Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 151

การป้ องกันลัดวงจรลงดิน

Ground Fault Protection

โดย…. ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์


ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 1
1. Ground Fault คืออะไร

การลัดวงจร หรือ Fault ที่อาจเกิดกับ


ระบบไฟฟ้ าแรงดันตา่ ที่
ต่อลงดินโดยตรง ( Solidly Grounded LV System )
อาจแบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ

a. Phase Faults
- Phase to Phase Faults , a-b , b-c , c-a
- 3 Phase Fault , a-b-c
b. Ground Faults
- Phase to Ground Faults , a-g , b-g , c-g
- Phase to Phase to Ground Faults , a-b-g , b-c-g ,c-a-g
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 2
Faults ที่เกิดบ่อยที่สดุ
สาหรับระบบไฟฟ้ าแรงดันตา่ ที่
ต่อลงดินโดยตรง ( Solidly Grounded LV System )

คือการลัดวงจรดิน Ground Fault


แบบ Phase ใด Phase หนึ่ งลงดิน
Phase A to Ground
Phase B to Ground
Phase C to Ground

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 3


A

N
A-G B-G C-G
G

การลัดวงจรของสาย Phase ต่างๆลงดิน


ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 4
2. ชนิดของ Ground Fault

Ground Fault มีขนาดตัง้ แต่ กระแสน้ อยๆ


จนถึง มากกว่ากระแสลัดวงจรแบบ 3 Phase Fault

Ground Fault อาจแบ่งเป็ น

- Bolted Fault
- Arcing Fault
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 5
Bolted Fault

- Ground Fault ที่จดุ เกิด Fault ติดแน่ น


- Fault Impedance ค่าไม่เปลี่ยน และ มีค่าน้ อย

- Fault Current โดยทัวไปมี


่ ค่าสูง

- Ground Fault แบบนี้ ส่วนมาก จึงสามารถ


ตรวจวัด และ ป้ องกัน โดย Phase O/C Device
คือ CB ธรรมดา

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 6


Arcing Fault

- จุดที่เกิด Fault ต่อกันไม่สนิทจึงเกิด Arc


- Arc มี Impedance ปริมาณหนึ่ ง
- Fault Energy มีปริมาณมาก

- ดังนัน้ Arcing Fault จะ เป็ นส่วนในการทาลายอุปกรณ์


- เนื่ องจาก Arcing G.F. กระแสมีค่าน้ อย และ ไม่ต่อเนื่ อง
ดังนัน้ CB ธรรมดา ซึ่งวัดด้วย ค่า RMS
จึงไม่สามารถตรวจวัด และป้ องกันการลัดวงจรแบบนี้

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 7


3. ความเสียหายที่เกิดจาก Ground Fault

- ลองพิจารณาระบบไฟฟ้ า จาก IEEE


ซึ่งมี Single Line Diagram ดังรูป

- Main Protection อาจเป็ น

FUSE หรือ CB พิกดั 1600 A

GFP 400 A 0.2 s

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 8


Time-current Plot showing slow protection provided by phase
devices for low-magnitude arcing ground faults
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 9
เกิด Arcing G.F. ที่จดุ

Point 1 G.F. 1500 A

CB , Fuse ไม่ตดั วงจร t=∞

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 10


Point 2 G.F. 4000 A

Ground Relay t = 0.25 s


CB t = 33 s , Fuse t = 5 min
= 300 s
Point 3 G.F. 8000 A

Ground Relay t = 0.25 s


CB t = 0.4 s , Fuse t = 10 s

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 11


Arc Energy

Arc Voltage Drop = 70 - 140 V


Assume Vd = 100 V
= FLAT TOP

Arc Energy = ( Vd x Ig x t ) / 1000

= kWs

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 12


Arc Energy

Arc Fault Damage Limit

= 30 kWs - 167 kWs


( 1500 kW cycle - 8333 kW cycle )
1 Cycle = 1 / 50 s

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 13


Arcing Damage
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 14
POINT FAULT DEVICES CLEARING TIME ARC ENERGY
(A) ( Sec ) ( kW s )
1 1500 RELAY 0.33 50
CB ∞ ∞
FUSE ∞ ∞
2 4000 RELAY 0.25 100
CB 33 13,200
FUSE 300 120,000
3 8000 RELAY 0.25 200
CB 0.40 320
FUSE 10 8,000
4 20000 RELAY 0.25 500
CB 0.20 400
FUSE 0.10 20
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 15
ให้สงั เกตว่า
1 ) กระแส GF น้ อย 1,500 A , CB , Fuse จะไม่ตดั วงจร
ทาให้ Arc Energy ที่เกิดขึน้ มีปริมาณสูงมาก และจะทาลาย
อุปกรณ์ ต่างๆที่อยู่บริเวณนัน้
Ground Relay จะทาการตัดวงจรภายใน 0.33 s
ทาให้มี Arc Energy น้ อย และไม่เป็ นอันตราย

2 ) กระแส GF 4,000 A , CB , Fuse ตัดวงจรช้า


ทาให้ Arc Energy ที่เกิดขึน้ มีปริมาณสูงมาก และจะทาลาย
อุปกรณ์ ต่างๆที่อยู่บริเวณนัน้
Ground Relay จะทาการตัดวงจรภายใน 0.25 s
ทาให้มี Arc Energy น้ อย และไม่เป็ นอันตราย
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 16
3 ) กระแส GF สูง 8,000 A , CB ทางานได้เร็ว
ทาให้ Arc Energy มีปริมาณเพียงเล็กน้ อย
ส่วน Fuse ยังทางานช้า และ มี Arc Energy มาก
Ground Relay จะทาการตัดวงจรอย่างรวดเร็ว
ทาให้มี Arc Energy น้ อย และไม่เป็ นอันตราย

