Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 140

คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 1

สารบัญ

หน้า
บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสิกส์ 2
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง 7
บทที่ 3 แรงและกฎการเคลื่อนที่ 12
บทที่ 4 สมดุลกล 18
บทที่ 5 งานและพลังงาน 22
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน 27
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แนวโค้ง 31
บทที่ 8 การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย 38
บทที่ 9 คลื่น 44
บทที่ 10 แสงเชิงคลื่น 52
บทที่ 11 แสงเชิงรังสี 56
บทที่ 12 เสียง 62
บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต 70
บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส 76
บทที่ 15 ไฟฟ้าแม่เหล็ก 83
บทที่ 16 ความร้อนและแก๊ส 94
บทที่ 17 ของแข็งและของไหล 101
บทที่ 18 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 113
บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม 121
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ 131

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 2

บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟ:สิกส;
1. ปริมาณ (Quantities) ในวิชาฟ9สิกส<อาจแบAงเปDนกลุAมยAอยไดJดังนี้
แบ9งโดยใช?ลักษณะของปริมาณเปIนเกณฑ$ จะแบ9งได?เปIน
1. ปริมาณเวกเตอร$ คือ ปริมาณที่ต?องบอกทั้งขนาดและทิศทางจึงจะสมบูรณ$ เช9น การกระจัด แรง
โมเมนตัม สนามไฟฟXา สนามแม9เหล็ก เปIนต?น
2. ปริมาณสเกลาร$ คือ ปริมาณที่บอกแต9ขนาดอย9างเดียวก็สมบูรณ$ได? เช9น มวล พลังงาน เวลา
ระยะทาง เปIนต?น
แบ9งโดยใช?ที่มาของปริมาณเปIนเกณฑ$ จะแบ9งได?เปIน
ปริมาณมูลฐาน คือ ปริมาณขั้นต?นที่จำเปIนต9อการอธิบายปรากฏการณ$ ทางฟ4สิกส$ มี 7 ปริมาณ

ปริมาณ หน*วย สัญลักษณ3


ความยาว (Length) เมตร m
มวล (Mass) กิโลกรัม kg
เวลา (Time) วินาที s
กระแสไฟฟMา (Electric Current) แอมแปร3 A
อุณหภูมิทางเทอร3โมไดนามิก เคลวิน K
ความเข]มของการส*องสว*าง แคนเดลา cd
ปริมาณของสาร โมล mol
ปริมาณอนุพัทธ1 คือ ปริมาณที่เกิดขึ้นจากการนาปริมาณมูลฐานมาประกอบเข?าด?วยกัน เช9น อัตราเร็ว
(เกิดจากระยะทางหรือความยาวหารด?วยเวลา) หรือ แรง เปIนต?น

หน3วยเสริม (supplementary units) เปIนหน9วยที่มีชื่อพิเศษมีอยู9 2 หน9วย ดังนี้


1. เรเดียน (radian, rad) คือ มุมบนระนาบที่เกิดขึ้นระหว9างเส?นรัศมีของวงกลมวงหนึ่งซึ่งถูก รองรับ
ด?วยเส?นโค?งของวงกลมที่มีความยาวเท9ากับรัศมีของวงกลมนั้น
2. สเตอเรเดียน (steradian , sr) คือ มุมตันที่มีจุดยอดอยู9ที่จุดศูนย$กลางของทรงกลมซึ่งถูกรองรับ
ด?วยผิวของทรงกลมที่มีพื้นที่เท9ากับรัศมีของทรงกลมนั้นยกกำลังสอง

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 3

2. คำอุปสรรค (Prefixes)
คำอุปสรรค หมายถึงสัญลักษณ$ที่ใช?แทนเลขสิบยกกำลัง ( 10±" ) ที่ใช?เขียนไว?หน?าหน9วยเอสไอ
เพื่อที่จะทำให?หน9วยนั้นใหญ9ขึ้นหรือเล็กลง มีผลให?เขียนปริมาณที่มีค9ามาก ๆ หรือค9าน?อย ๆ ได?กะทัดรัด เกิด
ความสะดวกและรวดเร็ว ดังตาราง

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 4

3. สัญญากรณ<วิทยาศาสตร< ในบางครั้ง ปริมาณทางฟ4สิกส$อาจมีค9ามากหรือน?อยกว9าหนึ่งมาก ๆ ปริมาณ


ที่มีตัวเลขหลายตัว จะเกิดความยุ9งยากในการนำไปใช?งาน จึงนิยมเขียนตัวเลขในรูปการคูณของเลขยกกำลังที่มี
ฐานเปIนสิบและ เลขชี้กำลังเปIนจำนวนเต็ม มีรูปทั่วไปคือ Ax10$ เมื่อ 1 ≤ A < 10 และ n เปIนจำนวนเต็ม
การเขียนปริมาณ แบบนี้เรียกว9า สัญกรณ$วิทยาศาสตร$ (scientific notation) เช9น อัตราเร็วแสงมีค9าประมาณ
300000000 เมตรต9อวินาที เขียนได?เปIน 3x10% เมตรต9อวินาที เปIนต?น

4. เลขนัยสำคัญ
หลักในการนับจำนวนตัวของเลขนัยสำคัญ
1) เลขที่ไม9ใช9เลข 0 ทุกตัวถือเปIนเลขนัยสำคัญ
2) เลข 0 ที่อยู9หน?าจำนวนทั้งหมด ไม9ถือเปIนเลขนัยสำคัญ เช9น 0.00046 มีเลขนัยสำคัญ 2 ตัว คือ 4
และ 6 เท9านั้น
3) เลข 0 ที่อยู9กลางจำนวน ถือเปIนเลขนัยสำคัญ เช9น 7.03 มีเลขนัยสำคัญ 3 ตัว คือ 7 , 0 , 0 และ 3
4) กรณี ที่เขียนจำนวนในรูปทศนิยม 0 ที่อยู9ข?างหลัง ถือเปIนเลขนัยสำคัญ เช9น 8.000 มีเลขนัยสำคัญ
4 ตัว คือ 8 , 0 , 0 และ 0
5) ถ?าเขียนจำนวนในรูปจำนวนเต็มธรรมดาไม9มีทศนิยม เลข 0 ที่อยู9หลังจำนวนไม9ถือเปIนเลข
นัยสำคัญ เช9น 1500 มีเลขนัยสำคัญ 2 ตัว คือ เลข 1 กับ 5 เท9านั้น
6) ถ? า เขี ย นจานวนในรู ป Ax10$ ให? นั บ จำนวนเลขนั ย สำคั ญ ของ A เท9 า นั ้ น เปI น คำตอบเช9 น
5.23 x 10%& มีเลขนัยสำคัญ 3 ตัว คือ 5 , 2 และ 3 เท9านั้น

• การบวกและลบเลขนัยสำคัญ
วิธีการ “ ให? บวก หรือ ลบ ตามปกติ แต9 ผลลัพธ$ ที่ ได?ต?อ มี ตำแหน9งทศนิยม เท9ากับตำแหน9งทศนิยมของ
จานวนในโจทย$ที่มีตำแหน9งทศนิยมน?อยที่สุด ”
• การคูณและหารเลขนัยสำคัญ
วิธีการ “ ให?คูณ หรือ หารตามปกติ แต9ผลลัพธ$ ที่ได?ต?องมีจำนวนตัวของเลขนัยสำคัญเท9ากับจำนวนตัวเลข
นัยสำคัญของโจทย$ที่มีจำนวนตัวเลขนัยสำคัญน?อยที่สุด ”

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 5

ตัวอย3างขQอสอบ ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟUสิกส1
1) ในการทดลองหนึ่ง นักเรียน A วัดความยาวแท9งวัตถุหนึ่งที่มีความยาวประมาณ 8 เซนติเมตร ด?วยไม?
บรรทัดที่มีการแบ9งช9องสเกลที่มีความละเอียด 0.1 เซนติเมตร โดยทำการวัด 5 ครั้ง ได?ผลดังนี้
ความยาวที่วัดได? (เซนติเมตร) : 7.85 8.00 8.25 7.90 14.15 ถ?านักเรียน A รายงานการวัดเปIนค9าเฉลี่ย
และค9าความคลาดเคลื่อนของค9าเฉลี่ย !"̅ โดยค9าความคลาดเคลื่อนของค9าเฉลี่ย หาได?จาก !"̅ =
!"#$%!"&'
เมื่อ Xmax และ Xmin คือ ค9ามากที่สุดและน?อยที่สุดที่วัดได? ตามลำดับ
)
นักเรียน A ควรรายงานผลการวัดความยาวของแท9งวัตถุนี้อย9างไรจึงเหมาะสมที่สุด (วิชาสามัญ64)
1. 8 ± 0.2 วินาที
2. 8.0 ± 0.2 วินาที
3. 8.00 ± 0.20 วินาที
4. 9.2 ± 3.2 วินาที
5. 9.23 ± 3.15 วินาที

2) นักเรียนทดลองปล9อยวัตถุให?เริ่มเคลื่อนที่จากพื้นเอียงลื่นไปยังพื้นราบที่มีความฝÉด และบันทึกเวลาที่วัตถุ
เริ่มเคลื่อนที่จนหยุดนิ่ง จำนวน 4 ครั้ง ได?ดังนี้ 12.24 12.06 11.98 และ 12.02 วินาที
ข?อใดเปIนการรายงานเวลาที่วัตถุเคลื่อนที่ในรูปค9าเฉลี่ย ( "̅ ) และค9าความคลาดเคลื่อนของค9าเฉลี่ย ( !"̅ )
ที่ถูกต?องตามหลักการรายงานผลการวัด (A-level66)
กำหนดให?
!"#$%!"&'
!"̅ = เมื่อ Xmax และ Xmin คือ ค9ามากที่สุดและน?อยที่สุดที่วัดได? ตามลำดับ
)
บันทึกค9าความคลาดเคลื่อนของค9าเฉลี่ยด?วยเลขนัยสำคัญจำนวน 1 ตัว
1. 12.1 ± 0.1 วินาที
2. 12.08 ± 0.1 วินาที
3. 12.075 ± 0.13 วินาที
4. 12.075 ± 0.1 วินาที
5. 12.0 ± 0.1 วินาที

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 6

3) ตัวเลขในข?อใดมีจำนวนเลขนัยสำคัญเท9ากันทั้งหมด
1. 12.0 0.23 2.19 × 10−1
2. 1.00 0.034 789
3. 0.00467 3.5678 48.030 × 10)*
4. 0.0300 1.50× 10+ 341

4) กำหนดให? T เปIนแรงตึงในเส?นเชือกมีหน9วยเปIนนิวตัน หรือ กิโลกรัมเมตรต9อวินาทียกกำลังสอง และ '


เปIนมวลของเชือกต9อหน9วยความยาว มีหน9วยเปIนกิโลกรัมต9อเมตร ปริมาณ +-, มีหน9วยเดียวกับปริมาณใด

1. ความเร็ว
2. พลังงาน
3. ความเร9ง
4. รากที่สองของความเร9ง

5) ผลลัพธ$ตามหลักเลขนัยสำคัญของ ( 4.5 x 1.12 ) – 1.35 คือใด


1. 3.69
2. 3.7
3. 4.69
4. 4.7

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 7

บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเสCนตรง
1. ปริมาณตAางๆ ของการเคลื่อนที่
ระยะทาง (distance) คือ ความยาวตามแนวที่เคลื่อนที่ได?จริง มีหน9วยเปIนเมตร (m) เปIนปริมาณ
สเกลาร$ เพราะการคิดระยะทางไม9ตองคำนึงถึงทิศทางของการเคลื่อนที่
การกระจัด (displacement) คือ ความยาวที่วัดเปIนเส?นตรงจากจุดเริ่มต?นถึงจุดสุดท?ายของการ
เคลื่อนที่ มีหน9วยเปIนเมตร (m) เปIนปริมาณเวกเตอร$ เพราะการคิดการกระจัดต?องคิดทิศทางจากจุดเริ่มต?นถึง
จุดสุดท?ายด?วย
อัตราเร็วเฉลี่ย คือ อัตราส9วนของระยะทางที่เคลื่อนที่ได?ต9อเวลาที่ใช?ในการเคลื่อนที่ตลอดช9วงนั้น มี
หน9วยเปIน เมตรต9อวินาที เปIนปริมาณสเกลาร$ เขียนเปIนสมการจะได?
s
v=
t

เมื่อ V = อัตราเร็ว ( เมตร/วินาที )


S = ระยะทางที่เคลื่อนที่ได? ( เมตร )
t = เวลาที่ใช?ในการเคลื่อนที่ ( วินาที)
ความเร็วเฉลี่ย คือ อัตราส9วนของการกระจัดที่เคลื่อนที่ได?ต9อเวลาที่ใช?ในการเคลื่อนที่ตลอดช9วงนั้น มี
หน9วยเปIน เมตรต9อวินาที เปIนปริมาณเวกเตอร$ เขียนเปIนสมการจะได?

s⃑
v=
t
เมื่อ v = ความเร็ว ( เมตร/วินาที )
s = การกระจัด ( เมตร )
t = เวลา ( วินาที )
อัตราเร3ง คืออัตราส9วนของอัตราเร็วที่เปลี่ยนไปต9อเวลาที่ใช?ในช9วงเปลี่ยนอัตราเร็วนั้นมีหน9วยเปIน
เมตร/วินาที^2 เปIนปริมาณสเกลาร$ เขียนเปIนสมการจะได?
-−/
,=
0
เมื่อ a = อัตราเร9ง (เมตร/วินาที^2) u = อัตราเร็วตอนแรก (เมตร/วินาที)
v = อัตราเร็วตอนหลัง (เมตร/วินาที) t = เวลา (วินาที)

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 8

ความเร3ง คืออัตราส9วนของความเร็วที่เปลี่ยนไปต9อเวลาที่ใช?ในช9วงเปลี่ยนความเร็วนั้นหน9วย เปIน


เมตร/วินาที^2 เปIนปริมาณเวกเตอร$ เขียนเปIนสมการจะได?

-⃑ − /
1⃑
,=
0
เมื่อ a = ความเร9ง (เมตร/วินาที^2)
u = ความเร็วตอนแรก (เมตร/วินาที)
v = ความเร็วตอนหลัง (เมตร/วินาที)
t = เวลา (วินาที)
ตัวอย3างขQอสอบ บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเสQนตรง
1. (PAT2/2562) พี่ออมขับรถยนต$บนถนนวิภาวดีด?วยอัตราเร็ว 30 กิโลเมตรต9อชั่วโมง เปIนระยะทาง 40
กิโลเมตรแล9น ต9อไปในทิศทางเดิมอีก 20 กิโลเมตร โดยเปลี่ยนอัตราเร็วเปIน 60 กิโลเมตรต9อชั่วโมง จงหา
อัตราเร็ว เฉลี่ยของการเดินทางในช9วงระยะทาง 60 กิโลเมตรนี้
1. 15 กิโลเมตรต9อชั่วโมง
2. 36 กิโลเมตรต9อชั่วโมง
3. 40 กิโลเมตรต9อชั่วโมง
4. 45 กิโลเมตรต9อชั่วโมง
2. (PAT2/2563) รถยนต$ 2 คันแล9นอยู9บนถนนตรงนทิศทางเดียวกัน ถ?าระยะห9างระหว9างรถทั้งสองคันนี้
เพิ่มขึ้นด?วยอัตราคงที่ ข?อใดถูกต?อง
1. รถทั้งสองคันมีความเร็วคงตัวเท9ากัน
2. รถคันหน?ามีความเร9งคงตัว แต9รถคันหลังมีความเร็วคงตัว
3. รถทั้งสองคันมีความเร9งคงตัวเท9ากัน และมีความเร็วเริ่มต?นเท9ากัน
4. รถคันหน?ามีความเร็วคงตัว แต9รถคันหลังมีความเร็วลดลงอย9างสม่ำเสมอ
5. รถทั้งสองคันมีความเร9งคงตัวเท9ากัน แต9รถคันหน?ามีความเร็วเริ่มต?นมากกว9ารถคันหลัง
3. (O-net 2562) พิจารณา รถ A และรถ B กำลังเคลื่อนที่เข?าสู9สี่แยก C ด?วยความเร็วคงที่ตลอด
ข?อใดถูกต?อง
1. รถ B ถึง C ก9อนรถ A
2. รถ A และ B ถึงพร?อมกัน
3. รถทั้งสองไม9ชนกันที่สี่แยก C
4. รถ A ถึง C ในเวลา 10 วินาที

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 9

2. การเคลื่อนที่ในแนวราบ
• ถ?าความเร9งเท9ากับศูนย$ ( a = 0 ) หรือ ( ความเร็วคงที่ ) จะใช?สมการ

2 = -0
เมื่อ s = การกระจัด (m) , t = เวลา (s) , V = ความเร็วซึ่งคงที่ ( m/s )

• ถ?าความเร9งไม9เท9ากับศูนย$ ( a ≠ 0 ) ความเร็วมีการเปลี่ยนแปลง ใช?สมการ


! = # + %&
! ! = #! + 2%(
1 !
( = #& + %&
2
1
s = vt − %& !
2
!+#
(=/ 0&
2
เมื่อ u = ความเร็วต?น (m/s) , v = ความเร็วปลาย (m/s)
t = เวลา (s) , a = ความเร9 ง (m/s^2) , s = การกระจัด (m)
3. การเคลื่อนในแนวดิ่ง
ขณะวัตถุเคลื่อนที่ในแนวดิ่งวัตถุจะถูกแรงดึงดูดของโลกดูดเอาไว? ทำให?เกิดความเร9งเนื่องจากแรงโน?ม
ถ9วงในทิศพุงลงสู9 พื้นโลก และมีขนาดประมาณ 10 เมตร/วินาทียกกำลังสอง ความเร9งนี้นิยมใช?สัญลักษณ$แทน
ด?วย g

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 10

4. รถบรรทุกคันหนึ่งวิ่งมาด?วยความเร็วคงที่ 72 Km/hr ผ9านปXอมตำรวจจราจร หลังจากผ9านรถตำรวจที่จอด


อยู9นิ่งๆ 25 S ตำรวจจึงเริ่มขับไล9ตามรถบรรทุกด?วยความเร9ง 0.5 m/s2 ตำรวจใช?เวลานานเท9าใดจึงไล9ตาม
รถบรรทุกทัน
1. 57 s
2. 100 s
3. 125 s
4. 150 s

5. (PAT2/2562) ปล9อยวัตถุ 2 ก?อนที่เหมือนกันทุกประการลงบนพื้นระดับ ถ?าก?อนหนึ่งตกอย9างเสรีในขณะ ที่


อีกก?อนหนึ่งได?รับแรงคงที่ในแนวระดับตลอดเวลา ข?อใดถูก
1. วัตถุทั้งสองตกถึงพื้นพร?อมกัน
2. วัตถุที่ตกอย9างเสรีตกถึงพื้นก9อน
3. วัตถุที่ได?รับแรงในแนวระดับตกถึงพื้นก9อน
4. วัตถุที่ได?รับแรงในแนวระดับจะเคลื่อนที่เปIนเส?นตรงไปตามทิศของแรง

6. (PAT2/2562) โยนลูกบอลขึ้นไปในแนวดิ่งบนดาวเคราะห$ดวงหนึ่ง พบว9าความสัมพันธ$ระหว9าง ความสูงลูก


บอลในแนวดิ่งจากพื้น กับเวลา เปIนดังรูป ความเร9งเนื่องจากแรงโน?ม ถ9วงของดาวดวงนี้มีค9ากี่เมตร/วินาที

1. 8
2. 12
3. 16
4. 20

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 11

7. บอลลูนซึ่งลอยขึ้นในแนวดิ่งด?วยความเร็วคงที่ 4 เมตรต9อวินาที ขณะที่อยู9สูงจากพื้นดิน 96 เมตร ลูก บอล


ลูกหนึ่งหลุดตกลงมาจากบอลลูน เมื่อลูกบอลตกลงมาถึงพื้นพอดีบอลลูนจะอยู9สูงจากพื้นกี่เมตร
1. 96/5 เมตร
2. 192/5 เมตร
3. 384/5 เมตร
4. 576/5 เมตร

8. (9สามัญ/2560) ดีดมวลก?อนหนึ่งขึ้นไปในแนวดิ่งด?วยความเร็วต?น 7.0 m/s จะขึ้นไปได?สูงกี่เมตรจากจุดที่


ดีด (กำนหดให?ค9า g = 9.8 ,/. . )
1. 0.5
2. 1.5
3. 2.5
4. 3.5
9. วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่แนวตรงด?วยความเร9งคงตัวซึ่งมีทิศทางเดียวกับความเร็ว

กราฟแสดงความสัมพันธ$ระหว9างขนาดของความเร็วยกกำลังสอง(- ) ) และตำแหน9ง(x)ของวัตถุ
เปIนดังนี้

หลังจากเคลื่อนที่ผ9านตำแหน9ง x = 0 m เปIนเวลา 10 วินาที ขนาดของการกระจักดของวัตถุ นั้นมีค9ากี่เมตร


1. 85
2. 90
3. 180
4. 260
5. 740
BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่
คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 12

บทที่ 3 แรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
1. แรง ( F )
แรง คืออำนาจที่พยายามจะทำให?มวลเกิดการเคลื่อนที่ด?วยความเร9ง
ควรรูQ 1) แรงเปIนปริมาณเวกเตอร$ เพราะเปIนปริมาณที่มีทั้งขนาดและทิศทาง
2) แรงใช?หน9วยมาตรฐาน S.I. เปIน นิวตัน (N)
2. การหาแรงลัพธ<
แรงลัพธ1 คือแรงซึ่งเกิดจากแรงย9อยๆ หลายแรงเข?ามารวมกัน
• กรณีที่ 1 หากแรงย9อยมีทิศไปทางเดียวกัน
4⃑*
4⃑ลัพธ% = 4⃑* + 4⃑)
ทิศทางแรงลัพธ$ จะเหมือนแรงย9อยนั้น 4⃑)
• กรณีที่ 2 หากแรงย9อยมีทิศตรงกันข?าม
4⃑) 4⃑*
4⃑ลัพธ% = 4⃑* − 4⃑)
ทิศทางแรงลัพธ$ จะเหมือนแรงที่มากกว9า
• กรณีที่ 3 หากแรงย9อยมีทิศเอียงทำมุมต9อกัน

4⃑)
! ! !
"""⃑
4 = """⃑ """⃑ + 2"""⃑
41 + 4 41"""⃑
42 cos 9
ลัพธ% 2
!
4⃑*

3. การแตกแรง
หากมีแรง 1 แรง สมมุติเปIนแรง F ดังรูป เราสามารถ
แตกแรงนั้นออกเปIน 2 แรงย9อย ซึ่งตั้งฉากกันได? และเมื่อ
แตกแรงแล?วจะได?วา

แรงย9อยที่ติดมุม θ จะมีค9า 4⃑ cos 9


แรงย9อยที่ไม9ติดมุม θ จะมีค9า 4⃑ sin 9

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 13

4. กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
กฎขQอที่ 1 กล9าวว9า “ วัตถุจะคงสภาพอยูนิ่งหรือสภาพเคลื่อนที่ดQวยความเร็วคงตัวหรือ(a=0)
ในแนวเส?นตรง นอกจากจะมีแรงลัพธ$ซึ่งมีค9าไม9เปIนศูนย$มากระทำต9อวัตถุนั้น

<4 = 0

กฎขQอที่ 2 กล9าวว9า “ เมื่อมีแรงลัพธ1ซึ่งมีค3าไม3เปqนศูนย1มากระทำต3อวัตถุจะทำใหQวัตถุเกิดความเร3ง


ในทิศเดียวกับแรงลัพธ$ที่มากระทำ ขนาดของความเร9งจะแปรผันตรงกับขนาดของแรงลัพธ$ และจะแปรผกผัน
กับมวลของวัตถุ ”

จากกฎข?อนี้จะได?สมการ

< 4 = >,⃑

กฎขQอที่ 3 กล9าวว9า “ ทุกแรงกริยา ( Action Force ) ตQองมีแรงปฏิกิริยา ( Reaction Force )


ที่มีขนาดเท3ากัน และทิศตรงกันขQามเสมอ ”

5. น้ำหนัก (W)
น้ำหนัก (W) คือ แรงชนิดนึงที่เกิดจากแรงโน?มถ9วงของโลกมีทิศเข?าสู9ศูนย$กลางโลกเสมอ ซึ่งมีหน9วย
เปIน “นิวตัน” โดยเราสามารถหา น้ำหนักได?จากสมการ
? = >@
เมื่อ ? คือ น้ำหนัก (นิวตัน)
A คือ มวลของวัตถุ (กิโลกรัม)
@ คือ ความเร9งเนื่องจากแรงโน?มถ9วงของโลก มีค9าประมาณ 10 เมตร
ต9อวินาทียกกำลังสอง

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 14

6. แรงเสียดทาน
“แรงเสียดทาน คือแรงที่เกิดจากการเสียดสีระหว9างผิวสัมผัสมีทิศต?านการเคลื่อนที่”
ประเภทของแรงเสียดทาน
• แรงเสียดทานสถิตย1 (B- ) คือ แรงเสียดทานที่มีตอนวัตถุอยู9นิ่งๆ
ควรทราบ 1. แรงเสียดทานสถิตจะมีค9าไม9คงที่จะเพิ่มขึ้นและลดลงตามแรงที่กระทำต9อวัตถุ
!! = $! %
เมื่อ B- คือแรงเสียดทานสถิตย$ ( นิวตัน )
'. คือสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานสถิตย$
N คือแรงปฏิกิริยาที่พื้นดันวัตถุ (นิวตัน)
• แรงเสียดทานจลน1 ( B/ ) คือแรงเสียดทานที่มีตอนวัตถุกำลังเคลื่อนที่
!" = $" %
เมื่อ B/ คือแรงเสียดทานจลน$ ( นิวตัน )
'0 คือสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานจลน$
N คือแรงที่พื้นดันวัตถุ ( นิวตัน ) ซึ่งปกติแล?วหากไม9มีแรงภายนอกมากระทำต9อวัตถุเพิ่มเติม
แรงดันพื้น ( N ) จะเท9ากับน้ำหนักวัตถุที่กด ( W )
7. กฎแรงดึงดูดระหวAางมวลของนิวตัน

CD2 D3
1111⃑
41 =
E3
เมื่อ 1111⃑
41 คือ แรงดึงดูดระหว9างมวล (นิวตัน)
m# , m! คือขนาดของมวลก?อนที่ 1 และ ก?อนที่ 2 ตามลำดับ (กิโลกรัม)
R คือ ระยะห9างระหว9างใจกลางมวลทั้งสอง (เมตร)
G คือ ค9าคงตัวความโน?มถ9วงสากล คือ 6.67 + 10"## . ∙ 0! ∙ 12"!

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 15

ตัวอย3างขQอสอบ บทที่ 3 แรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน


1. รถบรรทุกมวล M ขนตู?มวล m บนกระบะ เคลื่อนที่ด?วยความเร็วต?น /0⃗ ดังภาพ
กําหนดให? μk เปIนสัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลน$ระหว9างตู?และพื้นกระบะรถบรรทุก
// เปIนสัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตระหว9างตู?และพื้นกระบะรถบรรทุก
g เปIนขนาดของความเร9งโน?มถ9วง (A-level65)

2. คนถือเชือกมวลน?อยมาก ปลายอีกด?านผุกกกับวัตถุมวล 1.5 kg ถ?าต?องการหย9อนวัตถุให?เคลื่อนที่ลงด?วย


ความเร9ง 2.3 m/s2 แรงที่เชือกดึงมือ T มีขนาดเท9าใด
1. 10.45 N
2. 11.55 N
3. 15.45 N
4. 16.55 N
5. 18.45 N
3. วัตถุก?อนหนึ่งมีมวล 2 kg วางบนพื้นลื่นแนวระดับ มีแรง 40 Nและ 30 N กระทำต9อวัตถุ ในแนวตั้งฉากซึ่ง
กันและกัน จงหาความเร9งวัตถุ
1. 15 m/s2
2. 20 m/ s2
3. 25 m/s2
4. 30 m/s2

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 16

4. ทรงกระบอกมวล0.5กิโลกรัม วางอยู2บนพื้นระดับลื่นในระนาบ xy เมื่อออกแรง3แรงกระทำต2อทรงกระบอกในทิศทางขนาน


กับพื้นและผ2านศูนยAกลางมวล โดยไม2ทำใหDวัตถุลDมดังภาพมุมมองจากดDานบน
$ 4
กำหนดใหD (34 5 = % , FG2 9 =
5

ความเร9งของทรงกระบอกมีขนาดเท9าสใดและทิศทางใด (วิชาสามัญ65)

5. วัตถุก?อนหนึ่งวางอยู9บนพื้นระดับซึ่งไม9มีแรงเสียดทาน เมื่อออกแรงคงตัว A กระทำต9อวัตถุในแนวขนาน กับ


พื้น ข?อใดถูกต?อง
1. วัตถุเคลื่อนที่ด?วยความเร็วคงตัว
2. วัตถุมีความเร9งสม่ำเสมอ แม?เมื่อหยุดแรง A
3. วัตถุเริ่มเคลื่อนที่เมื่อแรง A มากกว9าน้ำหนักของวัตถุ
4. วัตถุจะมีความเร9งตราบเท9าที่แรง A กระทำต9อวัตถุ

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 17

6. กำหนดให?รอกไม9มีแรงเสียดทาน และเชือกไม9มีมวล จงหาขนาดของมวล M ที่ทำให?ระบบเคลื่อนที่ด?วย


ความเร9ง ดังรูป
1. 3.2 Kg
2. 4.4 Kg
3. 4.8 Kg
4. 5.6 Kg

7. เชือกเส?นหนึ่ง ถ?าผูกกับมวล 4 kg เชือกจะขาดพอดี ถ?านําเชือกนี้มาผูกกับมวล 3 kg จะต?องดึงมวลนี้ขึ้น


ด?วยความเร9ง เท9าใดจึงจะขาดพอดี (9 สามัญ61)
6
1.
7
86
2.
7

3. 6
4. 46
8. วัตถุเคลื่อนที่ในแนวตรงโดยเริ่มจากหยุดนิ่ง ซึ่งความเร็ว ณ เวลาต9าง ๆ แสดงได?ดังกราฟ

ความเร9งเฉลี่ยของวัตถุนี้ ในช9วงเวลา t = 5 s ถึง t = 25 s มีขนาดกี่เมตรต9อวินาที) (A-level65)

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 18

บทที่ 4 สมดุลกล
4.1 สมดุลกล
สมดุลกล (mechanical equilibrium) หมายถึง วัตถุที่รักษาสภาพการเคลื่อนที่ให?คงเดิม หรือ
กล9าวอีกอย9างหนึ่งคือ วัตถุอยู9นิ่ง หรือ เคลื่อนที่ด?วยความเร็วคงที่
สมดุลกลสามารถแยกไดQเปqน 2 แบบ คือ
1. สมดุลสถิต (static equilibrium) หมายถึง วัตถุที่อยู9นิ่งและไม9มีการหมุน เช9น สมุดวางอยู9บนโต¢ะ
2. สมดุลจลน1 (dynamic equilibrium) หมายถึง วัตถุที่มีการเคลื่อนที่ด?วยความเร็วคงตัว หรือมีการ
หมุนด?วยอัตราเร็วคงตัว เช9น ลังไถลลงมาตามพื้นเอียง
***หมายเหตุ คำว9าสมดุลจลน$ นอกจากหมายถึงสมดุลของวัตถุที่เคลื่อนที่แนวตรงด?วยความเร็วคงตัวแล?ว ยัง
หมายถึง สมดุลของวัตถุที่หมุนรอบแกนเดิมด?วยอัตราเร็วคงตัวอีกด?วย
4.2 สมดุลตAอการเลื่อนที่
วัตถุที่อยู9ในสมดุลต9อการเลื่อนที่ หมายถึง วัตถุอยู9ในสภาพหยุดนิ่งหรือเคลื่อนที่ด?วยความเร็วคงตัว
การเกิดสมดุลลักษณะนี้ได?แรงลัพธ$ที่มากระทำต9อวัตถุที่มีค9าเปIนศูนย$ (∑ 3 = 0) ซึ่งเปIนไปตามกฎข?อที่ 1 ของ
นิวตัน นั่นคือ
ผลรวมของแรงที่มีทิศไปทางซ?าย = ผลรวมของแรงที่มีทิศไปทางขวา

5 3ซ"าย = 5 3ขวา

ผลรวมของแรงที่มีทิศขึ้น = ผลรวมของแรงที่มีทิศลง

5 3ขึ้น = 5 3ลง

1. สถานการณ$ใดต9อไปนี้ ถือได?ว9าอยู9ในสภาพสมดุล
ก. รถยนต$แล9นไปตามถนนโค?งด?วยอัตราเร็วคงที่
ข. ลิฟต$เคลื่อนที่ขึ้นด?วยความเร็วคงที่
ค. แท9งไม?ไถลลงตามพื้นเอียงด?วยความเร็วคงที่
ง. รอกเดี่ยวตายตัวหมุนด?วยอัตราเร็วคงที่
ข?อใดถูกต?อง (สมรรถนะ มข. 63)
1. ก และ ข
2. ข และ ค
3. ก และ ง
4. ค และ ง

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 19

2. จากรู ป นำเชื อกผู กกั บก? อนน้ ำ หนั ก W จงหาอั ตราส9 วนของขนาดของแรงดึ งในเส? นเชื อก T0 ต9 อ T.
(PAT2/2561)
7
1.
5
7
2.
4
4
3.
5
4
4.
7

3. แขนวัตถุมวล m ด?วยเชือกเบาดังรูปถ?าแรงตึงในเส?นเชือกตามแนวระดับมีขนาด 60 นิวตัน ลงหาน้ำหนัก


วัตถุนั้น (PAT2/2561)
60°

1. 30 N W
9:
2. N
√7
3. 60√3 N
4. 120 N

4.กระถางต?นไม?มวล m ถูกแขวนอยู9บนเส?นลวดสองเส?นคือ A และ B ซึ่งยึดติดกับเสาสองต?น โดยมุมที่เส?น


ลวด A กระทํากับเส?นแนวระดับเท9ากับ θ และเส?นลวด A และ B ทํามุมกัน 90 องศา ดังภาพ
กําหนดให?g เปIนขนาดของความเร9งโน?มถ9วง

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 20

4.3 สมดุลตAอการหมุน
สมดุลต9อการหมุน (rotation equilibrium) คือวัตถุที่ไม9มีการหมุน หรือ หมุนด?วยอัตราเร็วคงตัว
• โมเมนต$ของแรง (moment of force) เมื่อมีแรงกระทำต9อวัตถุ นอกจากจะทำให?วัตถุเกิดการเคลื่อน
ตำแหน9งแล?ว บางครั้งยังทำให?วัตถุเกิดการหมุนด?วยโดยผลการหมุนของวัตถุจะเรียกว9า โมเมนต$
(moment) หรือ ทอร$ค (torque) หาได?จาก
โมเมนต$ของแรง = แรง × ระยะทางที่ลากจากจุดหมุนไปตั้งฉากกับแรง

M =F ×L

4.5 โมเมนต<ของแรงคูAควบ
แรงคู9ควบ เปIนสองแรงที่มีขนาดเท9ากัน แนวแรงขนานกัน แต9มีทิศทางตรงข?าม โดยถ?ามีแรงคู9ควบ
ควบหนึ่งกระทะต9อวัตถุ จะทำให?เกิดโมเมนต$ของแรงคู9ควบที่มีค9าไม9เปIนศูนย$ วัตถุจึงไม9อยู9ในสมดุลต9อการหมุน
ต9อวัตถุจะอยู9ในสมดุลต9อการเลื่อนที่ เนื่องจากแรงลัพธ$มีค9าเปIนศูนย$

เงื่อนไขสมดุลต9อการหมุน ถ?าวัตถุอยู9ในสภาพสมดุลต9อการหมุนจะได? “ผลรวมทางพีชคณิตของ


โมเมนต$รอบจุดหมุนจุดหนึ่งจะมีค9าเปIนศูนย$” ซึ่งเขียนเปIนสมการได?ว9า

5M = 0

หรือ ∑ Mตาม = ∑ Mทวน

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 21

5. ตามรูป นาย A และนาย B แบกกระดานสม่ำเสมอยาว 10 เมตร มีมวล 20 กิโลกรัม ในแนวระดับเด็กคน


หนึ่งยืนบนกระดานที่จุด C มีมวล 5 กิโลกรัม นาย A และนาย B จะต?องออกแรงคนละกี่นิวตัน ตอบตามลำดับ

1. 155 , 135
2. 115 , 85
3. 135 , 115
4. 85 , 115 (สามัญ64)

6. นาย A และนาย B ช9วยกันหามกล9องหนัก 150 นิวตัน ด?วยท9อนไม?มวลสม่ำเสมอ หนัก 50 นิวตัน ยาว 3.0
เมตร โดยให?ท9อนไม?อยู9ในแนวระดับ ซึ่งตำแหน9งที่แต9ละคนออกแรงกระทำต9อท9อนไม?และตำแหน9งที่ผูกกล9อง
เปXนดังภาพ

ถ?าต?องการให?นาย A และนาย B ออกแรงกระทำเท9ากัน โดยที่นาย A ออกแรงกระทำที่ตำแหน9งเดิม


นาย B จะต?องทำอย9างไร (สามัญ64)
1. นาย B ขยับเข?าหากล9องอีก 0.2 เมตร
2. นาย B ขยับเข?าหากล9องอีก 0.3 เมตร
3. นาย B ขยับออกจากกล9องอีก 0.3 เมตร
4. นาย B ขยับออกจากกล9องอีก 0.4 เมตร

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 22

บทที่ 5 งานและพลังงาน
1. งาน (W)
งาน เปIนผลอย9างหนึ่งซึ่งเกิดจากการออกแรงกระทำต9อวัตถุแล?วทำให?วัตถุเคลื่อนที่ไปตามแนวแรงนั้น
เราสามารถหาขนาดของงานได?จากผลคูณระหว9างขนาดของแรงกับการกระจัดตามแนวแรงนั้น เขียนเปIน
สมการจะได?

