารถเลือกใช้
คาได้เหมาะสมตามความต้อ งการและวัตถุประสงค์ เช่น นก บุห รง ปักษา ปัก ษิน สกุณา วิหค ม้ า พาชี
อาชา สินธพ หัย อัศวะ ดอกไม้ กรรณิก า บุปผชาติ บุหงา ผกา สุม าลี ท้องฟ้า คคนานต์ ทิฆัมพร นภดล
โพยม อัมพร น้า คงคา ชลาลัย ธารา มหรรณพ สาคร พระจันทร์ แข จันทร์ นิศากร บุหลัน รัชนีกร

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 281


4.มีตัวสะกดไม่ ตรงตามมาตรา คาไทยแท้ ส่วนใหญ่มี ตัวสะกดตรงตามมาตรา เมื่อได้รับ อิทธิพล
ภาษาต่างประเทศ คาใหม่จึงมีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตราจานวนมาก เช่น พิพาท โลหิต สังเขป มิจฉาชีพ
นิเทศ ประมาณ ผจญ กัปตัน ปลาสเตอร์ คริสต์ เคเบิล ดีเซล โฟกัส เป็นต้น
5.ทาให้โครงสร้างของภาษาเปลี่ยนไป เช่น
- ใช้ ค า ส านวน หรื อ ประโยคภาษาต่ า งประเทศ โดยเฉพาะภาษาอั ง กฤษ เช่ น ส านวน
ภาษาต่างประเทศ เขาพบตัวเองอยู่ในห้อง ส านวนภาษาไทย เขาอยู่ในห้อง สานวนภาษาต่างประเทศ
นวนิยายเรื่องนี้เขียนโดยทมยันตี สานวนภาษาไทย ทมยันตีเขียนนวนิยายเรื่องนี้ สานวนภาษาต่างประเทศ
มันเป็นเวลาบ่ายเมื่อข้าพเจ้ามาถึงอยุธยา สานวนภาษาไทย ข้าพเจ้ามาถึงอยุธยาเมื่อเวลาบ่าย
- ใช้คาภาษาต่างประเทศปนกับภาษาไทย ทั้ง ๆ ที่บางคามีคาภาษาไทยใช้ เช่น เธอไม่แคร์ ฉันไม่
มายด์ เขาไม่เคลียร์
6. สาระการเรียนรู้
6.1 สาเหตุที่ทาให้ภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนในภาษาไทย
6.2 อิทธิพลภาษาต่างปะเทศที่ทาให้ลักษณะของภาษาไทยเปลี่ยนไปจากเดิม
7. กิจกรรมการเรียนรู้ (แบบ Active Learning)
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (15 นาที)
7.1 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ
7.2 นักเรียนดูคลิปวีดีโอ “ถ้าทุกคนพูดไทยคาอังกฤษคา”
จาก https://www.youtube.com/watch?v=PgRtmSPqBaA&t=150s
7.3 ครูสอบถามนักเรียนเกี่ยวกับข้อดี ข้อเสียของการรับภาษาต่างประเทศมาใช้ในภาษาไทย
แนวการตอบ ข้อดี 1)มีคาใช้มากขึ้น 2)ทาให้ภาษาไทยมีวิวัฒนาการ 3)ทาให้มีคาเรียกชื่อคน สัตว์ สิ่งของหรือ
เทคโนโลยีสมัยใหม่ ข้อเสีย 1)การเขียนคาทับศัพท์ยังไม่มีแบบแผนที่ยึดถือได้แน่นอน 2)การอ่านออกเสียงหรือ
การพูดคาศัพท์ บ างคาผิดเพี้ ยนไปจากภาษาเดิม 3)การใช้ถ้อยคาส านวนต่างประเทศบางคามี อิท ธิพลต่ อ
โครงสร้างของคาและประโยคในภาษาไทย 4)การแปลความหมายของคาและสานวนต่างประเทศไม่ตรงกับไทย
ขั้นสอน (30 นาที)
7.4 ครูบรรยายความรู้ประกอบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง สาเหตุที่ทาให้ภาษาต่างประเทศเข้ามา
ปะปนในภาษาไทย
7.5 นักเรียนสรุปความรู้จากการบรรยายความรู้ของครูเป็นแผนผังมโนทัศน์ (Mind Mapping) ลงใน
สมุดบันทึกความรู้
7.6 ครูแสดงบัตรคาตามข้อต่อไปนี้
1) คาที่มีหลายพยางค์ 2) คาควบกล้า
3) คาไวพจน์ 4) คา สานวน หรือประโยคภาษาต่างประเทศ
จากนั้นครูสอบถามนักเรียนว่าคาที่อยู่ในบัตรคาเป็นคาไทยหรือคาภาษาต่างประเทศที่มาจากภาษาใด

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 282


7.7 ครูสรุปความรู้เกี่ยวกับอิทธิพลภาษาต่างปะเทศที่ทาให้ลักษณะของภาษาไทยเปลี่ยนไปจากเดิม
ขั้นสรุป (10 นาที)
7.8 ครูสรุป ความรู้เกี่ ยวกั บ สาเหตุที่ ท าให้ภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนในภาษาไทย และ
อิทธิพลภาษาต่างปะเทศที่ทาให้ลักษณะของภาษาไทยเปลี่ยนไปจากเดิม
จาก https://www.youtube.com/watch?v=b7sAPRdsNqw
8. สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้
8.1 คลิปวีดีโอ “ถ้าทุกคนพูดไทยคาอังกฤษคา”
จาก https://www.youtube.com/watch?v=PgRtmSPqBaA&t=150s
8.2 บทเรี ย นอิ เล็ ก ทรอนิ ก ส์ เรื่ อ ง สาเหตุ ที่ ท าให้ ภ าษาต่ างประเทศเข้ า มาปะปนในภาษาไทย
8.3 คลิปวีดีโอ เรื่อง เทคนิคสังเกต คาภาษาไทยใด ยืมมาจากต่างประเทศไหน ?
จาก https://www.youtube.com/watch?v=b7sAPRdsNqw
9. ชิ้นงาน/ ภาระงาน
9.1 แผนผังมโนทัศน์ (Mind Mapping)
10. เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน
10.1 เกณฑ์การประเมินแผนผังมโนทัศน์ (Mind Mapping) ระดับพอใช้ขึ้นไปผ่านเกณฑ์
สรุปความรู้ได้ครบถ้วน 5 คะแนน
เลือกใช้ภาษาเข้าใจง่าย 5 คะแนน
11. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ เครื่องมือ เกณฑ์
ประเมินผล การประเมิน
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) 1.พิจารณาและ 1.เกณฑ์การประเมิน 1.ระดับคุณภาพ พอใช้
อธิบายหลักการวิเคราะห์อิทธิพล ประเมินจากแผนผัง แผนผังมโนทัศน์ ขึ้นไป ผ่านเกณฑ์
ของภาษาต่างประเทศและภาษา มโนทัศน์ (Mind (Mind Mapping)
ถิ่นได้ถูกต้อง Mapping)
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ
(Process: P) วิเคราะห์อทิ ธิพลของ
ภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่นได้
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
(Attitude: A) เห็นความสาคัญ
ภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่นใน
ภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 283


12. สรุปผลการจัดการเรียนรู้
12.1 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.2 ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.3 ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............

ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

13. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………....