4 ) กระแส GF สูงมาก 20,000 A , CB , Fuse และ


Ground Relay จะทาการตัดวงจรอย่างรวดเร็ว
ทาให้ Arc Energy ที่เกิดขึน้ มีปริมาณน้ อย
และไม่เป็ น อันตราย

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 17


4. การป้ องกัน Ground Fault

1) NEC 230 - 95
- สาหรับระบบประธาน
600 V I ≥ 1000 A
Setting Maximum 1200 A
Maximum Time Delay
3000 A , t = 1 s
2) NEC 215 - 10
- Feeders rated 1000 A or over , 600 V
Shall be provided with GFP

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 18


3) NEC 517 - 17
- For hospitals and other buildings with critical care areas
and building that provide essential utilities or services
for the operation of critical care areas or life- support equipment

- For GFP to 215 - 10 and 230 - 95

- An additional step of GFP shall be provided

- Selectivity GFP for operation of service and feeders shall be


fully selective 100 %

- GFP first installed , each level shall be performance tested


ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 19
มาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้ า วสท. ปี 2564

ข้อ 3.5.2.6

เครื่องป้ องกันกระแสเกิน บริภณ


ั ฑ์ประธาน
I ≥ 1000 A
ต้องมี GFP

ข้อ 3.3.10
สายป้ อน CB ≥ 1000 A
ต้องติดตัง้ GFP

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 20


≥ 1000 A
GFP

MAIN ONY

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 21


GFP

≥ 1000 A
GFP

MAIN + FEEDER ( 1000 A )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 22


≥ 1000 A GFP

GFP GFP GFP GFP

MAIN + FEEDER

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 23


การป้ องกัน Ground Fault
อาจแบ่งตาม ความไวของการ Setting ดังนี้

1. RCD ( Residual Current Device )


- ความไว 30 mA ใช้ป้องกันคน จากไฟดูด
- ความไว 300 mA ใช้ป้องกันสถานที่หรืออุปกรณ์จากไฟไหม้
- ความไว 30 A ใช้ป้องกันสถานที่หรืออุปกรณ์

2. GFP ( Ground Fault Protection )


- ความไว 100 - 1200 A
- ใช้ป้องกันสถานที่หรืออุปกรณ์
จาก Arcing Ground Fault
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 24
5. การตรวจวัด Ground Fault
การตรวจวัดการเกิด Ground Fault
ใช้ กฎของ Kirchhoff คือ

Σ I = 0

มี 3 วิธี คือ
1. Residual Sensing ( RS )
2. Source Ground Return ( SGR )
3. Zero Sequence ( ZS )
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 25
1. Residual Sensing ( RS )
MDB

Ig
GF
A
B
LOAD
C
N
N
GFR
G Ig

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 26


Residual Sensing ( RS )
N L1 L2 L3

VN
V1

V3
V2

Z1
Z2

Z4
Z5
Z3
Q
I
Micrologic
U

F2+
F1-
M1
M2
M3

T3
T4
T1

T2
VN
H2
SG1
External SG2
Transformer X1
( CT )
X1
H1
GND

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 27


Residual Sensing ( RS )

- กระแสจาก CT ของทัง้ สาม Phases รวมแบบ Phasor


เป็ น Ip , Ia + Ib + Ic = Ip
- นากระแส Ip มาเปรียบเทียบกับ กระแสจาก CT
ของสาย Neutral In
- ถ้า Ip = In แสดงว่า ระบบเป็ นปกติ
- ถ้า Ip ≠ In แสดงว่า เกิด GF ผลต่างคือ กระแส Ig
- ถ้า Ig > Setting , แสดงว่าเกิด Ground Fault มากพอ
CB จะตัดวงจรตามเวลาที่ตงั ้ ไว้
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 28
2. Source Ground Return ( SGR )
MDB

Ig
GF
A
B
LOAD
C
N
N
GFR
G Ig

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 29


ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 30
Source Ground Return ( SGR )

- สาย Ground ( PE ) จะต่อเข้าจุด Neutral ( N )


- มี ZCT ติดตัง้ ระหว่างสาย G ( PE ) และ จุด N
- สาย Ground จะต่อเข้ากับส่วนโลหะที่เครื่องห่อหุ้ม
ที่ไม่นากระแส

- เมื่อเกิด Ground Fault , Ig จะไหลกลับไปจุด N


- ถ้า Ig > Setting แสดงว่าเกิด Ground Fault มากพอ
CB ตัดวงจรตามเวลาที่ตงั ้ ไว้
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 31
3. Zero Sequence ( ZS )
MDB

ZCT Ig
GF
A
B
LOAD
C
N
N
GFR
G Ig

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 32


ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 33
Zero Sequence ( ZS )

- มี ZCT ล้อม Phases ทัง้ สามพร้อมสาย Neutral ( ถ้ามี )


- ระบบเป็ นปกติ กระแสทัง้ หมดจะหักล้างกันหมด
ทางด้าน Secondary ของ ZCT ไม่มีกระแส

- เมื่อเกิด GF, ทางด้าน Secondary ของ ZCT


จะมีกระแสไหลคือ Ig
- เมื่อ Ig > Setting , แสดงว่าเกิด Ground Fault มากพอ
CB จะตัดวงจรตามเวลาที่ตงั ้ ไว้
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 34
6. ค่า Setting ที่ แนะนา

1. Main and Bus Tie


- 400 - 1200 A
- Time To Coordinate With
Feeder GFP ( 0.1 - 1.0 s )

2. Feeders
- 200 – 800 A
- Time To Coordinate With
Branch GFP ( 0.1 - 0.5 s )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 35


3. Branch Circuits

- 30 mA - 300 mA

- Instantaneous ( 0.02 - 0.03 s )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 36