? =4∗2

เมื่อ F คือแรง ( นิวตัน)


S คือการกระจัดตามแนวแรงนั้น ( เมตร )
W คืองาน ( นิวตันเมตร , จูล )
หมายเหตุ : ถ?าทิศของแรงมีทิศเดียวกับทิศของการกระจัด ต?องแทนค9าแรง (F) เปIนบวก
ถ?าทิศของแรงมีทิศตรงกันข?ามกับทิศของการกระจัด ต?องแทนค9าแรง (F) เปIนลบ

การหางานจากพื้นที่ใต? กราฟของแรง ( F ) กับการกระจัด ( s ) หากโจทย$กำหนดกราฟของแรง ( F )


กับการกระจัด ( s ) มาให? พื้นที่ใต,กราฟนั้นจะมีค6าเท6ากับผลคูณ F.s เสมอ

“งาน จะมีคMาเทMากับ พื้นที่ใตCกราฟ”

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 23

2. กำลัง (P)
กำลัง คืออัตราการทำงาน หรือปริมาณงานที่ทำได?ในหนึ่งหน9วยเวลา เราสามารถหากำลังได?จาก

? 42
N= = = 4-
0 0
เมื่อ P คือกำลัง ( วัตต$ ) , W คืองาน (จูล )
t คือเวลา ( วินาที ) , F คือแรง ( นิวตัน )
s คือระยะทาง ( เมตร )
3. พลังงานกล
พลังงานกล คือ พลังงานที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของวัตถุและพลังงานที่สะสมในตัววัตถุซึ่งอาจถูก
ปลดปล9อยออกเปIนพลังงานรูปแบบอื่นๆได?
พลังงานกลของวัตถุมี 2 รูปแบบได?แก9 พลังงานจลน$ และ พลังงานศักย$
3.1 พลังงานจลน1 (O0 )
พลังงานจลน$ คือพลังงานกลที่ขึ้นกับความเร็วของวัตถุ วัตถุที่กาลังเคลื่อนที่ด?วยความเร็วจะมีพลังงานจลน$
วัตถุที่อยู9นิ่งจะไม9มีพลังงานจลน$ เราสามารถหาขนาดของพลังงานจลน$ได?จาก

*
O0 = >- )
)

เมื่อ - คือความเร็วของวัตถุ ( เมตร/วินาที ) ,


O0 คือพลังงานจลน$ (จูล) ,
> คือมวล (กิโลกรัม)
3.2 พลังงานศักย1โนQมถ3วง (P< )
พลังงานที่สะสมตรงนี้เกิดจากแรงโน?มถ9วงของโลกเราเรียก พลังงานศักย$โน?มถ9วง ซึ่งหาขนาดได?จาก

P< = >@ℎ

เมื่อ P< คือพลังงานศักย$โน?มถ9วง ( จูล )


> คือมวล (กิโลกรัม)
@ คือความเร9งเนื่องจากแรงโน?มถ9วง (มีค9าประมาณ10 เมตร/วินาที^2)
ℎ คือ ความสูงจากจุดอ?างอิง (เมตร)
BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่
คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 24

3.3 พลังงานศักย1ยืดหยุ3น

*
O= = R2 )
)

เมื่อ O= คือพลังงานศักย$ยืดหยุ9น ( จูล )


2 คือระยะห9างจากจุดสมดุล (เมตร)
R คือค9านิจสปริง (นิวตัน/เมตร )

4. การประยุกต<กฎการอนุรักษ<พลังงาน
การประยุกต1กฎการอนุรักษ1พลังงาน กล3าวว3า “พลังงานเปIนปริมาณที่ไม9สูญหาย แต9อาจเปลี่ยนรูป
หรือเคลื่อนย?ายได? โดยปริมาณพลังงานจะคงที่เสมอ”

การคำนวณโจทย$เกี่ยวกับกฎการอนุรักษ$พลังงาน สามารถทาได?โดยใช?สมการ

O* + ? = O)
เมื่อ O* คือพลังงานรวมตอนแรก
O) คือพลังงานรวมตอนหลัง
? คืองานในระบบ (หากเปIนงานจากแรงเสียดทานจะมีค9าเปIนลบ)
1. นักเรียนที่หนึ่งวิ่งด?วยอัตราเร็วค9าหนึ่งไถลตัวลงบนพื้นฝÉดและหยุดเมื่อไถลไปเปIนระยะทาง d โดยงาน
เนื่องจากแรงเสียดทานเท9ากับ W นักเรียนคนที่สองมีมวลเท9ากับคนแรกวิ่งมาด?วยอัตราเร็วเท9ากันไถลไปบนพื้น
ฝÉดเช9นเดียวกันแต9หยุด เมื่อไถลไปได?ระยะทาง d/2 งานเนื่องจากแรงเสียดทานในกรณีของนักเรียนคนที่สอง
เปIนเท9าใด (PAT2/2561)
1. W
>
2.
)
>
3.
4
4. 2W
5. 4W

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 25

2. รถไฟมวล 20,000 Kg วิ่งด?วยความเร็ว 36 Km/hr จงหาระยะทางในการหยุดของรถไฟ ถ?าสัมประสิทธิ์


ความเสียดทานระหว9างรางและล?อรถไฟเท9ากัน 0.25
1. 5 m
2. 10 m
3. 15 m
4. 20 m

3. 3.ดันวัตถุที่อยู9บนพื้นลื่นและอยู9ชิดกับปลายด?านหนึ่งของสปริง ที่มีค9าคงตัวสปริง k ทำให?สปริงหดเปIนระยะ


x จากตำแหน9งสมดุล จากนั้นปล9อยให?วัตถุเริ่มเคลื่อนที่ดังภาพ

พบว9า เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ผ9านตำแหน9งสมดุลของสปริง ด?วยอัตราเร็ว v และเมื่อวัตถุเคลื่อนที่ต9อไปบนพื้นฝÉด จะ


เคลื่อนที่ได?เปIนระยะทาง s ก9อนจะหยุดนิ่ง
กำหนดให? @ เปIนขนาดความเร9งโน?มถ9วง

/0 เปIนสัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลน$ระหว9างวัตถุกับพื้นฝÉด
วัตถุขนาดเล็กมาก จึงไม9พิจารณาขนาดของวัตถุ ระยะทาง s ที่วัตถุเคลื่อนที่ได?มีค9าเท9าใด (A-level65)
0? !
1.
)@" 6

A!
2.
@" 6

A!
3.
)0?
A!
4.
)@" 0
)@# )
5.
0

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 26

4. กล9องมวล 2 กิโลกรัม กำลังเคลื่อนที่ขึ้นพื้นเอียงที่ทำมุม 37 องศากับแนวระดับ เมื่อเคลื่อนที่ผ9านจุดที่สูง


จากพื้น 2 เมตร กล9องมีอัตราเร็ว 4 เมตร/วินาที และมีความร?อนเกิดขึ้น 20 จูล พลังงานจลน$ของกล9องเมื่ออยู9
ที่ปลายล9างของพื้นเอียงเปIนกี่จูล (PAT2/2559)
1. 35.2
2. 36.0
3. 43.2
4. 75.2

5. วัตถุมวล 2 กิโลกรัม วางนิ่งอยู9บนพื้นระดับที่ไม9มีความเสียดทาน ออกแรงคงตัวขนาด 4 นิวตัน กระทำกับ


วัตถุทำให?เคลื่อนที่เปIนระยะทาง 5 เมตร ข?อใดถูกต?อง (PAT2/2562)
1. วัตถุเคลื่อนที่ด?วยความเร9งโดยมีพลังงานจลน$เพิ่มขึ้น 20 จูล
2. วัตถุเคลื่อนที่ด?วยความเร9งโดยมีพลังงานจลน$เพิ่มขึ้น 40 จูล
3. วัตถุเคลื่อนที่ด?วยความเร็วคงตัวโดยมีพลังงานจลน$เพิ่มขึ้น 20 จูล
4. วัตถุเคลื่อนที่ด?วยความเร็วคงตัวโดยมีพลังงานจลน$เพิ่มขึ้น 40 จูล
5. วัตถุเคลื่อนที่ด?วยความเร็วคงตัวโดยมีพลังงานจลน$คงตัว 20 จูล

6. พิจารณาข?อความต9อไปนี้
ก) ถ?าวัตถุตกลงจากที่สูงซึ่งมีความสูงเพิ่มขึ้นจากเดิม 10% พลังงานศักย$จะเพิ่มขึ้น 10% ด?วย
ข) ถ?ามวลลดลง 5% พลังงานจลน$และพลังงานศักย$จะลดลง 5% ด?วย
ค) ถ?าอัตราเร็วเพิ่มขึ้น 15% พลังงานจลน$จะเพิ่มขึ้น 15% ด?วย
ข?อใดต9อไปนี้ถูกต?อง
1. ก และ ข
2. ข และ ค
3. ก และ ค
4. ถูกทุกข?อ

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 27

บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
1. โมเมนตัม(P)
โมเมนตัม คือผลคูณระหว9างมวลกับความเร็วของมวลนั้น เปIนปริมาณเวกเตอร$ ซึ่งมีทิศทางไปตามทิศ
ของความเร็วนั้น เขียนเปIนสมการแสดงจะว9า

N = >-

เมื่อ N คือโมเมนตัม ( กิโลกรัม . เมตร/วินาที )


> คือมวล ( กิโลกรัม )
- คือความเร็วของมวล ( เมตร/วินาที )

2. การดลและแรงดล
กรณีที่วัตถุถูกแรงกระทำวัตถุจะมีการเปลี่ยนแปลงความเร็วและโมเมนตัมค9าของโมเมนตัมที่เปลี่ยนไป
เรียกว9า การดล ( ∆P )

∆T = >- − >/

เมื่อ ∆T คือ การดล ( กิโลกรัม . เมตร/วินาที )


> คือมวล ( กิโลกรัม )
/ คือความเร็วของมวล ( เมตร/วินาที )
- คือความเร็วของมวล ( เมตร/วินาที )

แรงที่ทำให?โมเมนตัมเปลี่ยนไป เรียกแรงดล ( F ) ซึ่งหาค9าได?จาก

∆N >- − >/
4= หรือ 4 =
0 0

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 28

หมายเหตุ ; ในการคำนวณเกี่ยวกับโมเมนตัม การดล และแรงดลนั้น ต?องกำกับทิศทางของตัวแปรต9างๆ


โดยใช?เครื่องหมายบวกและลบ
“ความเร็วต?น ( u ) , ความเร็วปลาย ( v ) การดล ( ∆ p ) , แรงดล ( F )”
หากมีทิศพุ9งเข?าหรือไปข?างหน?าต?องใช?ค9าเปIนบวก ( + )
หากมีทิศพุ9งออกหรือมาข?างหลังให?ใช?ค9าเปIนลบ ( – )
1. วัตถุมวล 4 กิโลกรัม เคลื่อนที่ด?วยอัตราเร็วคงตัว 5 เมตรต9อวินาที ในแนวระดับ ไปชนกำแพงแนวดิ่ง
หลังจากชนแล?ววัตถุกระดอนกลับในแนวเดิมด?วยอัตราเร็วคงเดิม แต9ทิศทางตรงกันข?าม จงหาโมเมนตัมที่
เปลี่ยนไปหลังการชนและถ?าเวลาที่วัตถุชนกาแพง 0.5 วินาที จงหาแรงเฉลี่ยที่กาแพงกระทำต9อวัตถุ
1. 40 กิโลกรัม. เมตร/วินาที , 80 นิวตัน
2. 20 กิโลกรัม. เมตร/วินาที , 100 นิวตัน
3. 10 กิโลกรัม. เมตร/วินาที , 70 นิวตัน
4. 10 กิโลกรัม. เมตร/วินาที , 50 นิวตัน

2. รถยนต$คันหนึ่งมวล1,000 kg เคลื่อนที่ด?วยความเร็ว 20 m/s เข?าชนกำแพงทำให?ทิศการเคลื่อนที่เปลี่ยนไป


90 องศา ด?วยความเร็ว 15 m/s รถยนต$ถูกแรงกระทำขนาดเท9าใด ถ?าช9วงเวลาการชนเท9ากับ 1.25s
1. 10 kN
2. 15 kN
3. 20 kN
4. 25 kN

3. การชน
กฎการอนุรักษ1โมเมนตัม กล9าวว9า " เมื่อวัตถุเกิดการชนกัน ผลรวมของโมเมนตัมก9อนชนจะเท9ากับ
ผลรวมของโมเมนตัมหลังชน "

จะได?ว9า Σpก9อน = Σpหลัง

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 29

4. การชนแบบยืดหยุAนและไมAยืดหยุAน
การชนกันของวัตถุโดยทั่วไปจะมี 2 แบบ คือ
1) การชนกันแบบยืดหยุ3น เปIนการชนซึ่งพลังงานจลน$และโมเมนตัมมีค9าคงที่ นั่นคือ
Σk ก"อน = Σ(หลัง
Σpก"อน = Σpหลัง
ในกรณี ที่วัตถุสองก?อนเกิดการชนกันแบบยืดหยุ9น จะได?ว9า

/* + -* = /) + -)
2) การชนกันแบบไม3ยืดหยุ3น เปIนการชนซึ่งพลังงานจลน$จะมีค9าไม9คงเดิมแต9โมเมนตัมยังคงเท9าเดิม
นั่นคือ

Σk ก"อน ≠ Σk หลัง
Σpก"อน = Σpหลัง
5. การชนในหนึ่งมิติ
การชนในหนึ่งมิติหรือการชนในแนวตรง คือการชนที่แนวการเคลื่อนที่ของวัตถุทั้งสองอยู9ในแนว
เส?นตรงเดียวกันทั้งก9อนชนและหลังชน การชนแบบนี้จะเกิดขึ้นได?เมื่อแนวการเคลื่อนที่ของจุดศูนย$กลางมวล
ของวัตถุที่เคลื่อนที่เข?าชน มีแนวผ9านจุดศูนย$กลางมวลของวัตถุที่ถูกชน

จากกฎอนุรักษ$โมเมนตัม เราจะได?สมการการชนใน 1 มิติของมวล 2 ก?อนคือ

Σpก"อน = Σpหลัง
>* /* + >) /) = >* -* + >) -)

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 30

3. รถยนต$มวล 1 ต?นกำลังแล9นด?วยอัตราเร็ว 10 เมตรต9อวินาทีชนท?ายรถมอเตอร$ไซด$คันข?างหน?าซึ่งมีมวล


200 กิโลกรัมและขับด?วยอัตราเร็ว 8 เมตรต9อวินาทีถ?าพลังชนรถมอเตอร$ไซด$กระเด็นไปข?างหน?าด?วยอัตราเร็ว
14 เมตรต9อวินาทีรถยนต$จะมีอัตราเร็วประมาณเท9าใด ( PAT2/2563 )
1. 8.6 >/2 ทิศไปข?างหน?า
2. 8.6 >/2 ทิศถอยหลัง
3. 8.8 >/2 ทิศไปข?างหน?า
4. 8.8 >/2 ทิศถอยหลัง
5. 10 >/2 ทิศไปข?างหน?า
4. วัตถุก?อนหนึ่งขณะเคลื่อนที่เปIนเส?นตรงด?วยอัตราเร็ว v ไปทางขวา (ทิศ+) เกิดระเบิดแตกออกเปIน 2 ส9วนที่
มีมวลเท9ากันโดยชิ้นส9วนทั้งสองยังคงอยู9ในแนวเส?นตรงเดิม ถ?าพลังงานจลน$ของระบบเพิ่มเปIน 2 เท9าเมื่อเทียบ
กับก9อนการระเบิด ความเร็วของชิ้นส9วนแต9ละก?อนหลังการระเบิดเปIนเท9าใดตามลำดับ (PAT2/2562)
1. - , -
2. 0 , 2-
3. −2- , 0
4. √2- , √2-
5. −√2- , √2-
5. สปริงหนึ่งอยู9ในแนวราบมีค9าคงที่ของสปริง 800 N/m ปลายหนึ่งติดกับผนังอีกปลายหนึ่งติดกับมวล M =
480 g วางอยู9บนพื้นที่ไม9มีความฝÉด เริ่มต?นให?สปริงไม9ยืดหรือหดเลย เมื่อยิงลูกปÉนมวล m = 20 g ในแนวราบ
เข?าไปฝ©งในมวล M แล?วทั้งสองกดสปริงเข?าไป จงหาว9าความเร็วของลูกปÉนต?องเปIน เท9าใดสปริงจึงหดเข?าไป 5
cm
1. 30 m/s
2. 40 m/s
3. 50 m/s
4. 60 m/s

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 31

บทที่ 7 การเคลื่อนที่แนวโคCง
1. การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล1

แนวระดับ แนวดิ่ง

โปรเจกไทล1สมมาตร

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 32

การเคลื่อนที่แบบวงกลม
อัตราเร็ว 4 ลักษณะ
1. อัตราเร็วเชิงเส?น
2. คาบ
3. ความถี่
4. อัตราเร็วเชิงมุม

การเคลื่อนที่ของวัตถุแบบวงกลมนั้นจะมีแรงลัพธ$ไม9เท9ากับศูนย$โดยแรงลัพธ$จะมีทิศทางเข?าสู9
ศูนย$กลางของวงกลมเสมอ เรียกว9า แรงเข?าสู9ศูนย$กลาง โดยแรงเข?าสู9ศูนย$กลางจะทำให?ความเร็วของวัตถุ
เปลี่ยนทิศทางตลอดเวลา ส9งผลให?วัตถุเคลื่อนที่เปIนวงกลม
การเคลื่อนที่แบบวงกลมแนวราบ

การเคลื่อนที่แบบวงกลมแนวดิ่ง

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 33

ตัวอย3างขQอสอบเรื่องการเคลื่อนที่แนวโคQง
1. จะต?องดีดโพรเจกไทล$ m ด?วยความเร็วต?น (ในแนวระดับ) เท9าไรจึงจะลงหลุมพอดี (9 วิชาสามัญ’59)
$
)6 !
1. ] ^ _
B
$
6 !
2. ] ^ _
B
$
6 !
3. ] ^ _
)B
$
6 !
4. ] ^ _
)(BDE)
$
6 !
5. ] ^ ℎ
)E
2. เด็กคนหนึ่งนั่งอยู9บนรถที่เคลื่อนที่บนถนนตรงด?วยอัตราเร็ว v เด็กคนนี้ได?ปาก?อนหินด?วยอัตราเร็ว ' เทียบ
กับรถ ในทิศทำมุม 9 เทียบกับทิศทางการเคลื่อนที่ของรถ ก?อนหินนี้จะตกห9างจากรถเท9าใด (9 วิชาสามัญ’
60)

1. ตกที่ตำแหน9งเดียวกับรถ
)G! H&' I JKH I
2. นำหน?ารถ,
6
)G H&' I
3. นำหน?ารถ, (' cos 9 + - )
6
)G! H&' I JKH I
4. ตามหลังรถ,
6
)G H&' I
5. ตามหลังรถ, (' cos 9 + -)
6

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 34

3. ต?องยิงโพรเจกไทล$ด?วยมุมตั้งต?น 9 เท9าไร จึงจะทำให?ขึ้นได?สูง AC เท9ากันกับที่ไปได?ไกล OB บนพื้นระดับ


วิชาสามัญ61)

*
1. tan%*
4
2. tan %* *
)
3. 45o
4. tan%* 2
5. tan%* 4

4. ยิงโพรเจกไทล$ในระนาบดิ่งเดียวกันพร?อมกัน ลูกหนึ่งออกจาก A อีกลูกออกจาก B ด?วยความเร็วต?นที่มี


ขนาดเท9ากันและมุมตั้งต?นเท9ากันและเท9ากับ 9 ระบะห9าง AB ต?องมีค9าไม9เกินเท9าไร โพรเจกไทล$จึงจะชนกัน
ก9อนถึงพื้น
(9 วิชาสามัญ’62)

@!
1. sin 9
)6
@!
2. sin 9
6
@!
3. sin 29
)6
@!
4. sin 29
6
)@!
5. sin 29
6

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 35

5. ดีดโพรเจกไทล$จากจุด A บนพื้นระดับห9างจากกำแพงดิ่งเปIนระยะทาง L ด?วยความเร็วต?น v จะต?องใช?มุม


9 เท9ากับเท9าไรจึงจะชนกำแพงอย9างตั้งฉากพอดี (9 วิชาสามัญ’63)
1. 45o
2.
* )E6
sin%* ] ^
) A!
)E6
3. sin%* ] ! ^
A
E6
4. sin%* ] ! ^
A
)E6
5.
A!
6. นักกอล$ฟตีลูกกอล$ฟขึ้นจากพื้น A ในทิศทำมุม 9 กับแนวระดับ พบว9าเมื่อเวลาผ9านไป 4.00 วินาที ลูกกอล$ฟ
ผ9านยอดต?นไม?พอดี ซึ่งต?นไม?อยู9บนพื้น B ที่อยู9สูงกว9าพื้น A 1.00 เมตร และอยู9ห9างออกไป 72.0 เมตร จากจุด
ตีกอล$ฟ ดังภาพ

กำหนดให? sin 9 = 0.800 และ cos 9 = 0.600


ไม9คิดแรงต?านอากาศ และไม9คิดขนาดของลูกกอล$ฟ
ยอดต?นไม?อยู9สูงจากพื้น B กี่เมตร (A-level 66)
1. 7.4
2. 10.6
3. 16.6
4. 17.6
5. 18.6

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 36

5√7
7. เจ?าหน?าที่กู?ภัยต?องการโยนอุปกรณ$ให?คนที่อยู9ในตึกซึ่งอยู9ห9าง 5 เมตร และอยู9สูง เมตร ดังภาพ
)

กำหนดให? ไม9คิดแรงต?านอากาศ
เจ?าหน?าที่กู?ภัยต?องโยนอุปกรณ$ด?วยมุมกี่องศาเทียบกับแนวระดับ เพื่อให?อุปกรณ$ขณะรับมีความเร็วแนวดิ่งเปIน
ศูนย$ (วิชาสามัญ 65)
1. 30
2. 37
3. 45
4. 53
5. 60
8. ลูกกลมมวล m1 มีมวลเปIนครึ่งหนึ่งของ m2 ถูกผูกด?วยเชือกที่ยาวไม9เท9ากันไว?ที่จุดตรึงหนึ่ง เมื่อแกว9งลูก
กลมทั้งสองให?เริ่มเคลื่อนที่พร?อมกันเปIนวงกลมในระนาบเดียวกันและมีจุดศูนย$กลางร9วมกัน พบว9า รัศมีการ
เคลื่อนที่ของลูกกลม m2 มีค9าเปIนสองเท9าของรัศมีการเคลื่อนที่ของลูกกลม m1 ดังภาพ
ข?อใดถูกต?อง (วิชาสามัญ 65)
1. คาบของ m1 มีค9าน?อยกว9าคาบของ m2
2. ความถี่เชิงมุมของ m1 มีค9าน?อยกว9าความถี่เชิงมุมของ m2
3. อัตราเร็วเชิงมุมของ m1 มีค9าเท9ากับอัตราเร็วเชิงมุมของ
m2
4. อัตราเร็วเชิงเส?นของ m1 มีค9าเท9ากับอัตราเร็วเชิงเส?นของ
m2
5. แรงสู9ศูนย$กลางของ m1 มีค9ามากกว9าแรงสู9ศูนย$กลางของ m2

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 37

9. ดาวเทียม A มวล m โคจรรอบโลกเปIนแนววงกลมรัศมี RA ด?วยอัตราเร็วเชิงเส?น vA ดังภาพ ซึ่งมีคาบการ


โคจรรอบโลก TA

ถ?าต?องการส9งดาวเทียม B มวล 2m ให?โคจรรอบโลกเปIนแนววงกลม


ด?วยคาบเท9ากับคาบของดาวเทียม A จะต?องใช?ดาวเทียม B โคจรด?วย
รัศมี RB และอัตราเร็วเชิงเส?น vB เปIนอย9างไรเมื่อเปรียบเทียบกับของ
ดาวเทียม A
(วิชาสามัญ 64)
1. RB มากกว9า RA และ vB เท9ากับ vA
2. RB เท9ากับ RA และ vB เท9ากับ vA
3. RB เท9ากับ RA และ vB มากกว9า vA
4. RB น?อยกว9า RA และ vB เท9ากับ vA
5. RB น?อยกว9า RA และ vB มากกว9า vA

10. ในพิธีเป4ดกีฬาครั้งหนึ่ง นักกีฬายิงลูกธนูติดไฟให?ตก


บนยอดหอคบเพลิงซึ่งอยู9สูงจากพื้นสนาม 23.6 เมตร
ถ?าลูกธนูถูกยิงจากความสูงเหนือพื้น 2.0 เมตร โดยทำ
มุม 45 องศากับพื้น และลูกธนูใช?เวลาในการเคลื่อนที่
ไปถึงยอดหอคบเพลิง 4.0 วินาที ดังภาพ
กำหนดให? ไม9คิดแรงต?านอากาศ
ความเร9งโน?มถ9วงบริเวณผิวโลก g = 9.8 m/s2
ลูกธนูถูกยิงห9างจากหอคบเพลิงในแนวระดับเปIนระยะทางกี่เมตร

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 38

บทที่ 8 การเคลื่อนที่แบบฮาร1มอนิกอย3างง3าย (Simple Harmonic Motion : SHM)


การเคลื่อนที่แบบฮาร$มอนิกอย9างง9าย เปIนการเคลื่อนที่กลับไปกลับมาซ้ำรอยเดิมผ9านตำแหน9งสมดุล
โดยมีขนาดของการกระจัดสูงสุด (แอมพลิจูด) และคาบของการเคลื่อนที่คงตัว เช9น การเคลื่อนที่ของชิงช?า ,
วัตถุที่ติดสปริง , ลูกตุ?มนาÆิกา

เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ออกจากตำแหน9งสมดุลจะมีแรงดึงวัตถุกลับมายังตำแหน9งสมดุล ซึ่งเปIนแรงที่ทำให?
วัตถุเคลื่อนที่ไปมาซ้ำทางเดิม เรียกแรงนี้ว9า แรงดึงกลับ (restoring force)
โดย
I )M
ω= = = 2ef หน9วยเปIน rad/s หรือ เรเดียนต9อวินาที
L N
* *
และ g= หรือ f =
O N

เมื่อ ω คือ อัตราเร็วเชิงมุม

g คือ คาบ หรือ ช9วงเวลาที่วัตถุใช?ในการเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ


f คือ ความถี่ หรือ จำนวนรอบที่วัตถุเคลื่อนที่ได?ใน 1วินาที หน9วย [ รอบต9อวินาที หรือ Hz
(เฮิร$ต) ]
ปริมาณที่เกี่ยวขQองกับการเคลื่อนที่แบบฮาร1มอนิกอย3างง3าย
การกระจัด ความเร็ว ความเร9ง
x = Asin (ωt + ∅) v = Aωcos (ωt + ∅) a = −AI. sin (ωt + ∅)

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 39

• เมื่อวัตถุผ9านตำแหน9งสมดุล (x = 0) จะมีความเร็ว
มากที่สุด หาได?จาก v"#$ = ωA
• เมื่อวัตถุอยู9ที่ตำแหน9งใด ๆ สามารถหาความเร็วได?
จาก - = ω√A) − x )
• เมื่อวัตถุอยู9ห9างจากจุดสมดุลมากที่สุด จะมีความเร็ว
เท9ากับศูนย$ (v = 0)

• เมื่อวัตถุอยู9ที่ตำแหน9งใด ๆ สามารถหาความเร9งที่
ตำแหน9งใด ๆ ได?จาก a = ωA
• เมื่อวัตถุอยู9ห9างจากจุดสมดุลมากที่สุดจะมีความเร9ง
มากที่สุด หาได?จาก a"#$ = ω) A

8.1 การสั่นของมวลติดปลายสปริง

อัตราเร็ วเชิงมุม (ω) ของมวลติดปลายสปริ ง

&
ω= 8
'

คาบการเคลือ< นที<ของมวลติดปลายสปริ ง
'
T = 2π 8&

8.2 การแกว3งของลูกตุQมอย3างง3าย

อัตราเร็ วเชิงมุม (ω) ของลูกตุ้ม


(
ω= 8)

คาบการเคลือ< นที<ของลูกตุ้ม
)
BY TRONGTJAI
= TUTOR
2π 8 ขอนแก่น & เชียงใหม่
(
คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 40

8.3 พลังงานในการเคลื่อนที่แบบ SHM


พลังงานในการเคลื่อนที่ของวัตถุใดๆ จะประกอบไปด?วยพลังงานศักย$และพลังงานจลน$
1 ) 1
E= Rx + >v )
2 2
เมื่อการเคลื่อนที่แบบ SHM ความเร็วของการเคลื่อนที่ คือ - = ω√A) − x ) และ

P
ω= k จะได? R = mω)
"

ดังนั้นพลังงานรวม คือ
1 ) 1
E= Rx + >(ωmA) − x ) ))
2 2

*
E= >ω) A)
)

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 41

ตัวอย3างขQอสอบ บทที่ 8 การเคลื่อนที่แบบฮาร1มอนิกอย3างง3าย


1) วัตถุมวล 0:20 กิโลกรัม อยู9นิ่งบนพื้นลื่น ติดอยู9ที่ปลายด?านหนึ่งของสปริงที่มีค9าคงตัวสปริงเท9กับ 5.0 นิวตัน
ต9อเมตร และปลายอีกด?านของสปริงยึดติดกับกำแพง เมื่อดึงวัตถุให?สปริงยืดออกจากตำแหน9งสมดุล แล?ว
ปล9อยให?วัตถุเคลื่อนที่กลับไป-กลับมาแบบฮาร$มอนิกอย9างง9ายวัตถุจะมีความถี่ค9าหนึ่ง วัตถุจะเกิดการสั่นพ?อง
ได? ต?องถูกแรงกระตุ?นด?วยความถี่กี่รอบต9อวินาที และถ?าเพิ่มมวลของวัตถุให?มากขึ้น คาบของการเคลื่อนที่จะ
เปIนอย9างไรเมื่อเทียบกับก9อนเพิ่มมวล (A-Level66)
ข?อ ความถี่ของแรงกระตุ?น (รองต9อวินาที) คาบของการเคลื่อนที่เมื่อเพิ่มมวลวัตถุ
(เทียบกับก?อนเพิ่มมวล)
1. 0.10
ลดลง
J
2. 0.10
เพิ่มขึ้น
J
3. 5.0
เท9าเดิม
2J
4. 5.0
ลดลง
2J
5. 5.0
เพิ่มขึ้น
2J

2) แกว9างลูกตุ?มมวล m ที่ผูกเชือกยาว L ให?เคลื่อนที่แบบฮาร$มอนิกอย9างง9ายระหว9าง จุด A และ B ดังภาพ


พบว9า ลูกตุ?มแกว9งครบ 10 รอบ ใช?เวลา 2π วินาที

พิจารณาข?อความต9อไปนี้
ก. ที่จุด A และ B ขนาดของความเร็วมีค9าเท9ากันและไม9เท9ากับศูนย$
ข. เมื่อแกว9งลูกตุ?มมวล m ที่ผูกเชือกยาว L คาบการแกว9ง เท9ากับ 0.2, วินาที
ค. เมื่อแกว9งลูกตุ?มมวล 2m ที่ผูกเชือกยาว L ความถี่เชิงมุมมากกว9าเมื่อแกว9งลูกตุ?มมวล m ที่ผูกเชือก
ยาว 2L
ข?อความใดถูกต?อง
1. ก เท9านั้น 2. ข เท9านั้น 3. ค เท9านั้น
4. ก และ ข 5. ข และ ค

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 42

3. ลูกตุ?มเพนดูลัมชุดหนึ่งแกว9งกลับไปกลับมา 60 รอบใน 1 นาที บนโลก ถ?านำลูกตุ?มดังกล9าวไปแกว9งบนดาว


ดวงอื่น พบว9าแกว9งกลับไปกลับมาเพียง 50 รอบ ใน 1 นาที ค9าความเร9งเนื่องจากแรงโน?มถ9วงบนดาวดังกล9าวมี
ค9าเปIนกี่เท9าของค9าความเร9ง เนื่องจากแรงโน?มถ9วงของโลก (PAT2-63)
5
1)
9
9
2)
5
5
3) k
9

9
4) k
5
)5
5)
79

4. ติดวัตถุมวล M เข?ากับปลายสปริงและวางบนพื้นเรียบลื่น ดังภาพ ก เมื่อดึงวัตถุมวล M แล?วปล9อยให?