ลงชื่อ .................................................
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 284


บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 35
รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประชันกลเกมศึก
***********************************************************************************************************
1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก
...............................................................................................................................................................................
2. ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1) การประเมินผลความรู้หลังการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.....................
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก................................................................................................................................................................
2) การประเมินด้านทักษะกระบวนการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.............
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ...........
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มีนักเรียนทาใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกาหนดเวลา
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน
 อื่น ๆ ..............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนาแผนไปปรับปรุง เรื่อง .......................................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 285


โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 36
รหัสวิชา ท33101 รายวิชา ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประชันกลเกมศึก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง อิทธิพลภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น (2) จานวน 1 คาบ ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลัก ภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง ของภาษา
ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
ม.4-6/1 วิเคราะห์อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) อธิบายหลักการวิเคราะห์อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น
ได้ถูกต้อง
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (Process: P) วิเคราะห์อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่นได้
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude: A) เห็นความสาคัญภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น ใน
ภาษาไทย
3. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs)
 R1–Reading (อ่านออก)  R2–(W)Riting (เขียนได้)
 C5–Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสนเทศและรู้เท่า
ทันสื่อ)
 C6–Computing and ICT Literacy (ทั ก ษะด้ า นคอมพิ ว เตอร์ และเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ
การสื่อสาร)
 C7–Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้)
 C8–Compassion (ความมีเมตตากรุณา วินัย คุณธรรม จริยธรรม)
4. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
 บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 286


5. สาระสาคัญ
5.1 หลักการวิเคราะห์อิทธิพลของภาษาต่างประเทศ
ลักษณะของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คาภาษาบาลี
1. คาบาลี เมื่อมีตัวสะกดต้องมีตัวตาม
2. พยัญชนะที่เป็นตัวสะกดได้ คือ พยัญชนะแถวที่ 1, 3, 5
3. พยัญ ชนะแถวที่ 1 สะกด พยัญชนะแถวที่ 1, 2 ในวรรคเดียวกันตาม เช่น สักกะ ทุก ข์
สัจจะ มัจฉา อิตถี หัตถ์ บุปผา เป็นต้น
4. พยัญชนะแถวที่ 3 สะกด พยัญชนะแถวที่ 3, 4 ในวรรคเดียวกันเป็นตัวตาม เช่น พยัคฆ์
พุทธ อัคคี อัชฌาสัย อวิชชา เป็นต้น
5. พยัญ ชนะแถวที่ 5 สะกด พยัญ ชนะทุกตัวในวรรคเดียวกันตามได้ เช่น สังข์ องค์ สงฆ์
สัญชาติ สัณฐาน สันดาป สันธาน สัมผัส สัมพันธ์ คัมภีร์ อัมพร เป็นต้น
6. พยัญชนะเศษวรรค เป็นตัวสะกดได้บางตัว เช่น อัยกา มัลลิกา วิรุฬห์ ชิวหา เป็นต้น
คาภาษาสันสกฤต
1. การสมาส (ดู ภ าษาบาลี ) เช่น ศิ ล ป + ศาสตร์ = ศิ ล ปศาสตร์ , มานุ ษ ย + วิ ท ยา =
มานุษยวิทยา
2. การสนธิ (ดูภาษาบาลี) เช่น คณ + อาจารย์ = คณาจารย์, ภูมิ + อินทร์ = ภูมินทร์
3. การใช้ อุ ป สรรค คื อ การเติม พยางค์ป ระกอบหน้ าศั พ ท์ เ ป็ น ส่ ว นขยายศั พ ท์ ท าให้
ความหมายเปลี่ยนแปลงไป เช่น วิ - วิเทศ, สุ - สุภาษิต, อป - อัปลักษณ์, อา - อารักษ์
ข้อสังเกต
1. ภาษาสันสกฤตจะใช้สระประสม ไอ เอา ฤ ฤา ฦ ฦา คาประสมสระไอเมื่อเป็นคาไทยใช้
สระแอ (ไวทย - แพทย์)
2. ภาษาสันสกฤตจะใช้พยัญชนะ ศ ษ ฑ (บาลีใช้ ส, ฬ) เช่น กรีฑา, ศิลป, ษมา
3. ภาษาสันสกฤตมีพยัญชนะประสมและ รร ใช้ เช่น ปรากฏ, กษัตริย์ ; ครรภ์, จักรวรรดิ
คาภาษาเขมร
1. ภาษาเขมรเป็นภาษาคาโดด ค าส่วนใหญ่ มี เพียง 1 - 2 พยางค์ ใช้อัก ษรขอมหวัด มี
พยัญชนะ 33 ตัว เหมือนภาษาบาลี คือ วรรคกะ ก ข ค ฆ ง , วรรคจะ จ ฉ ช ฌ ญ วรรคฏะ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ,
วรรคตะ ต ถ ท น ธ วรรคปะ ป ผ พ ภ ม , เศษวรรค ย ร ล ว ส ห ฬ อ
2. ภาษาเขมรไม่มีวรรณยุกต์แต่อิทธิพลคายืมบางคาให้เขมรมีรูปวรรณยุกต์ (+) ใช้
3. ภาษาเขมรมรสระจม 18 รูป สระลอย 18 รูป แบ่งเป็นสระเดี่ยวยาว 10 เสียง สระผสม
2 เสียง ยาว 10 เสียง สระเดี่ยวสั้น 9 เสียง สระประสม 2 เสียง สั้น 3 เสียง

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 287


4. ภาษาเขมรมีพ ยัญ ชนะควบกล้ามากมาย มีพยัญ ชนะควบกล้า 2 เสียง ถึง 85 หน่วย และ
พยัญชนะควบกล้า 3 เสียง 3 หน่วย
คาภาษาจีน
ภาษาจีนมีลักษณะคล้ายคลึงกั บ ภาษาไทยมาก คือ เป็นภาษาคาโดดและมี เสียงวรรณยุก ต์ใช้
เช่นเดียวกันเมื่อนาคาภาษาจีนมาใช้ในภาษาไทย ซึ่งมีวรรณยุกต์และสระประสมใช้จึงทาให้สามารถ ออกเสียง
วรรณยุกต์และสระตามภาษาจีนได้อย่างง่ายดาย คาภาษาจีนยังมีคาที่บอกเพศในตัวเช่นเดียวกับภาษาไทยอีก
ด้วย เช่น เฮีย(พี่ชาย), ซ้อ(พี่สะใภ้), เจ๊(พี่สาว) นอกจากนี้การสะกดคาภาษาจีนในภาษาไทยยังใช้ตัวสะกดตรง
ตามมาตราตัวสะกดทั้ง 8 มาตรา และมีการใช้ทัณฑฆาต หรือตัวการันต์ด้วยประมวลคายืมจากภาษาจีนที่ใช้
บ่อย
ข้อสังเกต
1. นามาเป็นชื่ออาหารการกิน เช่น ก๋วยเตี๋ยว เต้าทึง แป๊ะซะ เฉาก๊วย จับฉ่าย เป็นต้น
2. เป็นคาที่เกี่ยวกับสิ่งของเครื่องใช้ที่เรารับมาจากชาวจีน เช่น ตะหลิว ตึก เก้าอี้ เก๋ง ฮวงซุ้ย
3. เป็นคาที่เกี่ยวกับการค้าและการจัดระบบทางการค้า เช่น เจ๋ง บ๋วย หุ้น ห้าง โสหุ้ย เป็นต้น
4. เป็นคาที่ใช้วรรณยุกต์ตรี จัตวา เป็นส่วนมาก เช่น ก๋วยจั๊บ กุ๊ย เก๊ เก๊ก ก๋ง ตุ๋น เป็นต้น
คาภาษาอังกฤษ
1. ภาษาอังกฤษมีการเปลี่ยนแปลงรูปคาหรือเติมท้ายศัพท์ในลักษณะต่างๆ กันเพื่อแสดงลักษณะ
ไวยากรณ์ เช่น การบอกเพศ พจน์ กาล (go-went-gone) หรือทาให้คาเปลี่ยนความหมายไป
2. คาในภาษาอั งกฤษมีก ารลงน้าหนัก ศัพท์ คาเดียวกันถ้าลงน้าหนัก ต่างพยางค์กันก็ ย่อมเปลี่ยน
ความหมายและหน้าที่ของคา เช่น record – record
3. ภาษาอังกฤษมีตัวอักษร 26 ตัว สระเดี่ยว(สระแท้) 5 ตัว สระประสมมากมาย
4. ภาษาอังกฤษมีพยัญชนะควบกล้ามากมาย ทั้งควบกล้า 2 เสียง 3 เสียง 4 เสียง ปรากฏได้ทั้งต้น
และท้ายคา เช่น spring, grease, strange พยัญชนะต้นควบ desk, past, text พยัญชนะท้ายควบ
คาภาษาชวามลายู
1. มีวิธีการสร้างคาใหม่โดยวิธีเอาพยางค์มาต่อเติมคาทาให้ความหมายเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม
2. คาในภาษามลายูส่วนใหญ่จะมีสองพยางค์และสามพยางค์
3. ปัจจุบัน คือ ภาษาอินโดนีเซีย นิยมใช้ในพื้นที่ภาคใต้ของไทย
6. สาระการเรียนรู้
6.1 ลักษณะของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 288