7. อุปกรณ์สาหรับ Ground Fault Protection

- เนื่ องจาก GF เป็ น Fault ที่ทาความเสียหายมากที่สดุ


และ มาตรฐานการติดตัง้ ก็บงั คับให้ต้องมี GFP
สาหรับ ระบบประธาน และ สายป้ อน ตัง้ แต่ 1000 A ขึน้ ไป

- บริษทั ผูผ้ ลิต CB ทุกบริษทั ก็ได้ทา CB


ชึ่งสามารถให้ GFP ได้ แต่จะเป็ น Option
วิศวกรไฟฟ้ าผูอ้ อกแบบจะต้องกาหนดให้มี
- CB ที่มี GFP คือ ACB , MCCB

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 37


Air Circuit Breaker ( ACB )

- ACB ชึ่งเป็ น CB ขนาดใหญ่ 800 A - 6300 A


ใช้ป้องกันวงจร Main , Feeders ส่วนมากจะเป็ นแบบ 3 Pole
และมี Trip Unit เป็ นแบบ μP Based
ซึ่งมี Option สาหรับ GFP แบบ RS , SGR
แต่ต้องใช้อปุ กรณ์ เสริมคือ
External Transformer ( CT ) สาหรับ Neutral หรือ Ground

- GFP จะมีการ Setting 2 แบบคือ


Ground Fault Current ( Ig ) ( 0.1 - 1.0 ) In แต่ไม่เกิน 1200 A
Time Delay 0.1 - 1.00 s

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 38


Residual Sensing ( RS )
N L1 L2 L3

VN
V1

V3
V2

Z1
Z2

Z4
Z5
Z3
Q
I
Micrologic
U

F2+
F1-
M1
M2
M3

T3
T4
T1

T2
VN
H2
SG1
External SG2
Transformer X1
( CT )
X1
H1
GND

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 39


Source Ground Return ( SGR )

VN
V1

V3
V2

Z1
Z2

Z4
Z5
Z3
Q
I
Micrologic
U

F2+
F1-
M1
M2
M3

T3
T4
T1

T2
or

H1 X1 12 5 6 7 10 11
1 8
Module
3 9
H2 X2 13 14
PE

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 40


Neutral CT ( NCT ) Zero Sequence CT ( ZCT )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 41


กราฟแสดงการทางานของ CB แบบ Electronic trip unit
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 42
Tripping Curve CB μP Based Electronic Trip Unit

- Phase Overcurrent Tripping Curve


- Earth Overcurrent Tripping Curve

1 ) Phase Overcurrent Tripping Curve


- Long Time Setting
- Long Time Delay
- Short Time Pick - up
- Short Time Delay
- Instantaneous Pick - up
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 43
Tripping Curve CB μP Based Electronic Trip Unit

- Phase Overcurrent Tripping Curve


- Earth Overcurrent Tripping Curve

2 ) Earth Overcurrent Tripping Curve

- Earth Fault Pick - up


- Earth Fault Time Delay

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 44


Molded Case Circuit Breaker ( MCCB )

- MCCB ชึ่งเป็ น CB ขนาดกลาง 400 A - 1600 A


ใช้ป้องวงจร Main ขนาดเล็ก , Feeders
ส่วนมากจะเป็ นแบบ 3 Pole และมี Trip Unit เป็ นแบบ
μP Based ซึ่งมี Option สาหรับ GFP แบบ RS
แต่ต้องอุปกรณ์ เสริมคือ
External Transformer ( CT ) สาหรับ Neutral
- GFP จะมีการ Setting 2 แบบคือ
Ground Fault Current ( Ig ) ( 0.1 - 1.0 ) In แต่ไม่เกิน 400 A
Time Delay 0.1 - 0.5 s

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 45


8. GFP Applications

การติดตัง้ GFP ให้ถกู ต้องและใช้งานได้


ขึน้ อยู่กบั การต่อลงดิน ของ ระบบไฟฟ้ า

- ระบบไฟฟ้ า แหล่งจ่ายเดียว One Source

- ระบบหลายแหล่งจ่าย Multisources

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 46


ระบบไฟฟ้ าแหล่งจ่ายเดียว One Source
- Transformer 1 ลูก
- Generator 1 เครือ่ ง

ระบบไฟฟ้ าหลายแหล่งจ่าย Multisources


ในที่นี้จะกล่าวเฉพาะ 2 แหล่งจ่าย
- Transformer 2 ลูก
- Transformer + Generator

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 47


9. ระบบไฟฟ้ าแหล่งจ่ายเดียว

- การป้ องกัน Ground Fault สาหรับระบบนี้ ทาได้


อย่างไม่มีปัญหา การตรวจวัดทาได้อย่างถูกต้อง
สาหรับ
Single Phase Load , Harmonic
Fault Conditions

- อาจใช้วิธี
Residual Sensing ( RS )
Source Ground Return ( SGR )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 48


Residual Sensing ( RS )

PE N
2 1

R 4

3 T1 T2
P1 S1
4
P2 S2

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 49


Source Ground Return ( SGR )

PE N
2 1

R 4

3 T1 T2
P1 S1
4
P2 S2

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 50


ระบบไฟฟ้ าแหล่งจ่ายเดียว
- ระบบ , TN - S
Phase A , B , C
Neutral N
Ground PE
∴ ระบบมี 5 เส้น
สาย N และ PE ต่อถึงกันที่เดียวเท่านัน้
คือที่ บริภณ
ั ฑ์ประธาน ตู้ MDB เท่านัน้
- GFP แบบ RS
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 51
1 ) Normal Condition

Single Phase Load , Harmonics


มีกระแสไหลในสาย N
- GFP แบบ RS
มีการตรวจวัดเฉพาะที่ สาย A , B , C และ N
- ระบบเป็ นปกติ
เมื่อกระแสรวมกันได้เท่ากับศูนย์
IA + IB + IC + IN = 0