เคลื่อนที่แบบฮาร$มอนิกอย9างง9าย พบว9าวัตถุมวล M เคลื่อนที่ครบ 1 รอบ ใช?เวลา √2 วินาที จากนั้น ติดวัตถุ
มวล1.0 กิโลกรัม บนวัตถุมวล M ดังภาพ ข และทำให?วัตถุทั้งสองเคลื่อนที่แบบฮาร$มอนิกอย9างง9าย พบว9าวัตถุ
ทั้งสองเคลื่อนที่ครบ 1 รอบใช?เวลา √3 วินาที (สามัญ 64)

จงหาขนาดของความเร9งเชิงมุมและขนาดของมวล M
√)M
1) และ 3.0
)
2) √2e และ 1.2
3) √2e และ 2.0
4) 2√2e และ 2.0
5) 2√2e และ 3.0

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 43

5. (9 สามัญ 60) ใช?สปริงเบาค9าคงตัวสปริง k แขวนก?อนมวล m ไว?ให?อยู9นิ่งในแนวดิ่ง จากนั้นดึงก?อนมวลให?


ขยับต่ำกว9าระดับสมดุลเล็กน?อย และปล9อยให?เคลื่อนที่กลับเอง ก?อนมวลจะใช?เวลานานเท9าไรจึงเคลื่อนที่กลับ
มาถึงตำแหน9งสมดุลอีกครั้ง

" M " )Q "


1. 2πk 2. kP 3. kP
P ) 7

" )M "
4. πk 5. kP
P 5

6. พิจารณารูปสายลูกตุ?มแกว9งไปได?ครึ่งทางก็ชนหมุดแล?วแกว9างต9อ เวลาที่ใช?แกว9งจากตำแหน9ง A ไป B เปIนกี่


เท9าของเวลาจาก B ไป C
*
1)
)
*
2)
√)

3) 1

4) √2
5) 2

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 44

บทที่ 9 คลื่น
9.1 ชนิดของคลื่น
Ø แบ9งจากการอาศัยตัวกลางในการแผ9คลื่น
• คลื่นกล (mechanical waves) คือ คลื่นที่อาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ เช9น คลื่นเสียง คลื่น
น้ำ คลื่นในเส?นเชือก
• คลื่นแม9เหล็กไฟฟXา (electromagnetic waves) คือ คลื่นที่ไม9อาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่
ซึ่งเปIนคลื่นที่สามารถแผ9ไปในบริเวณที่เปIนสุญญากาศได?

Ø แบ9งจากลักษณะการเคลื่อนที่ของอนุภาค
• คลื่นตามยาว (longitudinal waves) คือ คลื่นที่มีทิศทางการถ9ายโอนพลังงาน ทิศเดียวกับ
การสั่นของอนุภาค
• คลื่นตามขวาง (transverse waves) คือ คลื่นที่มีทิศทางการถ9ายโอนพลังงาน ตั้งฉากกับการ
สั่นของอนุภาค
Ø แบ9งจากช9วงเวลาที่รบกวนตัวกลาง
• คลื่นดล (Pulse wave) คือ คลื่นที่เกิดจากการรบกวนตัวกลางแบบไม9ต9อเนื่อง ทำให?เกิดลูก
คลื่นเพียงจำนวนหนึ่ง
• คลื่นต9อเนื่อง (Periodic wave) คือ คลื่นที่เกิดจากการรบกวนตัวกลางแบบต9อเนื่อง ทำให?
เกิดลูกคลื่นสม่ำเสมอ เรียกว9า คลื่นแบบไซน$

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 45

9.2 ส3วนประกอบของคลื่น

Ø อัตราเร็วของคลื่น
R T
- = = fλ =
S U

Ø มุมเฟสของคลื่น

∆$
ผลต9างเฟส ∆∅ = 2π ] ^ = 2πf∆t
T

9.3 การซQอนทับของคลื่น

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 46

9.4 สมบัตขิ องคลื่น


Ø การสะท?อน
การสะท?อนของคลื่น เกิดเมื่อคลื่นเคลื่อนที่ไปกระทบกับขอบเขตของตัวกลาง ทำให?คลื่นส9วนหนึ่ง
กลับมาในตัวกลางเดิม โดยคลื่นที่เคลื่อนที่เข?าหารอยต9อตัวกลาง เรียกว9า คลื่นตกกระทบ (incident
waves) และคลื่นที่เคลื่อนที่ออกจากรอยต9อตัวกลาง เรียกว9า คลื่นสะท?อน (reflected waves)
กฎการสะท?อน

1. รังสีตกกระทบ รังสีสะท?อน และเส?นตั้งฉาก (เส?น


ปกติ) อยู9ในระนาบเดียวกันเสมอ
2. มุมตกกระทบมีค9าเท9ากับมุมสะท?อนเสมอ

สมบัติการสะท?อน

- ความถี่ (f) ความเร็ว(-) และความยาวคลื่น(λ) ของคลื่นสะท?อนมีค9าคงที่


- ถ?าเปIนการสะท?อนแบบไม9สูญเสียพลังงาน ค9าแอมพลิจูดมีค9าคงที่
• การสะท?อนของคลื่นในเส?นเชือก
- ถ?าปลายเชือกมัดไว?แน9น คลื่นที่สะท?อนจะมีเฟสเปลี่ยนไป 180° ดังรูป ก
- ถ?าปลายเชือกมัดไว?หลวม ๆ คลื่นที่สะท?อนจะมีเฟสเท9าเดิม ดังรูป ข

รูป ก การสะท?อนของคลื่นในเส?นเชือกปลายตรึงแน9น รูป ข การสะท?อนของคลื่นในเส?นเชือกปลายหลวม

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 47

Ø การหักเห
คลื่นเกิดการหักเหเมื่อเคลื่อนที่ผ9านรอยต9อของตัวกลางที่ต9างกัน ในการหักเหคลื่นจะมีความถี่คงที่ แต9
อัตราเร็ว และความยาวคลื่นเปลี่ยนไปตามกฎของสเนลล$

กฏของสเนลล$
sin θ* v* λ* n)
= = =
sin θ) v) λ) n*

การหักเหของคลื่นผ9านน้ำตื้น น้ำลึก
เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผ9านระหว9างน้ำตื้นและน้ำลึก คลื่นจะมีความยาวคลื่น ความเร็ว และแอมพลิ
จูดในน้ำลึกมากกว3าน้ำตื้น และมีความถี่เท3าเดิม
ถ?าแบ9งลักษณะการหักเหของคลื่นออกเปIน 2 ลักษณะ
1) การหักเหแบบเบนเข?าหาเส?นปกติ เกิดขึ้นเมื่อคลื่น เดินทางเริ่มต?นจากตัวกลางที่มีความเร็ว
มาก หรือความยาวคลื่นมาก ไปสู9ตัวกลางที่มีความเร็วน?อยกว9า หรือความยาวคลื่นสั้นกว9า v* > v)
และ
λ* > λ) จะทำให?มุมหักเหมีค9าน?อยกว9ามุมตกกระทบ θ) < θ*

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 48

2) การหักเหแบบเบนออกจากเส?นปกติ เกิดขึ้นเมื่อคลื่นเดินทางเริ่มต?นจากตัวกลางที่มีความเร็ว น?อย


หรือความยาวคลื่นสั้น ไปสู9ตัวกลางที่มีความเร็วมากกว9า หรือความยาวคลื่นมากกว9า v* < v) และ
λ* < λ) จะทำให?มุมหักเหมีค9ามากกว9ามุมตกกระทบ θ) > θ*
Ø การแทรกสอด
เมื่อคลื่นเคลื่อนที่มาพบกัน จะเกิดการรวมกันตามหลักการซ?อนทับของคลื่น โดยตำแหน9งที่คลื่นมีการ
ซ?อนทับกันแบบเสริม (มีแอมพลิจูดเพิ่มขึ้นเปIน 2 เท9า) เรียกว9า ตำแหน9งปฏิบัพ (antinode : A) และตำแหน9ง
ที่คลื่นมีการซ?อนทับกันแบบหักล?าง (แอมพลิจูด เท9ากับ 0) เรียกว9า ตำแหน9งบัพ (node : N)
สูตรการคํานวณ
สําหรับแนวปฏิบพั ลําดับที< n (A$ )
|S# P − S! P| = nλ
d sinθ = nλ

สําหรับแนวบัพลําดับที< n (N$ )
0
|S# P − S! P| = Nn − O λ
.
0
d sinθ = Nn − O λ
.

Ø การเลี้ยวเบน
เสียงสามารถเคลื่อนที่อ?อมไปยังด?านหลังของสิ่งกีดข?างได? เช9นเดียวกับคลื่นน้ำเมื่อเสียงเคลื่อนที่ผ9าน
ช9องแคบ คลื่นส9วนที่ลอดออกไปหลังช9องแคบจะสร?างคลื่นลูกใหม9หลังช9องนั้น และคลื่นที่เกิดใหม9จะสามารถ
เลี้ยวกระจายออกไปทั้งด?านซ?ายและขวาของแนวคลื่นที่ลอดไป ปรากฏการณ$นี้เรียกว9า การเลี้ยวเบนของเสียง
ซึ่งจะเกิดได?ดีก็ต9อเมื่อช3องมีขนาดเล็กกว3าความยาวคลื่น

9.5 คลื่นนิ่ง
คลื่น 2 ขบวนที่มีความยาวคลื่น อัตราเร็ว และแอมพลิจูดเท9ากัน เคลื่อนที่เข?าหากันในแนวเส?นตรง
จะทำให?เกิดการซ?อนทับกันของคลื่น

ตัวอย3างขQอสอบเรื่องคลื่น

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 49

ตัวอย3างขQอสอบ บทที่ 9 คลื่น


1) คลื่นผิวน้ำหน?าตรงเคลื่อนที่จากบริเวณ A เข?าสู9บริเวณ B และเกิดการหักเห ซึ่งคลื่นมีมุมตกกระทบ 30
องศา และมุมหักเห 9 โดยบริเวณ A สันคลื่นที่อยู9ถัดกันมีระยะห9าง 10 เซนติเมตร และคลื่นมีอัตราเร็ว 25
เซนติเมตรต9อวินาที
กำหนดให? sin9 =0.60 และ cos9 = 0.80
เมื่อคลื่นเคลื่อนที่เข?าไปยังบริเวณ : สันคลื่นที่อยู9ถัดกันอยู9ห9างกันกี่เซนติเมตร และคลื่นมีอัตราเร็วกี่เซนติเมตร
ต9อวินาที (A-Level66)
ข?อ ระยะห9างของสันคลื่นที่อยู9ถัดกัน อัตราเร็วของคลื่น
(เซนติเมตร) (เซนติเมตรต9อวินาที)
1. 8 21
2. 8 30
3. 12 21
4. 12 30
5. 12 40

2) คลื่นกลเคลื่อนที่ด?วยความเร็ว 2.0 เมตร/วินาที เมื่อพิจารณาอนุภาคหนึ่งที่ตำแหน9งใดตำแหน9งหนึ่งใน


ตัวกลาง พบว9า ความสัมพันธ$ระหว9างการกระจัดกับเวลาเปIนดังกราฟ

M
ณ เวลาหนึ่งๆ อนุภาคสองอนุภาคใดๆ ในตัวกลาง ที่มีเฟสต9างกัน เรเดียน จะอยู9ห9างกันกี่เมตร
4
1. 0.1 เมตร
2. 0.125 เมตร
3. 0.25 เมตร
4. 0.5 เมตร
5. 1.0 เมตร

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 50

3) นักเรียนกลุ9มหนึ่งศึกษาเรื่องคลื่นผิวน้ำ โดยทำให?เกิดคลื่นหน?าตรงบนถาดคลื่น พบว9า เกิดคลื่นเคลื่อนที่บน


ผิวน้ำ ซึ่งหน?าคลื่นเคลื่อนที่ได?ระยะทาง 40 เซนติเมตร ภายในระยะเวลา 1 วินาที วาดภาพแสดงคลื่นผิวน้ำ ณ
เวลา หนึ่งได?ดังภาพที่ 1

ภาพที่ 1 แสคงคลื่นผิวน้ำหน?าตรง โดยเส?นตรงแทนสันคลื่น และลูกศรแทนทิศทางการแผ9ของคลื่น

จากนั้นนักเรียนวาดภาพหน?าคลื่นใหม9ที่เกิดขึ้นจากหน?าคลื่นเดิมดังภาพที่ 2 และะบุว9ารัศมีของหน?าคลี่น
วงกลมเล็กๆ (เส?นประ) มีขนาดเท9กับความยาวคลื่นของคลื่นผิวน้ำ

ภาพที่ 2 แสดงหน?าคลื่นคลื่นใหม9ของคลื่นผิวน้ำและภาพขยายแสดงจุดตัดระหว9างหน?าคลื่นที่นักเรียน
วาด
คลื่นผิวน้ำนี้ความถี่กี่เฮิรตซ$และภาพหน?าคลื่นใหม9ที่นักเรียนวาดถูกต?องหรือไม9 เพราะเหตุใด (A-level66)
ข?อ ความถี่ (เฮิรตซ$) ความถูกต?องของภาพหน้ำคลื่นใหม9
1. 1 ไม9ถูกต?อง เพราะหน้ำคลื่นใหม9ต?องเกิดจากการลากเส?นสัมผัสทีเ่ ชื่อมหน?าคลื่น
วงกลมเล็ก ๆ
2. 4 ไม9ถูกต?อง เพราะหน?าคลื่นใหม9ต?องเกิดจากการลากเส?นสัมผัสทีเ่ ชื่อมหน?าคลื่น
วงกลมเล็ก ๆ
3. 4 ถูกต?อง เพราะหน?าคลื่นใหม9ต?องเกิดจากการลากเส?นเชือ่ มจุดตัดระหว9างหน?า
คลื่นวงกลมเล็ก ๆ
4. 5 ไม9ถูกต?อง เพราะหน?าคลื่นใหม9ต?องเกิดจากการลากเส?นสัมผัสทีเ่ ชื่อมหน?าคลื่น
วงกลมเล็ก ๆ
5. 5 ถูกต?อง เพราะหน?าคลื่นใหม9ต?องเกิดจากการลากเส?นเชือ่ มจุดตัดระหว9างหน?า
คลื่นวงกลมเล็ก ๆ

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 51

4) ข?อใดไม9ใช9สมบัติของคลื่นกล (NETSAT-1/65)
1) คลื่นกลเดินทางบนแท9งเหล็กในสุญญากาศ
2) คลื่นเสียงเกิดการแทรกสอดได?
3) คลื่นเสียงเกิดบีตส$เมื่อแหล9งกำเนิดมีความถี่ต9างกันที่ 20 เฮิร$ต
4) คลื่นน้ำจะเคลื่อนที่เร็วขึ้นเมื่อความลึกลดลง
5) สังเกตคลื่นในเส?นเชือกขบวนหนึ่งพบว9า มีการสั่นขึ้นลงจำนวน 40 รอบในเวลา 30 วินาที และสันคลื่นหนึ่ง
เคลื่อนที่ได?ระยะทาง 4.2 เมตร ใน 10 วินาที คลื่นขบวนนี้มีความยาวคลื่นกี่เมตร
1) 0.11
2) 0.32
3) 0.56
4) 1.8
5) 3.2
6) ถ?าความเร็วคลื่นน้ำมีค9า 60 cm/s นำเอาแท9งไม?สองแห9ง จุ9มปลายไม?ลงแตะผิวน้ำให?แท9งไม?ทั้งสองอยู9ห9าง
กัน 10 cm สั่นแท9งไม?ทั้งคู9ด?วยความถี่ 30 Hz ข?อใดถูก (NETSAT-2/65)
1. ถ?าสั่นแท9งไม?ทั้งคู9พร?อมกัน ( in phase) ที่จุดกึ่งกลางระหว9างแท9งไม?จะเปIนจุดบัพ
2. ถ?าสั่นแท9งไม?ทั้งคู9สลับกัน ( out of phase) ที่จุดห9างจากแท9งไม?แท9งหนึ่งเปIนระยะ 0.5 cm จะ
เปIนจุดปฏิบัพ
3. ที่จุดกึ่งกลางระหว9างแท9งไม?ทั้งสองห9างจากแนวแท9งไม?เปIนระยะ 20 cm จะเปIนจุดบัพตลอดเวลา
ถ?าแท9งไม?สั่นพร?อมกัน
4. เนื่องจากคลื่นมีการเคลื่อนที่ตลอดเวลาจึงสรุปอะไรไม9ได?

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 52

บทที่ 10 แสงเชิงคลื่น
แสง เปIนคลื่นแม9เหล็กไฟฟXาที่ไม9จำเปIนต?องอาศัยตัวกลางในการส9งผ9านพลังงาน อยู9ในช9วงความยาว
คลื่นประมาณ 400 – 700 นาโนเมตร มีอัตราเร็วในสุญญากาศประมาณ 3 × 10% เมตรต9อวินาที

10.1 การแทรกสอดของแสงผ3านสลิตคู3
เมื่อแสงผ9านสลิตคู9ช9องของสลิตจะเปIนเหมือนกับแหล9งกำเนิดอาพันธ$ ทำให?เกิดคลื่น 2 ขบวนที่มี
ลักษณะเหมือนกันทุกประการ เกิดการแทรกสอดของแสง
สูตรการคำนวณ
แถบสว9าง (การแทรกสอดแบบเสริม)
|S# P − S! P| = nλ

d sinθ = nλ
+,
= nλ
-

แถบมืด (การแทรกสอดแบบหักล?าง)
#
|S# P − S! P| = >n − @ λ
!
#
d sinθ = >n − !@ λ
+, 0
= Nn − O λ
- .

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 53

10.2 การเลี้ยวเบนของแสงผ3านสลิตเดี่ยว
เมื่อฉายแสงผ9านสลิตเดี่ยว จะเกิดการเลี้ยวเบนและการแทรกสอดของแสง เกิดแถบสว9างและแถบมือ
บนฉาก โดยแถบสว9างตรงกลางจะกว?างที่สุด
สูตรการคำนวณ
ความกว?างของแถบสว9าง = 2x โดยหา x จากสูตร
W$
= nλ
X
แถบมืด ลำดับที่ n
|S* P − S) P| = wx
y2zw9 = wx
W$
= nλ
X
10.3 การเลี้ยวเบนของแสงผ3านเกรตติง
เกรตติงเปIนอุปกรณ$ที่ประกอบด?วยช9องแคบจำนวนมาก เมื่อแสงเลี้ยวเบนผ9านจะทำให?แสงแต9ละสี
แยกออกจากกัน

สูตรการคำนวณ
ความยาวเกรตติง
เนื่องจากเกรตติงมีจำนวนช9องเยอะมาก ดังนั้นระยะห9างระหว9างแหล9งกำเนิด (d) =
จำนวนช"อง

แถบสว9าง (การแทรกสอดแบบเสริม) แถบมืด (การแทรกสอดแบบหักล?าง)


*
d sinθ = nλ d sinθ = ]n − ^ λ
)
W$ W$ *
X
= nλ = ]n − ^ λ
X )

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 54

บทที่ 10 แสงเชิงคลื่น
1) ในการทดลองการแทรกสอดของแสงผ9านสลิตคู9 นักเรียนกลุ9มหนึ่งศึกษาความสัมพันธ$ะหว9างตำแหน9ง
กึ่งกลางของแถบสว9างอันดับที่ 1 เทียบกับตำแหน9งกึ่งกลางของแถบสว9างกลาง (x) และะยะห9างระหว9างช9อง
สถิต (d) ดังนี้
(1) เตรียมแผ9นสลิตคู9 3 แผ9น ที่มีค9า d ต9างกัน เลเซอร$พอยเตอร$สีเขียว และฉากให?ฉากห9างจาก
แผ9นสลิตคู9 2.0 เมตร
(2) ฉายแสงเลเซอร$ให?ตกกระทบตั้งฉากกับสลิตคู9แผ9นที่ 1 ซึ่งมีค9า d น?อยที่สุด วัดค9า x บนฉาก
บันทึกค9า x ที่วัดได?
(3) ทำซ้ำโดยเปลี่ยนแผ9นสลิตคู9ให?มีค9า d มากขึ้นตามลำดับ
(4) วิเคราะห$ข?อมูลและสรุปผลการทดลอง
พิจารณาข?อความต9อไปนี้
ก. ข?อมูลค9า x ที่ถูกบันทึกคือ ตำแหน9งที่เกิดการแทรกสอดของแสงแบบหักล?าง
ข. เมื่อใช?แผ9นสลิตคู9ที่มี d = 100 µm. ค9า x จะมากกว9า เมื่อใช?แผ9นสลิตคู9ที่มี d = 250 µm.
ค. ถ?านักเรียนกลุ9มนี้ตั้งสมมติฐานว9า “เมื่อค9า d มากกว9า ค9า x จะมากขึ้นตามไปด?วย” การทดลองนี้
สามารถใช?ทดสอบสมมติฐานดังกล9าวได?
ข?อความใดถูกต?อง (A-level66)
1. ก เท9านั้น
2. ข เท9านั้น
3. ค เท9านั้น
4. ก และ ค เท9านั้น
5. ข และ ค เท9านั้น

2) ฉายแสง A และ B ให?ผ9านช9องสลิตคู9ขนานกันไปบนฉากที่อยู9ห9างออกไประยะหนึ่ง ปรากฏว9าริ้วมืดที่สี่ของ


แสง A จะอยู9ซ?อนพอดีกับริ้วสว9างที่ห?าของแสง B ถ?าแสง A มีความยาวคลื่น 5.8 x 10-7 แสง B จะมีความยาว
คลื่นเท9าใดในหน9วยของเมตร (โควตา มข.)
1. 4.06 x 10-7
2. 4.67 x 10-7
3. 5.22 x 10-7
4. 6.53 x 10-7

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 55

3) ฉายแสงเลเซรอ$ความยาวคลื่น 650 นาโนเมตร ตกกระทบตั้งฉากกับเกรตติง พบว9า เกิดจุดสว9างกลาง และ


จุดสว9างอันดับที่ 1 ที่ตำแหน9งบนฉากซึ่งอยู9ห9างจากเกรตติง 1.0 เมตร ดังภาพ

พิจารณาข?อความต9อไปนี้
ก. ระยะห9างระหว9างช9องของเกรตติงมีค9าเท9ากับ 5.0 ไมโครเมตร
ข. ถ?าฉายแสงเลเซอร$ที่มีความยาวคลื่นน?อยกว9า 650 นาโนเมตร ระยะห9างระหว9างจุดสว9างจะมีค9า
เพิ่มขึ้น
ค. ถ?าใช?เกรตติงอันใหม9 แล?วพบว9าระยะห9างระหว9างจุดสว9างมีค9าน?อยลง แสดงว9าระยะห9างระหว9าง
ช9องของเกรตติงจะมีค9ามากกว9าเดิม
ข?อใดความใดถูกต?อง
1. ก เท9านั้น 2. ข เท9านั้น 3. ค เท9านั้น
4. ก และ ค 5. ข และ ค
4) ในการทดลองเรื่องสลิตคู9ของยังส$พบว9า เมื่อให?แสงที่ประกอบด?วยสองความยาวคลื่น x* = 750 นาโน
เมตร x) = 900 นาโนเมตร ส9องตั้งฉากไปยังสลิตคู9ที่มีระยะห9างระหว9างช9อง 2 มิลลิเมตร พบว9าแถบสว9าง
จากคลื่นทั้งสองที่ปรากฏบนฉากที่อยู9ห9างออกไป 2 เมตร จะซ?อนกันครั้งแรก ที่ระยะห9างจากแถบสว9างตรง
กลางกี่มิลลิเมตร (โควตา มข.)
1. 3.0
2. 4.5
3. 6.0
4. 9.0
5) ทดลองฉายแสงผ9านสลิตคู9อันหนึ่งในห?องมืด เพื่อศึกษาผลของการแทรกสอดของแสงแล?วสังเกตระยะห9าง
ของจุดกึ่งกลางระหว9างแถบสว9างแถบแรกกับแถบสว9างกลาง
จากการทดลองในครั้งนี้ หากต?องการให?ระยะห9างของจุดกึ่งกลางระหว9างแถบสว9างแรกกับแถบสว9างกลางมีค9า
มากขึ้น จะต?องปรับการทดลองตามข?อใด (PAT2 มี.ค. 64)
1. เลื่อนฉากเข้าใกล้แผ่นสลิต 2. ปรับความถี่ของแสงให้มากขึ้น
3. ปรับความเข้มของแสงให้มากขึ้น 4. ใช้คลื่นแสงที่มีความยาวคลื่นลดลง
5. เปลี่ยนแผ่นสลิตที่มีระยะห่างระหว่างช่องสลิตให้แคบลง

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 56

บทที่ 11 แสงเชิงรังสี

11.1 การสะทQอนของแสง

กฎการสะท้อนแสง มีอยู่ 2 ข้อ คือ


1. รังสีตกกระทบ รังสีสะท้อน และเส้นแนวตั้งฉากหรือเส้นปกติจะอยู่ในในระนาบเดียวกัน
2. มุมตกกระทบเท่ากับมุมสะท้อน

11.2 การหักเหของแสง
คลื่นเกิดการหักเหเมื่อเคลื่อนที่ผ9านรอยต9อของตัวกลางที่ต9างกัน ในการหักเหคลื่นจะมีความถี่คงที่ แต9
อัตราเร็ว และความยาวคลื่นเปลี่ยนไปตามกฎของสเนลล$

Ø กฏของสเนลล$
H&' Y$ Z$ T$ '!
= = =
H&' Y! Z! T! '$

Ø การสะท?อนกลับหมดของแสง
เมื่อแสงเดินทางจากตัวกลางหนึ่งแสงที่ตกกระทบส9วนหนึ่งจะเกิดการสะท?อนและอีกส9วนหนึ่งจะเกิดการหักเห
แต9มีบางกรณีที่แสงเดินทางจากตัวกลางที่มีค9าดัชนีหักมากไปยังตัวกลางที่มีดัชนีหักเหน?อย แล?วทำให?มุมหักเห
โตกว9ามุมตกกระทบ และหากมุมหักเหมีค9าเท9ากับ 90 องศา เราจะเรียกมุมตกกระทบที่ทำให?มุมหักเหมีค9าเปIน
90 องศาว9า มุมวิกฤต

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 57

11.3 การมองเห็นและการเกิดภาพ
Ø ลึกจริง ลึกปรากฏ
ลึกจริง 'วัตถุ
• มองวัตถุตั้งฉากกับผิวตัวกลาง =
ลึกปรากฏ 'ตา

ลึกจริง 'วัตถุ JKHYวัตถุ


• มองวัตถุเอียงทำมุมกับผิวตัวกลาง =
ลึกปรากฏ 'ตา JKHYตา

'วัตถุ
• ระยะร9น ลึกจริง - ลึกปรากฏ = 1 -
'ตา

Ø ภาพจากกระจกราบ
ระยะวัตถุ (S) = ระยะภาพ (S[ )

ขนาดภาพ (y) = ขนาดวัตถุ ({ [ )


R% \%
กำลังขยาย (m) = = =1
R \

Ø ภาพจากกระโค?ง

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 58

• กระจกนูน
- เปIนกระจกกระจายแสง
- ให?ภาพเสมือน หัวตั้ง ขนาดเล็กกว9าวัตถุเสมอ
• กระจกเว?า
- เปIนกระจกรวมแสง
- ให?ทั้งภาพจริง และภาพเสมือน (ขึ้นอยู9กับระยะที่วาง)
S > C เกิดภาพจริง หัวกลับ ขนาดเล็กกว9าวัตถุ
S = C เกิดภาพจริง หัวกลับ ขนาดเท9ากับวัตถุ
C > S > f เกิดภาพจริง หัวกลับ ขนาดใหญ9กว9าวัตถุ
S = f เกิดภาพจริง ที่ระยะอนันต$ หรือไม9เกิดภาพบนฉากรับภาพ
S < f เกิดภาพเสมือน หัวตั้ง ขนาดเล็กกว9าวัตถุ
สูตรการคำนวณ เกี่ยวกับกระจกและเลนส1
]
• รัศมีความโค?ง f=
)
* * *
• ความยาวโฟกัส = +
^ H H%
H% \% ^ H% %^
• กำลังขยาย m= = = =
H \ H%^ ^

เงื่อนไข
กระจกเว?า เลนส$นูน f เปIน + กระจกนูน เลนส$เว?า f เปIน –
ภาพจริง S& , = & , m เปIน + ภาพเสมือน S& , = & , m เปIน -
Ø แสงสีและการมองเห็น
• การผสมแสงสี
แสงปฐมภูมิ ได?แก9 สีแดง สีเขียว และสีน้ำเงิน เนื่องจากสามารถทำให?เซลล$รูปกรวย (ภายใน
ตาของเรา) ตอบสนองในรูปแบบต9าง ๆ กัน และสามารถผสมกันให?เห็นเปIนต9าง ๆ

คนที่มีเซลล$รูปกรวยทำงานบกพร9องจะมองเห็นสีผิดเพี้ยนไปจากคนปกติ เรียกว9า ตาบอดสี

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 59

ตัวอย3างขQอสอบ บทที่ 11 แสงเชิงรังสี


1) นักเรียนคนหนึ่งที่มีการมองเห็นสีปกติ ทำการสัเกตสีของวัตถุ A ภายใต?แสงสีต9าง ๆ ได?ผลดังตาราง

กำหนดให? - แผ9นกรองแสงสีที่ใช?มีคุณภาพสูง
- การผสมแสงสีปฐมภูมิเปIนดังภาพ
จากข?อมูล ถ?ามองวัตถุ A ภายใต?แสงขาว จะเห็นเปIนสีใด (A-level66)
1. สีแดง
2. สีขาว
3. สีเหลือง
4. สีแดงม9วง
5. สีน้ำเงินเขียว
2) (PAT2 ก.พ. 62) วางวัตถุชิ้นหนึ่งห9างจากกระจกนูนเปIนระยะ 20 cm ถ?ากระจกนูนนี้มีความยาวโฟกัสเท9ากับ
10 cm จะเกิดภาพที่ตำแหน9งใด และระยะห9างจากกระจกเปIนเท9าใด ตามลำดับ
1. หน?ากระจก ที่ระยะห9าง 6.67 cm
2. หน?ากระจก ที่ระยะห9าง 10 cm
3. หน?ากระจก ที่ระยะห9าง 30 cm
4. หลังกระจก ที่ระยะห9าง 6.67 cm
5. หลังกระจก ที่ระยะห9าง 20 cm

3) วางวัตถุไว?หน?ากระจกโค?ง 28 เซนติเมตร พบว9า เกิดภาพจริงขนาดเปIน 2 เท9าของวัตถุ วัตถุอยู9ห9างจาก


กระจกโค?งกี่เซนติเมตร (แบบระบายคำตอบเปIนตัวเลข) (A-level65)