7. กิจกรรมการเรียนรู้ (แบบ Active Learning)
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (15 นาที)
7.1 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ
7.2 นักเรียนร่วมกิจกรรมเกมบิงโกคาศัพท์ โดยในตารางบิงโก นักเรียนเขียนคายืมภาษาต่างประเทศ
จานวน 25 คา ลงในตารางบิงโก ครูหยิบรูปภาพที่เกี่ยวข้องกับคาศัพท์นั้นขึ้นมาแสดง หากนักเรียนพบว่าใน
ตารางบิงโกของตนเองมีคาที่เกีย่ วข้องกับรูปภาพที่ครูแสดงให้นักเรียนกากบาททับคาศัพท์นั้น จนกว่านักเรียน
จะเป็นผู้ชนะ และเปล่งเสียงพร้อมยกมือว่า บิงโก
7.3 ครูสอบถามนักเรียนในประเด็น ดังนี้
 นักเรียนคุ้นเคยและนิยมใช้ภาษาต่างประเทศของชาติใดมากที่สุดในการสนทนากับเพื่อน
 ชื่อและนามสกุลของนักเรียนมาจากภาษาใด
 หากต้องจาแนกคาศัพท์ว่ามาจากภาษาใด นักเรียนใช้เกณฑ์อะไรในการจาแนก
ขั้นสอน (30 นาที)
7.4 ครูบรรยายความรู้ประกอบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ลักษณะคาภาษาต่างประเทศที่เข้ามา
ปะปนในภาษาไทย
7.5 นักเรียนสรุปความรู้จากการบรรยายความรู้ของครูเป็นแผนผังมโนทัศน์ (Mind Mapping) ลงใน
สมุดบันทึกความรู้
7.6 นักเรียนทาแบบทดสอบออนไลน์ แบบปรนัย 20 ข้อ จากนั้นครูเฉลย พร้อมอธิบายเพิ่มเติม
ขั้นสรุป (10 นาที)
7.8 ครูสรุปความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของการเรียนรู้เรื่อง อิทธิพลภาษาต่างประเทศ ดังนี้
 เพื่อการเลือกใช้คาทับศัพท์และคาศัพท์บัญญัติให้ถูกต้อง
 เพื่อการอ่านออกเสียงหรือพูดให้ถูกต้อง
 เพื่อการเขียนคาภาษาต่างประเทศให้ถูกต้องตามหลักตัวสะกด ตัวการันต์ รูปและเสียง
วรรณยุกต์
 เพื่อให้รู้โอกาสในการใช้คาภาษาต่างประเทศ
8. สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้
8.1 เกมบิงโกคาศัพท์
8.2 บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ลักษณะคาภาษาต่างประเทศที่เข้ามาปะปนในภาษาไทย
8.3 แบบทดสอบออนไลน์ แบบปรนัย 20 ข้อ
9. ชิ้นงาน/ ภาระงาน
9.1 แบบทดสอบออนไลน์ แบบปรนัย 20 ข้อ
10. เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน
10.1 เฉลยคาตอบ ระดับคุณภาพ คือ 12 คะแนน ผ่านเกณฑ์การประเมิน

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 289


11. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ เครื่องมือ เกณฑ์
ประเมินผล การประเมิน
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) 1.พิจารณาจาก 1.เฉลยคาตอบ 1.ระดับคุณภาพ คือ
อธิบายหลักการวิเคราะห์อิทธิพล คะแนนจากการทา 12 คะแนน ผ่านเกณฑ์
ของภาษาต่างประเทศและภาษา แบบทดสอบออนไลน์ การประเมิน
ถิ่นได้ถูกต้อง แบบปรนัย 20 ข้อ
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ
(Process: P) วิเคราะห์อทิ ธิพลของ
ภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่นได้
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
(Attitude: A) เห็นความสาคัญ
ภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่นใน
ภาษาไทย

12. สรุปผลการจัดการเรียนรู้
12.1 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.2 ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.3 ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............

ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

13. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………....

ลงชื่อ .................................................
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 290


บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 36
รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประชันกลเกมศึก
***********************************************************************************************************
1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก
...............................................................................................................................................................................
2. ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1) การประเมินผลความรู้หลังการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.....................
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก................................................................................................................................................................
2) การประเมินด้านทักษะกระบวนการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.............
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ...........
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มีนักเรียนทาใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกาหนดเวลา
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน
 อื่น ๆ ..............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนาแผนไปปรับปรุง เรื่อง .......................................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 291


โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 37
รหัสวิชา ท33101 รายวิชา ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประชันกลเกมศึก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง อิทธิพลภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น (3) จานวน 1 คาบ ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลัก ภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง ของภาษา
ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
ม.4-6/1 วิเคราะห์อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) อธิบายหลักการวิเคราะห์อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น
ได้ถูกต้อง
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (Process: P) วิเคราะห์อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่นได้
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude: A) เห็นความสาคัญ ภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น ใน
ภาษาไทย
3. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs)
 R1–Reading (อ่านออก)  R2–(W)Riting (เขียนได้)
 C5–Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสนเทศและรู้เท่า
ทันสื่อ)
 C6–Computing and ICT Literacy (ทั ก ษะด้ า นคอมพิ ว เตอร์ และเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ
การสื่อสาร)
 C7–Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้)
 C8–Compassion (ความมีเมตตากรุณา วินัย คุณธรรม จริยธรรม)
4. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
 บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 292


5. สาระสาคัญ
5.1 หลักการวิเคราะห์อิทธิพลภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น
อิทธิพลภาษาถิ่นในภาษาไทย
ภาษาถิ่น คือ ภาษาที่ใช้สื่อสารในท้ องถิ่นต่าง ๆ อาจมี ความหมายหรือออกเสียงต่างจาก
ภาษากลาง โดยมีสาเหตุมาจากความแตกต่างด้านสภาพทางภูมิศาสตร์ กาลเวลา อิทธิพลของภาษาอื่น
การแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม
ภาษาถิ่นมีบทบาทในการแสดงเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของแต่ละท้องถิ่น ซึ่งสามารถแบ่ง
ออกเป็น 4 กลุ่มใหญ่ ๆ ได้แก่
1. ภาษาถิ่นเหนือ เรียกว่า อู้คาเมือง ใช้พูดกันในแถบจังหวัดภาคเหนือ อาจจะมีภาษาถิ่นเหนือย่อย ๆ
เช่น ภาษาไทยเขิน ไทยยอง ไทยลื้อ
2. ภาษาถิ่นอีสาน เรียกว่า เว้าอีสาน ใช้พูดกันในแถบจังหวัดภาคอีสาน อาจจะมีภาษาถิ่นย่อย เช่น ภาษา
เขมร ภาษาส่วย (กุย) ภาษาโซ่หรือกะโส้ ภาษาชาวบน ภาษาผู้ไทย และภาษาย้อ
3. ภาษาถิ่นใต้ เรียกว่า แหลงใต้ ใช้พูดกันในแถบจังหวัดภาคใต้ อาจจะมีภาษาถิ่นย่อย เช่น ภาษายาวี
ภาษาเซมังหรือซาไก และภาษาชาวเล
4. ภาษาถิ่นกลาง มีลักษณะเหมือนภาษากรุงเทพฯ ใช้พูดกันในแถบจังหวัดภาคกลาง ภาคตะวันออก
ภาคตะวันตก และภาคเหนือ ตอนล่าง อาจจะมีภาษาถิ่นของกลุ่มย่อย เช่น ภาษาสุพรรณ ภาษาระยอง
ภาษาเพชรบุรี ทาให้มีเสียงเพี้ยนหรือเสียงเหน่อในแต่ละท้องถิ่น
5.2 สาเหตุที่ทาให้เกิดภาษาถิ่น มีอยู่ 2 สาเหตุด้วยกัน ได้แก่
1. สภาพภูมิศาสตร์ เมื่อกลุ่มคนอาศัยอยู่ในสถานที่เดียวกัน ย่อมต้องใช้ภาษาเดียวกันในการสื่อสาร แต่
หากกลุ่มชนอพยพย้ายถิ่นฐานไป ไม่ว่าจะเป็นผลจากการรุกรานของศัตรู หรือภัยพิบัติทางธรรมชาติ ย่อม
ส่ งผลให้ ภาษาของชนกลุ่ม นั้ นมี ก ารเปลี่ยนแปลงไปจากเดิ ม โดยอาจออกเสียงเปลี่ ยนไป ท าให้คาและ
ความหมายของแต่ละคานั้นเปลี่ยนไปเช่นกัน จึงเป็นสาเหตุให้เกิดภาษาถิ่นขึ้นนั่นเอง
2. สภาพแวดล้อม เมื่อกลุ่มคนอาศัยอยู่ใกล้ชิดกัน ย่อมเกิดการรับและการผสมผสานกันทางด้านภาษา
และวัฒนธรรม เช่น ภาษาถิ่นใต้ ได้รับอิทธิพลมาจากภาษาชวา-มลายู ภาษาถิ่นเหนือ ได้รับอิทธิพลจากภาษา
พม่าและมอญ ภาษาถิ่นอีสาน ได้รับอิทธิพลมาจาก ภาษาเขมร และลาว เป็นต้น
ความสาคัญของภาษาถิ่น คือ เป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นถึงเอกลักษณ์ของแต่ละท้องถิ่นนั้น ๆ ภาษาถิ่น
นับได้ว่าเป็นวัฒนธรรมทางภาษา โดยการศึกษาภาษาถิ่นจะช่วยให้เข้าใจสภาพสังค วัฒนธรรม และภูมิปัญญา
ของกลุ่มชนต่าง ๆ เช่น นิทาน เพลงกล่อมเด็ก บทสวดในพิธีกรรม เป็นต้น เป็นเครื่องแสดงถึงความเป็นเครือ
ญาติ หรือความเป็นพวกเดียวกัน การศึก ษาภาษาถิ่นจึงมีส่วนช่ วยให้การสื่อสารมีประสิท ธิภาพ และสร้าง
ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ท่ามกลางความหลากหลายของคนในชาติ เป็นบ่อเกิดของวรรณกรรมไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 293