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 52


2 ) Fault Conditions

- เมื่อเกิด Ground Fault , Ig


กระแส Ig จะไหลผ่านสาย PE
- ระบบ RS ตรวจวัดได้
ถ้า Ig > Setting
GFP จะสัง่ CB ให้ Trip ตามเวลาที่ตงั ้ ไว้

ทัง้ 2 กรณี ระบบ GFP ตรวจวัดได้ถกู ต้อง ใช้ได้ OK

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 53


10. ระบบไฟฟ้ าหลายแหล่งจ่าย
- จะกล่าวเฉพาะระบบไฟฟ้ าที่มี 2 แหล่งจ่าย

- การต่อลงดินทาได้ 2 แบบคือ
1 ) Single Point Earthing
2 ) Two Points Earthing

- การต่อลงดินมีผลอย่างมาก
ต่อการทางานของ ระบบ GFP

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 54


11. Ground Fault Protection
สาหรับ Single Point Earthing

- ระบบมีการต่อลงดิน เพียงจุดเดียว

- มีเพียง 1 Path สาหรับกระแสไหลกลับไปยัง Source


1) กระแส Neutral ผ่าน N
2) กระแส Fault ผ่าน PE

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 55


PE U1 load U1 load U1 load PE U1 load U1 load U1 load PE

ต่อลงดิน
วงจร 1 วงจร 2 วงจร 3

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 56


GFP Single Point Earthing
ต่อลงดินที่ปลาย หนึ่ งของหม้อแปลง วงจร 1 , 3

PE U1 load U1 load

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 57


ต่อลงดิน วงจร 1 , 3

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 58


- No Coupler Q3
- Q1 , Q2 Interlock

- Q1 On Q2 Off
GFP RS

- Q2 On Q1 Off
GFP SGR

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 59


- No Coupler Q3
- Q1 , Q2 Interlock

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 60


- Earthing ที่ Source S1
Source GE โดยทัวไปคื
่ อ Standby Generator
ไม่มีการ Earthing
- Coupler Q3
- Only one loads U1

- ด้าน S1 GFP เป็ นแบบ RS


ด้าน GE GFP เป็ นแบบ SGR

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 61


S1 GE

Q1 Q2
PE PEN1 RS SGR
Q3

MSB N1

U1 loads

earth

Source S1 เป็ น Transformer , GE เป็ น Generator


ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 62
Normal Operation

- S1 on , GE off
- Q1 Closed , Q2 open
- ด้าน S1 GFP เป็ นแบบ RS
ด้าน GE GFP เป็ นแบบ SGR
- ระบบเหมือน Single Source System
เนื่ องจากสาย N และ PE แยกกัน

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 63


Normal Operation

- S1 on , GE off
- Q1 Closed , Q2 open
- ด้าน S1 GFP เป็ นแบบ RS
ด้าน GE GFP เป็ นแบบ SGR
- ระบบเหมือน Single Source System
เนื่ องจากสาย N และ PE แยกกัน

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 64


R2 Replacement Operation

- S1 off , GE on
- Q1 open , Q2 closed

- ที่ Q2 สาย N และ PE ใช้ร่วมกันเป็ น PEN


∴ ต้องใช้ GFP แบบ SGR
with external CT on PE

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 65


GFP Single Point Earthing
ต่อลงดินที่ปลาย หนึ่ งของ หม้อแปลง ที่สมบูรณ์
มี Loads 2 sets U1 and U2
S1 S2

q3
Q1 Q2
PE PEN1 RS q3 SGR PEN2

Q3

MSB N1 N2

U1 loads U2 loads

earth
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 66
Normal Operation

For Q1

สาหรับ Q1 ซึ่งต่อ Earthing


ระบบเหมือน Single Source

GFP เป็ นแบบ RS


Single Phase Load OK
Ground Fault OK

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 67


Normal Operation

For Q2

Q2 ไม่ได้ต่อ Earthing

GFP2 เป็ นแบบ SGR


with measurement taken on PE2
Single Phase Load OK
Ground Fault OK
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 68
Replacement Operation

Normal R1 Operation

- Q1 closed
Q3 closed
Q2 open

- ระบบจะเป็ นเหมือน Single Source

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 69


Replacement Operation

Normal R2 Operation
- Q1 open
Q3 closed
Q2 closed

- PE 2 กลายเป็ น PEN
ต้องมี External CT ตัวที่ 2 ที่สาย PE

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 70


PE U1 load U1 load U1 load PE U1 load U1 load U1 load PE

ต่อลงดิน
วงจร 1 วงจร 2 วงจร 3

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 71


GFP Single Point Earthing
ต่อลงดินที่ตรงกลาง วงจร 2 แบบที่ 1 ใช้ SGR

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 72


Coupling of CTs
- CT ต้องต่อ Polarity ให้ถกู ต้อง
- กระแสทาง Secondary CT จะบวกหรือลบกัน
ขึน้ อยู่กบั ทิศทางกระแสของ Primary
IA + IB
IB

IA
S1 S2
P1 P2
S1 S2 B
1/1000
P1 P2
A
1/1000

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 73


- ส่วนของ A1 ( หรือ A2 ) เป็ น
a) PE สาหรับ Normal Operation
b) PEN ใน R1 ( หรือ R2 ) Operation
c) N สาหรับ R2 ( หรือ R1 ) Operation

- มี CT 2 ชุด

- ด้าน Secondary ของ CT


ขัว่ S1 ต่อเข้าด้วยกัน
ขัว่ S2 ต่อเข้าด้วยกัน
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 74
Normal Operation

- GFP เป็ นแบบ SGR

1) Single Phase Load , Harmonic

มีกระแสไหลในสาย N
- ไม่กระแสไหลผ่าน PE , A1 หรือ A2
∴ ระบบ GFP ใช้ได้ OK.
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 75
2) R1 Replacement Operation