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 60

4) รุ?งเกิดจากการหักเหของแสงอาทิตย$ผ9านหยดน้ำ โดยแสงขาวจากดวงอาทิตย$ที่ผ9านเข?าสู9หยดน้ำจะถูก
กระจายออกเปIนแสงสีต9างๆ แล?วสะท?อนภายในหยดน้ำ ออกสู9อากาศเข?าสู9ตาผู?สังเกต
พิจารณารุ?งปฐมภูมิที่เกิดจากการสะท?อนของแสงภายในหยดน้ำ 1 ครั้ง แล?วออกสู9อากาศ
ดังภาพอย9างง9ายซึ่งพิจารณาแสงเพียง 2 สี เท9านั้น

ในการหักเหของแสงอาทิตย$ที่เข?าสู9หยดน้ำ เปรียบเทียบมุมหักเหของแสงสี A และ สี B และเปรียบเทียบ


ดรรชนีหักเหของน้ำสำหรับแสงสี A และ B ได?เปIนอย9างไร (A-level66)
ข?อ มุมหักเหของแสงสี ดรรชนีหักเหของน้ำสำหรับแสงสี
1. A มีค9ามากกว9า A มีค9ามากกว9า
2. A มีค9ามากกว9า B มีค9ามากกว9า
3. B มีค9ามากกว9า A มีค9ามากกว9า
4. B มีค9ามากกว9า B มีค9ามากกว9า
5. B มีค9ามากกว9า มีค9าเท9ากัน

5) เมื่อฉายแสงเลเซอร$เข?าสู9แท9งพลาสติกรูปครึ่งวงกลมตามแนวรัศมี แสงเลเซอร$ที่ออกจากด?านระนาบจะมีมุม
วิกฤตมีค9าเท9ากับ 30 องศา ดังภาพ
กำหนดให? อัตราเร็วของแสงในอากาศมีค9าเท9ากับ 3.0 x 108 เมตรต9อวินาที ค9าดรรชนีหักเหของอากาศมีค9า
เท9ากับ 1

อัตราเร็วของแสงในแท9งพลาสติกจะมีค9ากี่เมตรต9อวินาที และถ?าให?แสงเลเซอร$เดิมเคลื่อนที่จากแท9งพลาสติก
ไปยังอากาศด?วยมุมตกกระทบน?อยลงเปIน 20 องศาแสงจะเคลื่อนที่อย9างไร

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 61

1. 1.5 x 108 เมตรต9อวินาที่ และ แสงจะหักเหออกสู9อากาศด?วยมุมหักเหที่น?อยกว9า 20 องศา


2. 1.5 x 108 เมตรต9อวินาที่ และ แสงจะหักเหออกสู9อากาศด?วยมุมหักเหที่มากกว9า 20 องศา
3. 1.5 x 108 เมตรต9อวินาที และ แสงจะสะท?อนกลับหมดโดยไม9ออกจากตัวกลาง
4. 3.0 x 108 เมตรต9อวินาที่ และ แสงจะหักเหออกสู9อากาศด?วยมุมหักเหที่มากกว9า 20 องศา
5. 3.0 x 108 เมตรต9อวินาที และ แสงจะสะท?อนกลับหมดโดยไม9ออกจากตัวกลาง
6) วางวัตถุไว?หน?าเลนส$อันหนึ่งเปIนระยะ 40 เซนติเมตร พบว9าเกิดภาพหัวดั้งขนาดเปIน 2 เท9าของวัตถุ ถ?า
ต?องการให?เกิดภาพหัวตั้งขนาดเปIน 4 เท9าของวัตถุ จะต?องให?เลนส$ห9างจากวัตถุกี่เซนติเมตร (PAT2 ก.พ. 63)
1. 20
2. 33
3. 50
4. 60
5. 100

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 62

บทที่ 12 เสียง

คลื่นเสียง เปIนคลื่นกลตามยาว เกิดจากการสั่นของแหล9งกำเนิดเสียง และถ9ายโอนพลังงาน ทำให?อนุภาค


ตัวกลางสั่น เมื่อคลื่นเสียงเคลื่อนที่ผ9านอากาศจะทำให?มีการเปลี่ยนแปลงการกระจัดของอนุภาคอากาศ และมี
การเปลี่ยนแปลงความดันอากาศ โดยกราฟการกระจัดของอนุภาคอากาศกับตำแหน9ง และกราฟความดัน
อากาศที่เปลี่ยนแปลงกับตำแหน9งมีลักษณะเปIนคลื่นรูปไซน$ ที่มีเฟสต9างกัน 90 องศา

12.1 อัตราเร็วเสียง
อัตราเร็วเสียงขึ้นกับความหนาแน9นของตัวกลาง และอุณหภูมิของอากาศ
อัตราเร็วเสียงในอากาศหาได?จาก v = 331 + 0.6t
R T
P = = fλ = = 331 + 0.6T1
S U
12.2 สมบัติของเสียง
Ø การสะท?อน
การสะท?อนของเสียงขึ้นอยู9กับลักษณะของผิวที่สะท?อน โดยพื้นผิวแข็งจะสะท?อนเสียงได?ดีกว9าผิวอ9อนนุ9ม

- เมื่อเสียงไปตกกระทบวัตถุที่มีขนาดใหญ9กว9าความยาวคลื่นเสียง เสียงจะเกิดการสะท?อน
- หากวัตถุมีขนาดเล็กกว1าความยาวคลื่นเสียง เสียงจะไม1เกิดการสะท?อน แต1จะเลี้ยวอ?อมไปทางอื่น
- หากมีเสียงสะท?อนจากหลายแหล9ง มาถึงผู?ฟ©งในช9วงเวลาที่ต9างกันมากกว9า 0.01 วินาที จะทำ
ให?ได?ยินเสียงสะท?อนหลายเสียง เรียกว9าเกิด เสียงก?อง

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 63

Ø การหักเห
ขณะเกิดฟXาคะนองบางครั้งเราเห็นฟXาแลบแต9ไม9ได?ยินเสียงฟXาร?อง เนื่องจากอากาศเหนือผิวโลกมีอุณหภูมิไม9
เท9ากัน โดยอากาศบริเวณที่ห9างจากผิวโลกจะมีอุณหภูมิต่ำกว9าอากาศบริเวณใกล?ผิวโลกเสียงฟXาร?องที่เกิดขึ้น
บนท?องฟXาจะเคลื่อนที่ลงมายังพื้นโลกจากอากาศเย็นด?านบนลงมายังอากาศร?อนด?านล9าง ทำให?อัตราเร็ว
เพิ่มขึ้นที่ละน?อย เกิดการหักเหของเสียงฟXาร?องโดยมีมุมหักเหโตขึ้นทีละน?อย เมื่อต่ำถึงระดับหนึ่งจนสะท?อน
กลับหมดขึ้นสู9อากาศด?านบนแทนที่จะเคลื่อนที่ลงมายังพื้นดิน เราจึงไม9ได?ยินเสียงฟXาร?อง
• การหักเหของเสียงในอากาศ

• การคำนวณ ใช?กฎของสเนลล$ (เหมือนเรื่องคลื่น)

R&'Y$ A$ _$ '! U$
= = = =k
R&'Y! A! _! '$ U!
Ø การแทรกสอด
สูตรการคำนวณ

สำหรับแนวปฏิบัพลำดับที่ n (A' )
|S* P − S) P| = nλ
d sinθ = nλ

สำหรับแนวบัพลำดับที่ n (N' )
*
|S* P − S) P| = ]n − ^ λ
)
*
d sinθ = ]n − ^ λ
)

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 64

Ø การเลี้ยวเบน

เมื่อเสียงเคลื่อนที่ผ9านช9องแคบ คลื่นส9วนที่ลอดออกไปหลังช9องแคบจะสร?างคลื่นลูกใหม9หลังช9องนั้น และ


คลื่นที่เกิดใหม9จะสามารถเลี้ยวกระจายออกไปทั้งด?านซ?ายและขวาของแนวคลื่นที่ลอดไป ปรากฏการณ$นี้
เรียกว9า การเลี้ยวเบนของเสียง ซึ่งจะเกิดได?ดีก็ต9อเมื่อช3องมีขนาดเล็กกว3าความยาวคลื่น

12.3 ความเข?มเสียง
เสียงที่ออกมาจากจุดกำเนิดจะมีลักษณะแผ9ออกเปIนทรงกลมคล?ายลูกบอล กว?างออกไปเรื่อย ๆ

สูตรการคำนวณ I = 10 = 234
0
'

ความเข?มเสียงที่ดังที่สุดที่หูคนปกติทนได? I'5, = 1 w/m.


ความเข?มเสียงต่ำสุดที่หูคนปกติได?ยิน คือ I'67 = 10"#! w/m.
ความเข?มสัมพัทธ$ คือ อัตราส9วนของความเข?มเสียงที่จุดใด ๆ กับความเข?มเสียงที่น?อยที่สุดที่หูของคนปกติได?ยิน
`
จะได?ว9า Iสัมพัทธ% =
`&'(
`$ a$ b!!
หากเปIนการเปรียบเทียบความเข?มเสียง 2 ค9า สามารถหาได?จากสูตร = ×
`! a! b!$

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 65

12.4 ระดับเสียง
การบอกความดังหรือเบาของเสียงด?วยความเข?มเสียงที่ผ9านมานั้นจะเห็นว9าช9วงจากเสียงเบาที่สุด ไปหาดังที่สุด
มีช9วงมากกว9ากันถึง 10#! เท9า จึงไม9เหมาะจะใช?บอกถึงความดังหรือเบา จึงเปลี่ยนมาใช?การบอกความดังหรือ
เบาด?วยค9าระดับเสียง ซึ่งเทียบมาจากความเข?มเสียง โดยใช?ลอการึทึม
8 8
β = 10log = 10log
8()* #9+,'

• ระดับเสียงที่ดังที่สุดที่ทนฟ©งได?เท9ากับ 120 dB
• ระดับเสียงที่เบาที่สุดที่สามารถได?ยินเท9ากับ 0 เดซิเบล
• หากเปIนการหาผลต9างระดับเสียง 2 ค9า สามารถหาได?จากสูตร
8' a! b!$
β! − β# = 10log = 10log ×
8, a$ b!!

12.5 บีตส$
การแทรกสอดของเสียง 2 ขบวนที่มีความถี่ต9างกันเล็กน?อย (ต9างกันไม9เกิน 7 Hz)
สูตรการคำนวณความถี่บีต f2 = |f0 − f. |
• ความดังหรือเบาของเสียง ขึ้นกับแอมพลิจูดของคลื่นเสียง ถ?าคลื่นเสียงมีแอมพลิจูดสูง เสียง
จะดัง ถ?าคลื่นเสียงมีแอมพลิจูดต9าง เสียงจะเบา
• ระดับความสูงต่ำของเสียง จะขึ้นกับความถี่ของคลื่นเสียง ถ?าคลื่นเสียงมีความถี่สูง เสียงจะ
แหลม เรียกระดับเสียงสูง ถ?าคลื่นเสียงมีความถี่ต่ำ เสียงจะทุ?ม เรียกระดับเสียงต่ำ
• ช9วงความถี่ของเสียงที่หูคนปกติจะได?ยินคือช9วง 20 – 20000 เฮิรตซ$ เท9านั้น

12.6 คลื่นนิ่งของเสียง และการสั่นพ?องของเสียง


คลื่น 2 ขบวนที่มีความยาวคลื่น อัตราเร็ว และแอมพลิจูดเท9ากัน เคลื่อนที่เข?าหากันในแนวเส?นตรง จะทำให?เกิด
การซ?อนทับกันของคลื่น

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 66

12.7 การสั่นพ?องของเสียง
เมื่อวัตถุสั่นอย9างอิสระ วัตถุจะสั่นด?วยความถี่ธรรมชาติค9าหนึ่ง หากวัตถุถูกกระตุ?นด?วยความถี่เท9ากับ หรือ
ใกล?เคียงกับความถี่ธรรมชาติของวัตถุอย9างต9อเนื่อง วัตถุก็จะเกิดการสั่นพ?อง หรือ เรโซแนนซ$ และเรียกว9า
ความถี่ที่ทำให?เกิดการสั่นพ?องนี้ว9า ความถี่เรโซแนนซ$ (Resonant frequency)
Ø ท9อปลายป4ดหนึ่งข?าง หลอดเรโซแนนซ$, หลอดกำทอน, กระบอกสูบ/ลูกสูบ, กระบอกตวง จะได?

เมื่อได?ยินเสียง ดังครั้งที่ 1 (เกิดการสั่นพ?องครั้งแรก)


:
L=
2
ดังนั้น λ= 4L

เมื่อได?ยินเสียง ครั้งที่ 2 (เกิดการสั่นพ?องครั้งที่ 2)


$: 2:
L=
2
ดังนั้น λ=
$

เมื่อได?ยินเสียง ครั้งที่ 3 (เกิดการสั่นพ?องครั้งที่ 3)


%: 2-
L=
2
ดังนั้น λ=
%

(!7<#): 2-
เมื่อได?ยินเสียงครั้งที่ n (เกิดการสั่นพ?องครั้งที่ n) L=
2
ดังนั้น λ=
(!7<#)
(!7<#)>
ดังนั้น ความถี่เรโซแนนซ$ครั้งที่ n หาได?จากสูตร f=
2-

Ø ท9อออร$แกนปลายเป4ด (เป4ดทั้ง 2 ข?าง)

nv
f$ = = nf0
2L

Ø การสั่นพ?องของลวดขึงตรึงทั้ง 2 ข?าง
nv n √T T = แรงดึงในเส?นเชือก มีหน9วยเปIน นิวตัน
f$ = =
2L 2L √µ B = มวลต9อความยาว มีหน9วยเปIน kg/m

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 67

12.8 ปรากฏการณ$ดอปเพลอร$
เปIนปรากฏการณ$ที่เราได?ยินเสียงจากแหล9งกำเนิดเสียงที่มีความถี่เปลี่ยนไปจากเดิม เนื่องจากการ
เคลื่อนที่สัมพัทธ$ระหว9างแหล9งกำเนิดเสียงกับผู?สังเกต มี 3 กรณี คือ
(1) แหล9งกำเนิดเสียงเคลื่อนที่ ผู?สังเกตอยู9นิ่ง

เมื่อแหล9งกำเนิดเสียงเคลื่อนที่เข?าหาผู?สังเกต ผู?สังเกตจะได?ยินเสียงที่มีความถี่มากขึ้น แต9เมื่อ


แหล9งกำเนิดเคลื่อนที่ออกจากผู?สังเกต ผู?สังเกตจะได?ยินเสียงที่มีความถี่น?อยลง
(2) แหล9งกำเนิดเสียงอยู9นิ่ง ผู?สังเกตเคลื่อนที่
ผู?สังเกตเคลื่อนที่เข?าหาแหล9งกำเนิดจะได?ยินเสียงที่มีความถี่มากขึ้น แต9ผู?สังเกตที่เคลื่อนที่ออกจากแหล9งกำเนิด
เสียงจะได?ยินเสียงที่มีความถี่น?อยลง
(3) แหล9งกำเนิดเสียงและผู?สังเกตเคลื่อนที่
เมื ่ อแหล9 งกำเนิ ดเสี ยงและผู ? สั งเกตเคลื ่ อนที ่ เข? าหากั น ผู ? สั งเกตจะได? ยิ นเสี ยงที ่ มี ความถี ่ มากขึ ้ น แต9 ถ?า
แหล9งกำเนิดเสียงและผู?สังเกตเคลื่อนที่ออกจากกัน ผู?สังเกตจะได?ยินเสียงที่มีความถี่น?อยลง
การคำนวณเรื่องปรากฏการณ$ดอปเพลอร$
("! #"" )
ความถี่ที่ผู?ฟ©งได?ยิน C? = Y/
("! #"# )
เมื่อ f- คือ ความถี่ที่ผู?ฟ©งได?ยิน
f. คือ ความถี่ของแหล9งกำเนิดเสียง
v/ คือ ความเร็วของเสียงในอากาศ
v. คือความเร็วของแหล9งกำเนิดเสียง
v- คือ ความเร็วของผู?สังเกต
("! #"# )
ความยาวคลื่น D=
%#

เนื่องจากความเร็วเปIนปริมาณเวกเตอร$ ดังนั้นในการคำนวณจำเปIนจะต?องคำนึงถึงค9า + , - โดยอาศัย


หลักการคือ ให?เวกเตอร$ที่ชี้จาก L ไป S มีค9าเปIนบวกเสมอ

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 68

12.9 คลื่นกระแทก
เปIนปรากฏการณ$ที่แหล9งกำเนิดเสียงมีความเร็วมากกว9าความเร็วเสียงในอากาศ

v3 1 h
sinθ = = =
v4 M x

ตัวอย3างขQอสอบที่ใชQความรูQเรื่องเสียง
1. (NETSAT-2/65) ข?อใดถูก
1. การเกิดบีตส$จะเกิดที่ความถี่ไม9เกิน 7 Hz
2. ปรากฏการณ$ดอปเปอร$จะเกิดกับคลื่นเสียงเท9านั้น
3. ถ?าแหล9งกำเนิดเสียงและผู?สังเกตเคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียวกัน จะไม9เกิดดอปเปอร$
4. คลื่นแม9เหล็กไฟฟXาสามารถเกิดบีตส$ได?
2. (PAT2 ก.พ. 63) การลดระดับความเข?มเสียงลง 3 dB จะทำให?ความเข?มเสียงลดลงประมาณร?อยละเท9าใด
กำหนดให? log2 = 0.30 , log3 = 0.48 , log4 = 0.60 , log 5 = 0.70 , log6 = 0.78
1. 46
2. 48
3. 50
4. 52
5. 54
3. (PAT2 ก.พ. 62) เมื่อเสียงเคลื่อนที่จากแหล9งกำเนิดหนึ่งมีความถี่เพิ่มเปIน 2 เท9าความยาวคลื่นและอัตราเร็ว
คลื่นเสียงเปIนอย9างไร ถ?าเสียงเคลื่อนที่ในตัวกลางเดิม
1. ความยาวคลื่นเท9าเดิม อัตราเร็วเท9าเดิม
2. ความยาวคลื่นเท9าเดิม อัตราเร็วเพิ่มเปIน 2 เท9า
3. ความยาวคลื่นเพิ่มเปIน 2 เท9า อัตราเร็วเท9าเดิม
4. ความยาวคลื่นลดลงครึ่งหนึ่ง อัตราเร็วเท9าเดิม
5. ความยาวคลื่นลดลงหนึ่งในสี่ อัตราเร็วลดลงครึ่งหนึ่ง
4. (PAT2 ก.พ. 61) แหล9งกำเนิดเสียงจากแหล9งกำเนิดเสียงที่มีความยาวคลื่น 0.75 m และ 0.76 m ความถี่บีต
ที่เกิดจากคลื่นสองแหล9งนี้มีค9าประมาณกี่เฮิร$ต ถ?าอัตราเร็วเสียงในอากาศเท9ากับ 340 m/s
1. 0.2 2. 0.3 3. 3 4. 45. 6

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 69

5. ในการเตรียมงานจุดพลุใกล?ชุมชนหนึ่ง ผู?จัดงานทำการตรวจสอบระดับเสียง
โดยทดสอบจุดพลุที่ทำให?เกิดเสียงที่มีความถี่ประมาณ 1000 เฮิรตซ$ ในสถานที่เตรียมจัดงาน
พบว9า ที่ระยะห9างจากจุดที่ทดสอบ 15 เมตร วัดระดับเสียงได? 140 เดซิเบล
กำหนดให? ความสัมพันธ$ระหว9างระดับเสียงและความเข?มเสียง กับความถี่ที่คนในชุมชนนี้ได?ยินเปIนดังกราฟ

จากผลการทดสอบและกราฟข?างต?น บริเวณที่จุดพลุควรอยู9ห9างจากชุมชนอย9างน?อยที่สุดกี่เมตร คนในชุมชนจึง


ได?ยินเสียงที่ระดับเสียงไม9เกินขีดเริ่มเปลี่ยนของการเจ็บปวด (วิชาสามัญ 65)
1. 1.3 x 10
2. 1.3 x 102
3. 1.5 x 102
4. 1.5 x 103
5. 1.5 x 108

6. นักเรียนศึกษาการบีตส$ของเสียงระหว9างแหล9งกำเนิดเสียงหนึ่งที่มีความถี่ 435 เฮิรตซ$


กับส?อมเสียง 4 อัน ที่มีความถี่ของเสียง ดังตาราง
ถ?าต?องการให?เกิดบีตระหว9างเสียงจากแหล9งกำเนิดกับเสียง สQอมเสียง ความถี่ (เฮิรตซ1)
จากการเคาะส?อมเสียง 1 อัน
A 425
โดยมีความถี่บีตเท9ากับ 5 เฮิรตซ$
B 430
ควรเลือกใช?ส?อมเสียงใด
C 440
และเสียงดังกล9าวจะมีเสียงดังเปIนจังหวะกี่ครั้งใน 2 วินาที
D 445
(วิชาสามัญ 65)
1. ส?อมเสียง A และ 5 ครั้ง 2. ส?อมเสียง B และ 5 ครั้ง 3. ส?อมเสียง C และ 10 ครั้ง
4. ส?อมเสียง D และ 5 ครั้ง 5. ส?อมเสียง D และ 10 ครั้ง

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 70

บทที่ 13 ไฟฟëาสถิต
วัตถุต9าง ๆ ประกอบด?วยโมเลกุล โดยโมเลกุลประกอบด?วยอะตอมของธาตุต9าง ๆ ภายในอะตอมมี
โปรตอนซึ่งมีประจุไฟฟXาบวก และนิวตรอนที่เปIนกลางทางไฟฟXาอยู9รวมกันภายในนิวเคลียส โดยมีอิเล็กตรอน
ซึ่งมีประจุไฟฟXาลบเคลื่อนที่อยู9รอบ ๆ นิวเคลียส

ภาพที่ 1แบบจำลองอะตอม
ที่มา http://www.buzzle.com/images/diagrams/atom-diagram/atom-particles1.jpg

โปรตอนและอิเล็กตรอนมีประจุไฟฟXาเท9ากัน คือ 1.6 × 10%*c คูลอมบ$ ต9างกันที่โปรตอนมีประจุ


ไฟฟXาบวกแต9อิเล็กตรอนมีประจุไฟฟXาลบ โปรตอนถูกยึดให?อยู9ภายในนิวเคลียสด?วยแรงนิวเคลียร$ ซึ่งเปIนส9วน
หนึ่งของแรงเข?ม ส9วนอิเล็กตรอนถูกยึดให?อยู9ในอะตอมด?วยแรงไฟฟXา

13.1 การทำให?วัตถุที่เปIนกลางเกิดปะจุไฟฟXา

§ การขัดถู เป็ นการนําวัตถุที<เป็ นฉนวนไฟฟ้า 2 ชนิด มาถูกนั เป็ นการถ่ายเท


ประจุให้ กนั ซึง< จะทําให้ เกิดประจุไฟฟ้าอิสระขึ Qนบนผิวของวัตถุคนู่ นั Q ๆ ซึง< จะเป็ น
ประจุไฟฟ้าต่างชนิดกันเสมอ

§ การสัมผัส เป็ นการนําวัตถุตวั นําอื<นที<มีประจุไฟฟ้าอิสระอยูแ่ ล้ วมาสัมผัสกับ


ตัวนําที<เราต้ องการ จะเกิดการถ่ายเทประจุอิสระแก่กนั จนมีประจุเท่ากัน ซึง< จะ
ทําให้ ประจุไฟฟ้าอิสระที<ตวั นําได้ รับเป็ นประจุชนิดเดียวกันกับชนิดของประจุ
ไฟฟ้าที<นํามาสัมผัส

§ การเหนี<ยวนํา การนําวัตถุที<มีประจุเข้ าใกล้ วตั ถุที<เป็ นตัวนําไฟฟ้าจะทําให้ เกิด


ประจุชนิดตรงข้ ามกับวัตถุที<มาเหนี<ยวนํา

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 71

13.2 กฎของคูลอมบ$
เมื่อประจุไฟฟXา 2 ประจุ อยู9ห9างกันขนาดหนึ่งจะมีแรงกระทำซึ่งกันและกันเสมอ หากเปIนประจุชนิด
เดียวจะมีแรงผลักกัน หากเปIนประจุต9างชนิดกันจะมีแรงดึงดูดกัน
ชาร$ล โอกุสแต็ง เดอ กูลง นักฟ4สิกส$ชาวฝรั่งเศส ได?ทำการทดลองเพื่อศึกษาแรงระหว9างประจุไฟฟXา
สามารถสรุปได?ดังนี้
“ขนาดของแรงระหว9างประจุไฟฟXาทั้งสองมีค9าแปรผันตามผลคูณขนาดประจุแต9ละตัว
และแปรผกผันกับกำลังสองของระยะห9างระหว9างประจุทั้งสอง”

kq# q !
F=
r!

เนื่องจากแรงเปIนปริมาณเวกเตอร$ ในการคำนวณแรงไฟฟXาลัพธ$จึงต?องรวมแบบเวกเตอร$ นั่นคือต?อง


คำนึงถึงทิศทางด?วย
การหาแรงลัพธ$
- แรงลัพธ$กระทำในระนาบเดียวกัน

- แรงลัพธ$กระทำต9อกันเปIนมุม

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 72

13.3 สนามไฟฟXา
ไมเคิล ฟาราเดย$ ได?นำเสนอแนวคิดว9า ประจุไฟฟXาหนึ่งรับรู?ถึงการมีอยู9ของประจุไฟฟXาอื่น และส9งแรง
ทางไฟฟXากระทำต9อประจุนั้นได? เพราะว9าโดยรอบประจุไฟฟXาหนึ่ง ๆ จะมีสนามไฟฟëาที่แผ9ออกไปทั่ว เมื่อ
ประจุไฟฟXาอีกประจุหนึ่งอยู9ในสนามไฟฟXาของประจุดังกล9าวก็จะรับรู?ถึงแรงทางไฟฟXาที่ประจุนั้นกระทำได?
หากต?องการแสดงว9าในบริเวณหนึ่งมีสนามไฟฟXาหรือไม9 สามารถแสดงได?โดยนำประจุบวก q เรียกว9า
ประจุ ทดสอบ (test charge) ไปวาง ณ ตำแหน9 ง ที ่ ต? องการ หากมี แรงไฟฟX า กระทำต9 อประจุ ทดสอบ ณ
ตำแหน9งนั้น แสดงว9าตำแหน9งนั้นมีสนามไฟฟXา (E)
แรงทางไฟฟXาที่กระต9อประจุทดสอบ (q) ในสนามไฟฟXาหาได?จากสูตร F = Eq

Pd
สนามไฟฟXาของประจุ (Q) หาได?จากสูตร E=
b!

Ø จุดสะเทิน คือจุดที่สนามไฟฟXาลัพธ$มีค9าเปIนศูนย$
13.4 ศักย$ไฟฟXา คือ ค9าพลังงานศักย$ไฟฟXาที่กระทำต9อหนึ่งหน9วยประจุ

e) Pf
V= =
d b

• ศักย$ไฟฟXาของประจุบวก มีค9าเปIนบวก
• ศักย$ไฟฟXาของประจุลบ มีค9าเปIนลบ
• ศักย$ไฟฟXาที่ระยะอนันต$
13.5 งานเนื่องจากการย?ายประจุ
เมื่อประจุมีการเคลื่อนที่จากจุด 1 ไปจุด 2 ด?วยแรงทางไฟฟXา จะส9งผลให?เกิดงาน
W = q(V) − V* )

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 73

13.6 ความสัมพันธ$ระหว9างสนามไฟฟXาและศักย$ไฟฟXา
บริเวณ A และ B เปIนตำแหน9งที่อยู9ในบริเวณที่มีสนามไฟฟXา E โดยอยู9ห9างกันเปIนระยะ d
และมีศักย$ไฟฟXา V1 และ V2 ตามลำดับ

V)* = Ed
หน9วยของสนามไฟฟXา นอกจากเปIนนิวตัน/คูลอมบ$ (N/C) อาจเขียนใหม9ได?เปIน โวลต$ต9อเมตร (V/m)

13.6 ตัวนำทรงกลม
13.7 ตัวเก็บประจุ และค9าความจุไฟฟXา
Ø ค9าความจุไฟฟXา (C)
ตัวจุทรงกลม R
C=
K
q
C=
V
Q
ตัวจุแผ่นคูข่ นาน C=
Ed

Ø พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
1 1 Q) 1 )
Eg = QV = = CV
2 2 C 2
Ø การต9อตัวเก็บประจุ
• การต9อแบบอนุกรม

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 74

ตัวอย3างขQอสอบ บทที่ 13 ไฟฟëาสถิต


1. (PAT2 ก.พ. 62) ตัวนำทรงกลมตัน มีประจุไฟฟXาสุทธิเปIนบวกกระจายตัวอยู9 ข?อใดต9อไปนี้กล9าวผิด
1. ประจุกระจายตัวอยู9ที่ผิวเท9านั้น
2. สนามไฟฟXาจะตั้งฉากกับผิวเสมอ
3. เส?นแรงไฟฟXาเริ่มต?นจากศูนย$กลางทรงกลม และพุ9งออกในแนวรัศมี
4. สนามไฟฟXาภายในตัวนำทรงกลมเปIนศูนย$
5. ศักย$ไฟฟXาที่ทุกตำแหน9งภายในตัวนำทรงกลมเท9ากับศักย$ไฟฟXาที่ผิว

2. (PAT2 ก.พ. 62) ตัวเก็บประจุสองตัวมีค9าความจุเปIน C: และ 2C: ต9ออนุกรมกันและนำทั้งหมดมาต9อกับ


แหล9งจ9ายไฟตรงแรงดันคงที่จนเก็บประจุไฟฟXาเต็ม พลังงานสะสมในตัวเก็บปะจุ C: คิดเปIนกี่เท9าของตัวเก็บ
ประจุ 2C:
1. 0.25
2. 0.5
3. 1.0
4. 2.0
5. 4.0

3. (9 สามัญ 2561) +Q กับ +2Q เปIนจุดประจุอยู9ห9างกันเปIนระยะทาง L จุด A เปIนจุดสนามไฟฟXาเปIนศูนย$


จงหาระยะทางจาก +Q ไปถึงจุด A

*
1. _
7

2. (√2 − 2)_

3. (2 − √2)_
)
4. _
7
*
5. _
4

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 75

4. (PAT2 ก.พ. 63) ตัวนำทรงกลมกลวงรัศมี R มีประจุไฟฟXา Q บนผิวของทรงกลม จงหาสนามไฟฟXา ณ


ตำแหน9งที่ห9างจากศูนย$กลางทรงกลมเปIนระยะ R/2
f
1. k
]

)f
2. k
]

f
3. k
]!

4f
4. k
]!