หลายเรื่องเช่น วรรณกรรมเกี่ ยวกั บ ศาสนา ตานาน นิท าน ซึ่งสามารถสะท้ อนวิถีชีวิตของชาวบ้านในแต่ล ะ
ท้องถิ่นได้เป็นอย่างดี ลักษณะความแตกต่างของภาษาถิ่น ภาษาถิ่นที่ใช้กันในประเทศไทยของเราแบ่งออกคร่าว
ๆ ได้เป็น 4 ประเภท หรือที่เราเรียกกันว่า ภาษาถิ่น 4 ภาค นั่นคือ ภาษาถิ่นเหนือ ภาษาถิ่นอีสาน ภาษาถิ่นกลาง
และภาษาถิ่นใต้ ซึ่งจะมีความแตกต่างกันในด้านเสียงและการใช้คา ดังนี้
5.3 ความแตกต่างของภาษาถิ่น
 ความแตกต่างด้านเสียง
เสียงพยัญชนะ พยัญชนะ “ร” และ “ล” ในภาษาไทยมาตรฐาน เปลี่ยนเป็น “ฮ” ในภาษาถิ่นเหนือและ
อีสาน เช่น รัก เป็น ฮัก และ แรง เป็น แฮง เสียงสระสระอัว ในภาษาไทยมาตรฐาน เปลี่ยนเป็น สระเอีย ใน
ภาษาถิ่นอีสาน เช่น เนื้อ เป็น เนี้ย สระอัว ในภาษาไทยมาตรฐาน เปลี่ยนเป็น สระโอ ในภาษาถิ่นอีสาน เช่น
ตัว เป็น โต สระอึ ในภาษาไทยมาตรฐาน เปลี่ยนเป็น สระเออ ในภาษาถิ่นอีสาน เช่น ครึ่ง เป็น เคิ่ง สระอา
ในภาษาไทยมาตรฐาน เปลี่ย นเป็ น สระอั ว ในภาษาถิ่น อีส าน เช่ น ขวา เป็ น ขั ว และเสี ยงวรรณยุก ต์
ภาษาถิ่นใต้มี วรรณยุกต์ 7 เสียง แตกต่างจากภาษาไทยมาตรฐานที่มีวรรณยุกต์เพียง 5 เสียงเท่านั้น คาที่
ออกเสียงเป็นวรรณยุกต์โทในภาษาไทยมาตรฐาน เปลี่ยนเป็น วรรณยุกต์จัตวา ในภาษาถิ่นใต้ เช่น เที่ยว เป็น
เถียว พ่อ เป็น ผอ
 ความแตกต่างด้านการใช้คา เพราะในบางครั้ง คาที่เราเห็นว่าหน้าตาเหมือนกัน พอเปลี่ยนไปเป็น
ภาษาถิ่นอื่น ๆ ความหมายดันเปลี่ยนไปซะอย่างนั้น เช่น คาว่า ชมพู่ ผลไม้ทรงกรวยอ้วนกลมสีแดงและสี
เขียว ที่คนพูดภาษาไทยมาตรฐานรู้จักกัน แต่สาหรับ คนที่ใช้ภาษาถิ่นใต้ คานี้หมายถึงฝรั่ง ผลไม้ ผิวสีเขียว
เมล็ดเยอะ ที่เห็นตามรถเข็นขายผลไม้ต่างหาก ตัวอย่างเช่น
ภาษาถิ่นกลาง ภาษาถิ่นใต้ ภาษาถิ่นเหนือ ภาษาถิ่นอีสาน
พูด แหลง อู้ เว้า
มอง แล ผ่อ เบิ่ง
6. สาระการเรียนรู้
6.1 อิทธิพลภาษาถิ่นในภาษาไทย
6.2 สาเหตุและความสาคัญของภาษาถิ่น
6.3 ความแตกต่างของภาษาถิ่น
7. กิจกรรมการเรียนรู้ (แบบ Active Learning)
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (15 นาที)
7.1 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ
7.2 นักเรียนดูคลิปวีดีโอ เรื่อง ความแตกต่างระหว่างภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่น
จาก https://www.youtube.com/watch?v=qmL04e9UfRc&t=358s

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 294


7.3 ครูสอบถามนักเรียนในประเด็น ดังนี้
 ภาษาถิ่นมีความสาคัญอย่างไร
 นักเรียนยกตัวอย่างคาภาษาถิ่น (เหนือ อีสาน ใต้) ถิ่นละ 3 คา
 นักเรียนคิดว่าเหตุใดต้องมีภาษาไทยมาตรฐาน
ขั้นสอน (30 นาที)
7.4 นักเรียนดูคลิปวีดีโอรายการคุณพระช่วย ตอน สาเนียงเหน่อ 4 Thai Dialect 4
จาก https://www.youtube.com/watch?v=FOEWg9ymKKk
7.5 นักเรียนและครูร่วมอภิปราย ดังนี้
 อิทธิพลภาษาถิ่นในภาษาไทย
 สาเหตุและความสาคัญของภาษาถิ่น
 ความแตกต่างของภาษาถิ่น
 เสน่ห์ภาษาถิ่น
ขั้นสรุป (10 นาที)
7.8 นักเรียนดูคลิปมิวสิควีดีโอเพลง คิดฮอดรู้หม้าย - คิว สราวุฒิ Feat เจี๊ยบ นิสา
จาก https://www.youtube.com/watch?v=GvcDA7A9hSE
7.9 ครูสรุปความรู้เกี่ยวกับอิทธิพลภาษาถิ่นในภาษาไทย อีกครั้ง
8. สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้
8.1 คลิปวีดีโอ เรื่อง ความแตกต่างระหว่างภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่น
จาก https://www.youtube.com/watch?v=qmL04e9UfRc&t=358s
8.2 คลิปวีดีโอรายการคุณพระช่วย ตอน สาเนียงเหน่อ 4 Thai Dialect 4
จาก https://www.youtube.com/watch?v=FOEWg9ymKKk
8.3 คลิปมิวสิควีดีโอเพลง คิดฮอดรู้หม้าย - คิว สราวุฒิ Feat เจี๊ยบ นิสา
จาก https://www.youtube.com/watch?v=GvcDA7A9hSE
9. ชิ้นงาน/ ภาระงาน
-
10. เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน
-

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 295


11. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ เครื่องมือ เกณฑ์
ประเมินผล การประเมิน
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) 1.สังเกตพฤติกรรมใน 1.แบบสังเกต 1.มีส่วนร่วมใน
อธิบายหลักการวิเคราะห์อิทธิพล การ่วมอภิปราย พฤติกรรมในการ่วม อภิปรายร้อยละ 80
ของภาษาต่างประเทศและภาษา อภิปราย
ถิ่นได้ถูกต้อง
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ
(Process: P) วิเคราะห์อทิ ธิพลของ
ภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่นได้
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
(Attitude: A) เห็นความสาคัญ
ภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่นใน
ภาษาไทย

12. สรุปผลการจัดการเรียนรู้
12.1 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.2 ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.3 ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............

ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

13. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………....