- Q1 และ Q3 ปิด Q2 เปิด ใช้ไฟจาก Source S1


- Link A1, A2 เป็ น PEN สาหรับ U2
- กระแส Neutral ไหลผ่าน Primary ของ CT
ทัง้ 2 ตัว สาหรับ Load U2
แต่ทาง Secondary CT จะหักล้างกันหมด

∴ ไม่มีกระแสเข้า SGR1
ระบบ GFP วัดได้ถกู ต้อง
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 76
ต่อลงดินที่ตรงกลาง วงจร 2 แบบที่ 1 ใช้ SGR

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์


77
3) Fault Condition

- กระแส Fault ไหลผ่าน CT

- GFP แบบ SGR จะทางาน


และ สัง่ CB ให้ Trip ภายในเวลาที่ตงั ้ ไว้

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 78


ระบบไฟฟ้ า
1) Single Phase Load , Harmonic

2) R2 Replacement Operation

3) Fault Condition

ทางานได้ถกู ต้อง การต่อแบบนี้ ใช้ได้

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 79


GFP Single Point Earthing
ต่อลงดินที่ตรงกลาง แบบที่ 2 ใช้ RS

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 80


ทา Bar Neutral เพิ่มทัง่ 2 ด้าน
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 81
ระบบแบบที่ 2

- ทา Neutral เพิ่มให้แต่ละ Source

- GFP เป็ นแบบ RS แยกกัน

- มี Neutral CT แยกกัน

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 82


1) Normal Condition

1) Single Phase Load , Harmonic

- เนื่ องจาก Neutral มี One Path


ที่จะกลับไปยัง Source
∴ GFP1 ( or GFP2 )
จะทางานเหมือน Single Source System
∴ ระบบ GFP ตรวจวัดได้ถกู ต้อง OK

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 83


2 ) ใน R1 ( หรือ R2 ) Operation

- Q1 และ Q3 ปิด , Q2 เปิด ใช้ไฟจาก Source S1


- กระแส N มี 2 ชุด คือจาก U1 และ U2
กระแส N ทาง Secondary ของ CT ทัง้ สองจะรวมกัน
Note
Polarity ของ CT ต้องต่อให้ถกู ต้อง

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 84


3) Fault Condition

- เมื่อเกิด Insulation Fault ทางด้าน Source ใด


กระแส Fault ก็จะไหลไปยัง Source นัน้

- GFP ของ Source ที่เกิด Fault ก็จะ Trip


CB ของ Source ออก

- อีก Source หนึ่ งก็ยงั คงใช้งานตามปกติ


ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 85
12. GFP สาหรับ 2 Points Earthing

- ตามรูปมี Transformer ทัง้ 2 ลูก


ต่างต่อลงดินแยกกัน
มี หลักดิน 2 ชุด ของแต่ละหม้อแปลง
- ใช้ สาย N ร่วมกัน
∴ สาย N และ PE จะต่อขนานกัน
- ลองพิจารณาว่าระบบ GFP ใช้ได้หรือไม่

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 86


S1 S2

Q1 Q2
PEN PEN

Q3

PEN

U1 U2

PEN
earth earth

Source ทัง้ 2 ต่างต่อลงดินแยกกัน


ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 87
S1 S2

Q1 Q2

GFP 1 GFP 2
IN2
IN2 IN1
A Q3

B IN2

load load
IN2
earth earth

จ่าย Single Phase Load ที่ Source S1


ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 88
1 ) Normal Condition

1) Single Phase Load , Harmonics

มีกระแสไหลในสาย N
- เนื่ องจากสาย N และ PE ต่อขนานกัน
∴ สาหรับ Single Phase Load
กระแสไหลกลับที่สาย N และ PE
- สาย PE ซึ่งรวมถึงเครื่องห่อหุ้มโลหะทัง้ หมดจะมี
กระแสไหลผ่าน

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 89


- ระบบ RS ตรวจวัดได้ไม่ถกู ต้อง

ถ้าค่าที่วดั ได้เกิน Setting GFP จะสังให้


CB อาจ trip ทัง้ ๆ ที่ไม่ได้เกิด Ground Fault

∴ ต่อแบบนี้ ใช้ไม่ได้

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 90


S1 S2

Q1 Q2

GFP 1 GFP 2
If2
If1 If2
Q3

If
load load

earth earth

เกิด Ground Fault ที่ Source S1


ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 91
2) Fault Conditions

- ถ้าเกิด Ground Fault ที่ แหล่งจ่าย S1


จากรูปจะเห็นได้ว่า
GF Current สามารถไหลกลับได้ 2 ทาง
ทาให้ระบบ RS ตรวจวัดได้ไม่ถกู ต้อง
- ถ้า GF Current เกินค่า Setting เล็กน้ อย
ระบบ RS อาจตรวจได้น้อยกว่า Setting
และ CB จะไม่ trip
ไม่ถกู ต้อง เมื่อมี Ground Fault ระบบ GFP จะต้องสัง่
CB ให้ trip
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 92
- ระบบ RS ของแหล่งจ่าย ที่ไม่ได้จากเกิด Fault
อาจตรวจได้กระแส Fault เกินค่า Setting
และสัง่ CB ให้ Trip ไม่ถกู ต้อง

∴ ทัง้ 2 กรณี วงจรที่ต่อลักษณะอย่างนี้


ระบบ GFP ตรวจวัดไม่ถกู ต้อง
ดังนัน้ จึง ใช้ไม่ได้

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 93


การแก้ปัญหา GFP ให้ใช้ได้

สาหรับ ระบบไฟฟ้ าแบบ Multisources ที่ต่อลงดิน 2 จุด


มี 2 วิธี

1 ) ต่อแบบ Modified Differential GFP

2 ) ใช้ CB หรือ ATS แบบ 4 Poles

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 94


13. Modified Differential GFP

- ใช้ CB , ATS แบบ 3 poles

- มี 3 GFP devices , RS type ติดตัง้ ไว้กบั CB


Sensors อยู่ที่เลข 1 , 2 , 3 ตามลาดับ

- มี Coupling of CTs

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 95


Coupling of CTs
- CT ต้องต่อ Polarity ให้ถกู ต้อง
- กระแสทาง Secondary CT จะบวกหรือลบกัน
ขึน้ อยู่กบั ทิศทางกระแสของ Primary
IA + IB
IB