5. 0

5. (9 สามัญ 2562) แรงไฟฟXาที่โปรตอนมวล m ประจุ q ผลักกันเปIนมีขนาดเปIนกี่เท9าของขนาดของแรงโน?ม


ถ9วงระหว9างโปรตอนคู9เดียวกัน
h j
1. ( ))
i k
P k
2. ( ))
h j
P j
3. ( ))
h k
Pd
4.
h"
h"
5.
Pd

6. (PAT2 ก.พ. 63) ตัวเก็บประจุขนาด 6.0 พิโกฟารัด ต9ออนุกรมกับตัวเก็บประจุขนาด 9.0 พิโกฟารัด โดยตัว
เก็บประจุทั้งสองต9อเข?ากับแหล9งจ9ายไฟฟXากระแตรง 15 โวลต$ ประจุไฟฟXาในตัวเก็บประขนาด 9.0 พิโกฟารัด
เท9ากับกี่คูลอมบ$
1. 1.1 x 10-10
2. 2.3 x 10-10
3. 2.7x 10-11
4. 5.4 x 10-11
5. 1.0 x 10-12

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 76

บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
14.1 กระแสไฟฟXา
กระแสไฟฟXา (I) คือ ปริมาณประจุไฟฟXาที่เคลื่อนที่ในหนึ่งหน9วยเวลา
f 'l
I= = เมื่อ I คือ กระแสไฟฟXา หน9วย แอมแปร$ (A)
S S
Q คือ ขนาดประจุ หน9วย คูลอมบ$ (C)
t คือ เวลา หน9วย วินาที (s)
n คือ จำนวนประจุไฟฟXา
e คือ ขนาดประจุ 1 ตัว โดย D = 1.6 × 10"#0 C
Ø กระแสไฟฟXาในลวดตัวนำ
เมื่อลวดตัวนำวางอยู9ในบริเวณที่มีสนามไฟฟXาจะส9งผลให?อิเล็กตรอนอิสระภายในเส?นลวด
เคลื่อนที่เปIนกระแสของประจุไฟฟXา มีทิศทางการเคลื่อนที่สวนทางกับสนามไฟฟXา
ในอดีตนักวิทยาศาสตร$ได?มีการกำหนดให?กระแสไฟฟXามีทิศทางจากตำแหน9งที่มีศักย$ไฟฟXาสูง
ไปยังตำแหน9งที่มีศักย$ไฟฟXาต่ำ ซึ่งเปIนทิศเดียวกับสนามไฟฟXา และตรงข?ามกับกระแสอิเล็กตรอน แม?
ในภายหลังจะพบว9ากระแสไฟฟXาในตัวนำเกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน แต9การกำหนดทิศทาง
ของกระแสไฟฟXายังยึดตามแบบเดิม
สูตรการคำนวณ I = Ne-A เมื่อ I คือ กระแสไฟฟXา หน9วย แอมแปร$ (A)
N คือ จำนวนอิเล็กตรอนอิสระต9อลูกบาศก$เมตร
หน9วย ตัวต9อลูกบาศก$เมตร (m)* หรือ 50!")
e คือ ขนาดประจุ 1 ตัว โดย e =
1.6 × 10)0& C
v คือ ความเร็วลอยเลื่อนหน9วย เมตรต9อวินาที
(m/s)
A คือ พื้นที่หน?าตัดของลวด หน9วย ตารางเมตร
(m* )
14.2 กฎของโอห$ม
“เมื่ออุณหภูมิคงตัว กระแสไฟฟXาในตัวนำโลหะจะแปรผันตรงกับความต9างศักย$ระหว9างปลายของตัวนำนั้น”
จากกฏของโอห$มจึงได?สมการว9า
V = IR เมื่อ I คือ กระแสไฟฟXา หน9วย แอมแปร$ (A)
V คือ ความต9างศักย$ระหว9างปลายของตัวนำ หน9วย โวลต$
(V)
R คือ ค9าความต?านทานไฟฟXา หน9วย โอห$ม (Ω)

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 77

Ø สภาพต?านทาน และสภาพนำไฟฟXา
สภาพนำไฟฟXา (†) คือ ค9าที่แสดงถึงความสามารถในการนำไฟฟXาของสาร
สภาพต?านทาน (‡) คือ ค9าที่แสดงถึงความสามารถในการต?านทานไฟฟXาของสาร

mX
R=
n

เมื่อ R คือ ค9าความต?านทาน หน9วย โอห$ม (Ω)


‡ คือ สภาพต?านทานไฟฟXา หน9วย โอห$ม.เมตร (Ω.m)
L คือ ความยาวของเส?นลวด หน9วย เมตร (m)
A คือ พื้นที่หน?าตัดของลวด หน9วย ตารางเมตร (m) )
ลวดตัวนำที่ทำจากสารชนิดเดียวกัน สภาพต?านทานของลวดจะมีค9าเท9ากัน แต9ความต?านทาน
อาจมีค9าแตกต9างกัน ขึ้นอยู9กับความยาว และพื้นที่หน?าตัดของลวด

Ø ตัวต?านทาน
ชิ้นส9วนอิเล็กทรอนิกส$ที่มีความต?านทาน เพื่อควบคุมปริมาณกระแสไฟฟXา และความต9างศักย$
• การอ9านค9าความต?านทาน
สี ตัวเลข
R = [AB × 101 ] ± D
ดำ 0
น้ำตาล 1
แดง 2
ส?ม 3
เหลือง 4
เขียว 5
น้ำเงิน 6
ม9วง 7
เทา 8
ขาว 9
ทอง ±5
เงิน ±10

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 78

• การต9อตัวต?านทาน
แบบอนุกรม

แบบขนาน

14.3 พลังงานในวงจรไฟฟXากระแสตรง
Ø พลังงานไฟฟXา
แรงเคลื่อนไฟฟXา หรือ อีเอ็มเอฟ (Electromotive force : emf : E : ‰ ) คือ พลังงานจาก
แหล9งกำเนิดไฟฟXาที่ประจุไฟฟXา 1 หน9วยประจุได?รับ
เราสามารถหาขนาดของแรงเคลื่อนไฟฟXาได?จาก E = I(R + r)
ความต9างศักย$ (V) คือ พลังงานที่ประจุไฟฟXา 1 หน9วยประจุถ9ายโอนให?ส9วนต9าง ๆ ของวงจร
เมื่อประจุเคลื่อนที่ผ9านส9วนต9าง ๆ ของวงจรจะมีความต9างศักย$ระหว9างปลายเปIน ∆V และมี
พลังงานไฟฟXา เท9ากับ Q∆V
o! S
W = QV = ItV = I ) Rt =
]

Ø กำลังไฟฟXา คือ พลังงานไฟฟXาที่ถูกใช?ไปในหนึ่งหน9วยเวลา

>
P=
S

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 79

Ø การคิดค9าไฟ
ค9าไฟ = unit × ราคาต9อหน9วย
aS
เมื่อ Unit =
*:::
14.4 เซลล$ไฟฟXา
ขนาดของแรงเคลื่อนไฟฟXาของเซลล$ไฟฟXา E = I(R + r)
Ø การต9อเซลล$ไฟฟXา
• แบบอนุกรม

• แบบขนาน

14.5 แกลแวนอมิเตอร$
Ø แอมมิเตอร$
I@ R @ = IA R A

Iรวม = IA + I@

Ø โวลต$มิเตอร$

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 80

Vรวม = IA (R A + R ' )

Ø โอห$มมิเตอร$

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 81

ตัวอย3างขQอสอบที่ใชQความรูQเรื่องไฟฟëากระแส
1. (PAT2 ก.พ. 62) แกลแวนอมิเตอร$เครื่องใดต9อไปนี้เมื่อนำไปต9อกับตัวต?านทานชันต$ 500 โอห$ม แล?วจะเปIน
แอมมิเตอร$ที่วัดกระแสไฟฟXาได?สูงที่สุด
กระแสไฟฟXาสูงสุด (Ip , ความต?านทานไฟฟXาของแกลแวนอมิเตอร$ (R p ,
mA) Ω)
1. 10 500
2. 10 1,000
3. 10 2,000
4. 20 250
5. 20 500

2. (PAT2 มี.ค. 60) ลวดโลหะสองเส?นทำจากวัสดุเดียวกัน แต9เส?นหนึ่งมีความต?านทานเปIนสองเท9าของอีกเส?น


หนึ่ง เมื่อนำลวดทั้งสองไปต9อกับเซลล$ไฟฟXาเหมือนกัน ปริมาณใดในลวดทั้งสองที่เท9ากัน
1. กระแสไฟฟXา
2. อัตราเร็วลอยเลื่อน
3. ความหนาแน9นพาหะ
4. อัตราส9วนความยาวต9อพื้นที่หน?าตัด
5. ปริมาณประจุลบที่เคลื่อนที่ผ9านพื้นที่หน?าตัดต9อหนึ่งหน9วยเวลา

3. (PAT2 มี.ค. 60) วงจรไฟฟXาหนึ่งมีตัวต?านทาน 1 kΩ ต9อกับแหล9งจ9ายไฟ 1 V ถ?าเรานำแอมมิเตอร$ที่มีความ


ต?านทานภายในรวมทั้งสิ้น 100 Ω วัดกระแสไฟฟXาในวงจรนี้ แอมมิเตอร$จะอ9านกระแสไฟฟXาได?กี่มิลลิแอมแปร$
1. 0.5
2. 0.9
3. 1.0
4. 1.1
5. 2.0

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 82

4. (9 สามัญ 2560) เมื่อเลือกความต?านทาน R ค9าหนึ่ง โวลต$มิเตอร$และแอมปºมิเตอร$อ9านค9าได? 8.0 V และ


2.0 A ตามลำดับ จากนั้นเปลี่ยนค9าความต?านทาน R เปIนอีกค9าหนึ่ง โวลต$มิเตอร$และแอมปºมิเตอร$อ9าค9าได?
10.0 V และ 1.0 A ตามลำดับ แรงเคลื่อนไฟฟXา ε ของแบตเตอรี่เปIนกี่โวลต$

1. 12 2. 15 3. 18 4. 24 5. 30

5. (PAT3 2562) ลวดโลหะชนิดหนึ่งมีเส?นผ9านศูนย$กลาง 2 mm ยาว 24 m มีความต?านทานไฟฟXา 12 โอห$ม


จงหาความต?านทานไฟฟXาของลวดโลหะชนิดเดียวกันนี้ที่มีความยาว 50 เมตร และเส?นผ9านศูนย$กลาง 1 mm
1. 0.04 โอห$ม
2. 6.25 โอห$ม
3. 12.50 โอห$ม
4. 50.00 โอห$ม
5. 100.00 โอห$ม
6. (A -level 66) ลวดโลหะชนิดหนึ่ง มีความต?านทานต9อความยาวเท9ากับ 0.5 โอห$มต9อเมตร นำลวดชนิดนี้
จำนวน 2 เส?น ที่ยาวเส?นละ 50 เซนติเมตร มาต9อเข?ากับตัวต?านทานขนาด 1.8 โอห$ม และแบตเตอรี่ขนาด 1.5
โวล ที่มีความต?านภายใน 0.20 โอห$ม ดังภาพ

อิเล็กตรอนที่ผ9านพื้นที่หน?าตัดของตัวต?านทาน 1.8 โอห$ม ในเวลา 1.6 วินาที มีจำนวนกี่อิเล็กตรอน

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 83

บทที่ 15 ไฟฟëาแม3เหล็ก
หากมีกระแสไฟฟXาไหลผ9านเส?นลวดตัวนำ จะเกิดเส?นแรงแม9เหล็กขึ้นรอบ ๆ เส?นลวดตัวนำนั้น แต9
อำนาจแม9เหล็กมีเล็กน?อยจนไม9สามารถนำไปใช?ประโยชน$ได? การจะเพิ่มความเข?มของสนามแม9เหล็กทำได?โดย
การนำเสQนลวดมาพันเปqนขดลวด เส?นแรงที่เกิดในแต9ละส9วนของเส?นลวดตัวนำจะเสริมอำนาจกัน ทำให?มี
ความเข?มของสนามแม9เหล็กเพิ่มขึ้น
แม3เหล็กไฟฟëา (Electromagnets) หมายถึง อำนาจแม9เหล็กที่เกิดจากการที่กระแสไฟฟXาไหลผ9าน
ในวัตถุตัวนำ หมายความว9าหากปล9อยให?กระแสไฟฟXาไหลในวัตถุตัวนำจะทำให?เกิดสนามแม9เหล็กรอบ ๆ
ตัวนำนั้น
คุณสมบัติของแม3เหล็ก
1. หากแขวนแท9งแม9เหล็กแล?วปล9อยให?เคลื่อนที่
อย9างอิสระ เมื่อหยุดนิ่ง แท9งแม9เหล็กจะวางตัวตามแนวทิศ
เหนือใต?ของโลก
2. สามารถดูดสสารแมกเนติกได?
3. แรงแม9เหล็ก มีสองประเภท ได?แก9
- แรงดูด เกิดขึ้นเมื่อวางแท9งแม9เหล็กที่มีขั้วต9างกันไว?ใกล?กัน
- แรงผลัก เกิดขึ้นเมื่อวางแท9งแม9เหล็กที่มีขั้วเหมือนกันไว?ใกล?กัน
4. อำนาจของสนามแม9เหล็กจะมีมากที่สุดที่บริเวณขั้วของแม9เหล็กทั้งสอง
5. เส?นแรงแม9เหล็กมีทิศทางออกจากขั้วเหนือไปยังขั้วใต? และ ณ จุดหนึ่งมี
เส?นแรงแม9เหล็กเพียงเส?นเดียว

จุดสะเทิน (Neutral Point) คือจุดที่สนามแม9เหล็กหักล?างกันเปIนศูนย$ และเปIนตำแหน9งที่ไม9มีเส?น


แรงแม9เหล็กผ9าน ถ?านําเข็มทิศไปวางไว?ตรงจุดสะเทินจะไม9มีแรงแม9เหล็กกระทำต9อเข็มทิศ เปIนผลให?เข็มทิศ
สามารถวางตัวได?อย9างเสรีได?ทุกทิศทาง

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 84

ฟลักซ1แม3เหล็ก (Magnetic Flux, •) คือ จำนวนเส?น


แรงแม9เหล็กต9อหน9วยพื้นที่ที่เส?นแรงแม9เหล็กตกตั้งฉาก จากนิยาม
จะได?ว9า

การเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟëาในสนามแม3เหล็ก เมื่อประจุ Ž เคลื่อนที่ด?วยความเร็ว -⃑


ผ9านเข?าไปในสนามแม9เล็ก • 1⃑ ในทิศทำมุม 9 กับสนามแม9เหล็กจะเกิดแรงแม9เหล็ก 4⃑q กระทำต9อประจุ เรา
สามารถคำนวณหาขนาดของแรงแม9เหล็กดังกล9าวได? จากสูตร

กําหนดให? 4q คือ แรงที่แม9เหล็กกระทําต9อประจุ (N)


Ž คือ ประจุไฟฟXา (C)
- คือ ความเร็ว (m/s)
• คือ สนามแม9เหล็ก (T)
9 1⃑
คือ มุมระหว9างความเร็ว -⃑ (ทิศที่ประจุวิ่ง) กับสนามแม9เหล็ก •
เนื่องจาก แรงแม9เหล็ก 4⃑q ที่กระทำต9อประจุที่วิ่งในสนามแม9เหล็กนี้เปIนแรงที่ตั้งฉากจึงส9งผลให?
ประจุวิ่งเบี่ยงเบนเปIนทางโค?งวงกลม ตามสมการการเคลื่อนที่แบบวงกลม

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 85

การดูทิศทางการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟëาในสนามแม3เหล็ก

สนามแม3เหล็กที่เกิดจากกระแสไหลในเสQนลวด
กระแสที่ไหลในขดลวดจะสร?างสนามแม9เหล็กขึ้นมารอบ ๆ
ลวดนั้นโดยจะมีทิศวนตามกฎมือขวา คือใช?มือขวาให?นิ้วหัวแม9มือชี้
ตามทิศกระแสไหล นิ้วทั้งสี่ที่กำวนรอบลวดจะแสดงสนามแม9เหล็กที่
เกิดขึ้นรอบ ๆ สนามแม9เหล็กที่เกิดจากกระแส หาได?จากสมการ

สนามแม3เหล็กที่เกิดจากกระแสไหลในขดลวดโซลินอยด1
เมื่อนําเส?นลวดมาขดเปIนวงเกิดเปIนขดลวดโซลินอยด$ แล?วให?กระแสไหล สนามแม9เหล็กที่เกิดขึ้นจะมี
สภาพเหมือนเปIนแท9งแม9เหล็ก โดยขั้วแม9เหล็กที่เกิดขึ้นจะหาได?จากการใช?มือขวา กําให?นิ้วทั้งสี่วนตามกระแส
ที่ไหลในขดลวด นิ้วหัวแม9มือจะชี้ไปด?านปลายที่เปIนขั้วเหนือของแม9เหล็กที่ถูกสร?างขึ้นมา

แรงที่แม3เหล็กกระทำต3อลวดที่มีกระแสผ3านและอยู3ในสนามแม3เหล็ก

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 86

เมื่อประจุเคลื่อนที่ในลวด ก็แสดงว9าลวดนั้นมีกระแสไฟฟXาไหล
ดังนั้น จึงเกิดแรงแม9เหล็กกระทำต9อลวดได?

เมื่อ 4 คือ แรงที่แม9เหล็กกระทำต9อลวด (N)


• คือ ความยาวของเส?นลวด (m)
• คือ สนามแม9เหล็ก (T)
9 คือ มุมระหว9าง • กับ •

แรงระหว3างลวดตัวนําสองเสQนที่ขนานกันและมีกระแสไหลผ3าน
การหาขนาดของแรงหาได?จากสูตร
‘* ‘)
4 = 2 × 10%8 •
y
เมื่อ • คือ ความยาวของเส?นลวด
y คือ ระยะห9างระหว9างลวด
4 คือ แรงระหว9างลวดขนาน
‘* และ ‘) คือ กระแสที่ไหลในเส?นลวด

แรงกระทำต3อขดลวดที่มีกระแสไฟฟëาผ3านและอยู3ในสนามแม3เหล็ก

ขดลวดพื้นที่ ’ อยู9ในสนามแม9เหล็ก • โดยแกนของขดลวดตั้งฉากกับสนามแม9เหล็กแล?วให?


กระแสไฟฟXา ‘ ไหลในขดลวด จะเกิดแรงคู9ควบเนื่องจากแรงแม9เหล็กกระทำต9อขดลวดทำให?ขดลวดหมุน มี
ขนาดโมเมนต$ของแรงคู9ควบ เปIนตามสมการ

เมื่อ A แทน โมเมนต$ของแรงคู9ควบ (N.m)


‘ แทน กระแสไฟฟXาที่ไหลในขดลวด (A)
“ แทน จำนวนรอบของขดลวด (รอบ)

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 87

’ แทน พื้นที่ของขดลวด (m2)


9 แทน มุมระหว9างระนาบของขดลวดกับสนามแม9เหล็ก

กระแสไฟฟëาเหนี่ยวนําและแรงเคลื่อนเหนี่ยวนํา (Electric Current)


เมื่อนําฟลักซ$แม9เหล็กที่ผ9านขดลวดตัวนําที่มีการเปลี่ยนแปลงจะทําให?เกิดกระแสไฟฟXาเหนี่ยวนําขึ้น
ในขดลวด กระแสไฟฟXาเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้นจะก9อให?เกิดฟลักซ$แม9เหล็กใหม9ที่จะมีทิศต9อต?านกับการเปลี่ยนแปลง
ของฟลักซ$แม9เหล็กแรก ที่ทําให?มันเกิดขึ้นมาเสมอ
ในกรณีการเคลื่อนขดลวดเข?าหาแท9งแม9เหล็ก (หรือเคลื่อนแท9งแม9เหล็กเข?าหาขดลวด) กระแสไฟฟXา
เหนี่ยวนําในขดลวดจะไหลในทิศที่จะสร?างขั้วแม9เหล็กชนิดเดียวกัน (ทางด?านที่เลื่อนเข?าหากันนั้น) เพื่อให?เกิด
แรงผลักต?านการเลื่อนเข?ามา

หมQอแปลง (Transformer) คือ เครื่องมือที่ใช?เพิ่มหรือลดความต9างศักย$กระแสสลับให?สูงขึ้นหรือ


ตํ่าลงโดยอาศัยหลักการเหนี่ยวนําไฟฟXาระหว9างขดลวด ขดลวดที่ต9อกับแหล9งกำเนิดไฟฟXากระแสสลับ (A.C.)
เรียกว9า ขดลวดปฐมภูมิ (Primary Coil) ส9วนขดลวดอีกด?านเรียกว9า ขดลวดทุติยภูมิ (Secondary Coil)

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 88

หม?อแปลงมี 2 ชนิด คือ


1. หมQอแปลงขึ้น (Step - up Transformer) จะมีขดลวดปฐมภูมิน?อยกว9าขดลวด
ทุติยภูมิ ทำใหQ V, E เพิ่มขึ้น
2. หมQอแปลงลง (Step – down Transformer) จะมีขดลวดปฐมภูมิมากกว9าขดลวด
ทุติยภูมิ ทำใหQ V, E ลดลง
จากการหาความสัมพันธ$ระหว9างแรงเคลื่อนไฟฟXา (E) และจำนวนรอบของขดลวด(N) ได? คือ E ∝ N

ถ?าหม?อแปลงไม9มีการสูญเสียพลังงาน จะได?
พลังงานไฟฟXาของขดลวดปฐมภูมิ = พลังงานไฟฟXาของขดลวดทุติยภูมิ

ประสิทธิภาพของหมQอแปลง (Eff)

คAาของปริมาณที่เกี่ยวขJองกับไฟฟlากระแสสลับ
ไฟฟëากระแสสลับ คือ เหตุการณ$ที่แหล9งกำเนิดไฟฟXา ให?ค9าแรงเคลื่อนไฟฟXา (e) ค9ากระแสไฟฟXา (i)
และความต9างศักย$ (v) ไม9คงที่ มีค9าแปรผันตามเวลาแบบฟ©งก$ชัน sine คือ

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 89

เนื่องจากปริมาณไฟสลับเปIนค9าไม9คงที่ จึงต?องหาค9าที่จะใช?เปIนตัวแทน ซึ่งหาโดยวิธียกกําลังสองก9อน


แล?วหาค9าเฉลี่ยแล?วจึงถอดรากที่สอง เรียกว9า ค9ารากที่สองของกําลังสองเฉลี่ย (root mean square หรือ ค9า
rms ของปริมาณนั้น) ซึ่งค9าตัวแทนนี้จะเปIนค9าที่จะวัดได?เมื่อใช?มิเตอร$วัดจึงเรียกชื่อว9า ค9ามิเตอร$ และเมื่อใช?
คํานวณกําลังไฟฟXา (เฉลี่ย) ก็จะต?องใช?ค9านี้คํานวณจึงเรียกอีกชื่อหนึ่งว9า ค9ายังผล

ตัวตQานทาน ตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนําในวงจรไฟฟëากระแสสลับ


ก. วงจรลวดความต?านทาน (R) ค9าความต?านทาน R จะไม9ขึ้นกับความถี่ของแหล9งกำเนิดไฟฟXาสลับ

ข. วงจรของตัวเก็บประจุ (C) ค9าความต?านทานเชิงความจุ XC จะขึ้นกับความถี่ของแหล9งกำเนิดที่ต9อ


อยู9 ตามสูตร

ค.วงจรขดลวดเหนี่ยวนํา (L) ค9าความต?านทานเชิงเหนี่ยวนํา XL จะขึ้นกับความถี่ของแหล9งกำเนิดที่ต9อ


อยู9 ตามสูตร

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 90

การต3อวงจรไฟฟëากระแสสลับ
1.การต9ออนุกรมทั้งหมด จะมีกระแสเท9ากันทุก ๆ ส9วน (จึงใช?เฟสของ I อ?างอิงในการรวม V)

โดยการรวมความต9างศักย$ V จะเปIนการรวมโดยพิจารณาเฟสของ
แต9 ล ะตั ว โดยเที ย บกั บ I ซึ ่ ง เปI น ตั ว ร9 ว ม (เสมื อ นกั บ การคิ ด รวมแบบ
เวกเตอร$) ซึ่งจะได?ว9า

และวงจรจะมีความต?านทานเชิงซ?อน z (เสมือนเปIน ความต?านทานรวมของวงจร)

โดยมุมเฟสระหว9าง V กับ I คือ

ความถี่เรโซแนนซ$ คือ ความถี่ของแหล9งกำเนิดไฟฟXาที่จะทำให?กระแสในวงจรมีค9าสูงสุดคือ

2. การต9อขนานทั้งหมด จะมีความต9างศักย$เท9ากันทุกส9วน (จึงใช?เฟสของ V อ?างอิงในการรวม I)

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 91

โดยการรวมกระแส I จะเปIนการวมโดยพิจารณาเฟส ของแต9ละตัว เทียบกับ V ซึ่งเปIนตัวร9วม ซึ่งจะได?ว9า

และวงจรจะมีความต?านทานเชิงซ?อน z (เสมือนเปIน ความต?านทานรวมของวงจร)

โดยมีมุมเฟสระหว9าง I กับ V คือ


กําลังไฟฟëาในวงจรไฟฟëากระแสสลับ
กําลังไฟฟXาเฉลี่ย มีค9าเท9ากับผลคูณของกระแส I และความต9างศักย$ V ที่มีเฟสตรงกัน โดย
ค9า I และ V จะต?องเปIนค9า rms (ค9ามิเตอร$ หรือค9ายังผลนั่นเอง)

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 92

ตัวอย3างขQอสอบ บทที่ 15 แม3เหล็กไฟฟëา


1.ยิงโปรตอนด?วยความเร็ว ขนาด 2.5 x 103 เมตรต9อวินาที เข?าไปในบริเวณที่มีสนามแม9เหล็กขนาดสม่ำเสมอ
0.2 เทสลา โดยความเร็วของโปรตอนมีทิศทางตั้งฉากกับสนามแม9เหล็กซึ่งมีทิศทางพุ9งออกตั้งฉากกับระนาบ
กระดาษ ดังภาพ (A-Level 66)

โปรตอนจะมีแนวการเคลื่อนที่อย9างไร และขนาดของแรงแม9เหล็กที่กระทำต9อโปรตอนมีค9าที่นิวตันกำหนดให?
โปรตอนมีขนาดประจุ e = 1.6 x 10 -19

2. โรงงานไฟฟXาขนาด 400 กิโลวัตต$ ส9งกำลังไฟฟXาผ9านสายไฟฟXาที่มีความต?านทาน 0.25 โอห$ม ด?วยความ


ต9างศักย$ 20,000 โวลต$ จงหากำลังไฟฟXาที่สูญเสียไฟในรูปของความร?อนในสายไฟ
1. 25 W
2. 50 W
3. 75 W
4. 100 W
3. หม?อแปลงมีแกนเหล็กเพื่อให?ฟลักซ$แม9เหล็กผ9านจากขดลวดปฐมภูมิไฟยังขดลวดทุติยภูมิ จงพิจารณา
ข?อความต9อไปนี้
1. แกนเหล็กมีสมบัติเปIนเหล็กอ9อน
2. แกนเหล็กมีสมบัติเปIนเหล็กถาวร
3. หม?อแปลงที่ดีควรมีกระแสไหลวนที่มาก
4. หม?อแปลงที่ดีควรมีกระแสไหลวนที่น?อย

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 93

4. นักเรียนคนหนึ่งต?องการสร?างคลื่นแม9เหล็กไฟฟXา ด?วยการนำขดลวดทองแดงเคลือบฉนวน 2 ขด มาพันรอบ


แกนเหล็กเพื่อทำหน?าที่เปIนหม?อแปลง โดยให?จำนวนรอบของขดลวด Y มากกว9าจำนวนรอบของขดลวด X
มากๆ ให?ปลายขดลวด X ต9อกับแบตเตอรี่และปลายขดลวดขดลวด Y ต9อกับตัวนำทรงกลม Z และ Z’ ที่อยู9
ห9างกันเล็กน?อย มีแผ9นโลหะ L กับ L’ ต9อกับตัวนำทรงกลม ดังภาพ (A-Level 66)

อุปกรณ$นี้จะสามารถสร?างคลื่นแม9เหล็กไฟฟXาอย9างต9อเนื่องได?หรือไม9 เพราะเหตุใด
1. ไม9ได? เพราะกระแสไฟฟXาจากแบตเตอรี่ไม9เปลี่ยนแปลงตามเวลา
2. ไม9ได? เพราะมีกระแสไฟฟXาคงตัวเคลื่อนที่จะขดลวด X ไปขดลวด Y
3. ไม9ได?เพราะจำนวนขดลวด X ไปขดลวด Y
4. ได? เพราะจะเกิดอีเอ็มเอฟเหนี่ยวนำที่ Y ขดลวดอย9างต9อเนื่อง
5. ได? เพราะกระแสไฟฟXาที่ผ9านขดลวด X ทำให?เกิดสนามแม9เหล็กที่มีขนาดคงตัว
5. หม?อแปลงลูกหนึ่งมีจำนวนรอบของขดลวดปฐมภูมิต9อจำนวนของลวดทุติยภูมิเปIน 1 : 4 ถ?ามีกระแสและ
ความต9างศักย$ในขดลวดทุติยภูมิเท9ากับ 10 แอมปºแปร$ และ 200 โวลต$ ตามลำดับจงหากระแสและความต9าง
ศักย$ในขดลวดปฐมภูมิ
1. 40 A , 50 V
2. 50 A , 40 V
3. 40 A , 40 V
4. 50 A , 50 V

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 94

บทที่ 16 ความรQอนและแกúส
ความรQอน (heat, Q) หมายถึง พลังงานรูปแบบหนึ่ง ซึ่งสามารถถ9ายทอดจากวัตถุที่มีอุณหภูมิสูงไปสู9
วัตถุที่มีอุณหภูมิต่ำกว9าโดยที่ความร?อนจะถ9ายโอนจนกระทั่งอุณหภูมิของวัตถุทั้งสองเท9ากัน เรียกว9า ................

อุณหภูมิ (temperature, T) หมายถึง ระดับของความร?อน เปIนปริมาณที่ใช?บ9งบอกว9าวัตถุนั้น ๆ มี


พลังงานความร?อนสะสมอยู9มากน?อยเพียงใด โดยเราสามารถวัดระดับความร?อนหรืออุณหภูมิได?โดยการใช?
เครื่องมือวัดที่เรียกว9า .............................................
หน่วยวัดอุณหภูมิที่มักจะใช้กัน ได้แก่ องศาเซลเซียส (oC) และ เคลวิน (K) โดยทั้งสองสเกลกําหนด
จากจุดเยือกแข็งของนํ้าที่ความดัน 1 บรรยากาศ ให้จุดเยือกแข็งของนํ้าเท่ากับ 0 oC และ 273.15 K และจุด
เดือดของนํ้าเท่ากับ 100 oC และ 373.15 K

วัตถุที่มีการสูญเสียความร?อนหรือรับความร?อน จะเกิดการเปลี่ยนแปลงได? 2 ลักษณะ คือ


1. การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ
ของแข็ง
2. การเปลี่ยนแปลงสถานะ
R คือ ความร้อน มีหน่วยเป็น จูล
S คือ มวลของวัตถุ มีหน่วยเป็น กิโลกรัม ของเหลว
T คือ ความจุความร้อนจําเพาะ มีหน่วยเป็น จูลต่อกิโลกรัมเคลวิน
∆V คือ อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไป มีหน่วยเป็น เคลวิน แก¢ส
W คือ ความร้อนแฝง มีหน่วยเป็น จูลต่อกิโลกรัม

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 95

การถ3ายโอนความรQอน คือ การถ9ายโอนพลังงานจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง มี 3 ลักษณะ คือ


1. การนำความร?อน ............................................................................................................
2. การพาความร?อน ...........................................................................................................
3. การแผ9รังสีความร?อน .....................................................................................................
แบบจำลองแกúสอุดมคติ
1. โมเลกุลมีขนาดเล็กมาก จนถือได?ว9าปริมาตร
แต9ละโมเลกุลน?อยจนเกือบเปIนศูนย$เมื่อเทียบกับ
ปริมาตรภาชนะที่บรรจุ
2. ไม9มีแรงยึดเหนี่ยวระหว9างโมเลกุล แต9จะมี
แรงกระทำต9อโมเลกุลของแก¢สเมื่อมีการชนกันเองหรือ
ชนกับผนังภาชนะ
3. มีการเคลื่อนที่แบบสุ9ม หรือ การเคลื่อนที่แบบบราวน$ กล9าวคือ การเคลื่อนที่ของโมเลกุลของแก¢สมี
ขนาดและทิศทางของความเร็วไม9แน9นอน โดยทุกโมเลกุลของแก¢สมีโอกาสในการเคลื่อนที่ด?วยความเร็วขนาด
ใด ๆ และทิศทางใด ๆ ด?วยความน9าจะเปIนที่เท9ากันทุกโมเลกุล
4. ความน9าจะเปIนที่โมเลกุลแก¢สจะมีความเร็วค9าใดค9าหนึ่งและทิศทางใดทิศทางหนึ่งมีค9าเท9ากัน
5. มีการชนแบบยืดหยุ9น กล9าวคือ โมเลกุลของแก¢สจะไม9มีการสูญเสียพลังงานจลน$จากการชน ไม9ว9า
จะเปIนการชนกันระหว9างโมเลกุลของแก¢สหรือการชนกับผนังภาชนะ
กฎของแกúสอุดมคติ
กฎของบอยล$ “แก¢สที่มีอุณหภูมิคงที่ ความดันของแก¢สจะเปIนปฏิภาคผกผันกับปริมาตรของแก¢ส”

กฎของชาร$ล “แก¢สที่มีความดันคงที่ ปริมาตรแก¢สจะเปIนปฏิภาคโดยตรงกับอุณหภูมิ”

กฎของเกย$-ลูสแซก “สําหรับแก๊สในภาชนะปิด ถ้าปริมาตรของแก๊สคงตัว ความดันของแก๊สจะแปร


ผันตรงกับอุณหภูมิสัมบูรณ์ของแก๊ส

กฎของอโวกาโดร “หากอุณหภูมิและความดันคงตัว ปริมาตรของแก¢สอุดมคติจะแปรผันตรงกับ


จำนวนโมเลกุลของแก¢สในภาชนะ”

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 96

กฎของแก๊สอุดมคติ

X คือ ความดันแก๊ส มีหน่วยเป็น นิวตันต่อตารางเมตร


Y คือ ปริมาตรแก๊ส มีหน่วยเป็น ลูกบาศก์เมตร
4 คือ จํานวนโมลของแก๊ส มีหน่วยเป็น โมล
V คือ อุณหภูมิแก๊ส มีหน่วยเป็น เคลวิน
Z คือ ค่าคงตัวแก๊ส มีค่าเท่ากับ 8.31 J/mol K
[ คือ จํานวนโมเลกุลของแก๊ส
\B คือ ค่าคงตัวโบลต์ซมันน์ มีค่าเท่ากับ 1.38 x 10-23 J/K

ความดันและพลังงานจลน1เฉลี่ยของแกúส

!#! + !!! + ⋯ + !F ! 3\G V 1 ^^^! 3


^^^
!4DE = 8^^^
!! = ` =` ]C =
2
S! = \B V
2
[ S

กฎของเทอร1โมไดนามิกส1 (Laws of Thermodynamics) ในระดับ ม.ปลายเราศึกษาแค2กฎขDอที่ 1


เท2านั้น
ขQอที่ 0 หากเรามีระบบ (หรือวัตถุ) อยู9 3 ระบบ เช9น ระบบ ก, ข, ค แล?วระบบทั้งสามนี้
สัมผัสกันอยู9และสามารถถ9ายเทความร?อนไปมาระหว9างกันได? ถ?าหากว9า ระบบ ก กับ ระบบ ข อยู9ในสภาวะ
สมดุลกันทางความร?อน (มีความร?อนเท9ากันนั่นเอง) และ ระบบ ข กับ ระบบ ค อยู9ในสภาวะสมดุลกันทาง
ความร?อนเช9นกัน นั่นย9อมหมายความว9า ระบบ ก กับ ระบบ ค อยู9ในสภาวะสมดุลกันทางความร?อนเหมือนกัน
ขQอที่ 1 ในกระบวนการเปลี่ยนแปลงต9างๆ นั้น พลังงานจะไม9ถูกสร?างขึ้นมาใหม9และไม9มีการ
สูญหายไป แต9สามารถเปลี่ยนไปอยู9ในรูปอื่นได?” กฎข?อหนึ่งจะบ9งบอกถึงการเปลี่ยนแปลงพลังงานที่เกิดขึ้น
ภายในระบบต9างๆ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางเคมีและทางกายภาพ
R = ∆b + c

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 97

พลังงานภายใน (Internal energy, ∆b) แปรผันตรงกับจำนวนโมเลกุลและอุณหภูมิสัมบูรณ$ของแก¢ส


3 3 3 3
b = [\B V = 4ZV ∆b = [\B ∆V = 4Z∆V
2 2 2 2

งานที่ทำโดยแก¢ส (Work, c) เกิดขึ้นเมื่อปริมาตรของแก¢สเปลี่ยนแปลงไปเนื่องมาจากแก¢สทำงาน


c = X∆Y

ปริมาณ เครื่องหมาย
ความร้อนเข้าสู่ระบบ +
R
ความร้อนออกจากระบบ -
พลังงานภายในระบบเพิ่มขึ้น +
∆b
พลังงานภายในระบบลดลง -
งานที่ทําโดยแก๊สส่งผลให้ระบบมีปริมาตร
+
เพิ่มขึ้น
c
งานที่ทําโดยแก๊สส่งผลให้ระบบมีปริมาตร
-
ลดลง

ตัวอย3างขQอสอบเรื่อง ความรQอนและแกúส

1. ทรงกระบอกที่มีลูกสูบเคลื่อนที่ได้คล่อง ภายในบรรจุแก๊สอุดมคติ 2 โมล อุณหภูมิ 67 องศาเซลเซียสและ


มีความดันคงตัวเท่ากับ 10 กิโลพาสคัล กําหนดให้ R เป็นค่าคงตัวแก๊ส ถ้าลดอุณหภูมิของแก๊สลงช้า ๆ จน
เหลือ 48 องศาเซลเซียส โดยความดันเท่าเดิม งานที่เกิดขึ้นเมื่อลูกสูบเคลื่อนที่มีค่าเท่าใด และระบบมีการ
เปลี่ยนแปลงปริมาตรอย่างไร (วิชาสามัญ’65)

(1) 3.8R x 10-3 และ ปริมาตรลดลง


(2) 38R และ ปริมาตรลดลง
(3) 38R และ ปริมาตรเพิ่มขึ้น
(4) 3.8R x 105 และ ปริมาตรลดลง
(5) 3.8R x 105 และ ปริมาตรเพิ่มขึ้น

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 98

2. แก¢สอุดมคติบรรจุอยู9ในภาชนะป4ดปริมาตรคงตัว 0.5 ลูกบาศก$เมตร วัดความดันของแก¢สขณะที่แก¢สมี


อุณหภูมิค9าต9าง ๆ แล?วนำข?อมูลที่ได?ไปเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ$ระหว9างความดันของแก¢สและอุณหภูมิ
ของแก¢ส ได?ผลดังกราฟ

กำหนดให?

