Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 44

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน

คณิตศาสตร์1 ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 เลม

ป.6
ตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ) 2560
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

เล่ม 1
¨Ó¹Ç¹¹Ñº·ÕèËÒà 16 ŧµÑÇ ¨Ó¹Ç¹¹Ñº·ÕèËÒà 20 ŧµÑÇ
2 ¢Í§ 1
3 2
1 2 4 8 1 2 4 5
16 10 20

µÑÇËÒÃËÇÁ¢Í§ 16 áÅÐ 20
0.027 -.. 0.3 =
ệ§ : ¹éÓµÒÅ
3:1
8 1 5
16 2 10
4 20
¹Ø‹¹ 2,800 ºÒ·

2 ¢Í§¹Ø‹¹
µÑÇËÒÃËÇÁÁÒ¡ ¤×Í 4
¹ÔÇ 5 Å´
á¹¹ 1 ¢Í§¹ÔÇ
2

ไพศาล จรรยา ดร.ชิรา ลำดวนหอม


สำรบัญ คณิตศำสตร์ ªÑéน»รжมศÖกÉา»‚ทÕè เล่ม 1
10 ตุลาคม
October
9

หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 1 ห.ร.ม. และ ค.ร.น. 2


1. ตัวประกอบ จํานวนเฉพาะ และตัวประกอบเฉพาะ 4
2. การแยกตัวประกอบ 10
3. ตัวหารร่วมมาก (ห.ร.ม.) 15
4. ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) 22
5. โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. 30
สนุกคิด สนุกทำ� 39
คำ�ถ�มท้�ท�ยก�รคิดขั้นสูง 40
เชื่อมโยงสู่ชีวิตประจำ�วัน 40
สรุปส�ระสำ�คัญ ประจำ�หน่วยก�รเรียนรู้ที่ 1 41

หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 2 เศÉส่วน และก�รºวก ก�รลºเศÉส่วน


และจำ�นวนคละ 42
1. การเปรียบเทียบและเรียงลําดับเศษส่วนและจํานวนคละ 44
2. การบวก การลบเศษส่วนและจํานวนคละ 51
3. โจทย์ปัญหาการบวก การลบเศษส่วนและจํานวนคละ 57
สนุกคิด สนุกทำ� 63
คำ�ถ�มท้�ท�ยก�รคิดขั้นสูง 64
เชื่อมโยงสู่ชีวิตประจำ�วัน 64
สรุปส�ระสำ�คัญ ประจำ�หน่วยก�รเรียนรู้ที่ 2 65

หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 3 การบÇก Åบ คูณ ห�รระคนของเศÉส่วน


และจำ�นวนคละ 66
1. การบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจํานวนคละ 68
2. โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วน
และจํานวนคละ 76
สนุกคิด สนุกทำ� 83
คำ�ถ�มท้�ท�ยก�รคิดขั้นสูง 84
เชื่อมโยงสู่ชีวิตประจำ�วัน 84
สรุปส�ระสำ�คัญ ประจำ�หน่วยก�รเรียนรู้ที่ 3 85
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ทศนิยม 86
1 1. ความสัมพันธ์ระหว่างเศษส่วนและทศนิยม 88
2 2. การหารทศนิยม 94
3. โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับทศนิยม 99
สนุกคิด สนุกทำ� 109
คำ�ถามท้าทายการคิดขั้นสูง 110
เชื่อมโยงสู่ชีวิตประจำ�วัน 110
สรุปสาระสำ�คัญ ประจำ�หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 111

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 อัตราส่วนและร้อยละ 112


1. อัตราส่วน 114
2. อัตราส่วนที่เท่ากัน 123
3. มาตราส่วน 129
4. โจทย์ปัญหาอัตราส่วนและมาตราส่วน 138
5. โจทย์ปัญหาร้อยละ 146
สนุกคิด สนุกทำ� 156
คำ�ถามท้าทายการคิดขั้นสูง 157
เชื่อมโยงสู่ชีวิตประจำ�วัน 157
สรุปสาระสำ�คัญ ประจำ�หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 158

กิจกรรมคณิตศาสตร์เชิงสะเต็ม 160
อภิธานศัพท์ 162
บรรณานุกรม 164

QR Code หน้า 19, 104, 129


2 2

1
หนวยการเรียนรูที่

Ë.Ã.Á. áÅÐ ¤.Ã.¹.