IA
S1 S2
P1 P2
S1 S2 B
1/1000
P1 P2
A
1/1000

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 96


S1 S2

3
Q1 1 2 Q2
P1 P1
S1 S1
GFP1 i1 B i2 GFP3
S2 A i3 C S2
P2
P2 S1 S2 Q3
P1 P2
GFP2
U1 U2

① ② ③ ที่ต่อกับจุด A , B , C คือ GF Sensors ( Relays ) ของแต่ละ CB


① Q1 ② Q2 ③ Q3
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 97
S1 S2

IN IN2
IN2
3 IN2
IN1 ΣIph 1 2
0 0 0
GFP1 +iN2 B GFP3
S2 A -iN2 C IN2 S2
S2

IN ΣIph GFP2 IN2


0

U1 U2

Single Phase Load U1 ที่ S1


ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 98
1 ) Normal Operation

1) Single Phase Load, Harmonic

- Load U1 ที่ Source S1


Neutral Current , Harmonic , and / or unbalance
IU1 = Σ Iph
IU1 = IN

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 99


- สมสุติให้ไม่มีโหลดที่ Source S2 , No Load U2
IU2 = 0
Neutral IU2 = 0

- ถ้าไม่มี Faults ที่ U1 and U2


Σ Iph + IN = 0
I = IN1 + 1N2

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 100


ในทานองเดียวกัน
การตรวจวัดกระแสที่ GFP2 , GFP3

Secondary Current GFP2 i 2 = iN 2


Secondary Current GFP3 i 3 = iN 3

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 101


ตามการตรวจวัดที่ได้ทางด้าน Secondary
กระแส iA , iB , iC.
ทาให้หากระแสที่เข้า Sensors ของ GFP ได้
iA = i 1 – i 3 = 0
iB = i 1 – i 2 = 0
iC = i 2 + i 3 = 0

∴ No fault detection
∴ GFP System → O.K
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 102
Fault Condition

If
If1
3 If2
If2 If 1 2
+ If - If 0
GFP1 B GFP3
S2 - iN2 + if1 A - iN2 - if2 C iN2 + if2 S2
S2

If GFP2
If
IN + ΣI ph + If
If1 If2

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 103


กรณี เมื่อเกิด Fault
ถ้า If = If 1 + If 2
- Primary Current GFP1
I 1 = IN2 + I - If2 = - IN2 + If1

- Secondary Current GFP1


i 1 = - iN 2 + if 1

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 104


ในทานองเดียวกัน

- Secondary Current GFP2


i 2 = iN 2 + if 2

- Secondary Current GFP3


i 3 = - iN 2 - if 2

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 105


- ดังนัน้ สามารถหา กระแสที่ไหลผ่าน Sensors ได้ดงั นี้
iA , iB , iC
iA = if
iB = - if
iC = 0
กระแส Ground Fault If จะถูกตรวจวัดที่ ① เท่านัน้
GFP1 ตรวจวัดได้ และสัง่ CB 1 ให้ trip
∴ การตรวจวัดทาได้ถกู ต้อง
GFP System → OK
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 106
- ระบบป้ องกัน GF ที่ต่อแบบ Modified Differential
GFP ซึ่งใช้ CB หรือ ATS แบบ 3 poles
สามารถใช้งานได้ ถ้าต่อถูกต้อง
- ระบบ Modified Differential GFP มีการใช้อย่างมาก
ใน ประเทศ USA

- ระบบ Modified Differential GFP ราคาจะถูกกว่า


ระบบที่ใช้ CB , ATS แบบ 4 poles
- ระบบนี้ มีข้อเสียที่จะมี Neutral circulating current ไหลใน
ที่ห่อหุ้ม หรือโครงสร้างโลหะ

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 107


14. ใช้ CB หรือ ATS แบบ 4 Poles

- การใช้แบบ 4 Poles คือ แยก


A , B , C และ N ของทัง้ 2 แหล่งออกจากกัน
∴ เป็ นระบบ TN - S 2 ชุด
เป็ น Single Source System 2 ชุด

- ระบบ RS ที่ใช้ จะเป็ นแหล่งจ่ายเดียว


ซึ่งไม่มีปัญหาในการตรวจวัด

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 108


- นอกจากนี้ การใช้ CB หรือ ATS แบบ 4 Poles

ทาให้กระแส Single Phase Loads , Harmonic Current

ไม่สามารถไหลในสาย PE ได้

จะแก้ปัญหา EM Effects ได้ด้วย

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 109


S1 S2

Q1 Q2

Q3

U1 U2

earth earth

CB ที่ S1 , S2 ,และ Tie ต้องเป็ นแบบ 4 Pole


ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 110
15. GFP Coordination

- ตามมาตรฐาน ของ วสท.


กาหนดให้มี GFP ที่ Main ≥ 1000 A
Feeders ≥ 1000 A
เพื่อป้ องกัน Arc Fault
- แต่ Insulation Faults เกิดขึน้ ที่ Main น้ อยมาก
ส่วนมากจะเกิดขึน้ ที่ Feeders หรือ Branches
ของระบบจ่ายไฟ
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 111
- ดังนัน้ ระบบที่ดี ควรมี GFP หลายจุดต่ออนุกรมกัน
เพื่อให้ GFP ที่ใกล้จดุ นี้ เกิด Fault ( Downstream )
ทางานก่อน

ส่วน GFP ที่ถดั ไป ( Upstream ) จะทา หน้ าที่ เป็ น Back up


การทางานประสานกันของ GFP
เรียกว่า GFP Coordination ( Discrimination )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 112


Up-
stream
GFP

down-
stream
GFP

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 113


Discrimination between GFP Devices

ใช้ Current Sensing และ


Time Graded Type.