ค9าคงตัวของแก¢ส R = 8.3 J/mol K

ค9าคงตัวของอาโวกาโดร NA = 6.0 x 1023 mol-1

ค9าคงตัวโบลซ$มันน$ kB = 1.4 x 10-23 J/K

แก¢สภายในภาชนะมีจำนวนกี่โมล (วิชาสามัญ’65)

3. การศึกษาเรื่องสมดุลความร?อน ผู?ทดลองนำน้ำผลไม?มวล 400 กรัมมาบรรจุในภาชนะรูปทรงกระบอกป4ด


ซึ่งทำจากอะลูมิเนียมมวล 500 กรัม และใส9น้ำแข็งที่มีมวล 20 กรัม จำนวน 1 ก?อน จากนั้นปล9อยให?น้ำแข็ง
หลอมเหลวจนหมด และระบบเข?าสู9สมดุลความร?อน จนะได?อุณหภูมิสุดท?ายหลังผสมค9าหนึ่ง โดยไม9มีการ
ถ9ายโอนความร?อนให?กับสิ่งแวดล?อม กำหนดให?
1) ความร?อนแฝงของการหลอมเหลวของน้ำแข็งเท9ากับ 333 kJ/kg
2) ความร?อนจำเพาะของอะลูมิเนียม น้ำผลไม? และน้ำ เท9ากับ 900 4,000 และ 4,200 J/kg K ตามลำดับ

หากต?องการทำการทดลองใหม9เพื่อให?อุณหภูมิสุดท?ายหลังผผสมเมื่อน้ำแข็งหลอมเหลวจนหมดมีค9าน?อยลง
ควรทำอย9างไร (PAT2’65)

(1) ลดปริมาณของน้ำผลไม?
(2) เปลี่ยนจากน้ำผลไม?เปIนน้ำ โดยมวลของน้ำเท9ากับมวลของน้ำผลไม?
(3) เปลี่ยนภาชนะให?มีความสูงมากขึ้น โดยมวลและปริมาตรของภาชนะเท9าเดิม
(4) เปลี่ยนวัสดุที่ใช?ในการทำภาชนะจากอะลูมิเนียมเปIนโลหะผสมที่มีมวลเท9ากันโดยความร?อนจำเพาะ
ของโลหะผสมเท9ากับ 920 J/kg K
(5) เปลี่ยนภาชนะให?มีขนาดของเส?นผ9านเส?นผ9านศูนย$กลางใหญ9ขึ้น โดยมวลและปริมาตรของภาชนะเท1า
เดิม

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 99

4. บรรจุแก¢สอาร$กอนและแก¢สฮีเลียมจำนวนเท9ากันในภาชนะป4ดใบหนึ่ง โดยแก¢สทั้งสองมีสมบัติใกล?เคียงกับ
แก¢สอุดมคติ และอยู9ในสมดุลความร?อนที่อุณหภูมิ 300 เคลวิน พิจารณาข?อความต9อไปนี้
ก. พลังงานจลน$เฉลี่ยของแก¢สอาร$กอนและแก¢สฮีเลียมในภาชนะมีค9าไม9เท9ากัน
ข. อัตราเร็วเฉลี่ยของแก¢สฮีเลียมมากกว9าอัตราเร็วเฉลี่ยของแก¢สอาร$กอน
ค. ที่สมดุลความร?อน แก¢สอาร$กอนทุกโมเลกุลในภาชนะมีอัตราเร็วเท9ากัน
ข?อความใดถูกต?อง (วิชาสามัญ’64)
(1) ข. เท9านั้น (2) ค. เท9านั้น
(3) ก. และ ข. (4) ก. และ ค.
(5) ข. และ ค.

5. ออกแบบการทดลอง 2 ชุด เพื่อศึกษาความสัมพันธ$ระหว9าง


อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงกับความร?อนที่ของเหลวได?รับ โดยใช?
ของเหลว 2 ชนิดที่มีมวลเท9ากันและบรรจุในภาชนะที่
เหมือนกัน และใช?อุปกรณ$ให?ความร?อนที่สามารถปรับ
กระแสไฟฟXาและความต9างศักย$ไฟฟXา เพื่อทำให?ของเหลวมี
อุณหภูมิเปลี่ยนแปลง ผลการศึกษาแสดงดังกราฟ

จากผลการทดลอง ข?อใดสรุปถูกต?อง (PAT2’65)

(1) ค9าความร?อนจำเพาะแปรผันตรงกับความชันของกราฟ โดยของเหลวในการทดลองชุดที่ 1 มีค9า


ความร?อนจำเพาะมากกว9าของเหลวในการทดลองชุดที่ 2
(2) ค9าความร?อนจำเพาะแปรผันตรงกับพื้นที่ใต?กราฟ โดยของเหลวในการทดลองชุดที่ 1 มีค9าความร?อน
จำเพาะมากกว9าของเหลวในการทดลองชุดที่ 2
(3) ค9าความร?อนจำเพาะแปรผกผันกับความชันของกราฟ โดยของเหลวในการทดลองชุดที่ 1 มีค9าความ
ร?อนจำเพาะน?อยกว9าของเหลวในการทดลองชุดที่ 2
(4) ค9าความร?อนจำเพาะแปรผกผันกับพื้นที่ใต?กราฟ โดยของเหลวในการทดลองชุดที่ 1 มีค9าความร?อน
จำเพาะน?อยกว9าของเหลวในการทดลองชุดที่ 2
(5) ปริมาณความร?อนที่ทำให?ของเหลวในการทดลองชุดที่ 1 มีอุณหภูมิเปลี่ยนแปลง 1 องศาเซลเซียส มี
ค9ามากกว9าของเหลวในการทดลองชุดที่ 2 ดังนั้น ค9าความร?อนจำเพาะของของเหลวในการทดลอง
ชุดที่ 1 จะมีค9ามากกว9าในการทดลองชุดที่ 2

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 100

6. นำสาร X ในสถานะของแข็งมวล 50.0 กรัม อุณหภูมิ -10.0 องศาเซลเซียส ใส9ในสาร X ซึ่งอยู9ในสถานะ


ของเหลว มวล 100.0 กรัม อุณหภูมิ 20.0 องศาเซลเซียส เมื่อตั้งทิ้งไว?จนเกิดสมดุลความร?อน สาร X จะมี
อุณหภูมิกี่องศาเซลเซียส และสาร X ในสถานะของแข็ง จะหลอมเหลวไปทั้งหมดกี่กรัม (A-level 66)
กำหนดให? ไม9มีการถ9ายโอนความร?อนให?กับสิ่งแวดล?อมภายนอก
สาร X มีจุดเยือกแข็ง TF = -10.0 oC
สาร X มีความร?อนแฝงของการหลอมเหลว L = 2.0 x 105 J/kg
สาร X ในสถานะของเหลว มีความร?อนจำเพาะ cL = 3.0 x 103 J/kg K
สาร X ในสถานะของแข็ง มีความร?อนจำเพาะ cs = 1.5 x 103 J/kg K
อุณหภูมิของสาร X เมื่อเกิดสมดุล มวลของสาร X ในสถานะของแข็งที่
ความร?อน (oC) หลอมเหลว (g)
(1) -13.0 0.0
(2) -10.0 5.0
(3) -10.0 45.0
(4) 10.0 0.0
(5) 10.0 50.0

7. แก¢สอุดมคติชนิดหนึ่งบรรจุอยู9ในภาชนะป4ดใบหนึ่งที่มีปริมาตรคงตัว โดยแก¢สมีอุณหภูมิ g* เมื่อทำให?


อุณหภูมิของแก¢สเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม พบว9า อัตราเร็วอาร$เอ็มเอสของโมเลกุลแก¢สเท9ากับ 2 เท9าของค9าเดิม
พลังงานจลน$เฉลี่ยของโมเลกุลแก¢สหลังจากเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิดังข?างต?น มีค9าเท9าใดในรูปความสัมพันธ$กับ
g*
กำหนดให? อุณหภูมิ g* เปIนอุณหภูมิสัมบูรณ$
Rq เปIนค9าคงตัวโบลต$ซมันน$
ไม9มีการถ9ายโอนความร?อนระหว9างระบบกับสิ่งแวดล?อม
7 7
(1) Rq g* (2) Rq g* (3) 3Rq g*
r 4
(4) 6Rq g* (5) 12Rq g*

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 101

บทที่ 17 ของแข็งและของไหล
ของไหล (Fluid) หมายถึง สสารที่สามารถไหลจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่งได?มีรูปร9างไม9แน9นอน
ขึ้นอยู9กับภาชนะที่บรรจุของไหลอยู9 ในที่นี้ก็คือ ของเหลวและแก¢ส ในบทนี้จะกล9าวถึงสมบัติต9าง ๆ
ของของไหล ซึ่งได?แก9 ความหนาแน9น ความดันความตึงผิว ความหนืด และพลศาสตร$ของของไหล
ความหนาแน3น (density)
เปIนสมบัติเฉพาะตัวของสารแต9ละชนิด ใช?สัญลักษณ$เปIน
ภาษากรีกคือ “ρ” (อ9านว9า โรห$) ความหนาแน9นของสารใด ๆ
สามารถหาได?จากอัตราส9วนของมวลต9อปริมาตรของสารนั้น
ความหนาแน3นสัมพัทธ1 (relative density)
เปIนการหาอัตราส9วนระหว9างความหนาแน9นของสารต9อ
ความหนาแน9นของน้ำ หรือสามารถเรียกอีกชื่อว9า ความถ9วงจ?า
เพาะ (specific gravity, S)
ความดัน (pressure)
ภาชนะที่มีของเหลว จะมีแรงที่ของเหลวกระทำต9อภาชนะในทิศตั้งฉากกับผนังที่ของเหลว
สัมผัสเสมอ ขนาดของแรงต9อพื้นที่ เรียกว9า ความดันในของเหลว แรงที่ของเหลวกระท?าต9อวัตถุที่จม
ในของเหลว จะมีทิศตั้งฉากกับวัตถุที่จมเสมอ ถ?าเราลองเจาะรูของภาชนะ จะพบว9า แรงที่ของเหลว
จะดันน้ำให?พุ9งออกมาตั้งฉากกับภาชนะที่ตำแหน9งที่เจาะรูเสมอ

ความดัน หมายถึง แรงที่กระทำในแนวตั้งฉากต9อหนึ่งหน9วยพื้นที่ สามารถเขียนเปIนสมการ


ความสัมพันธ$ได? ดังนี้

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 102

การจำแนกชนิดของความดัน

1. ความดันบรรยากาศ (Atmospheric Pressure: No) เปIนความดันเนื่องจากน้ำหนัก


ของอากาศที่อยู9เหนือโลก หรือความดันที่เกิดจากอนุภาคของอากาศ

2. ความดันเกจ (Gauge Pressure: N@) เปIนความดันที่เกิดขึ้นจากน้ำหนักของของเหลว


ที่กระทำต9อพื้นที่ก?นภาชนะ มีค9าเพิ่มขึ้นตามความลึกจากผิวของของเหลว

3. ความดันสัมบูรณ1 (Absolute Pressure: N)


ความดันสัมบูรณ$ เปIนผลรวมของความดันบรรยากาศ และ
ความดันเกจ เขียนสมการได?ดังนี้

หลักการเกี่ยวกับความดันในของเหลวในสภาวะอยู3นิ่ง
1. ณ จุดใด ๆ ในของเหลวจะมีแรงกระทำของของเหลวไปในทุกทิศทุกทาง
2. แรงที่ของเหลวกระทำต9อผนังภาชนะหรือผิววัตถุที่อยู9ในของเหลวจะอยู9ในทิศตั้งฉากกับ
ผนัง ภาชนะหรือผิวของวัตถุที่ของเหลวสัมผัส
3. ความดัน ณ จุดใด ๆ ในของเหลวที่อยู9นิ่งแปรผันตรงกับความลึกและความหนาแน9นของ
ของเหลวเมื่ออุณหภูมิคงตัว
4. ความดันในของเหลวชนิดหนึ่งๆ ไม9ขึ้นอยู9กับปริมาตรและรูปร9างของภาชนะที่บรรจุ
ของเหลว และที่ความลึกเท9ากันของเหลวชนิดเดียวกันความดันจะเท9ากันเสมอ

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 103

แรงดัน (Force)
แรงดัน (Force) คือ ผลคูณระหว9างความดันกับพื้นที่ที่ถูกแรงกระทำ แรงดันเปIนปริมาณ
เวกเตอร$ มีหน9วยเปIน นิวตัน (“)

กฎของปาสคาล
ถ?ามีของไหลบรรจุอยู9ในภาชนะที่อยู9นิ่ง เมื่อให?ความดันเพิ่มเข?าไปแก9ของไหล ณ ตำแหน9งใด
ๆ ความดันที่เพิ่มขึ้นจะถ9ายทอดไปทุก ๆ จุดในของไหลนั้น
เครื่องอัดไฮโดรลิก (hydraulic press) “เมื่อออกแรงกระทำที่ด?านหนึ่งของของไหล (แรง
พยายาม) จะสามารถยกสิ่งของหรือวัตถุอีกด?านหนึ่งของของไหลได? (แรงต?าน)”

สำหรับการได?เปรียบเชิงกล และประสิทธิภาพเชิงกลของเครื่องอัดไฮโดรลิก หาได?จาก

- การได?เปรียบเชิงกลทางปฏิบัติ (A. ’.ปฏิบัต)ิ

- การได?เปรียบเชิงกลทางทฤษฎี (A. ’.ทฤษฎี)

- ประสิทธิภาพเชิงกล (Off) : หน9วย เปอร$เซ็นต$ (%)

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 104

แรงพยุงจากของไหล
แรงพยุง (Buoyant force) หรือแรงลอยตัว เปIนแรงที่เกิดเมื่อของเหลวถูกแทนที่ด?วยวัตถุ
หรือเปIนแรงที่ของเหลวพยายามดันวัตถุให?ลอยอยู9ในของเหลว ซึ่งจะมีขนาดเท9ากับน้ำหนักของ
ของเหลวส9วนที่ถูกวัตถุแทนที่ พิจารณาสมดุลแรงที่กระทำต9อแท9งไม? จะได?ว9า น้ำหนักของวัตถุและ
แรงดันลัพธ$ระหว9างผิวด?านบนและผิวด?านล9างของแท9งไม?เท9ากัน
เนื่องจาก แรงพยุง เปIนแรงที่เกิดจากน้ำหนักของของเหลวถูกแทนที่ ดังนั้น

ความตึงผิว ( Surface tension )


ความตึงผิว หมายถึง อัตราส9วนของแรงที่กระทำไปตามผิวของเหลวต9อความยาวของผิวที่ถูก
แรงกระทำ ความยาวนี้ต?องตั้งฉากกับแรงด?วย มีหน9วยเปIน นิวตันต9อตารางเมตร
แรงตึงผิวของของเหลว หมายถึง แรงชนิดหนึ่งที่พยายามยึดผิวของเหลวไว? แรงดึงผิวของ
ของเหลวจะมีทิศขนานกับผิวของของเหลวและตั้งฉากกับเส?นขอบที่ของเหลวสัมผัส

เพิ่มเติม 1. ค9าความตึงผิวของของเหลวแต9ละชนิดมีค9าไม9เท9ากัน
2. สำหรับของเหลวชนิดเดียวกันค9าความตึงผิวจะเปลี่ยนไปเมื่อมีสารมาเจือ
ปน เช9น น้ำสบู9 น้ำเกลือ จะมีความตึงผิวน?อยกว9าความตึงผิวของน้ำ
3. ค9าความตึงผิวจะลดลงเมื่ออุณหภูมิของของเหลวเพิ่มขึ้น
ของไหลอุดมคติ
สมบัติของไหลอุดมคติ ดังนี้
- การไหลอย9างสม่ำเสมอ (steady flow) ความเร็วที่จุดใดจุดหนึ่งมีค9าคงตัว
- การไหลจะต?องเปIนแบบไม9หมุน (irrotational flow) ตำแหน9งใด ๆ จะต?องไม9มีความเร็วเชิงมุม
- การไหลจะเปIนแบบที่อัดไม9ได? (incompressible flow) ความหนาแน9น ณ จุดต9าง ๆ มีค9าคงตัว
- มีการไหลโดยไม9มีแรงต?านเนื่องจากความหนืด (nonviscous flow) ไม9มีแรงเค?นเฉือนระหว9างชั้น
ของไหลที่ติดกัน

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 105

สมการความต3อเนื่อง (equation of continuity)


ตลอดการไหลของของไหล อัตราการไหลจะมีค9าคงที่เสมอ

สมการของแบร1นูลลี (Bernoulli's Equation)


ผลรวมของความดันพลังงานจลน$ต9อหนึ่งหน9วยปริมาตร และพลังงานศักย$โน?มถ9วงต9อหนึ่ง
หน9วยปริมาตร ณ ตำแหน9งใด ๆ ภายในท9อที่ของไหลผ9านมีค9าคงตัว

การประยุกต1ของสมการแห3งการต3อเนื่องและสมการของแบร1นูลลี
การไหลของน้ำออกจากถัง

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 106

แรงยกที่กระทำกับป¢กเครื่องบิน

ของแข็ง เปIนสถานะของสสารที่มีรูปร9างแน9นอน ไม9ขึ้นอยู9กับภาชนะที่บรรจุ


เมื่อออกแรงกระทำต9อของแข็งจะเกิดแรงกระทำภายในของแข็งขึ้น แรงดังกล9าวเรียกว9า แรงเคQน (F)
คือ แรงดึงดูดระหว9างโมเลกุลภายในของแข็งที่เพิ่มขึ้น
ความเคQน (•) คือ อัตราส9วนระหว9าง แรงเค?นต9อพื้นที่หน?าตัด เขียนเปIนสมการได?ว9า

ความเครียด (–) คือ อัตราส9วนระหว9างความยาวที่เปลี่ยนไปต9อความยาวเดิม เขียนเปIนสมการได?ว9า

ค3ามอดูลัสของยัง (Young’s modulus) คือ ค9าคงที่ที่หาได?จาก อัตราส9วนของความเค?นต9อ


ความเครียด

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 107

ตัวอย3างขQอสอบเรื่อง ของแข็งและของไหล
1. ตัดลวดขนาดเล็กมาก มวล 2.0 กรัมให?เปIนวงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ?า กว?าง 2.4 เซนติเมตร ยาว 2.5 เซนติเมตร
แล?วผูกด?วยเชือกเบาและนำไปวางบนผิวของของเหลวชนิดหนึ่งที่มีความตึงผิว 0.4 นิวตันต9อเมตร จากนั้นออก
แรงดึงเชือก ดังภาพ

ถ?าต?องการให?ลวดหลุดออกจากผิวของของเหลวได? จะต?องออกแรงดึงขนาดอย9างน?อยกี่นิวตัน (วิชาสามัญ’65)


(1) 3.9 x 10-2 (2) 4.9 x 10-2 (3) 5.9 x 10-2
(4) 7.8 x 10-2 (5) 9.8 x 10-2

2. ผูกภาชนะด?วยเชือก 2 เส?น แล?วแขวนกับเพดาน ซึ่งก?นภาชนะมีพื้นที่ 1.00 x 10-2 ตารางเมตร และภายใน


ภาชนะบรรจุน้ำมันที่มีระดับสูงจากก?นภาชนะ 10.0 เซนติเมตร ดังภาพ

ผลรวมของแรงที่ของไหลกระทำต9อก?นภาชนะทั้งภายในและภายนอกมีขนาดกี่นิวตัน (A-level 66)


กำหนดให? ความดันบรรยากาศ ณ ตำแหน9งที่ผูกภาชนะ P0 = 1.010 x 105 Pa
ความหนาแน9นของน้ำมัน ‡ = 800 kg/m3
ขนาดของความเร9งโน?มถ9วง g = 9.80 m/s2

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 108

3. ลวดโลหะ A และ B มีพื้นที่หน้าตัด 10.0 และ 2.0 ตารางมิลลิเมตร ตามลําดับ


กําหนดให้ ความสัมพันธ์ระหว่างความเค้น (†) และความเครียด (‰) ของลวดโลหะทั้งสองเป็นดังกราฟ

หากต้องการลวดโลหะที่ทนต่อแรงภายนอกที่มากระทําได้มากกว่า โดยยังสามารถกลับมามีความยาวเท่าเดิม
ควรเลือกโลหะใด และมอดูลัสของยังของลวดโลหะดังกล่าวมีค่ากี่พาสคัล (วิชาสามัญ’65)
(1) ลวดโลหะ A และ 2.0 x 10-11 พาสคัล
(2) ลวดโลหะ A และ 5.0 x 1010 พาสคัล
(3) ลวดโลหะ B และ 5.0 x 10-12 พาสคัล
(4) ลวดโลหะ B และ 8.0 x 108 พาสคัล
(5) ลวดโลหะ B และ 2.0 x 1011 พาสคัล

4. การยกวัตถุที่จมอยู9ใต?น้ำให?ลอยขึ้นมา ทำได?โดยใช?บอลลูนยางที่สามารถหดหรือขยายได?อิสระผูกติดกับวัตถุ
ที่จมอยู9ใต?น้ำ หากใช?บอลลูนยางชนิดหนึ่งที่มีมวลเท9ากับ 100 กิโลกรัม เมื่ออัดแก¢สเฉื่อยเข?าไปในบอลลูนยางนี้
ทำให?บอลลูนยางมีปริมาตร 1.98 m3 ที่บริเวณผิวน้ำ ถ?านำบอลลูนยางที่มีแก¢สเฉื่อยมวลเท9ากันนี้ไปผูกติดกับ
วัตถุใต?น้ำที่มีปริมาตร 0.50 m3 และตำแหน9งกึ่งกลางของบอลลูนยางอยู9ใต?ผิวน้ำลึก 10 เมตร
กำหนดให? ความดันอากาศที่ระดับผิวน้ำเท9ากับ 1.0 x 105 พาสคัล
ความหนาแน9นของน้ำเท9ากับ 1.0 x 103 กิโลกรัมต9อลูกบาศก$เมตร
ความเร9งโน?มถ9วงเท9ากับ 9.8 เมตรต9อวินาที2
อุณหภูมิที่ผิวน้ำและใต?น้ำที่ระดับความลึก 10 เมตร มีค9าเท9ากัน
จากข?อมูล มวลของวัตถุที่มากที่สุดที่บอลลูนยางลูกนี้สามารถยกให?ลอยขึ้นสู9ผิวน้ำได?คือข?อใด หากไม9คำนึงถึง
ความหนืดของน้ำ (PAT2 มี.ค. 64)
(1) 1.2 ตัน (2) 1.5 ตัน (3) 1.8 ตัน
(4) 2.1 ตัน (5) 2.4 ตัน

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 109

5. ในการทดลองหามวลและปริมาตรของพลาสติกทรงกระบอกตันโดยใช้หลักการเรื่องแรงพยุง เป็นดังนี้

ขั้นที่ 1 ตวงนํ้าใส่กระบอกตวงที่มีขนาดบรรจุ 250 มิลลิลิตร ดังรูป a


ขั้นที่ 2 ใส่พลาสติกทรงกระบอกตันลงในกระบอกตวงที่เตรียมไว้ในขั้นที่ 1 ดังรูป b
ขั้นที่ 3 นําลาสติกทรงกระบอกตันออกจากกระบอกตวงและเทนํ้าออก จากนั้นหย่อนมวลถ่วงทรง
กลมลงในกระบอกตวงและเทนํ้าจนมิดทรงกลม ดังรูป c
ขั้นที่ 4 นํามวลถ่วงทรงกลมออกจากกระบอกตวงโดยไม่เทนํ้าออกจากกระบอกตวง จากนั้นผูก
พลาสติกทรงกระบอกตันกับมวลถ่วง และหย่อนทั้งหมดลงในกระบอกตวง ดังรูป d

กําหนดให้ 1) ความหนาแน่นของนํ้าเท่ากับ 1.0 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร


2) ปริมาตร 1 มิลลิลิตรเท่ากับ 1 ลูกบาศก์เซนติเมตร
3) เชือกมีมวลและปริมาตรน้อยมาก
กระบวนการใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT2 มี.ค. 65)
(1) จากรูป a และ b สามารถหาปริมาตรของพลาสติกทรงกระบอกต้นได้จากปริมาตรของนํ้าที่ถูก
แทนที่โดยมีค่า 20 มิลลิลิตร
(2) จากรูป a และ b สามารถคํานวณหามวลของพลาสติกทรงกระบอกตันได้ 20 กรัม จากผลคูณของ
ความหนาแน่นของนํ้ากับปริมาตรของนํ้าที่ถูกแทนที่ด้วยพลาสติกทรงกระบอกตัน
(3) จากรูป c และ d ไม่สามารถคํานวณหาปริมาตรของพลาสติกทรงกระบอกตันได้เนื่องจากไม่ทราบ
แรงดึงเชือก
(4) จากรูป c และ d สามารถหาปริมาตรของพลาสติกทรงกระบอกตันได้จากปริมาตรของนํ้าที่ถูก
แทนที่โดยมีค่า 20 มิลลิลิตร
(5) จากรูป c และ d สามารถคํานวณหามวลของพลาสติกทรงกระบอกตันได้ 25 กรัม จากผลคูณของ
ความหนานแน่นของนํ้ากับปริมาตรของนํ้าที่ถูกแทนที่ด้วยพลาสติกทรงกระบอกตัน

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 110

6. ในการรดนํ้าต้นไม้ที่อยู่ไกล โดยใช้สายยางที่สามารถปรับขนาด
ของรูปที่ปลายสายยางได้ เมื่อปรับขนาดของรูจะทําให้
พื้นที่หน้าตัดของนํ้าที่ไหลผ่านปลายสายยางมีขนาดเล็กลง
ลักษณะการไหลของนํ้าเป็นดังรูป โดยตําแหน่ง A เป็นตําแหน่ง
ของนํ้าก่อนถึงปลายสายยาง และตําแหน่ง B เป็นตําแหน่งของนํ้าที่ปลายสายยาง
กําหนดให้ 1) → แทนทิศทางการไหลของนํ้า
2) พิจารณาการไหลของนํ้าเป็นการไหลในอุดมคติ (PAT2 มี.ค. 65)
การเปรียบเทียบปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการไหลของนํ้าที่ตําแหน่ง A และตําแหน่ง B ในข้อใดถูกต้อง
ความดันของน้ำ อัตราการไหลของน้ำ อัตราเร็วของน้ำ
(1) A น?อยกว9า B A มากกว9า B A มากกว9า B
(2) A น?อยกว9า B A เท9ากับ B A น?อยกว9า B
(3) A มากกว9า B A เท9ากับ B A น?อยกว9า B
(4) A มากกว9า B A มากกว9า B A เท9ากับ B
(5) A มากกว9า B A น?อยกว9า B A มากกว9า B

7. นำลวดโลหะเส?นหนึ่งที่มีพื้นที่หน?าตัด A ยาว L0 มาแขวนด?วยมวล m ขนาดต9าง ๆ


กันที่ปลายของลวดโลหะ แล?ววัดความยาวที่เปลี่ยนไปของลวดโลหะเทียบกับความยาว
เริ่มต?น พบว9า ความสัมพันธ$ระหว9างความยาวที่เปลี่ยนไปของลวดโลหะ (∆L) กับมวล
ที่ใช?แขวน (m) มีแนวโน?มเปIนดังกราฟ
ถ?าใช?กราฟข?างต?นหาค9ามอดูลัสของยัง Y ของลวดโลหะเส?นนี้จะหาได?จากสมการใด
กำหนดให? k คือ ความชันของกราฟ และ g คือ ความเร9งโน?มถ9วงของโลก (วิชาสามัญ เม.ย. 64)
(1) — = R@_: ’
0s
(2) — =
6E*
s
(3) — =
06E*
06E*
(4) — =
s
6E*
(5) — =
0s

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 111

8. การใช?หลอดเพื่อดูดน้ำในแก?ว สามารถอธิบายได?ด?วยหลักการของ “ความดันอากาศ”

จากภาพที่ 1 ก9อนดูดน้ำ ความดันอากาศภายใน (P1) และภายนอกหลอด (Pout) มีค9าเท9ากัน และระดับน้ำ


ภายในและภายนอกหลอดสูงเท9ากันพอดี ขณะดูดน้ำด?วยหลอด ดังภาพที่ 2 ปริมาตรช9องอกจะเพิ่มขึ้น
อากาศที่เคยอยู9ในหลอดจะเคลื่อนที่เข?าสู9ปาก ทำให?ความดันอากาศภายในหลอดลดลง และมีค9าน?อยกว9า
ความดันอากาศภายนอก น้ำส9วนหนึ่งจึงถูกดันให?เข?าไปในหลอดได?มากขึ้นเนื่องจากผลต9างของความดัน
อากาศ
กำหนให? ‡ = ความหนาแน9นของน้ำ @ = ความเร9งโน?มถ9วง อุณหภูมิของระบบนี้คงตัว
ถ?าใช?หลอดดูดน้ำในแก?วจนระดับน้ำภายในหลอดมีความสูงวัดจากระดับน้ำในแก?วเท9ากับ h แล?วปริมาตร
ของช9องอกที่เพิ่มขึ้นจะคิดเปIนร?อยละเท9าใดของปริมาตรเดิม (PAT2 มี.ค. 64)
t6B t6B u+#, %t6B
(1) × 100% (2) × 100% (3) ×
u+#, %t6B u+#, t6B
100%
u+#, u+#, Dt6B
(4) × 100% (5) × 100%
u+#, %t6B u+#,

9. น้ำที่มีความหนาแน9น ‡ ไหลต9อเนื่องในท9อผ9านตำแหน9ง a ซึ่งมีพื้นที่หน?าตัด A และมีความดันในน้ำเปIน


10 เท9าของความดันบรรยากาศ P0 ออกไปปลายท9อที่ตำแหน9ง b ซึ่งเป4ดสู9บรรยากาศ มีพื้นที่หน?าตัดเท9ากับ
s
โดยจุดศูนย$กลางของท9อที่ตำแหน9ง b อยู9สูงจากจุดศุนย$กลางของท9อที่ตำแหน9ง a เปIนระยะ H ดังภาพ
√)

อัตราเร็วของน้ำที่พุ9งออกจากปลายท9อที่ตำแหน9ง b มีค9า
เท9าใด (วิชาสามัญ เม.ย. 64)

cu* cu*
(1) k2 ] ^−@ (2) k2 ]@™ − ^
t t

cu* u
(3) 2 ök − @™õ (4) 2úm@™ù (5) 6 ök *õ
t t

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 112

10. เอียงกาน้ำชาที่ฝามีรูเป4ดโดยให?ปากพวย ณ ตำแหน9ง a ซึ่งมีพื้นที่หน?าตัด A ทำมุม 9 กับแนวระดับ


ระยะทางจากผิวน้ำชา ณ ตำแหน9ง b ถึงตำแหน9ง c เท9ากับ H และระยะทางจากตำแหน9ง a ถึงตำแหน9ง c
เท9ากับ L ดังภาพ

อัตราการไหลของน้ำชาที่ออกจากปากพวย ณ ตำแหน9ง a มีค9าประมาณเท9าใด


กำหนดให? น้ำชาไหลอย9างต9อเนื่องและสม่ำเสมอ
อัตราการลดลงของระดับน้ำชาในกาช?ามาก ๆ ประมาณเปIนศูนย$
g เปIนขนาดความเร9งโน?มถ9วง

)6(v%E JKH I)
(1) k
s

)6(v%E H&' I)
(2) k
s

(3) `a2b(c − d)
(4) `a2b(c − d cos e)
(5) `a2b(c − d sin e)