ลงชื่อ .................................................
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 296


บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 37
รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประชันกลเกมศึก
***********************************************************************************************************
1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก
...............................................................................................................................................................................
2. ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1) การประเมินผลความรู้หลังการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.....................
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก................................................................................................................................................................
2) การประเมินด้านทักษะกระบวนการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.............
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ...........
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มีนักเรียนทาใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกาหนดเวลา
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน
 อื่น ๆ ..............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนาแผนไปปรับปรุง เรื่อง .......................................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 297


โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 38
รหัสวิชา ท33101 รายวิชา ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประชันกลเกมศึก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง การเขียนรายงานทางวิชาการ (1) จานวน 1 คาบ ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความและเขียนเรื่องราว ในรูปแบบต่าง ๆ
เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ
ม.4-6/6 เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่องทีสนใจตามหลักการเขียนเชิงวิชาการและข้อมูลสารสนเทศ
อ้างอิงอย่างถูกต้อง
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) อธิบายหลักการเขียนรายงานทางวิชาการ
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (Process: P) เขียนรายงานทางวิชาการได้
2.3 ด้านคุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ (Attitude: A) เห็ น ความส าคัญ ของการน าความรู้ไปใช้ จ ริง ใน
การศึกษาต่อและประกอบอาชีพ
3. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs)
 R1–Reading (อ่านออก)  R2–(W)Riting (เขียนได้)
 C5–Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสนเทศและรู้เท่า
ทันสื่อ)
 C6–Computing and ICT Literacy (ทั ก ษะด้ า นคอมพิ ว เตอร์ และเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ
การสื่อสาร)
 C7–Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้)
 C8–Compassion (ความมีเมตตากรุณา วินัย คุณธรรม จริยธรรม)
4. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
 บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 298


5. สาระสาคัญ
5.1 การเขียนรายงานทางวิชาการ
รายงานทางวิชาการ คือ รายงานผลของการศึกษาค้นคว้าวิจัยเกี่ ยวกับ เรื่องใดเรื่องหนึ่ง
มุ่งเสนอผลที่ได้ตามความเป็นจริง ซึ่งต้องท าตามขั้นตอน มี ระบบ ระเบียบแบบแผนที่ เป็นสากล โดยมี
หลักฐานและการอ้ างอิงประกอบแล้วเขียนหรือพิมพ์ให้ถูกต้องตามรูปแบบที่ส ถาบั นนั้น ๆ กาหนด และ
ถือว่ารายงานเป็นส่วนหนึ่งของการประเมินผลการเรียนการสอนของวิชานั้น ๆ
วัตถุประสงค์ และความสาคัญของรายงานทางวิชาการ
1. ส่ง เสริม สนั บ สนุน ให้ ผู้เ รียนรู้จั ก วิธีก ารค้ น คว้ าหาความรู้ด้วยตนเอง ในเรื่องที่ ส นใจได้อย่ าง
กว้างขวางลึกซึ้ง
2. ช่วยให้ผู้เรียนรู้จักแหล่งข้อมูลต่าง ๆ และเกิดทักษะรู้วิธีการค้นคว้ารวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูล
นั้น ๆ ได้อย่างถูกวิธี
3. ช่วยฝึกทักษะด้านการอ่าน โดยอ่านได้เร็ว อ่านแล้วสามารถจับใจความของเรื่องที่อ่านได้ สามารถ
สรุปได้ วิเคราะห์ได้ และจดบันทึกได้
4. ช่วยฝึก ทักษะทางด้านการเขียน สามารถสื่อความหมายโดยการเขียนได้อย่างมี ประสิท ธิภาพรู้
ขั้นตอน รู้รูปแบบของการเขียนรายงานแล้วนาเอาหลักการและแบบแผนในการเขียนรายงานไปปรับใช้ใน
การเขียนงานทางวิชาการอื่นๆ ได้ เช่น ภาคนิพนธ์ สารนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ ตาราเป็นต้น
5. ช่วยฝึกทักษะทางด้านการคิด คือ สามารถคิดวิเคราะห์เรื่องราวต่าง ๆ ได้ โดยใช้วิจารณญาณของ
ตนเองแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผลโดยมีหลักฐานอ้างอิงแล้วรวบรวมเรียบเรียงข้อมูลความคิดที่ได้ให้
เป็นเรื่องราวได้อย่างมีขั้นตอน มีระบบ เป็นระเบียบ
6. สามารถเขียนรายงานประกอบการเรียนได้อย่างถูกต้องตามแบบแผนและเป็นพื้นฐานใน การศึกษา
ขั้นสูงต่อไป
ประเภทของรายงานทางวิชาการ
1. รายงานการค้นคว้าทั่วไป แบ่งได้เป็น
1.1 รายงาน (Report) เป็ น ผลการศึ ก ษาค้ น คว้ า ในเรื่ อ งใดเรื่ อ งหนึ่ ง โดยมี จุ ด มุ่ ง หมาย
เพื่อประกอบการเรียนในรายวิชาใดวิชาหนึ่ง จะมีเนื้อหาอยู่ในขอบข่ายวิชานั้น โดยอาจใช้วิธีก ารศึกษา
ค้นคว้าจากเอกสาร การสังเกต การทดลอง การสัมภาษณ์ แหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ โดยจะมีการกาหนดหัวข้อใน
การศึกษาค้นคว้าชัดเจน
1.2 ภาคนิพนธ์ หรือรายงานประจาภาค (Term paper) มีลักษณะเช่นเดียวกับรายงาน เพียงแต่
เรื่องที่ ใช้ท าภาคนิพ นธ์จะมี ขอบเขตกว้างและลึกซึ้ง กว่า ใช้เวลาค้นคว้ามากกว่า ความยาวของเนื้อหา
มากกว่า ดังนั้นผู้เรียนจึงมักจะได้รับมอบหมายให้ทาเพียงเรื่องเดียวในแต่ละรายวิชาต่อภาคการศึกษา

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 299


2. รายงานการค้นคว้าวิจัย แบ่งได้เป็น
2.1 รายงานการวิจัย (Research Report) เป็นการนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าและวิจัยในเรื่องหรือ
ปัญ หาเฉพาะที่ ต้อ งการคาตอบหรือ ความรู้เพิ่ ม เติม ต้องมี ค วามรู้ใหม่ ที่ ยัง ไม่ เคยมี ก ารศึก ษาวิจัยมาก่ อ น
มีวิธีดาเนินการอย่างมีระเบียบ มีจุดมุ่งหมายที่แน่นอน เพื่อให้ได้มาซึ่งความจริงหรือหลักการบางอย่าง
2.2 วิทยานิพนธ์ หรือ ปริญญานิพนธ์ (Thesis or Dissertation) มีลักษณะเช่นเดียวกับรายงานการวิจัย
และถือเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต เรียกว่า วิทยานิพนธ์ (Thesis) และปริญญา
ดุษฎีบัณฑิต เรียกว่า ปริญญานิพนธ์หรือดุษฎีนิพนธ์ หรือสาระนิพนธ์ (Dissertation) เป็นเรื่องทาเฉพาะบุคคล
กาหนดเวลาทาไม่เกินระยะเวลาเรียนของหลักสูตรนั้น
ส่วนประกอบของรายงานทางวิชาการ มีดังนี้
1. ส่วนประกอบตอนต้น มีส่วนประกอบตามลาดับดังนี้
1.1 หน้าปก (ปกนอก)
1.2 หน้าชื่อเรื่อง (ปกใน)
1.3 คานา (กิตติกรรมประกาศ)
1.4 สารบัญ
1.5 สารบัญตาราง
1.6 สารบัญภาพประกอบ
2. ส่วนประกอบตอนกลาง (เนื้อเรื่อง) รายงานทางวิชาการมีโครงสร้างมาตรฐาน 5 บท คือ
บทที่ 1 บทนา
บทที่ 2 เอกสารและรายงานการศึกษาที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 3 วิธีดาเนินการศึกษา
บทที่ 4 ผลการศึกษา
บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
นอกจากนี้ ยั ง มี ส่ ว นประกอบ ที่ ส าคั ญ ของเนื้ อเรื่อ ง ได้แ ก่ การอ้ างอิ ง จากการศึ ก ษาค้ นคว้ า
แบบเชิง อรรถท้ ายหน้ า หรือ อ้ า งอิ ง แทรกในเนื้ อหา (นามปี ) ข้ อมู ล สารสนเทศตารางประกอบ แผนภู มิ
ภาพประกอบ
3. ส่วนประกอบท้าย ได้แก่ บรรณานุกรม ภาคผนวก และอภิธานศัพท์ เป็นรายละเอียดเพิ่มเติมจากเนื้อ
เรื่อง เช่น การอ้างอิ งที่ได้ระบุไว้ในเชิง อรรถ รายละเอียดต่าง ๆ เช่น ตารางข้อมูล แผนงานโครงการ บันทึ ก
ประจาวัน สาหรับผู้สนใจรายละเอียด