1 ) Current Sensing Discrimination

- Upstream GFP ต้องมี Threshold Setting


สูงกว่า Downstream GFP
- ต่างกัน ประมาณ 30%
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 114
2 ) Time Graded Discrimination

- Time delay ของ Upstream GFP


ต้องมากกว่า Opening Time ของ
Downstream GFP
โดยทัวไปไม่
่ ตา่ กว่า 100 ms
- ตาม NEC 239 - 95
Setting สูงสุด 1200 A
Ground Fault 3000 A , 1s

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 115


downstream
รู
ป downstream
Diagram
T GFP 2 GFP 1 10
30%
3000 A
1s 1

step 2
step 1
2
I down- I up- 1200 A 3000 A
stream stream

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 116


ตัวอย่าง
จากรูป
CB D1 มี GFP แบบ SGR Setting 1200 A
Time Delay 100 ms
CB D2 มี GFP แบบ RS Setting 400 A
Instantaneous.

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 117


T

GFP1 SGR
step 2 D1 1200 A
t 100 ms
point A
GFP2
Inst D2 RS
t 2 I = fault 400 A
Inst
D2 tripping I
curve Point B

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 118


จุด B

เกิด Insulation Fault Ig = 1500 A

- GFP ทัง้ 2 ชุด จะเห็น Fault


แต่ GFP 2 จะ Trip Instantaneously

∴ Discrimination ใช้ได้
Total Fault Elimination Time ของ D2
น้ อยกว่า 100 ms

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 119


จุด A

เกิด Insulation Fault Ig = 2000 A


CB D1 จะ Trip หลังจากเวลาผ่านไป 100 ms

Insulation จะต้องสามารถ ทน Heat Stress


ระหว่าง Time Delay คือ 100 ms

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 120


ตัวอย่าง
จากรูป
CB D1 มี GFP แบบ SGR Setting 1000 A
Time Delay 400 ms
CB D2 Rating 100 A , Magnetic Setting 10 In

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 121


D1 R1

D2
Point B ld fault

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 122


เกิด Insulation Fault ที่ จุด B
Id = Fault Current
∵ Magnetic Threshold Setting
10 x 100 = 1000 A
ค่านี้ ใกล้กบั GFP Setting มาก
อาจทาให้เกิด Loss of Discrimination ได้
ถ้าลด Magnetic Setting ลงเป็ น 7 In
7 x 100 = 700 A
Discrimination จะใช้ได้

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 123


7. ค่า Setting ที่ แนะนา

1. Main and Bus Tie


- 400 - 1200 A
- Time To Coordinate With
Feeder GFP ( 0.1 – 1.0 s )

2. Feeders
- 200 – 800 A
- Time To Coordinate With
Branch GFP ( 0.1 - 0.5 s )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 124


3. Branch Circuits

- 30 mA - 300 mA
- Instantaneous ( 0.02 - 0.03 s )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 125


16. Single Line แสดงตาแหน่ ง และวิธีการตรวจวัด GFP

การป้ อง Ground Fault


ตามการแนะนาของ Schneider

ที่ตาแหน่ ง และวิธีการตรวจวัด
ของระบบไฟฟ้ า
ขอให้ดู Single Line Diagram

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 126


1000 kVA
2000 kVA 2000 kVA

ACB RS
400 A
Inst

Level A
SGR RS MSB
1200 A ACB 1200 A
ACB 400 ms 400 ms main
1000 A switchboard
to
ACB
> 4000 A
ACB ACB
RS RS ACB RS
400 A 400 A 1200 A
200 ms 200 ms 400 ms

1000 A
to
2000 A

ZS
MCCB MCCB 100 A
gl 100 100 ms

decoupling Level B
transformer SMSB
submain
switchboard
ZS ZS
MCCB 3 A MCCB 30 A
100 ms lnst

MCCB

MCCB
< 100 A
RCD
300 mA

Level C
receivers
ZS M M
or terminal
MCB RCD MCCB 3 A switchboard
30 mA 100 ms
sensitive sensitive
motors motors

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 127


Level A MSB Main Switch Board

- ระดับกระแสสูงมาก กว่า 2000 A


- กระแส Ground Fault สูงมาก
- การป้ องกันใช้ GFP แบบ
Residual Sensing ( RS )
หรือ
Source Ground Return ( SGR )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 128


Level B SMSB Sub Main Switch Board

- ระดับกระแสสูง 1000 - 2000 A


- กระแส Ground Fault สูงพอควร
- การป้ องกันใช้ GFP แบบ
Residual Sensing ( RS )
หรือ
Zero Sequence ( ZS )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 129


Level C Receivers Or Terminal Switch Board

- ระดับ กระแสตา่
- กระแส Ground Fault น้ อย
- การป้ องกันใช้ RCD แบบ
Zero Sequence ( ZS )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 130


17. ตัวอย่าง Ground Fault Protection on Mains only

ตามมาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้ า ปี 2564 ของ วสท.


