Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 1

NOUN (คำนาม) PRONOUN(คำสรรพนาม) VERBS (คำกริยา) ADJECTIVE (คำคุณศัพท์)

ใช้แทนคน สัตว์ สิ่งของ หรือคำนามที่เป็นนามธรรม บอกกริยา ท่าทาง การกระทำของบางสิ่ง


คำที่ใช้แทนคำนาม เป็นคำที่ใช้ทำหน้าที่ขยายคำนามหรือคำสรรพนามเพื่อ
มักลงท้ายด้วย dom,tion/sion/xion,ence/ance, มักลงท้ายด้วย ate,ize,(i)fy,en,sign,sist,ceive,pect
ตัวอย่าง She called me yesterday. ทำให้เห็นทราบรายละเอียดของคำนามหรือคำสรรพนาม
er/or,hood,ity/ty,ment,ness,ship ประเภท เพิ่มเติม
ตำแหน่ง Main verbs ตำแหน่ง
1)หลัง v.to be/Linking v. 1) Intransitive verbs คือคำกริยาที่ไม่ต้องการกรรมมารองรับ 1) หน้าคำนาม
2)หลัง preposition 2)Transitive verbs คือคำกริยาที่ต้องมีกรรมมารองรับ 2) หลัง v. to be
3)หน้าประโยคทำหน้าที่เป็น subject 3) Linking verbs คือคำกริยาที่เชื่อมประธานกับคำนามหรือคำ 3) หลัง linking verb
4)อยู่หลัง possessive adjective (คำที่ขยายคำนามเพื่อ คุณศัพท์ที่ตามมา ตัวอย่าง A short boy is playing. เด็กตัวเตี้ยกำลัง
แสดงความเป็นเจ้าของ) Auxiliary verbs เล่น
5)หลัง Article 1) Primary auxiliary verbs ได้แก่ รูปต่าง ๆ ของคำกริยา
6)หลัง each,every,all,both,on,some,any,few,a 2) Modal auxiliary verbs ได้แก่ can, could, shall,
few,little,a little should, will, would, may, might, must, ought, to, ADVERB (คำกริยาวิเศษณ์)
7)อยู่หลัง …..’s…….. need, dare ตำแหน่ง
ตัวอย่าง My sister is a doctor. 1)หลัง subject เป็นคำที่ไว้ใช้ขยายกริยา คำคุณศัพท์ คำกริยาวิเศษณ์
ตัวอย่าง I called her yesterday. มักเจอคำว่า -ly ตามหลัง
ตำแหน่ง
PREPOSITION (คำบุพบท) 1) หน้า verb
2) ระหว่าง verb 2 ตัว
คำที่ใช้เชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างคำๆ หนึ่ง กับ คำอื่นในประโยค 3) หลัง verb

PART OF SPEECH
1) Preposition of Time เช่น in,on,at,since,for,until,during 4) หลัง object
2) Preposition of Place เช่น in,on,at,above,under,over 5) หน้า adjective
3) Preposition of Movement เช่น to,onto,into,toward 6) หลัง be หน้า adjective
4) คำบุพบทแบบซับซ้อน เช่น apart from,as well as,instead of 7) หน้า adverb
ตัวอย่าง The cat is on the table. 8) หลังกริยา passive
9) หลัง to หน้า V.inf
ตัวอย่าง He ran quickly.
CONJUNCTION (คำสันธาน)
คำที่ใช้เชื่อมคำ วลี หรือประโยคย่อยเข้าด้วยกัน เพื่อเกิดความสละสลวย อ่านเข้าใจง่าย For (เพราะ) เชื่อมประโยคที่เป็นเหตุเป็นผลระหว่างกัน โดยแสดงเหตุ INTERJECTION (คำอุทาน)
1. Coordinating Conjunction ใช้เชื่อมคำ วลี หรือประโยคประเภทเดียวกัน หรือมีความสำคัญเท่าเทียม And (และ) เชื่อมประโยคที่เป็นไปในทิศทางเดียวกันหรือส่งเสริมกัน
กัน โครงสร้างการใช้ S + V, CC S + V Nor (ไม่ทั้งสองอย่าง) เชื่อมประโยคที่เป็นเชิงปฏิเสธทั้งคู่ คือคำพูดที่พูดออกไปด้วยอารมณ์ต่างๆ เพื่อแสดงออก
2. Subordinating Conjunction ใช้เชื่อมประโยคหลัก (Main Clause) กับประโยคย่อย But (แต่) เชื่อมประโยคที่มีความขัดแย้งกัน ถึงความรู้สึกที่เกิดขึ้นขณะนั้น มักปิดท้ายด้วย
(Subordinate Clause) ที่มีระดับความสำคัญไม่เท่ากัน โครงสร้างการใช้ Or (หรือ) เชื่อมประโยคที่แสดงทางเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง เครื่องหมายอัศเจรีย์ (Exclamation Mark) !
S + V + SC + S + V Yet (แต่) เชื่อมประโยคที่มีความขัดแย้งกัน ตัวอย่าง Good! now we can move on.
SC + S + V, S + V So (ดังนั้น) เชื่อมประโยคที่เป็นเหตุผลเป็นผลระหว่างกัน โดยแสดงผล
3. Correlative Conjunction ต้องใช้คู่กันเสมอเพื่อเชื่อมประโยค Independent clause ที่มีความหมาย ตัวอย่าง I love you and you love me too.
สอดคล้องและเท่าเทียมกัน

Natthicha Faikhao m.6/2 no.16

You might also like