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 113

บทที่ 18 คลื่นแม3เหล็กไฟฟëา
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เกิดจากการเหนี่ยวนําอย่างต่อเนื่องระหว่างสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้า กล่าวคือ
สนามไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลงตามเวลาทําให้เกิดสนามแม่เหล็ก ในขณะเดียวกันสนามแม่เหล็กที่เปลี่ยนแปลงตาม
เวลาก็ทําให้เกิดสนามไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจึงประกอบไปด้วย สนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าที่
เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา โดยทั้งสองสนามมีทิศทางตั้งฉากกันและตั้งฉากกับทิศทางของความเร็วในการ
เคลื่อนที่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นคลื่นตามขวางที่ไม่อาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ สามารถแผ่ออกไปได้ใน
สุญญากาศด้วยอัตราเร็วเท่ากับอัตราเร็วแสง หรือประมาณ 3 x 108 m/s และมีอัตราเร็วน้อยลงเมื่อเคลื่อนที่
ผ่านตัวกลาง โดยจะมีอัตราเร็วไม่เท่ากันในตัวกลางต่าง ๆ ขึ้นกับตัวกลางและชนิดของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

เมื่อต่อแหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสสลับเข้ากับสายอากาศที่ประกอบด้วยท่อนโลหะที่อยู่ในแนวดิ่ง
อิเล็กตรอนในสายอากาศจะเคลื่อนที่กลับไปมาด้วยความเร่งในแนวดิ่ง (สั่นสะเทือน) ทําให้เกิดคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้าแผ่ออกรอบสายอากาศทุกทิศทาง ยกเว้นทิศทางที่อยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกับสายอากาศ (แนวที่
ตรงกับการสั่นสะเทือน)

นอกจากนี้ อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ด้วยความเร่งก็สามารถเหนี่ยวนําให้เกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้เช่นกัน

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 114

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีความถี่ต่าง ๆ มากมายต่อเนื่องกันเป็นช่วงกว้าง เรียกรวมกันว่า สเปกตรัมคลื่น


แม่เหล็กไฟฟ้า สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าประกอบด้วย คลื่นวิทยุ ไมโครเวฟ รังสีอินฟราเรด แสง รังสี
อัลตราไวโอเลต รังสีเอกซ์ และรังสีแกมมา
ℎT
เราสามารถหาพลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้จากสมการ ] = ℎC ]=
D
] คือ พลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า มีหน่วยเป็น จูล

ℎ คือ ค่าคงที่ของพลังค์ มีค่าเท่ากับ 6.62 x 10-34 จูล วินาที

C คือ ความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า มีหน่วยเป็น เฮิรตซ์

T คือ อัตราเร็วของแสง มีค่าเท่ากับ 3 x 108 เมตรต่อวินาที

D คือ ความยาวคลื่นของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า มีหน่วยเป็น เมตร

พลังงานอาจอยู่ในหน่วย eV อิเล็กตรอนโวลต์ ซึ่ง 1 eV = 1.6 x 10-19 J

คลื่นวิทยุ มีความถี่ในช่วง 106 – 109 เฮิรตซ์ มักใช้ในการส่งสัญญาณคลื่นเสียง คลื่นวิทยุมี 2 ระบบ

1. คลื่นวิทยุระบบ AM (amplitude modulation) ระบบการผสมคลื่นที่เมื่อผสมกันแล้ว


ทําให้แอมพลิจูดของคลื่นวิทยุเปลี่ยนแปลงไปตามคลื่นเสียง วิทยุ AM ให้คุณภาพเสียงไม่ดีนักเพราะ
เกิดการรบกวนได้ง่าย เรียกคลื่นวิทยุว่า คลื่นพาหะ เมื่อคลื่นวิทยุที่ผสมคลื่นเสียงกระจายออกจาก
สายอากาศไปยังเครื่องรับวิทยุแล้วขยายให้แอมพลิจูดสูงขึ้น เพื่อส่งให้ลําโพงแปลงสัญญาณออกมา
เป็นเสียงที่หูรับฟังได้

2. คลื่นวิทยุระบบ FM (frequency modulation) ระบบการผสมคลื่นที่เมื่อผสมกันแล้ว


ทําให้ความถี่ของคลื่นวิทยุเปลี่ยนแปลงไป คลื่นวิทยุระบบ FM มีความถี่มากกว่าระบบ AM

ระบบ AM และ ระบบ FM แตกต่างกันที่วิธีผสมคลื่น ดังนั้น วิธีการแยกคลื่นเสียงออกจาก


คลื่นพาหะก็แตกต่างกัน เครื่องรับสัญญาณวิทยุระบบ AM และสัญญาณวิทยุระบบ FM จึงไม่สามารถ
รับสัญญาณวิทยุของอีกระบบได้

เพิ่มเติม : คลื่นวิทยุระบบ AM สะท้อนที่ชั้นไอโอโนสเฟียร์ได้ดี แต่ระบบ FM สะท้อนได้น้อย

คลื่นโทรทัศน์และไมโครเวฟ มีความถี่ช่วง 108 - 1012 Hz มีประโยชน์ในการสื่อสาร แต่จะไม่สะท้อน


ที่ชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์ แต่จะทะลุผ่านชั้นบรรยากาศไปนอกโลก ในการถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 115

จะต้องมีสถานีถ่ายทอดเป็นระยะ ๆ เพราะสัญญาณเดินทางเป็นเส้นตรง และผิวโลกมีความโค้ง ดังนั้นสัญญาณ


จึงไปได้ไกลสุดเพียงประมาณ 80 กิโลเมตรบนผิวโลก อาจใช้ไมโครเวฟนําสัญญาณจากสถานีส่งไปยังดาวเทียม
แล้วให้ดาวเทียมนําสัญญาณส่งต่อไปยังสถานีรับที่อยู่ไกล ๆ

เนื่องจากไมโครเวฟจะสะท้อนกับผิวโลหะได้ดี จึงนําไปใช้ประโยชน์ในการตรวจหาตําแหน่งของ
อากาศยาน เรียกอุปกรณ์ดังกล่าวว่า เรดาร์ โดยส่งสัญญาณไมโครเวฟออกไปกระทบอากาศยาน และรับคลื่นที่
สะท้อนกลับจากอากาศยาน ทําให้ทราบระยะห่างระหว่างอากาศยานกับแหล่งส่งสัญญาณไมโครเวฟได้

รังสีอินฟราเรด มีช่วงความถี่ 1011 - 1014 Hz หรือความยาวคลื่นตั้งแต่ 10-3 - 10-6 เมตร ซึ่งมีช่วง


ความถี่คาบเกี่ยวกับไมโครเวฟ รังสีอินฟราเรดสามารถใช้กับฟิล์มถ่ายรูปบางชนิดได้ และใช้เป็นการควบคุม
ระยะไกลหรือรีโมทคอนโทรลกับเครื่องรับโทรทัศน์ได้ โดยปกติสิ่งมีชีวิตจะแผ่รังสีอินฟราเรดออกมาตลอดเวลา

แสง มีความถี่ประมาณ 4 x 1014 Hz – 8 x 1014 Hz ประสาทตาของมนุษย์ไวต่อคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า


ในช่วงนี้มาก สเปกตรัมของแสงสามารถแยกได้ดังนี้

สี ความยาวคลื่น (nm)
ม่วง 380 – 420
คราม 420 – 460
นํ้าเงิน 460 – 490
เขียว 490 – 580
เหลือง 580 – 590
ส้ม 590 – 650
แดง 650 - 700

รังสีอัลตราไวโอเลต มีความถี่ในช่วง 1015 Hz – 1018 Hz รังสีอัลตราไวโอเลตที่มีในธรรมชาติส่วน


ใหญ่มาจากดวงอาทิตย์ ซึ่งทําให้เกิดประจุอิสระและไอออนในบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์ รังสีอัลตราไวโอเลต
สามารถทําให้เชื้อโรคบางชนิดตายได้ แต่มีอันตรายต่อผิวหนังและตาคน

รังสีเอกซ์ มีความถี่ช่วง 1016 - 1022 Hz มีความยาวคลื่นระหว่าง 10-8 - 10-13 เมตร ซึ่งสามารถทะลุ


สิ่งกีดขวางหนา ๆ ได้ หลักการสร้างรังสีเอกซ์ คือ การเปลี่ยนความเร็วของอิเล็กตรอน มีประโยชน์ทาง
การแพทย์ในการตรวจดูความผิดปกติของอวัยวะภายในร่างกาย เนื่องจากรังสีเอกซ์จะถูกขวางกั้นโดยอะตอม

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 116

ของธาตุหนักได้ดีกว่าธาตุเบา จึงใช้วิธีฉายรังสีเอกซ์ผ่านร่างกายไปตกลงบนแผ่นฟิล์มซึ่งทําให้เกิดรอยดําบน
แผ่นฟิล์ม เพื่อตรวจดูความผิดปกติของกระดูกและอวัยวะภายใน ในวงการอุตสาหกรรมใช้ในการตรวจหารอย
ร้าวภายในชิ้นส่วนโลหะขนาดใหญ่ ใช้ตรวจหาอาวุธปืนหรือระเบิดในกระเป๋าเดินทาง และศึกษาการจัดเรียงตัว
ของอะตอมในผลึก

รังสีแกมมา มีความถี่สูงกว่ารังสีเอกซ์ เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดจากปฏิกิริยานิวเคลียร์และ


สามารถกระตุ้นปฏิกิริยานิวเคลียร์ได้ มีอํานาจทะลุทะลวงสูง เนื่องจากเป็นรังสีที่มีความถี่สูง (พลังงานสูง) จึง
เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิด

โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

แหล่งกําเนิดคลื่นแสงทั่วไปในชีวิตประจําวัน เช่น ดวงอาทิตย์ หลอดไฟ รวมทั้งแสงสะท้อนจากสิ่งต่าง


ๆ รอบตัว จะมีสนามไฟฟ้าเปลี่ยนแปลงกลับไปมาอยู่ในหลายระนาบที่ตั้งฉากกับทิศทางการเคลื่อนที่ แสงจาก
แหล่งกําเนิดแสงดังกล่าวจึงเป็นแสงไม่พาลาไรซ์

ปรากฎการณ์โพลาไรซ์ (Polarization) เกิดได้เฉพาะกับคลื่นตามขวางเท่านั้น โดยปรากฎการณ์


โพลาไรซ์ คือ ปรากฎการณ์ที่มีการสั่นของสนามไฟฟ้าในแนวใดแนวหนึ่งเท่านั้น (ปกติแล้วสนามไฟฟ้าจะสั่นใน
ทุกทิศทาง) ดังรูป ด้านซ้ายคือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ไม่โพลาไรซ์ ส่วนด้านขวาคือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่โพลาไรซ์

การโพลาไรเซชันของแสง ทําได้หลายวิธี เช่น 1. ฉายแสงผ่าน


แผ่นโพลารอยด์ การให้แสงผ่านแผ่นโพลารอยด์ โดยแผ่นโพลารอยด์มี
ความสามารถในการดูดกลืนสนามไฟฟ้าในแนวที่ตั้งฉากกับแกนส่งผ่าน
โดยปกติแล้วแสงจะมีการสั่นของสนามไฟฟ้ารอบทิศทางแบบสุ่ม แต่เมื่อ
แสงถูกดูดกลืนผ่านแผ่นโพลารอยด์ จะทําให้การสั่นของสนามไฟฟ้าใน
แนวที่ตั้งฉากกับแกนส่งผ่านดูดกลืน ทําให้แสงที่ผ่านออกมาจากแผ่นโพ

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 117

ลารอยด์กลายเป็นแสงโพลาไรซ์ คือแสงที่มีการสั่นของสนามไฟฟ้าในทิศทางเดียว

2. ใช้การสะท้อนแสง การให้แสงตกกระทบวัตถุโปร่งแสง เช่น แก้ว นํ้า หากต้องการให้แสงที่สะท้อน


ออกมาเป็นแสงโพลาไรซ์ ต้องใช้มุมตกกระทบที่เหมาะสม โดยมุมตกกระทบที่ทําให้แสงเป็นแสงโพลาไรซ์หาได้
จาก &%45 = 4

3. ใช้การกระเจิงของแสง เมื่อคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าตกกระทบอนุภาค เช่น ก๊าซ หรืออิเล็กตรอนใน


โมเลกุลของตัวกลาง อนุภาคจะดูดกลืนพลังงานจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า แล้วแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกมาทุก
ทิศทาง ปรากฏการณ์นี้ เรียกว่า การกระเจิง (scattering) แสงที่กระเจิงออกมาจะเป็นแสงโพลาไรซ์
ตัวอย3างขQอสอบเรื่อง คลื่นแม3เหล็กไฟฟëา
1. ข้อใดผิด (NETSAT 64)
(1) การเกิดการโพลาไรส์ สามารถเกิดได้กับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทุกชนิด
(2) คลื่นวิทยุเดินทางจากโลกถึงดวงจันทร์ได้ช้ากว่าแสง
(3) คลื่นวิทยุท่อี อกอากาศจากสถานีส่งไปยังเครื่องรับวิทยุเป็นการนําพลังงานจากสถานีไปยังเครื่องรับวิทยุ
ด้วย
(4) เตาไมโครเวฟเป็นแหล่งกําเนิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

2. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. เครื่องรับวิทยุทํางานโดยรับคลื่นเสียงจากสถานีวิทยุแล้วแปลงเป็นสัญญาณไฟฟ้า
ข. คลื่นไมโครเวฟถูกนํามาใช้ในระบบระบุตําแหน่งบนพื้นโลกหรือจีพีเอส
ค. สัญญาณที่มีการเปลี่ยนแปลงระหว่าง 2 สถานะ คือ -1 กับ +1 ต่อเนื่องตลอดเวลา
จัดเป็นสัญญาณแอนะล็อก
ข้อความใดถูกต้อง (วิชาสามัญ เม.ย. 64)
(6) ข. เท่านั้น
(7) ค. เท่านั้น
(8) ก. และ ข.
(9) ก. และ ค.
(10)ข. และ ค.

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 118

3. นักเรียนคนหนึ่งมีแผ่นโพลารอยด์ที่ทราบแนวโพลาไรส์ 1 แผ่น และแหล่งกําเนิดแสงโพลาไรส์ที่ไม่ทราบ


แนว โพลาไรส์ เขาจึงคิดวิธีการทดลองเพื่อหาแนวโพลาไรส์ของแสงดังกล่าว ดังนี้
“ฉายแสงให้เคลื่อนที่ในทิศ +z ผ่านแผ่นโพลารอยด์ซึ่งอยู่ในแนวขนานกับระนาบ xy ดังภาพ แล้วสังเกตความ
สว่างของแสงในขณะที่หมุนแผ่นโพลารอยด์รอบแกน z อย่างช้า ๆ เพื่อหาตําแหน่งมุมที่ทําให้มองเห็นแสงมี
ความสว่างมากที่สุด”
วิธีข้างต้นจะสามารถใช้หาแนวโพลาไรส์ของแสงได้หรือไม่ เพราะ
เหตุใด (วิชาสามัญ 65)

(1) ไม่ได้ เพราะความสว่างของแสงที่ผ่านแผ่นโพลารอยด์จะ


คงที่ ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
(2) ไม่ได้ เพราะการใช้แผ่นโพลารอยด์เพียงแผ่นเดียวจะไม่สามารถหาแนวโพลาไรส์ของแสงได้
(3) ไม่ได้ เพราะแสงโพลาไรส์จะมีสนามไฟฟ้าอยู่หลายแนวจึงไม่สามารถหาแนวโพลาไรส์ของแสงได้
(4) ได้ เพราะขณะที่แสงมีความสว่างมากที่สุด จะระบุได้ว่า แนวโพลาไรส์ของแสงอยู่ในแนวขนานกับ
แนวโพลาไรส์ของแผ่นโพลารอยด์
(5) ได้ เพราะขณะที่แสงมีความสว่างมากที่สุด จะระบุได้ว่า แนวโพลาไรส์ของแสงอยู่ในแนวตั้งฉากกับ
แนวโพลาไรส์ของแผ่นโพลารอยด์

4. แว่นตากันแดดแบบโพลาไรส์ คือแว่นตากันแดดที่ใช้หลักการเช่นเดียวกับแผ่นโพลารอยด์ เมื่อนํามา


ทดสอบแสงจากหน้าจอคอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นแสงโพลาไรส์โดยให้ระนาบของเลนส์แว่นตาขนานกับหน้า
จอคอมพิวเตอร์ จากนั้นหมุนแนวของแว่นตาทํามุม 9 ต่าง ๆ กับแนวระดับ (แกน x) ของหน้า
จอคอมพิวเตอร์ พบว่า ความสว่างที่สังเกตผ่าน มุมที่หมุน 5 (องศา) ความสว่างที่สังเกตได้
เลนส์ข้างเดียว เป็นดังตาราง 0 สว่าง
30 สว่างน้อย
90 ไม่สว่าง
120 สว่างน้อยมาก
180 สว่าง
270 ไม่สว่าง

และความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มแสง I ที่ผ่านแว่นตากันแดดและมุมที่หมุนเป็นดังสมการ
‘ = ‘: (cos 9))
เมื่อ ‘: คือ ความเข้มแสงจากหน้าจอคอมพิวเตอร์ก่อนผ่านแว่นตา
จากข้อมูล ข้อใดแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มแสงที่ผ่านแว่นตากันแดดกับมุมที่หมุนได้ถูกต้อง
(PAT2 มี.ค. 65)

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 119

(1) (2)

(3) (4)

(5)

5. ณ ตำแหน9งและเวลาหนึ่ง คลื่นแม9เหล็กไฟฟXาที่กำลังเคลื่อนที่ในทิศ -y มีสนามแม9เหล็กในทิศ +x จะมี


สนามไฟฟXาในทิศทางใด (PAT2 ก.พ. 63)

(1) -x (2) +y (3) -z (4) +z (5) อยู9ระหว9าง +x กับ -y

6. แสงไม9โพลาไรส$ที่ตกกระทบแผ9นกระจกที่วางอยู9ในอากาศ จะให?แสงสะท?อนที่เปIนแสงโพลาไรส$ก็ต9อเมื่อ
เงื่อนไขใดเปIนจริง (PAT2 ก.พ. 62)

(6) มุม x + y = 90 องศา


(7) มุม y + z = 90 องศา
(8) มุม x + y + z = 180 องศา
(9) มุม y + z – x = 90 องศา
(10)มุม z = 90 องศา

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 120

7. คลื่นแม9เหล็กไฟฟXาหนึ่งกำลังแผ9ไปทางทิศตะวันออกโดยที่ตำแหน9งหนึ่ง มีสนามไฟฟXาพุ9งไปในทิศเหนือ ที่


ตำแหน9งดังกล9าว ณ เวลานั้นทิศของสนามแม9เหล็กเปIนอย9างไร

(1) พุ9งขึ้น (2) พุ9งลง (3) ชี้ไปทางทิศใต?

(4) ชี้ไปทางทิศตะวันตก (5) ชี้ไปทางทิศตะวันออก

8. นักเรียนคนหนึ่งต?องการสร?างคลื่นแม9เหล็กไฟฟXาด?วยการนำขดลวดทองแดงเคลือบฉนวน 2 ขด มาพัน
รอบแกนเหล็กเพื่อทำหน?าที่เปIนหม?อแปลง โดยให?จำนวนรอบขดลวด Y มากกว9าจำนวนรอบของขดลวด X
มาก ๆ ให?ปลายขดลวด X ต9อกับแบตเตอรี่ และให?ปลายของขดลวด Y ต9อกับตัวนำทรงกลม Z และ Z’ ที่อยู9
ห9างกันเล็กน?อย และมีแผ9นโลหะ L กับ L’ ต9อกับตัวนำทรงกลม ดังภาพ

อุปกรณ$นี้สามารถสร?างคลื่นแม9เหล็กไฟฟXาอย9างต9อเนื่องได?หรือไม9 เพราะเหตุใด

(1) ไม9ได? เพราะกระแสไฟฟXาจากแบตเตอรี่ไม9เปลี่ยนแปลงตามเวลา


(2) ไม9ได? เพราะมีกระแสไฟฟXาคงตัวเคลื่อนที่จากขดลวด X ไปขดลวด Y
(3) ไม9ได? เพราะจำนวนขดลวด Y ต?องน?อยกว9าจำนวนขดลวด X
(4) ได? เพราะจะเกิดอีเอ็มเอฟเหนี่ยวนำที่ขดลวด Y อย9างต9อเนื่อง
(5) ได? เพราะกระแสไฟฟXาที่ผ9านขดลวด X ทำให?เกิดสนามแม9เหล็กที่มีขนาดคงตัว

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 121

บทที่ 19 ฟUสิกส1อะตอม
แบบจําลองอะตอม ได้มาจากการทดลองของนักวิทยาศาสตร์โดยมีวิวัฒนาการ ดังนี้

แบบจําลองอะตอมของทอมสัน ทอมสัน ศึกษารังสีแคโทด


ในหลอดแก้วสุญญากาศที่ฉาบด้วยสารเรืองแสง รังสีแคโทดมีการ
เบี่ยงเบนในสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก จึงสรุปได้ว่าเป็นรังสีที่มี
ประจุลบ ต่อมาถูกเรียกว่าอิเล็กตรอน ทอมสันได้นําเสนอแบบจําลอง
อะตอมแบบ plum-pudding model

ซึ่งแบบจําลองนี้อธิบายว่า อะตอมประกอบด้วยเนื้ออะตอมที่มีประจุเป็นบวก และมีประจุลบกระจาย


ตัวอยู่อย่างสมํ่าเสมอภายในอะตอม

การทดลองของมิลลิแกน เปIนการทดลองเพื่อหาค9าประจุของอิเล็กตรอน โดยใช?หลักสมดุลของแรง


เนื่องมาจากสนามไฟฟXาและแรงเนื่องมาจากสนามโน?มถ9วง (แรงไฟฟXาทิศขึ้นและแรงโน?มถ9วงทิศลงสู9พื้น)
ในการทดลองมิลลิแกนจะฉีดน้ำมันออกมาเปIนละอองขนาดเล็ก แล?วปล9อยให?หยดน้ำมันไหลผ9านรูบน
แผ9นโลหะที่ต9อกับแบตเตอรี่ขั้วบวก ที่ด?านล9างของแผ9นโลหะ
ขั้วบวกจะทำการฉายแสงเพื่อให?อากาศในช9องว9างนั้นแตกตัวเปIน
ไอออน อิเล็กตรอนที่หลุดออกมาจากอากาศบางส9วนจะเกาะกับ
หยดน้ำมัน ทำให?หยดน้ำมันมีประจุเปIนลบ
เมื่อหยดน้ำมันมีประจุเปIนลบจะถูกแรงเนื่องจาก
สนามไฟฟXากระทำในแนวดิ่งในทิศชี้ขึ้น ในขณะเดียวกันจะถูกแรง
โน?มถ9วงกระทำในทิศชี้ลงสู9พื้นโลก มิลลิแกนจะสนใจหยดน้ำมันที่
ลอยนิ่งอยู9กับที่ เนื่องจากหยดน้ำมันดังกล9าวมีแรงลัพธ$เท9ากับ
ศูนย$ ค9าประจุที่เขาคำนวณได?มีหลายค9า เช9น 1.6 x 10-19 C, 3.2
x 10-19 C, 4.8 x 10-19 C เปIนต?น ซึ่งพบว9าเปIนจำนวนเท9าของ
1.6 x 10-19 C เขาจึงสรุปว9าน้ำมันแต9ละหยดมีจำนวนอิเล็กตรอน
ที่เข?าไปเกาะไม9เท9ากัน และอิเล็กตรอนแต9ละตัวจะมีประจุเปIน 1.6 x 10-19 C
แบบจําลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด รัทเทอร์ฟอร์ดได้ทําการทดลองเพื่อยืนยันแบบจําลองอะตอม
ของทอมสันโดยได้ทดลองยิงอนุภาคแอลฟา ( 4)™ž) ซึ่งได้จากการสลายตัวของอะตอมฮีเลียมไปยังแผ่น
ทองคําบาง ๆ แล้วสังเกตการเบี่ยงเบนของรังสีเขาพบว่า อนุภาคแอลฟาส่วนใหญ่จะเดินทางเป็นเส้นตรง ส่วน
น้อยจะมีการเบี่ยงเบนทิศทาง และนาน ๆ ครั้งจะมีการสะท้อนกลับอย่างแรง ซึ่งขัดแย้งกับสมมติฐานว่าถ้า
BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่
คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 122

แบบจําลองอะตอมของทอมสันถูกต้อง อนุภาคแอลฟาควรจะมีการสะท้อนกลับในเปอร์เซ็นต์ที่สูงมาก ดังนั้น


เขาจึงสร้างแบบจําลองอะตอมใหม่ขึ้นมา

โดยกล่าวว่า โปรตอนซึ่งมีประจุบวกรวมกันอยู่อย่างหนาแน่นตรงกลาง
อะตอมมีมวลมากแต่มีขนาดเล็กมากเมื่อเทียบกับปริมาตรของอะตอม ส่วนรอบ
นอกจะมีอิเล็กตรอนซึ่งมีประจุลบมีมวลน้อยมากเมื่อเทียบกับประจุบวก วิ่ง
วนรอบนิวเคลียส จึงทําให้อะตอมมีที่ว่างมากมายระหว่างโปรตอนกับ
อิเล็กตรอน ซึ่งหักล้างกับแบบจําลองอะตอมของทอมสัน
แบบจําลองอะตอมของโบร์ โบร์ได้เสนอแบบจําลองอะตอมของไฮโดรเจนขึ้นมา โดยนําแนวคิดเรื่อง
ควอนตัมของพลังงานของพลังค์มาใช้กับแบบจําลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด พร้อมทั้งเสอนสมมติฐานขึ้น
ใหม่ว่า
1. มีวงโคจรพิเศษเป็นวง ๆ ที่อิเล็กตรอนสามารถโคจรรอบนิวเคลียสอยู่ได้โดยไม่สูญเสียพลังงานและ
ในวงโคจรพิเศษนี้ อิเล็กตรอนจะมีโมเมนตัมเชิงมุมคงที่และจะมีค่าเป็นจํานวนเต็มเท่าของค่าคงตัวมูลฐานค่า
H
หนึ่ง คือ ℎ^ ซึ่งเท่ากับ !I เขียนในรูปความสัมพันธ์ได้ว่า

S!e = 4ℎ^
2. อิเล็กตรอนจะรับหรือคายพลังงานก็ต่อเมื่อมีการเปลี่ยนวงโคจรตามข้อ 1 และพลังงานที่รับเข้าไป
หรือคายออกมาจะอยู่ในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า โดยเป็นไปตามความสัมพันธ์ดังนี้

∆] = ]J − ]K
รัศมีวงโคจรอิเล็กตรอนแต่ละวงของอะตอมไฮโดรเจน (4 คือเลขควอนตัมของวงโคจร) สามารถหาได้จาก
สมการ eF = 5.3 × 10<## 4!

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 123

ระดับพลังงานของอะตอม
]# ]F คือ พลังงานอิเล็กตรอนในวงโคจรที่ n ของอะตอมไฮโดรเจน
]F =
4!
]# คือ พลังงานอิเล็กตรอนในวงโคจรที่ 1 ของอะตอมไฮโดรเจน

สเปกตรัมของอะตอม

1. ระดับพลังงานในสุด (n = 1) จะเป็นระดับที่มีพลังงานตํ่าสุด และถัดออกมาจะเป็นระดับพลังงานที่


มีพลังงานมากขึ้นเรื่อย ๆ และปกติอิเล็กตรอนชอบที่จะอยู่ในชั้นในสุด เพราะจะมีเสถียรภาพมากที่สุด เรียก
ภาวะนี้ว่า สภาวะพื้น (ground state)

2. เมื่ออิเล็กตรอนได้รับพลังงานมากพอ จะดูดกลืนพลังงานแล้วเปลี่ยนไปโคจรในระดับพลังงานที่
สูงขึ้น เรียกภาวนี้ว่า สภาวะกระตุ้น (excited state)

3. สภาวะกระตุ้นมีความไม่เสถียร ทําให้อิเล็กตรอนคายพลังงานออกมาในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเพื่อ
กลับมาโคจรในสภาวะพื้นดังเดิม พลังงานที่คายออกมามีสเปกตรัมดังนี้

ชื่ออนุกรม nf ni ช่วงของรังสี
ไลมาน (Lyman) 1 2, 3, 4, … อัลตราไวโอเลต
บาล์มเมอร์ (Balmer) 2 3, 4, 5, … แสงขาว
พาสเชน (Paschen) 3 4, 5, 6, …
แบรกเกต (Bracket) 4 5, 6, 7, … อินฟราเรด
ฟุนด์ (Pfund) 5 6, 7, 8, …

รังสีเอกซ์

รังสีเอกซ์ (X-Ray) ถูกค้นพบในปี ค.ศ. 1895 โดยนักฟิสิกส์ชาวเยอรมันชื่อ เรินต์เกน ได้พบรังสีนี้โดย


บังเอิญ ในขณะที่เขาทําการทดลองเกี่ยวกับรังสีแคโทดในห้องมืดสนิท เขาสังเกตว่า แร่แบเรียมแพลตทิโน
ไซยาไนด์เกิดเรืองแสงขึ้น ทําให้คิดว่าจะต้องมีรังสีบางอย่างเกิดขึ้นจากหลอดรังสีแคโทดและมีอํานาจทะลุผ่าน
สูงจนสามารถผ่านผนังหลอดแคโทดไปยังก้อนแร่ได้ เรินต์เกนเรียกรังสีนี้ว่า รังสีเอกซ์ ซึ่งภายหลัง
นักวิทยาศาสตร์ได้ศึกษาและทดลองเกี่ยวกับรังสีชนิดนี้มากขึ้น

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 124

หลอดรังสีเอกซ์เป็นเครื่องมือผลิตรังสีเอกซ์มี
ส่วนประกอบสําคัญ ดังรูป ขั้วแคโทดจะถูก
ทําให้ร้อนด้วยการผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไป
อิเล็กตรอนจะหลุดจากขั้วแคโทดและถูกเร่ง
ให้มีความเร็วสูง ไปชนเป้าโลหะที่ขั้วแอโนด
ทําให้เกิดรังสีเอกซ์

สเปกตรัมของรังสีเอกซ์มี 2 แบบ

1. สเปกตรัมแบบต่อเนื่อง (continuous X-rays) ในหลอดรังสีเอกซ์ เมื่ออิเล็กตรอนวิ่งเข้าชนกับ


อะตอมของเป้า จะมีการสูญเสียพลังงานจลน์ (เคลื่อนที่ช้าลง) โดยแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในรูปรังสีเอกซ์ออกมา
เนื่องจากจํานวนอิเล็กตรอนที่ชนเป้ามีมากและแต่ละตัวมีการสูญเสียพลังงานไม่เท่ากัน ดังนั้นรังสีเอกซ์ที่แผ่
ออกมาจะมีสเปกตรัมแบบต่อเนื่อง พลังงานจลน์ทั้งหมดของอิเล็กตรอนจะเปลี่ยนแปลงไปเป็นพลังงานคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งอยู่ในรูปรังสีเอกซ์ที่มีความถี่สูงสุด (fmax) เนื่องจากพลังงานมีค่าสูงที่สุดได้จากการผ่านความ
ต่างศักย์ V0

j คือประจุอิเล็กตรอน
Y คือความต่างศักย์ที่ใช้เร่งอิเล็กตรอน jY = ℎC
ℎ คือค่าคงที่ของพลังค์
ℎT
C คือความถี่สูงสุดของรังสีเอกซ์ jY =
D
T คืออัตราเร็วคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
D คือความยาวคลื่นน้อยสุดของรังสีเอกซ์

2. สเปกตรัมแบบเส้น (characteristic X-rays) เกิดจากอิเล็กตรอนที่ถูกเร่งจนมีพลังงานสูงมาก


ผ่านเข้าชนกับอิเล็กตรอนในวงโคจรชั้นในของอะตอม ทําให้อิเล็กตรอนดังกล่าวหลุดออกไป อิเล็กตรอนใน
ระดับพลังงานที่สูงกว่าจึงปลดปล่อยพลังงานออกมาในรูปรังสีเอกซ์แล้วเข้ามาแทนที่อิเล็กตรอนที่หลุดออกไป
รังสีเอกซ์ที่ปล่อยออกมาจะมีค่าเฉพาะตัวและจะแตกต่างกันไปตามชนิดของโลหะที่เป็นเป้า

การแผ่รังสีของวัตถุดํา

วัตถุดํา (Black body) คือ ระบบในอุดมคติที่ดูดกลืนรังสี (คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า) ทั้งหมดที่ตกกระทบ


และยังแผ่รังสีได้ดีมากเช่นกัน โดยจะแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในช่วงความถี่ของรังสีอินฟราเรด (รังสีความร้อน)

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 125

ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค

ปรากฎการณ์โฟโตอิเล็กทริก เป็นปรากฎการณ์ที่อิเล็กตรอนของโลหะได้รับพลังงานคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้า (แสง) ในความถี่ที่เหมาะสมที่จะหลุดออกมาจากผิวโลหะได้ อิเล็กตรอนที่หลุดออกมาเรียกว่าโฟ
โตอิเล็กตรอน ซึ่งจะมีจํานวนเพิ่มขึ้นตามความเข้มแสงที่ตกกระทบ ไอน์สไตน์ได้เสนอแนวความคิดเพื่ออธิบาย
ปรากฎการณ์โฟโตอิเล็กทริกโดยอาศัยสมมติฐานของพลังค์ว่า แสงมีลักษณะเป็นก้อนพลังงานหรือควอนตัม
ของพลังงาน ซึ่งเรียกว่า โฟตอน มีพลังงาน ℎC และปรากฎการณ์โฟโตอิเล็กทริกจะเกิดขึ้นได้ จะต้องใช้แสง
ที่มีความถี่มากกว่าหรือเท่ากับความถี่ค่าหนึ่งที่เรียกว่า ความถี่ขีดเริ่ม (C9 ) ซึ่งเป็นความถี่ของโฟตอนที่มี
พลังงานเท่ากับพลังงานที่โลหะยึดอิเล็กตรอนไว้ เรียกว่า ฟังก์ชันงาน (c ) ตามสมการ
c = ℎC9

จากกฎการอนุรักษ์พลังงานจะได้พลังงานจลน์สูงสุดของโฟโตอิเล็กตรอนตามสมการ
]CDLM = ℎC − c

พลังงานจลน์สูงสุดของโฟโตอิเล็กตรอนหาได้จากการทดลองด้วยการต่อความต่างศักย์ไฟฟ้าต้านโฟโต
อิเล็กตรอน จนกระแสโฟโตอิเล็กตรอนเป็นศูนย์พอดี เรียก ความต่างศักย์หยุดยั้ง (YE ) สัมพันธ์กับพลังงานจลน์
สูงสุดของโฟโตอิเล็กตรอนตามสมการ ]CDLM = jYE

ปรากฎการณ์คอมป์ตัน

คอมป์ตัน ทําการทดลองฉายรังสีเอกซ์ไปที่แท่งแกรไฟต์ ปรากฎว่ามีอิเล็กตรอนและรังสีเอกซ์กระเจิง


ออกมา และจะพบว่าความยาวคลื่นและพลังงานของรังสีเอกซ์ที่กระเจิงออกมาจะแปรผันตามมุมที่กระเจิงซึ่ง
เป็นไปตามกฎการอนุรักษ์พลังงานและกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม แสดงว่าการชนระหว่างโฟตอนของรังสีเอกซ์
กับอิเล็กตรอนในแท่งแกรไฟต์เป็นการชนกันของอนุภาค

สมมติฐานของเดอบรอย

เดอ บรอยล์ ได้เสนอสมมติฐานว่าอนุภาคสามารถแสดงสมบัติของคลื่นได้ โดยมีความยาวคลื่นซึ่ง


เรียกว่า ความยาวคลื่นเดอบรอยล์ และสมมติฐานนี้เรียกว่า สมมติฐานของเดอบรอยล์

D=
S!