ข้อ 3.5.2 เครื่องป้ องกันกระแสเกินบริภณ
ั ฑ์ประธาน
บริภณั ฑ์ประธาน I ≥ 1000 A ต้องมี GFP

การที่ มีระบบ GFP ที่ Main อย่างเดียว มีข้อดีและไม่ดี ดังนี้


- ราคาถูก
- การป้ อง Arcing Fault จะทาได้ไม่ดีนัก
- เกิด Loss Of Coordination
ลองพิจารณาตัวอย่างต่อไปนี้

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 131


- Single Line IEEE

Ground relays on main circuit only

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 132


ระบบมีหลายละเอียดดังนี้
- Main 3000 A
มี Long-time and Short Time
trip devices
- Feeder 1200 A
มี Long-time และ Instantaneous trip devices
- Branch circuit , MCCB
มี Thermal และ Instantaneous trip devices
- GFP ที่ Main ตัง้ ไว้ 0.2 s

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 133


สาหรับระบบที่มี GFP ที่ Main Ony

จะมี ปัญหาว่า

จะ Set GFP Pick up เท่าใด จึงจะดี

- เพื่อให้สามารถป้ อง Arcing Fault ได้


- สามารถ Coordinate กับ Feeders
- และ ต้อง Set ไม่ เกิน 1200 A
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 134
ลอง Set Ground Fault Pick up ไว้ 2 ค่า

- GF 200 A , t = 0.2 s

- GF 1200 A , t = 0.2 s

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 135


GF 200 A , t = 0.2 s

GF ที่ จุด A
- GF น้ อยกว่า 200 A
GF Relay จะไม่ทางาน ไม่มีการป้ องกัน
- GF 200 - 1000 A
GF Relay จะทางาน และทาก่อน
Instantaneous trip ของ Branch CB ( 10 x 100 = 1000 A )
ทาให้เกิด Loss Of Coordination
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 136
- Single Line IEEE

Ground relays on main circuit only

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 137


GF 200 A , t = 0.2 s

GF ที่ จุด B
- GF 200 - 6000 A
Instantaneous trip CB 1200 A
ตัง้ ไว้ I x 5 , 1200 x 5 = 6000 A
GF Relay จะทางาน ก่อน Feeder CB
ทาให้เกิด Loss Of Coordination

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 138


GF 200 A , t = 0.2 s

GF ที่ จุด C

- ถ้า GF ≥ 200 A
GF Relay จะทางาน
ทาให้ป้องกัน Arcing Fault ได้อย่างดี

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 139


GF 1200 A , t = 0.2 s

GF ที่ จุด A

- GF น้ อยกว่า 1200 A
GF Relay จะไม่ทางาน ไม่มีการป้ องกัน

Arcing Fault จะทาความเสียหายอย่างมาก

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 140


GF 1200 A , t = 0.2 s

GF ที่ จุด B

- GF น้ อยกว่า 1200 A
GF Relay จะไม่ทางาน ไม่มีการป้ องกัน

Arcing Fault จะทาความเสียหายอย่างมาก

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 141


GF 1200 A , t = 0.2 s

GF ที่ จุด C

- GF น้ อย ๆ จนถึง 1200 A
จะไม่ได้รบั การป้ องกัน

Arcing Fault ในช่วงนี้ จะทาความเสียหายอย่างมาก


- Sever Arc Fault Over 1200 A จะได้รบั การป้ องกัน

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 142


18. ตัวอย่าง Ground Fault Protection On Main And Feeders
- GFP ที่ Main Only
จะป้ องกันได้เฉพาะ Severe Arcing Fault เท่านัน้
- ระบบที่ป้องกัน Arcing Fault ได้ดี
และสามารถทา GF Coordination ได้ด้วย คือ
ระบบที่มี
GFP ที่ Main และ
GFP ที่ Feeders ด้วย
- ลองพิจารณาตัวอย่างต่อไปนี้

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 143


- Single Line IEEE

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 144


ระบบไฟฟ้ าเป็ นดังนี้

- Main CB 3000 A
- Feeders 600 A , 1200 A , 600 A
- Branch 100 A

- มี GFP
ที่ Main CB Setting 400 A , 0.3 s
ที่ Feeders 200 A , 0.1 s

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 145


- จากตัวอย่างที่แล้ว
GFP ที่ Main only
การป้ องกัน Arcing Fault ยังไม่ค่อยดี

- ในตัวอย่างนี้

มี GFP ที่ Main และ Feeders


สามารถตัง้ GFP
เพื่อให้สามารถป้ องกัน Arcing Fault ได้
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 146
Main CB Set GFP 400 A , 0.3 s
Feeders CB Set GFP 200 A , 0.1 s

GF ที่ จุด A
- GF น้ อยกว่า 200 A
GF Relay จะไม่ทางาน ไม่มีการป้ องกัน
- GF 200 - 1000 A
Feeder GF Relay จะทางาน และทาก่อน
Instantaneous trip ของ Branch CB ( 10 x 100 = 1000 A )
ทาให้เกิด Loss Of Coordination
- GF มากกว่า 1000 A
Instantaneous trip ของ Branch CB ( 10 x 100 = 1000 A )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 147


- Single Line IEEE

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 148


Main CB Set GFP 400 A , 0.3 s
Feeders CB Set GFP 200 A , 0.1 s

GF ที่ จุด B
- GF น้ อยกว่า 200 A
GF Relay จะไม่ทางาน ไม่มีการป้ องกัน
- GF 200 - 400 A
Feeder GF Relay จะทางาน
- GF 400 - 6000 A
Feeder GF Relay จะทางาน ถ้าเกิดขัดข้อง GF Relay ที่ Main
ซึ่งเป็ น Back up จะตัดวงจรภายใน 0.3 s
- GF มากกว่า 6000 A
Instantaneous trip ของ CB 1200 A จะตัดวงจร
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 149
Main CB Set GFP 400 A , 0.3 s
Feeders CB Set GFP 200 A , 0.1 s

GF ที่ จุด C
- GF น้ อยกว่า 400 A
GF Relay จะไม่ทางาน ไม่มีการป้ องกัน
- GF มากกว่า 400A
Main GF Relay จะทางาน และสังตั
่ ดวงจร
ภายใน 0.3 s

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 150


ต้องการมีความรู้ทนั โลก
ต้องให้เวลาในการศึกษา
ดัวยความปรารถนาดี
จาก
ผศ. ประสิทธิ ์ พิทยพัฒน์
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 151

You might also like