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 300


5.2 การใช้ภาษาในการเขียนและการเรียบเรียงข้อมูล
5.1.1 การใช้ภาษาในการเขียนรายงาน รายงานมีลักษณะต่อไปนี้
1) เลือกใช้ภาษาเชิงวิชาการ
2) เรียบเรียงข้อมูลในลักษณะที่เป็นความรู้ ข้อเท็จจริง
3) มีหลักฐาน ข้อเท็จจริงอ้างอิงประกอบ
4) ไม่ต้องใช้สานวนโวหารไพเราะเยิ่นเย้อ ใช้ให้ กะทัดรัด ชัดเจน
5) หลีกเลี่ยงคาหลายความหมาย คาภาษาพูด คาแสลง หรือคาภาษาตลาด ภาษาถิ่น
6) ตัวสะกดการันต์ถูกต้องตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
7) การใช้คาศัพท์ เช่น การใช้คาสุภาพ คาราชาศัพท์ คาที่ใช้กับภิกษุ ล้วนต้องเลือกใช้ให้
ถูกต้อง ตามหลักการใช้ภาษา และความนิยมในปัจจุบัน
5.1.2 มี เอกภาพ ในการเสนอเนื้ อหาทุ ก ส่ว นของรายงาน เพื่ อตอบสนองวั ตถุ ป ระสงค์ข อง
การเขียน มีสัมพันธภาพ ในการจัดลาดับเนื้อหา คือเขียนให้สัมพันธ์กัน เช่น ตามลาดับเวลา ตามลาดับเหตุ
และผลจัดล าดับ ระหว่าง หัวข้อใหญ่ หัวข้อย่อย ระหว่างย่อหน้า เรียงตามความสาคัญ หัวข้อที่ สาคัญ
เท่ากัน หรือระดับเดียวกัน เขียนให้ย่อหน้าเท่ากัน ตรงกัน ย่อหน้าหนึ่งควรมีใจความสาคัญเดียว
6. สาระการเรียนรู้
6.1 วัตถุประสงค์ และความสาคัญของรายงานทางวิชาการ
6.2 ประเภทของรายงานทางวิชาการ
6.3 ส่วนประกอบของรายงานทางวิชาการ
6.4 การใช้ภาษาในการเขียนและการเรียบเรียงข้อมูล
7. กิจกรรมการเรียนรู้ (แบบ Active Learning)
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (10 นาที)
7.1 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ
7.2 ครูสอบถามนักเรียนในประเด็น ดังนี้
 นักเรียนเคยสนใจที่จะศึกษาเรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างจริงจังหรือไม่
 นักเรียนมีขั้นตอนอย่างไรในการรวบรวมและนาเสนอข้อมูลที่สนใจ
 นักเรียนคิดว่าการนาข้อมูลที่ศึกษาค้นคว้า รวบรวม มาเขียนเป็นรายงานยากง่ายอย่างไร
 นักเรียนสนใจอยากทารายงานเรื่องอะไร

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 301


ขั้นสอน (40 นาที)
7.3 นักเรียนฟังครูบรรยายประกอบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การเขียนรายงานทางวิชาการ ในหัวข้อ
 วัตถุประสงค์ และความสาคัญของรายงานทางวิชาการ
 ประเภทของรายงานทางวิชาการ
 ส่วนประกอบของรายงานทางวิชาการ
 การใช้ภาษาในการเขียนและการเรียบเรียงข้อมูล
7.4 ครูแสดงภาพโลโก้บริษัทแอปปเปิ้ล และสอบถามนักเรียน ดังนี้

 รูปภาพนี้มีความสาคัญอย่างไร
 นักเรียนสนใจอะไรในธุรกิจของบริษัทนี้
 หากมีโอกาสศึกษาข้อมูลเชิงลึกจะศึกษาเรื่องอะไร

7.5 นักเรียนเลือกทารายงานที่เกี่ยวกับเรื่องที่ตนเองสนใจใฝ่รู้ คนละ 1 เรื่อง ครูมอบหมอบหมายให้นักเรียน


สืบค้นข้อมูลจากแหล่งข็อมูลต่าง ๆ รวบรวมข้อมูลและเรียบเรียงเป็นรายงานทางวิชาการคนละ 1 ฉบับ
ขั้นสรุป (5 นาที)
7.6 ครูแนะนาหัวข้อในการทารายงานวิชาการ เช่น กีฬาสเก็ตบอร์ดยอดนิยม โควิด2019 มลพิษทางอากาศ
จากไฟป่า คาแสลงในภาษาไทย ฟ้าทลายโจรต้านโควิด เป็นต้น
8. สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้
8.1 บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การเขียนรายงานทางวิชาการ
8.2 ภาพโลโก้บริษัทแอปปเปิ้ล
9. ชิ้นงาน/ ภาระงาน
-
10. เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน
-

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 302


11. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ เครือ่ งมือ เกณฑ์
ประเมินผล การประเมิน
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) 1.สังเกตพฤติกรรมใน 1.แบบสังเกต 1.มีส่วนร่วมใน
อธิบายหลักการเขียนรายงานทาง การ่วมอภิปราย พฤติกรรมในการ่วม อภิปรายร้อยละ 80
วิชาการ อภิปราย
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ
(Process: P) เขียนรายงานทาง
วิชาการได้
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
(Attitude: A) เห็นความสาคัญของ
การนาความรู้ไปใช้จริงในการศึกษา
ต่อและประกอบอาชีพ

12. สรุปผลการจัดการเรียนรู้
12.1 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.2 ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.3 ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............

ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

13. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………....

ลงชื่อ .................................................
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 303


บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 38
รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประชันกลเกมศึก
***********************************************************************************************************
1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก
...............................................................................................................................................................................
2. ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1) การประเมินผลความรู้หลังการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.....................
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก................................................................................................................................................................
2) การประเมินด้านทักษะกระบวนการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.............
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ...........
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มีนักเรียนทาใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกาหนดเวลา
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน
 อื่น ๆ ..............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนาแผนไปปรับปรุง เรื่อง .......................................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 304


โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 39
รหัสวิชา ท33101 รายวิชา ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประชันกลเกมศึก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง การเขียนรายงานทางวิชาการ (2) จานวน 1 คาบ ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความและเขียนเรื่องราว ในรูปแบบ
ต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ
ม.4-6/6 เขียนรายงานการศึก ษาค้นคว้าเรื่องที ส นใจตามหลัก การเขียนเชิง วิชาการและข้อมู ล
สารสนเทศอ้างอิงอย่างถูกต้อง
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) อธิบายหลักการเขียนรายงานทางวิชาการ
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (Process: P) เขียนรายงานทางวิชาการได้
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude: A) เห็นความสาคัญของการนาความรู้ไปใช้จริงใน
การศึกษาต่อและประกอบอาชีพ
3. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs)
 R1–Reading (อ่านออก)  R2–(W)Riting (เขียนได้)
 C5–Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสนเทศและ
รู้เท่าทันสื่อ)
 C6–Computing and ICT Literacy (ทั ก ษะด้ า นคอมพิ วเตอร์ และเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ
การสื่อสาร)
 C7–Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้)
 C8–Compassion (ความมีเมตตากรุณา วินัย คุณธรรม จริยธรรม)
4. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
 บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 305