µÑǪÕéÇÑ´ 10 ตุลาคม
October

• หา ห.ร.ม. ของจํานวนนับไมเกิน 3 จํานวน


(ค 1.1 ป.6/4)
• หา ค.ร.น. ของจํานวนนับไมเกิน 3 จํานวน
(ค 1.1 ป.6/5)
• แสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหา โดยใช
ความรูเกี่ยวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
(ค 1.1 ป.6/6)
เจน ตน และเจง ลงเวลาเรียนวายนํ้า
ซึ่งมีตารางเรียนที่แตกตางกัน และ
เริ่มเรียนพรอมกันในวันที่ 1 ตุลาคม

เจนมีเรียนทุก ๆ ตนมีเรียนทุก ๆ
เจงมีเรียนทุก ๆ
2 วัน 3 วัน
4 วัน

ÃÐÂÐàÇÅÒ 1 à´×͹
·Ñé§ 3 ¤¹ ¨ÐÁÕ
àÇÅÒàÃÕ¹¾ÃŒÍÁ¡Ñ¹
Çѹ·Õèà·‹Òã´ºŒÒ§
?
ÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ
• ตัวประกอบ จํานวนเฉพาะ และตัวประกอบเฉพาะ
• การแยกตัวประกอบ
• ตัวหารรวมมาก (ห.ร.ม.)
• ตัวคูณรวมนอย (ค.ร.น.)
• โจทยปญหาเกี่ยวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
2 2

เตรียมพร้อม
M T
ก่อนเรียน A H

1 หาผลคูณตอไปนี้
ตัวคูณ
ตัวตั้ง 2 20 200
25
48

2
72
96
104
2 หาผลหารตอไปนี้
ตัวหาร
ตัวตั้ง 4 40 400

2
64
96
108
132
256

3 ตองออมเงินสัปดาหละ 150 บาท เมื่อครบ 1 ป ตองจะมีเงินออมทั้งหมด


กี่บาท (1 ป มี 52 สัปดาห)
2

4 คอมพิวเตอรราคาเครือ่ งละ 18,590 บาท พอของแมนตองการซือ้ และผอนจาย


12 งวด งวดละเทา ๆ กัน พอของแมนตองชําระคาคอมพิวเตอรอยางนอย
งวดละกี่บาท
3
¨íҹǹ㴵‹Í仹Õé·ÕèÁÕ 3 ËÒÃŧµÑÇ
1. µÑÇ»ÃСͺ ¨íҹǹ੾ÒÐ “15, 23, 42, 69, 78,
86, 93”
áÅеÑÇ»ÃСͺ੾ÒÐ
1.1 ตัวประกอบ
กิจกรรมพัฒนาความรู
• อุปกรณ
บัตรตัวเลข 0-9
2 4 7 9
0 3 5 8
1 6
• วิธีจัดกิจกรรม
1) ใหนักเรียนจับคูกับเพื่อน จากนั้นใหแตละคูจับบัตรตัวเลขครั้งละ 2 ใบ
โดยจับบัตรตัวเลขจํานวน 5 ครั้ง เพื่อสรางจํานวนที่มีสองหลัก 5 จํานวน
2) แตละคูชวยกันหาวา มีจํานวนใดบางที่นําไปหารจํานวนที่สรางไดจากขอ 1)
ลงตัว
3) เมื่อแตละคูทําเสร็จเรียบรอยแลว ใหออกมานําเสนอหนาชั้นเรียน
โดยมีครูคอยตรวจสอบความถูกตอง และอธิบายเพิ่มเติมในสวนที่ยังมี
ขอบกพรอง

จากกิจกรรมพัฒนาความรู จํานวนนับที่หารจํานวนนับนั้นไดลงตัว
เรียกวา “ตัวประกอบ” ของจํานวนนับนั้น ซึ่งจํานวนนับแตละจํานวน
สามารถมีตัวประกอบไดมากกวา 1 ตัว

