Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 2

สื่อสำหรับครู เรื่อง ขั้นตอนวิธีการทางประวัติศาสตร์

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ เรียนรู้เรื่องราวท้องถิ่นของเรา
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ การกำหนดประเด็น สืบค้นและรวบรวมข้อมูลท้องถิ่นของเรา
รายวิชา ประวัติศาสตร์ รหัสวิชา ส 2310๒ ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓

การกำหนดประเด็นด้วย
เทคนิค 5W1H
"เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้นในอดีต" (What),
"เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นเมื่อไหร่" (When),
"เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นที่ไหน" (Where),
"ทำไมจึงเกิดเหตุการณ์นั้นขึ้น" (Why),
และ "เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นได้อย่างไร" (How)

๑. แบ่งตามยุคสมัย
หลักฐานสมัยก่อนประวัตศิ าสตร์ คือ หลักฐานที่เกิดขึ้นในสมัยที่ยังไม่มกี ารบันทึกเป็นอักษร
แต่เป็นพวกซากโครงกระดูกมนุษย์ ซากสิ่งมีชีวิตต่างๆ เครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องประดับ
ร่องรอยการตั้งถิ่นฐานของชุมชน ตลอดจนความพยายามที่จะถ่ายทอดประสบการณ์ของ
มนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ ในลักษณะของการบอกเล่าต่อๆกันมา เป็นนิทานหรือตำนานซึ่ง
เราเรียกว่า “มุขปาฐะ”
หลักฐานสมัยประวัติศาสตร์ คือ หลักฐานสมัยทีม่ นุษย์สามารถประดิษฐ์ตัวอักษร และ
บันทึกในวัสดุต่างๆ มีร่องรอยที่แน่นอนเกี่ยวกับสังคมเมือง มีการรู้จักใช้เหล็ก และโลหะ
อื่นๆ มาเป็นเครื่องมือใช้สอยที่ปราณีต มีร่องรอยศาสนสถานและประติมากรรมรูปเคารพใน
ศาสนาอย่างชัดเจน
๒. แบ่งตามลักษณะหรือวิธีการบันทึก
หลักฐานประเภทลายลักษณ์อักษร ได้แก่ จารึก ตำนาน พงศาวดาร จดหมายเหตุ
บันทึกความทรงจำ เอกสารทางวิชาการ ชีวประวัติ จดหมายส่วนตัว หนังสือพิมพ์ นิตยสาร
วารสาร กฎหมาย วรรณกรรม ตำรา วิทยานิพนธ์ งานวิจัย
หลักฐานไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ได้แก่ หลักฐานโบราณคดี เช่น โบราณสถาน
โบราณวัตถุ เงินตรา หลักฐานจากการบอกเล่า ที่เรียกว่า “มุขปาฐะ” หลักฐานด้านภาษา
เกี่ยวกับพัฒนาการของภาษาพูด หลักฐานทางศิลปกรรม ได้แก่ จิตรกรรม ประติมากรรม
สถาปัตยกรรม นาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ หลักฐานประเภทโสตทัศน์ ได้แก่ ภาพถ่าย ภาพส
ไสด์ แผนที่ โปสเตอร์ แถบบันทึกเสียง แผ่นเสียง ภาพยนตร์ ดวงตราไปรษณียากร

๓.
3) แบ่แบ่งงตามลำดั
ตามลำดับบความสำคั ความสำคัญ ญ
หลักฐานชั้นต้นหรือหลักฐานปฐมภูมิ (Primary sources) หมายถึง หลักฐานที่
บัหลันกทึฐานชั
ก สร้า้นงต้หรื อจัอดหลั
นหรื ทำขึ ้น โดยผู้เกีม่ยิ วข้
กฐานปฐมภู องกับเหตุsources)
(Primary การณ์นั้นหมายถึ
โดยตรงง หรื
หลัอกบ่ฐานที
งบอกให้
่บันทึรู้ถกึง
เหตุ
สร้ากง ารณ์
หรือทจัี่เดกิทำขึ
ดขึ้น้นในสมั
โดยผูย้เนักี้น่ยจริ
วข้งอๆงกับเหตุการณ์นั้นโดยตรง หรือบ่งบอกให้รู้ถึงเหตุการณ์ที่
หลักฐานชั
เกิดขึ้นในสมั ยนั้นจริ้นรองหรื
งๆ ทัง้ อทีหลั ่เป็นกลายลั
ฐานทุกตษณ์
ิยภูมอิ ัก(Secondary
ษร เช่น สนธิสsources)
ัญญา บันหมายถึ
ทึกคำให้งกหลัารกฐานที่
เกิ ดจากการนำหลั
จดหมายเหตุ กฎหมาย กฐานชัประกาศของทางราชการ
้นต้นมาวิเคราะห์ ตีความเมื ่อเวลาผ่
ศิลาจารึ านพ้นไปแล้ตวอบได้และที
ก จดหมายโต้ แก่ ตำนาน
่ไม่เป็น
พงศาวดาร
ลายลักษณ์อักษร เช่น ภาพเขียนสีผนังถ้ำ เครื่องมือเคื่องใช้ เครื่องประดับ เจดีย์
หลักฐานชั้นรองหรือหลักฐานทุติยภูมิ (Secondary sources) หมายถึง หลักฐานที่เกิดจาก
การนำหลักฐานชั้นต้นมาวิเคราะห์ ตีความเมื่อเวลาผ่านพ้นไปแล้ว ได้แก่ ตำนาน
พงศาวดาร

You might also like