5. สาระสาคัญ
5.1 การรวบรวมข้อมูลเพื่อเขียนรายงานทางวิชาการ
ข้อมูลจะแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ ข้อมูลเอกสารและข้อมูลสนาม
1) ข้อมูลเอกสารเป็นข้อมูลทีอ่ ยู่ในรูปเอกสาร และหลักฐานต่าง ๆ รวมไปถึงที่อยู่ในรูปแบบออนไลน์
เป็นข้อมูลที่มีผู้ค้นคว้าและบันทึกไว้แล้ว โดยทั่วไปแบ่งได้เป็น 2 ประเภทย่อย คือ หนังสืออ้างอิง และหนังสือ
ประเภททั่ วไป หนังสือ อ้างอิ ง ได้แก่ พจนานุก รม สารานุก รม อัก ขรานุก รม หนังสือประจ าปี นามานุก รม
ดรรชนี บรรณานุก รม หนังสือ ทั่วไป เป็นหนัง สือประเภทตาราหรือเอกสารที่ ไม่ ใช่เอกสารอ้างอิง หนัง สือ
ประเภทนี้มีอยู่เป็นจานวนมาก เช่น ตารา แบบเรียน งานวิจัย วิทยนิพนธ์ นิตยสาร วารสาร เป็นต้น
2) ข้อ มู ล สนาม เป็นข้อ มู ล ที่ ได้จ ากการรวบรวมเองโดยตรง ท าได้ห ลายวิธี เช่น การสั ม ภาษณ์
การสังเกต การให้กลุ่มเป้าหมายตอบแบบสอบถาม การทดลอง ฯลฯ
5.2 การอ้างอิงทางบรรณานุกรม หมายถึง รายการเอกสาร สิ่งพิม พ์ หรือสื่ออื่นใด ที่ผู้ผลิตผลงานทาง
วิชาการใช้อ้างอิงในเอกสารผลงานของตน การแสดงรายการทางบรรณานุกรมไว้ที่ผลงานของท่าน จึงเป็น
การให้ ความเคารพผล งานทางปั ญ ญาที่ ผู้อื่ น ได้ แสดงไว้ อีก ทั้ ง ยัง มี ป ระโยชน์ ในการแสดงที่ ม าที่ ไปของ
องค์ความรู้ในเรื่องนั้น ๆ ทาให้ผู้สนใจสามารถติดตามพัฒนาการของเรื่อง การอ้างอิงมีหลายรูปแบบ ดังนี้
1) การอ้างอิงแบบแทรกปนในเนื้อหา ซึ่งมี 2 ระบบ (ส่งศรี ดีศรีแก้ว, 2534 : 78) คือ
1.1) ระบบนาม - ปี ( Author - date) เป็นระบบที่มีชื่อผู้แต่ง, ปีที่พิมพ์ และเลขหน้า ที่อ้ างอิงอยู่
ภายในวงเล็บ ดังตัวอย่าง (ชื่อผู้แต่ง. ปีที่พิมพ์ : เลขหน้าที่อ้างอิง)
1.2) ระบบหมายเลข (Number System) เป็นระบบที่คล้ายคลึงกับระบบนาม - ปี แต่ระบบนี้จะ
ใช้หมายเลขแทนชื่อผู้แต่งเอกสารอ้างอิง มีอยู่ 2 วิธี คือ ให้หมายเลขตามลาดับของการอ้างอิง และให้หมายเลข
ตามลาดับอักษรผู้แต่ง
การเขียนอ้างอิงแบ่งได้ ดังนี้
1) บรรณานุกรมหนังสือภาษาไทย
2) บรรณานุกรมหนังสือภาษาอังกฤษ
3) บรรณานุกรมวิทยานิพนธ์
4) บรรณานุกรมบทความจากหนังสือ
5) บรรณานุกรมบทความจากวารสาร
6) บรรณานุกรมคอลัมน์จากวารสาร
7) บรรณานุกรมคอลัมน์จากหนังสือพิมพ์
8) บรรณานุกรมโสตทัศนวัสดุ
9) บรรณานุกรมสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์
10) ฐานข้อมูลออนไลน์ (อินเทอร์เน็ต)

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 306


6. สาระการเรียนรู้
6.1 การรวบรวมข้อมูลเพื่อเขียนรายงานทางวิชาการ
6.2 การอ้างอิงทางบรรณานุกรม
7. กิจกรรมการเรียนรู้ (แบบ Active Learning)
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (10 นาที)
7.1 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ
7.2 ครูสอบถามนักเรียนในประเด็น ดังนี้
 นักเรียนรู้จักแหล่งสืบค้นข้อมูลทางวิชาการแหล่งใดบ้าง
 นักเรียนคิดว่าการสืบค้นข้อมูลเพื่อนามาทารายงานทางวิชาการมีขั้นตอนอย่างไร
 เมื่อนักเรียนนาข้อมูลมาจากต้นฉบับนักเรียนทาอย่างไรบ้าง
 นักเรียนเข้าใจและรู้จักแหล่งข้อมูลประเภทเอกสาร อิเล็กทรอนิกส์และออนไลน์หรือไม่
ขั้นสอน (40 นาที)
7.3 ครูแนะนาขั้นตอนในการค้นคว้าข้อมูลในการทารายงานทางวิชาการ ดังนี้
 เลือกเรื่องหรือหัวข้อที่จะศึกษา
 สารวจแหล่งสารสนเทศ ค้นหาสารสนเทศ อ่านและบันทึกอย่างสังเขป
 วางโครงเรื่องขั้นตอน
 คัดเลือกแหล่งสารสนเทศ
 อ่านและจดบันทึก
 วางโครงเรื่องขั้นสุดท้าย
 เรียบเรียงรายงานทางวิชาการ
 จัดทาบรรณานุกรม
7.4 นักเรียนศึกษาด้วยตนเองในบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การเขียนอ้างอิงในระบบบรรณานุกรม
7.5 นักเรียนแบบฝึกหัดการเขียนอ้างอิงในระบบบรรณานุกรม
7.6 ครูตรวจและเฉลยแบบฝึกหัดการเขียนอ้างอิงในระบบบรรณานุกรม พร้อมแนะนาเพิ่มเติม
ขั้นสรุป (5 นาที)
7.6 ครูบรรยายสรุปความรู้เกี่ยวกับ การรวบรวมข้อมูลเพื่อเขียนรายงานทางวิชาการและการอ้างอิงทาง
บรรณานุกรม พร้อมแนะนาแหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม ดังนี้
1) https://www.trueplookpanya.com/knowledge/content/54774/-lantha-lan-
2) https://www.1belief.com/article/search-engines/
8. สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้
8.1 บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การเขียนอ้างอิงในระบบบรรณานุกรม

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 307


9. ชิ้นงาน/ ภาระงาน
-
10. เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน
-
11. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ เครื่องมือ เกณฑ์
ประเมินผล การประเมิน
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) 1.สังเกตพฤติกรรมใน 1.แบบสังเกต 1.มีส่วนร่วมใน
อธิบายหลักการเขียนรายงานทาง การ่วมอภิปราย พฤติกรรมในการ่วม อภิปรายร้อยละ 80
วิชาการ อภิปราย
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ
(Process: P) เขียนรายงานทาง
วิชาการได้
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
(Attitude: A) เห็นความสาคัญของ
การนาความรู้ไปใช้จริงในการศึกษา
ต่อและประกอบอาชีพ

12. สรุปผลการจัดการเรียนรู้
12.1 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.2 ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.3 ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
13. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........
ลงชื่อ .................................................
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 308


บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 39
รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประชันกลเกมศึก
***********************************************************************************************************
1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก
...............................................................................................................................................................................
2. ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1) การประเมินผลความรู้หลังการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.....................
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก................................................................................................................................................................
2) การประเมินด้านทักษะกระบวนการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.............
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ...........
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มีนักเรียนทาใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกาหนดเวลา
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน
 อื่น ๆ ..............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนาแผนไปปรับปรุง เรื่อง .......................................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 309


โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ ฯ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 40
รหัสวิชา ท33101 รายวิชา ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประชันกลเกมศึก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง การเขียนรายงานทางวิชาการ (3) จานวน 1 คาบ ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความและเขียนเรื่องราว ในรูปแบบ
ต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ
ม.4-6/6 เขียนรายงานการศึก ษาค้นคว้าเรื่องที ส นใจตามหลัก การเขียนเชิง วิชาการและข้อมู ล
สารสนเทศอ้างอิงอย่างถูกต้อง
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) อธิบายหลักการเขียนรายงานทางวิชาการ
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (Process: P) เขียนรายงานทางวิชาการได้
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude: A) เห็นความสาคัญของการนาความรู้ไปใช้จริงใน
การศึกษาต่อและประกอบอาชีพ
3. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs)
 R1–Reading (อ่านออก)  R2–(W)Riting (เขียนได้)
 C5–Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสนเทศและ
รู้เท่าทันสื่อ)
 C6–Computing and ICT Literacy (ทั ก ษะด้ า นคอมพิ วเตอร์ และเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ
การสื่อสาร)
 C7–Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้)
 C8–Compassion (ความมีเมตตากรุณา วินัย คุณธรรม จริยธรรม)
4. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
 บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 310