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 126

จากแนวคิดของไอน์สไตน์และเดอ บรอยล์ ทําให้สรุปได้ว่า คลื่นแสดงสมบัติของอนุภาคได้และอนุภาค


แสดงสมบัติของคลื่นได้ สมบัติดังกล่าว เรียกว่า ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค ซึ่งเป็นรากฐานในการพัฒนา
กลศาสตร์ควอนตัม
ตัวอย3างขQอสอบเรื่อง ฟUสิกส1อะตอม

1. เมื่อฉายแสงความถี่ f ค่าต่าง ๆ ตกกระทบผิวโลหะชนิดหนึ่ง ได้ความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์หยุดยั้ง


กับความถี่ของแสง ดังกราฟ
กําหนดให้ e เป็นค่าประจุของอิเล็กตรอน
h เป็นค่าคงตัวของพลังค์ในหน่วยจูล วินาที
ที่ความถี่ f พลังงานจลน์สูงสุดของโฟโตอิเล็กตรอนมีค่ากี่อิเล็กตรอนโวลต์
(วิชาสามัญ 65)

BO
(1) − 2.0
w
BO
(2) + 2.0
w
BO
(3) + 5.0
w
(4) ℎf − 2.0ž
(5) ℎf + 2.0ž

2. ตามทฤษฎีอะตอมของโบร์ ถ้าอิเล็กตรอนในอะตอมไฮโดรเจนเปลี่ยนระดับพลังงานจากระดับพลังงานสูงไป
ยังระดับพลังงานตํ่ากว่าที่มีพลังงานเท่ากับ -3.40 eV โดยอิเล็กตรอนปลดปล่อยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มี
ควอนตัมของพลังงานเท่ากับ 1.89 eV อิเล็กตรอนดังกล่าวมีการเปลี่ยนระดับพลังงานจากระดับพลังงานจาก
ระดับใดไปยังระดับใด (วิชาสามัญ เม.ย. 64)
(1) จาก n = 4 ไปยัง n = 3 (2) จาก n = 4 ไปยัง n = 2 (3) จาก n = 3 ไปยัง n = 2
(4) จาก n = 3 ไปยัง n = 1 (5) จาก n = 2 ไปยัง n = 1

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 127

3. ทดลองปรากฎการณ์โฟโตอิเล็กทริก โดยฉายแสงความยาวคลื่น 440 นาโนเมตร ให้ตกกระทบผิวโลหะชนิด


หนึ่ง และต่อความต่างศักย์กลัวขั้วตามการทดลองดังภาพ
เมื่อปรับค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า ได้ความสัมพันธ์ระหว่างความต่าง
ศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นดังกราฟ

จากผลการทดลอง พิจารณาข้อสรุปต่อไปนี้
ข้อสรุปที่ 1 แสงที่ฉายลงบนแผ่นโลหะต้องมีค่าความยาวคลื่นมากกว่า 440 นาโนเมตรเท่านั้น เพื่อจะทํา
ให้
วัดค่ากระแสไฟฟ้าได้มากกว่าศูนย์
ข้อสรุปที่ 2 การเกิดโฟโตอิเล็กตรอนไม่ขึ้นอยู่กับความยาวคลื่นของแสง
ข้อสรุปที่ 3 เมื่อวัดกระแสไฟฟ้าได้ 1.6 ไมโครแอมแปร์ ความต่างศักย์ไฟฟ้ามีค่า 1.3 โวลต์เท่านั้น
ข้อสรุปที่ 4 โฟโตอิเล็กตรอนมีค่าพลังงานจลน์สูงสุดเท่ากับ 1.4 อิเล็กตรอนโวลต์
จากข้อมูล ข้อสรุปใดถูกต้อง (PAT2 มี.ค. 64)
(1) ข้อสรุปที่ 2 เท่านั้น (2) ข้อสรุปที่ 4 เท่านั้น (3) ข้อสรุปที่ 1 และ 2
(4) ข้อสรุปที่ 2 และ 3 (5) ข้อสรุปที่ 3 และ 4

4. ในการทดลองเรื่องโฟโตอิเล็กทริก เมื่อฉายแสงที่มีความถี่และความเข้มค่าหนึ่งกระทบแผ่นโลหะชนิดหนึ่ง
ที่มีลักษณะเป็นแผ่นบางที่ขั้วแคโทด ซึ่งอยู่ในหลอดสุญญากาศ พบว่าจะมีประจุไฟฟ้าออกมาจากแผ่นโลหะที่
ขั้วแคโทดและเคลื่อนที่ไปยังขั้วแอโนด ซึ่งมีการต่อแอมมิเตอร์และแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรงที่ปรับค่าความ
ต่างศักย์ได้ โดยความต่างศักย์ไฟฟ้าของแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรงมีค่าเป็นศูนย์ ทําให้เกิดกระแสโฟโต
อิเล็กตรอนในวงจร ดังรูป

กำหนดให? ความถี่ของแสงมีค9ามากกว9าความถี่ขีดเริ่ม
เมื่อควบคุมตัวแปรอื่นให?คงตัว การปรับการทดลองในข?อใดจะทำให?กระแสโฟโตอิเล็กตรอนมีค9ามากขึ้น
BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่
คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 128

(PAT2 มี.ค. 65)


(1) เพิ่มความถี่ของแสง
(2) ลดขนาดของแผ9นโลหะ
(3) เพิ่มความต9างศักย$ไฟฟXาของแหล9งจ9ายไฟฟXา
(4) ขยับแหล9งกำเนิดแสงให?เข?าใกล?แผ9นโลหะมากขึ้น
(5) เปลี่ยนชนิดของแผ9นโลหะที่มีค9าฟ©งก$ชันงานมากขึ้น

5. เร9งอนุภาคมวล m ที่มีประจุไฟฟXา q จากหยุดนิ่ง ผ9านบริเวณที่มีความต9างศักย$ไฟฟXา V


ความยาวคลื่นเดอบรอยล$ของอนุภาคนี้เท9ากับข?อใด (PAT2 ก.พ. 63)
B
(1)
kx
)B
(2)
ykjx
)B
(3) k
kjx
B
(4)
ykjx
B
(5)
y)kjx
6. ในการทดลองปรากฎการณ$โฟโตอิเล็กทริกโดยฉายแสงที่มีความถี่มากกว9าความถี่ขีดเริ่ม ต9อมาเพิ่มความถี่
ของแสงเปIน 2 เท9าของความถี่ที่ใช?ตอนแรก แต9ใช?แสงที่มีความเข?มเท9าเดิม ข?อใดถูกต?องเกี่ยวกับจำนวนโฟ
โตอิเล็กตรอนที่หลุดออกจากผิวโลหะต9อหน9วยเวลา (PAT2 ก.พ. 63)
(1) เพิ่มขึ้นเปIน 2 เท9า
(2) ลดเหลือครึ่งหนึ่ง
(3) เท9าเดิม
(4) เพิ่มเปIน 4 เท9า
(5) ลดเหลือ 1/4 เท9า

7. อนุภาค A และ B กำลังเคลื่อนที่เปIนแนวตรง อนุภาค B มีมวลเปIนครึ่งหนึ่งของอนุภาค A และมีพลังงาน


จลน$เปIน 8 เท9าของอนุภาค A อัตราส9วนระหว9างความยาวคลื่นเดอบรอยล$ของอนุภาค B ต9ออนุภาค A เปIน
เท9าใด
* * * ) 4
(1) (2) (3) (4) (5)
4 ) * * *

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 129

8. สำหรับปรากฎการณ$โฟโตอิเล็กทริก ผิวโลหะหนึ่งมีค9าความถี่ขีดเริ่มเท9ากับ f0 ถ?าใช?แสงความถี่เปIนสอง


เท9าของ f0 อัตราเร็วสูงสุดของโฟโตอิเล็กตรอนมีค9าเปIนเท9าไร
ให? m เปIนมวลของอิเล็กตรอน และ h แทนค9าคงตัวของพลังค$ (วิชาสามัญ มี.ค. 61)
$ $ $
)BO ! 4BO ! 9BO !
(1) ] *^ (2) ] *^ (3) ] *^
k k k
$ $
BO ! BO !
(4) ] *^ (5) ] *^
)k 4k

9. อะตอมของไฮโดรเจน จะปล9อยโฟตอนพลังงานกี่อิเล็กตรอนโวลต$ออกมาในการลงจากสภาวะกระตุ?น
อันดับที่สอง สู9สภาวะกระตุ?นอันดับที่หนึ่ง
(สภาวะพื้นของอะตอมไฮโดรเจนมีพลังงาน – 13.6 อิเล็กตรอนโวลต$) (วิชาสามัญ มี.ค. 61)
(1) 0.85 (2) 1.51 (3) 1.89 (4) 2.366 (5) 3.40

10. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับการทดลองหยดนํ้ามันของมิลลิแกน (NETSAT’64)


(1) การทดลองจะสนใจหยดนํ้ามันที่กําลังเคลื่อนที่ลงด้วยความเร็วคงที่ ซึ่งแสดงว่าแรงลัพธ์เป็นศูนย์
(2) ถ้าไม่คิดแรงลอยตัว แรงที่กระทํากับหยดนํ้ามันมีแรงโน้มถ่วงของโลกและแรงดึงดูดระหว่างมวล
(3) ค่าที่คํานวณได้เมื่อแรงสมดุล จะคํานวณค่าประจุไฟฟ้าได้คงที่ค่าหนึ่งคือ 1.602x10-19 C
(4) ประจุไฟฟ้าที่ไปเกาะที่หยดนํ้ามันมีทั้งประจุบวกและประจุลบ

11. ข้อใดถูกต้องที่สุด (NETSAT’64)


(1) ระดับพลังงานของอิเลคตรอนในอะตอมไฮโดรเจน 2 ระดับพลังงานคือ n1 มี E1 = -221.76 x10-19
J และ E2 มี E2 = -5.43 x 10-19 เส้นสเปคตรัมที่เกิดจากการเปลี่ยนระดับพลังงานจาก n2 -> n1 มี
ความถี่ 2.92 x10-15 Hz
(2) หลอดรังสีเอ็กซ์ที่มีความต่างศักย์ขั้วไฟฟ้า 1.24 x 104 V จะผลิตรังสีเอ็กซ์ที่มีความยาวคลื่นตํ่าสุด 0.1
nm
(3) อิเลคตรอนเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 2.0 x 106 m/s จะมีความยาวคลื่นเดอบรอยล์ 6.43 x 10-10 m
(4) อิเลคตรอนมีมวล 9.1 x 10-31 Kg จะมีพลังงานขณะเคลื่อนที่คือ (9.1 x 10-31 Kg) x (3 x 108 m/s)2
J

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 130

12. วัตถุดำอันหนึ่งแผ9คลื่นแม9เหล็กไฟฟXาความถี่ต9าง ๆ กัน โดยคลื่นแม9เหล็กไฟฟXาความถี่ f ประกอบด?วยโฟ


ตอนที่มีพลังงาน ‰ = ℎf ซึ่ง ℎ เปIนค9าคงตัวของพลังค$
พิจารณาข?อความต9อไปนี้
ก. คลื่นแม9เหล็กไฟฟXาความถี่ 2.0 x 1015 เฮิรตซ$ สามารถแผ9ออกมาโดยมีพลังงานรวมเปIน
(6.0 x 1015)h จูล
ข. โฟตอนของคลื่นแม9เหล็กไฟฟXาความถี่ 2.0 x 1015 เฮิรตซ$ มีพลังงานมากกว9าโฟตอนของคลื่น
แม9เหล็กไฟฟXาความถี่ 4.0 x 1015 เฮิรตซ$
ค. เมื่อคลื่นแม9เหล็กไฟฟXามีเลขควอนตัมมากขึ้น พลังงานของโฟตอน ‰ จะมีค9ามากขึ้น
ข?อความใดถูกต?อง (A-level 66)
(1) ก. เท9านั้น
(2) ค. เท9านั้น
(3) ก. และ ข. เท9านั้น
(4) ก. และ ค. เท9านั้น
(5) ข. และ ค. เท9านั้น

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 131

บทที่ 20 ฟ9สิกส<นิวเคลียร<
ฟUสิกส1นิวเคลียร1 คือ กระบวนการที่นิวเคลียสเปลี่ยนแปลงองค$ประกอบหรือระดับพลังงาน
ทุกสมการปฏิกิริยานิวเคลียร$ ผลบวกของเลขอะตอมและเลขมวลทั้งก9อนและหลังปฏิกิริยาจะต?องเท9ากัน ซึ่ง
แสดงว9าประจุไฟฟXารวมมีค9าคงตัวและจำนวนนิวเคลียสรวมก9อนและหลังปฏิกิริยาจะต?องคงตัว
ธาตุ และสัญลักษณ1ธาตุ

ควรรูQ ธาตุแต9ละธาตุมีคุณสมบัติต9างกัน เพราะมีจำนวนโปรตอนไม9เท9ากัน


อิเล็กตรอนมีมวลอะตอมเปIน 1/1800 ของโปรตอนหรือนิวตรอน ซึ่งถือว9าน?อย จึงคิดเปIน 0
ในการคำนวณ
การเปรียบเทียบธาตุ
- Isotope คือ ธาตุที่มีโปรตอนเท9ากัน
- Isotone คือ ธาตุที่มีนิวตรอนเท9ากัน
- Isobar คือ ธาตุที่มีโปรตอนรวมกับนิวตรอนเท9ากัน
ธาตุกัมมันตรังสี

แอลฟา (α, 2!He!N ) บีตา (n, <#9j) แกมมา (o, 99o )

ประจุ +2 -1 0

มวล 4u 0.000549 u 0

อำนาจการทะลุ ต่ำมาก (ไม2สามารถผ2านกระดาษแผ2นบาง ปานกลาง ผ2านอากาศไดD สูง (ผ2านแผ2นคอนกรีตหนา 30


ทะลวง ๆ ไดD) ผ2านอากาศไดD 3–5 cm 1–3 เมตร cm ไดD, ผ2านอะลูมิเนียมหนาไดD)

พลังงาน ปานกลาง ต่ำ สูง

การเบี่ยงเบนใน
สนามแม2เหล็ก - เบี่ยงเบน เบี่ยงเบน ไม2เบี่ยงเบน
สนามไฟฟiา

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 132

กัมมันตภาพ (Activity)
คือ อัตราการแผ9รังสีของธาตุกัมมันตรังสี เพื่อให?ธาตุมีเสถียรภาพ
โดย A = λN เมื่อ A คือ กัมมันตภาพ (Bq, Ci)
λ คือ ค9าคงที่การสลายตัว
:.9c7
λ=
U
T คือ ค9าครึ่งชีวิต
N คือ จำนวนนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสี

เวลาครึ่งชีวิต
คือ ระยะเวลาที่ทำให?สารกัมมันตรังสีสลายตัวไปครึ่งหนึ่งของปริมาณตอนแรก
L
“ 1 N
=ö õ
“: 2
เมื่อ “ คือ จำนวนนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสี
N: คือ จำนวนนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีเริ่มต?น
0 คือ เวลา
g คือ เวลาครึ่งชีวิต
การอุปมาอุปมัยลูกเต¿าเปรียบเทียบกับการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสีให?ใช?สูตร
N
= (โอกาสที่จะได?หน?าปกติ)'
N:
สมการนิวเคลียร1
คือ สมการที่แสดงการเปลี่ยนแปลงเฉพาะภายในนิวเคลียส
n*
{*X + n)
{)Y =
n7
{7M + n4
{4N
สัญลักษณ1ที่ควรรูQ
โปรตอน ( **H) ดิวเทอรอน ( )*H) ตริทอน ( 7*H) นิวตรอน ( *:n)

อิเล็กตรอน ( %*:e) โพสิตรอน ( D*:ž) แอลฟา ( 4)He)

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 133

ปฏิกิริยานิวเคลียร1
Nuclear Fission คือ นิวเคลียสของธาตุหนักแตกตัวเปIนนิวเคลียสที่เล็กกว9า และปลดปล9อยพลังงาน
กับนิวตรอนออกมา ซึ่งมีลักษณะ ดังนี้
(1) เปIนปฏิกิริยาที่คายพลังงาน
(2) หลังเกิดแล?วจะมีนิวตรอนใหม9 2 – 3 ตัว
(3) สามารถเกิดเปXนปฏิกิริยาต9อเนื่องได? (Chain reaction)
(4) หลังปฏิกิริยาจะเกิดธาตุใหม9 2 ตัว

Nuclear Fusion คือ นิวเคลียสของสองธาตุมารวมกันเปIนนิวเคลียสที่ใหญ9ขึ้น และมีการปลดปล9อย


พลังงานออกมา ปฏิกิริยานี้เกิดได?ในภาวะที่อุณหภูมิสูงมาก จึงเรียกได?อีกอย9างว9า Thermonuclear reaction
4 **H → 4)He + 2 D*:ž + 26 MeV

พลังงานยึดเหนี่ยว
การทำให?นิวเคลียสแตกตัวออกมาจะต?องมีการใส9พลังงานเข?าไป และเมื่อนิวเคลียสสองอันมา
รวมกันเปIนนิวเคลียสเดียวจะมีการเปลี่ยนแปลงมวลบางส9วน (มวลพร9อง) กลายเปIนพลังงานยึด
เหนี่ยว (E) ตามสมการ
E = mc )
จากสูตร สามารถสรุปได?ว9ามวล 1 U เปลี่ยนเปIนพลังงานได? 931 MeV และอิเล็กตรอน 1 ตัว
เปลี่ยนเปIนพลังงานได?ประมาณ 0.5 MeV หากทราบมวลนิวเคลียสแต9ละธาตุจะสามารถหาพลังงาน
ยึดเหนี่ยวได?จากมวลพร9อง
หากทราบพลังงานยึดเหนี่ยวของแต9ละอะตอม จะสามารถคำนวณหาพลังงานของปฏิกิริยา
นิวเคลียร$นั้นว9าดูดหรือคายพลังงาน (ถ?า E เปIนลบ แสดงว9าปฏิกิริยานั้นดูดพลังงาน)

เสถียรภาพของนิวเคลียส
BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่
คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 134

• พลังงานยึดเหนี่ยว (Binding Energy) คือ พลังงานที่ยึดเหนี่ยวนิวคลีออนไว?ด?วยกัน


ยิ่งมีจำนวนนิวคลีออนมาก ยิ่งจะมีพลังงานยึดเหนี่ยวมาก
• พลังงานยึดเหนี่ยวต9อนิวคลีออน เปIนตัวเลขที่แสดงความเสถียรของนิวเคลียส

รัศมีของนิวเคลียส

ขนาดของนิวเคลียสขึ้นอยู9กับจำนวนนิวคลีออน
-
R = 1.2 × 10%*5 √A

ตัวอย3างขQอสอบเรื่อง ฟUสิกส1อะตอม
1. ในปรากฎการณ$หนึ่ง อนุภาค A เคลื่อนที่มาพบกับอนุภาค B แล?วทำให?ได?รังสีแกมมา ดังสมการ
อนุภาค A + อนุภาค B → รังสีแกมมา
โดยที่อนุภาค A และ B เปIนอนุภาคที่ประกอบด?วย ควาร$กและแอนติควาร$ก
พิจารณาข?อความต9อไปนี้
ก. อนุภาค A และอนุภาค B มีขนาดของประจุไฟฟXาไม9เท9ากัน
ข. อนุภาคมูลฐานในอนุภาค B ยึดเหนี่ยวกันด?วยการแลกเปลี่ยนกลูออนระหว9างกัน
ค. ผลรวมมวลของอนุภาค A กับอนุภาค B เท9ากับมวลของโฟตอนของรังสีแกมมาโฟตอนเดียว
ข?อความใดถูกต?อง (วิชาสามัญ 65)
(1) ก. เท9านั้น (2) ข. เท9านั้น (3) ก. และ ข.
(4) ก. และ ค. (5) ข. และ ค.

2. ถ?าเริ่มต?นมีเรเดียม – 221 จำนวน 1.85 x 109 นิวเคลียส ซึ่งมีกัมมันตภาพ 1 มิลลิคูรี ต?องใช?เวลาประมาณ


กี่วินาที จำนวนนิวเคลียสของเรเดียม – 221 จึงจะลดลงเหลือครึ่งหนึ่งของจำนวนเริ่มต?น (กำหนดให? 1 คูรี
เท9ากับอัตราการสลายนิวเคลียสจำนวน 3.7 x 1010 นิวเคลียสต9อวินาที) (วิชาสามัญ เม.ย. 64)
(1) 3.73 x 1010 (2) 1.38 x 10-2 (3) 2.00 x 10-2
(4) 3.45 x 101 (5) 1.28 x 109

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 135

3. ปฏิกิริยานิวเคลียร$หนึ่ง เขียนแทนได?ด?วยสมการ
*9
r£ + *9r£ → )r
*4¤z + 4)™ž
กำหนดให? มวล 1 u เทียบกับพลังงาน 932 เมกะอิเล็กตรอนโวลต$
>: เปIนมวลของออกซิเจนในหน9วย u

>vw เปIนมวลของฮีเลียมในหน9วย u
O เปIนพลังงานที่ได?จากปฏิกิริยานิวเคลียร$นี้ในหน9วยเมกะอิเล็กตรอนโวลต$
ปฏิกิริยานิวเคลียร$นี้ เปIนปฏิกิริยานิวเคลียร$ชนิดใด และมวลในหน9วย u ของซิลิคอนมีค9าเท9าใด (วิชา
สามัญ’65)
(1) ฟ4ชชัน และ 2>: + >vw − 932O
|
(2) ฟ4ชชัน และ 2>: + >vw −
c7)

(3) ฟ4ชชัน และ 2>: − >vw − 932O


|
(4) ฟ4วชัน และ 2>: − >vw −
c7)

(5) ฟ4วชัน และ 2>: − >vw − 932O

4. X ในปฏิกิริยานิวเคลียร$ 87_z + **™ → 97_z + ¦ นี่คืออะไร (PAT2 ก.พ. 63)


(1) แอลฟา (2) บีตา (3) แกมมา (4) นิวตรอน (5) ดิวเทอรอน

5. สารกัมมันตรังสีชนิดหนึ่งมีค9าครึ่งชีวิต 2 นาที ถ?า ณ ขณะนี้วัดกัมมันตภาพได? 4 มิลลิคูรี เมื่อเวลาผ9านไป 1


นาที สารกัมมันตรังสีนี้จะเหลืออยู9ประมาณกี่อะตอม กำหนดให? ln 2 ≈ 0.7 และ √2 ≈ 1.4 (PAT2 ก.พ. 63)
(1) 7 x 107 (2) 3 x 108 (3) 9 x 109 (4) 2 x 1010 (5) 5 x 1010

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 136

6. ข?อมูลของอนุภาคมูลฐานใหม9ในกลุ9มอนุภาคสสารเปIนดังนี้
ชนิดของควาร$ก มวล ประจุ ชนิดของเลปตอน มวล ประจุ
อัพ ≈ 2.2 hij/k . 2 อิเล็กตรอน ≈ 0.51 hij/k . −i
+ i
3
ดาวน$ ≈ 4.7 hij/k . 1 อิเล็กตรอนนิวทริโน < 2.2 hij/k . 0
− i
3
ชาร$ม ≈ 1.28 mij/k . 2 มิวออน ≈ 105.66 hij/k . −i
+ i
3
สเตรนจ$ ≈ 96 hij/k . 1 มิวออนนิวทริโน ≈ 0.17 hij/k . 0
− i
3
ทอป ≈ 173.1 mij/k . 2 ทาว ≈ 1.78 mij/k . −i
+ i
3
บอททอม ≈ 4.18 mij/k . 1 ทาวนิวทริโน ≈ 18.2 mij/k . 0
− i
3

ชนิด มวล ประจุ


ข?อมูลของอนุภาคมูลฐานในกลุ9มอนุภาคสื่อแรงเปIนดังนี้ กลูออน 0 0
ถ?าอนุภาคชนิดหนึ่งมีองค$ประกอบเปIนควาร$กอัพ 1 อนุภาค โฟตอน 0 0
Z-โบซอน ≈ 91.19 mij/k . 0
และ แอนติควาร$กสเตรนจ$ 1 อนุภาค พิจารณาข?อความต9อไปนี้
W-โบซอน ≈ 80.39 mij/k . ±i
ก. อนุภาคดังกล9าวมีประจุไฟฟXาเท9ากับประจุไฟฟXาของ Z-
โบซอน
ข. ปฏิยานุภาคของอนุภาคดังกล9าว มีมวลมากกว9ามวลของนิวทริโน
ค. อนุภาคดังกล9าวมีโฟตอนเปIนอนุภาคสื่อแรงของแรงที่ยึดเหนี่ยวควาร$กและแอนติควาร$กให?อยู9รวมกัน
ข?อความใดถูกต?อง (วิชาสามัญ เม.ย. 64)
(1) ก. เท9านั้น
(2) ข. เท9านั้น
(3) ค. เท9านั้น
(4) ก. และ ข.
(5) ข. และ ค.

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 137

7. ในทางการแพทย$มีการนำไอโซโทปไอโอดีน-131 (I-131) มาใช?ในการรักษาผู?ป¡วยมะเร็งต9อมไทรอยด$โดย I-


131 จะสลายให?รังสีบีตา เจ?าหน?าที่โรงพยาบาลแห9งหนึ่งสั่งซื้อ I-131 มาจากต9างประเทศซึ่งมีกัมมันตภาพ 100
มิลลิคูรี และใช?เวลาเดินทางมาถึงประเทศไทย 60 ชั่วโมง และนำมาเก็บไว?ที่กรุงเทพมหานครอีก 24 ชั่วโมง
แล?วจึงขนส9งต9อจากกรุงเทพมหานครไปยังโรงพยาบาลแห9งหนึ่งในจังหวัดแม9ฮ9องสอนโดยใช?รถที่ใช?ในการขนส9ง
ด?วยอัตราเร็วเฉลี่ย 70 กิโลเมตรต9อชั่วโมง รวมระยะทาง 840 กิโลเมตร
กำหนดให? 1 คูรี = 3.7 x 1010 Bq
ครึ่งชีวิตของ I-131 มีค9า 8 วัน
เมื่อไอโซโทปไอโอดีน-131 มาถึงโรงพยาบาลแห9งนี้ จะเหลือกัมมันตภาพกี่เบ็กเคอเรล (PAT2 มี.ค. 64)
(1) 1.91 x 10-12
(2) 70.7 x 10-3
(3) 2.61 x 109
(4) 2.98 x 109
(5) 3.54 x 109
8. เมื่อนำหัววัดรังสีแบบไกเกอร$ไปเข?าใกล?ธาตุกัมมันตรังสีชนิดหนึ่ง พบว9า สามารถนับสัญญาณที่รังสีทำให?
แก¢สแตกตัวเปIนไอออนได? 600 ครั้งใน 1 นาที ถ?าหลังจากผ9านไป 24 ชั่วโมง การวัดซ้ำแบบเดิมได?สัญญาณ
เพียง 500 ครั้งใน 1 นาที ธาตุกัมมันตรังสีดังกล9าวมีค9าครึ่งชีวิตประมาณเท9าใดในหน9วยชั่วโมง
(ln 2 = 0.693, ln 5 = 1.609, ln 6 = 1.792) (PAT2 ก.พ. 62)
(1) 48 (2) 72 (3) 82 (4) 91 (5) 131
9. ปฏิกิริยานิวเคลียร$ซึ่งนำมาซึ่งการค?นพบอนุภาคนิวตรอน โดย Chadwick เมื่อป¬ค.ศ. 1932 คือ
c *)
4•ž +¦ → 9§ + *:w
อนุภาค X คือข?อใด (วิชาสามัญ มี.ค. 61)

(1) โปรตอน (2) แอลฟา (3) นิวเคลียสของดิวเทอเรียม ( )*™)

(4) นิวตรอน (5) นิวเคลียสของตริเตียม ( 7*™)

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 138

10. นักเรียนศึกษาการจำลองการสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสีและค9าครึ่งชีวิต โดยจัดการทดลอง 3 ชุด


ชุดการทดลองที่ 1 : จำนวนเริ่มต?นของลูกเต¿าคือ 50 ลูก และจำนวนหน?าที่แต?มสีคือ 2 หน?า
ชุดการทดลองที่ 2 : จำนวนเริ่มต?นของลูกเต¿าคือ 50 ลูก และจำนวนหน?าที่แต?มสีคือ 4 หน?า
ชุดการทดลองที่ 3 : จำนวนเริ่มต?นของลูกเต¿าคือ 100 ลูก และจำนวนหน?าที่แต?มสีคือ 4 หน?า
ในแต9ละชุดการทดลองจะทอดลูกเต¿าพร?อมกันทั้งหมด แล?วคิดลูกเต¿าที่หงานหน?าที่แต?มสีออก บันทึกจำนวน
ลูกเต¿าที่เหลืออยู9กับจำนวนครั้งที่ทอด โดยทำซ้ำหลาย ๆ ครั้ง แล?วนำข?อมูลมาเขียนกราฟพร?อมกับลากเส?น
แนวโน?ม แต9นักเรียนลืมระบุว9าเส?นแนวโน?มแต9ละเส?นแทนชุดการทดลองใด จึงระบุเปIน A B และ C ดังนี้

จากข?อมูล ข?อใดสรุปถูกต?อง (PAT2 มี.ค. 65)


เส?นแนวโน?มที่แสดง เส?นแนวโน?มที่แสดง เส?นแนวโน?มที่มีอัตราการ
ข?อมูลชุดการทดลองที่ 1 ข?อมูลชุดการทดลองที่ 2 สลายของนิวเคลียส ณ เวลา
เริ่มต?น น?อยที่สุด
(1) B C A
(2) B C B
(3) B C C
(4) C B A
(5) C B B

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 139

11. *r4 4:
r)N¨ และ *8§• เกิดการสลายตัวแล?วทำให?ได? X และ Y ตามลำดับ ดังสมการ
*r4
r)N¨ → ¦ + 4)™ž
4:
*8§• → — + %*:ž + -̅w
นิวเคลียสใดมีเสถียรภาพน?อยกว9า และนิวเคลียสนั้นมีพลังงานยึดเหนี่ยวกี่จูล
กำหนดให? นิวเคลียสของธาตุ X มีส9วนพร9องมวล เท9ากับ 2.514 x 10-27 กิโลกรัม
นิวเคลียสของธาตุ Y มีส9วนพร9องมวล เท9ากับ 6.129 x 10-28 กิโลกรัม
C เปIนอัตราเร็วแสงในสุญญากาศ
นิวเคลียสที่มีเสถียรภาพน?อยกว9า พลังงานยึดเหนี่ยว (จูล)
(1) X (2.514×10-27 kg)c2
180
(2) X (2.514×10-27 kg)c2

(3) Y (6.129×10-27 kg)c2


180
(4) Y (6.129×10-27 kg)c2
40
(5) Y (6.129×10-27 kg)c2

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่


คอร$ส SUMMER 2024 วิชาฟ4สิกส$ 140

12. กราฟแสดงจำนวนนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสี A และ B ที่เหลืออยู9เมื่อเวลาผ9านไปจากเริ่มต?นเปIน


ดังนี้

เมื่อเวลาผ9านไป 6 ชั่วโมงจากเริ่มต?น จำนวนนิวเคลียสของ A ที่เหลืออยู9เปIนกี่เท9าของจำนวนนิวเคลียส B ที่


เหลืออยู9 (A-level 66)
กำหนดให? ขณะเริ่มต?น จำนวนนิวเคลียส A และ B เท9ากับ N0

BY TRONG JAI TUTOR ขอนแก่น & เชียงใหม่

You might also like