5. สาระสาคัญ
5.1 การรวบรวมข้อมูลเพื่อเขียนรายงานทางวิชาการ
ข้อมูลจะแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ ข้อมูลเอกสารและข้อมูลสนาม
1) ข้อมูลเอกสารเป็นข้อมูลทีอ่ ยู่ในรูปเอกสาร และหลักฐานต่าง ๆ รวมไปถึงที่อยู่ในรูปแบบออนไลน์
เป็นข้อมูลที่มีผู้ค้นคว้าและบันทึกไว้แล้ว โดยทั่วไปแบ่งได้เป็น 2 ประเภทย่อย คือ หนังสืออ้างอิง และหนังสือ
ประเภททั่ วไป หนังสือ อ้างอิ ง ได้แก่ พจนานุก รม สารานุก รม อัก ขรานุก รม หนังสือประจ าปี นามานุก รม
ดรรชนี บรรณานุก รม หนังสือ ทั่วไป เป็นหนัง สือประเภทตาราหรือเอกสารที่ ไม่ ใช่เอกสารอ้างอิง หนัง สือ
ประเภทนี้มีอยู่เป็นจานวนมาก เช่น ตารา แบบเรียน งานวิจัย วิทยนิพนธ์ นิตยสาร วารสาร เป็นต้น
2) ข้อ มู ล สนาม เป็นข้อ มู ล ที่ ได้จ ากการรวบรวมเองโดยตรง ท าได้ห ลายวิธี เช่น การสั ม ภาษณ์
การสังเกต การให้กลุ่มเป้าหมายตอบแบบสอบถาม การทดลอง ฯลฯ
5.2 การอ้างอิงทางบรรณานุกรม หมายถึง รายการเอกสาร สิ่งพิม พ์ หรือสื่ออื่นใด ที่ผู้ผลิตผลงานทาง
วิชาการใช้อ้ างอิงในเอกสารผลงานของตน การแสดงรายการทางบรรณานุกรมไว้ที่ผลงานของท่าน จึงเป็น
การให้ ความเคารพผล งานทางปั ญ ญาที่ ผู้อื่ น ได้ แสดงไว้ อีก ทั้ ง ยัง มี ป ระโยชน์ ในการแสดงที่ ม าที่ ไปของ
องค์ความรู้ในเรื่องนั้น ๆ ทาให้ผู้สนใจสามารถติดตามพัฒนาการของเรื่อง การอ้างอิงมีหลายรูปแบบ ดังนี้
1) การอ้างอิงแบบแทรกปนในเนื้อหา ซึ่งมี 2 ระบบ (ส่งศรี ดีศรีแก้ว, 2534 : 78) คือ
1.1) ระบบนาม - ปี ( Author - date) เป็นระบบที่มีชื่อผู้แต่ง, ปีที่พิมพ์ และเลขหน้า ที่อ้ างอิงอยู่
ภายในวงเล็บ ดังตัวอย่าง (ชื่อผู้แต่ง. ปีที่พิมพ์ : เลขหน้าที่อ้างอิง)
1.2) ระบบหมายเลข (Number System) เป็นระบบที่คล้ายคลึงกับระบบนาม - ปี แต่ระบบนี้จะ
ใช้หมายเลขแทนชื่อผู้แต่งเอกสารอ้างอิง มีอยู่ 2 วิธี คือ ให้หมายเลขตามลาดับของการอ้างอิง และให้หมายเลข
ตามลาดับอักษรผู้แต่ง
การเขียนอ้างอิงแบ่งได้ ดังนี้
1) บรรณานุกรมหนังสือภาษาไทย
2) บรรณานุกรมหนังสือภาษาอังกฤษ
3) บรรณานุกรมวิทยานิพนธ์
4) บรรณานุกรมบทความจากหนังสือ
5) บรรณานุกรมบทความจากวารสาร
6) บรรณานุกรมคอลัมน์จากวารสาร
7) บรรณานุกรมคอลัมน์จากหนังสือพิมพ์
8) บรรณานุกรมโสตทัศนวัสดุ
9) บรรณานุกรมสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์
10) ฐานข้อมูลออนไลน์ (อินเทอร์เน็ต)

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 311


6. สาระการเรียนรู้
6.1 การรวบรวมข้อมูลเพื่อเขียนรายงานทางวิชาการ
6.2 การอ้างอิงทางบรรณานุกรม
7. กิจกรรมการเรียนรู้ (แบบ Active Learning)
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (10 นาที)
7.1 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ
7.2 ครูสอบถามนักเรียนในประเด็น ดังนี้
 นักเรียนรู้จักแหล่งสืบค้นข้อมูลทางวิชาการแหล่งใดบ้าง
 นักเรียนคิดว่าการสืบค้นข้อมูลเพื่อนามาทารายงานทางวิชาการมีขั้นตอนอย่างไร
 เมื่อนักเรียนนาข้อมูลมาจากต้นฉบับนักเรียนทาอย่างไรบ้าง
 นักเรียนเข้าใจและรู้จักแหล่งข้อมูลประเภทเอกสาร อิเล็กทรอนิกส์และออนไลน์หรือไม่
ขั้นสอน (40 นาที)
7.3 ครูแนะนาขั้นตอนในการค้นคว้าข้อมูลในการทารายงานทางวิชาการ ดังนี้
 เลือกเรื่องหรือหัวข้อที่จะศึกษา
 สารวจแหล่งสารสนเทศ ค้นหาสารสนเทศ อ่านและบันทึกอย่างสังเขป
 วางโครงเรื่องขั้นตอน
 คัดเลือกแหล่งสารสนเทศ
 อ่านและจดบันทึก
 วางโครงเรื่องขั้นสุดท้าย
 เรียบเรียงรายงานทางวิชาการ
 จัดทาบรรณานุกรม
7.4 นักเรียนศึกษาด้วยตนเองในบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การเขียนอ้างอิงในระบบบรรณานุกรม
7.5 นักเรียนแบบฝึกหัดการเขียนอ้างอิงในระบบบรรณานุกรม
7.6 ครูตรวจและเฉลยแบบฝึกหัดการเขียนอ้างอิงในระบบบรรณานุกรม พร้อมแนะนาเพิ่มเติม
ขั้นสรุป (5 นาที)
7.6 ครูบรรยายสรุปความรู้เกี่ยวกับ การรวบรวมข้อมูลเพื่อเขียนรายงานทางวิชาการและการอ้างอิงทาง
บรรณานุกรม พร้อมแนะนาแหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม ดังนี้
1) https://www.trueplookpanya.com/knowledge/content/54774/-lantha-lan-
2) https://www.1belief.com/article/search-engines/
8. สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้
8.1 บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การเขียนอ้างอิงในระบบบรรณานุกรม

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 312


9. ชิ้นงาน/ ภาระงาน
-
10. เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน
-
11. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ เครื่องมือ เกณฑ์
ประเมินผล การประเมิน
2.1 ด้านความรู้ (Knowledge: K) 1.สังเกตพฤติกรรมใน 1.แบบสังเกต 1.มีส่วนร่วมใน
อธิบายหลักการเขียนรายงานทาง การ่วมอภิปราย พฤติกรรมในการ่วม อภิปรายร้อยละ 80
วิชาการ อภิปราย
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ
(Process: P) เขียนรายงานทาง
วิชาการได้
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
(Attitude: A) เห็นความสาคัญของ
การนาความรู้ไปใช้จริงในการศึกษา
ต่อและประกอบอาชีพ

12. สรุปผลการจัดการเรียนรู้
12.1 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.2 ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
12.3 ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………............
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
13. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........
ลงชื่อ .................................................
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 313


บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 40
รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประชันกลเกมศึก
***********************************************************************************************************
1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก
...............................................................................................................................................................................
2. ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1) การประเมินผลความรู้หลังการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.....................
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก................................................................................................................................................................
2) การประเมินด้านทักษะกระบวนการเรียน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ.............
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ...........
นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ.............
เนื่องจาก...............................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มีนักเรียนทาใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกาหนดเวลา
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน
 อื่น ๆ ..............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนาแผนไปปรับปรุง เรื่อง .......................................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................................................................................
 ........................................................................................................................................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ .................................................ผู้สอน
(นางสาวเกศรินทร์ หาญดารงค์รักษ์)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวิชา ท33101 ระดับชั้น ม.6 หน้า 314

You might also like