4
พิจารณาสถานการณตอไปนี้
เจนมีถวย 6 ใบ วางเรียงถวยในลักษณะตาง ๆ ดังนี้

6 ÷ 1 =6
6 ÷ 6=1
6 × 1 =6
เรียง 1 แถวตามแนวนอน จะไดแถวละ 6 ใบ
หรือเรียง 6 แถวตามแนวตั้ง จะไดแถวละ 1 ใบ

6÷3=2
6÷2=3
3×2 =6
เรียง 2 แถวตามแนวนอน จะไดแถวละ 3 ใบ
หรือเรียง 3 แถวตามแนวตั้ง จะไดแถวละ 2 ใบ
แสดงวา 1, 2, 3 และ 6 สามารถหาร 6 ไดลงตัว
ดังนั้น 1, 2, 3 และ 6 เปนตัวประกอบของ 6
พิจารณาวา 7 เปนตัวประกอบของ 35 และ 36 หรือไม
5 5
7 35 7 36
35 35
0 1
จะเห็นวา 7 หาร 35 ไดลงตัว แต 7 หาร 36 ไมลงตัว
ดังนั้น 7 เปนตัวประกอบของ 35 แต 7 ไมเปนตัวประกอบของ 36
5
ตัวอยางที่ 1
หาตัวประกอบของ 21
1 หาร 21 ไดลงตัว แสดงวา 1 เปนตัวประกอบของ 21 1 × 21 = 21
3 หาร 21 ไดลงตัว แสดงวา 3 เปนตัวประกอบของ 21 3 × 7 = 21
5 หาร 21 ไมลงตัว แสดงวา 5 ไมเปนตัวประกอบของ 21
7 หาร 21 ไดลงตัว แสดงวา 7 เปนตัวประกอบของ 21
21 หาร 21 ไดลงตัว แสดงวา 21 เปนตัวประกอบของ 21
จะเห็นวา จํานวนนับที่นําไปหาร 21 ไดลงตัว คือ 1, 3, 7 และ 21
เนื่องจาก ไมมีจํานวนนับอื่นที่หาร 21 ลงตัว
ดังนั้น 21 มีตัวประกอบสี่ตัว คือ 1, 3, 7 และ 21

1 เปนตัวประกอบของจํานวนนับทุกจํานวน
เพราะ 1 หารจํานวนนับทุกจํานวนไดลงตัว

1. ตอบคําถามตอไปนี้
1) 4 เปนตัวประกอบของ 38 หรือไม เพราะเหตุใด
2) 6 เปนตัวประกอบของ 42 หรือไม เพราะเหตุใด
3) 9 เปนตัวประกอบของ 117 หรือไม เพราะเหตุใด
4) 11 เปนตัวประกอบของ 122 หรือไม เพราะเหตุใด
5) 15 เปนตัวประกอบของ 180 หรือไม เพราะเหตุใด
2. หาตัวประกอบทุกตัวของจํานวนตอไปนี้ โดยทําลงในสมุด
1) 9 2) 12 3) 18 4) 20
5) 28 6) 38 7) 43 8) 52
9) 74 10) 85 11) 94 12) 121

6
1.2 จํานวนเฉพาะ
พิจารณาตัวประกอบของจํานวนนับตอไปนี้
2 มีตัวประกอบ คือ 1 และ 2
3 มีตัวประกอบ คือ 1 และ 3
5 มีตัวประกอบ คือ 1 และ 5
7 มีตัวประกอบ คือ 1 และ 7
จะเห็นวา 2, 3, 5 และ 7 มีตัวประกอบเพียงสองตัว คือ 1 และตัวมันเอง
เรียก 2, 3, 5 และ 7 วา จํานวนเฉพาะ
จํานวนเฉพาะเปนจํานวนทีม่ ากกวา 1 และมีตวั ประกอบเพียงสองตัวเทานัน้
คือ 1 และตัวมันเอง
1 ไมใชจํานวนเฉพาะ เพราะจํานวนเฉพาะ
ตองมีคามากกวาหนึ่งเทานั้นคะ
ตอบคําถามตอไปนี้ โดยทําลงในสมุด
1) ตัวประกอบของ 11 มีกี่ตัว อะไรบาง
11 เปนจํานวนเฉพาะหรือไม เพราะเหตุใด
2) ตัวประกอบของ 20 มีกี่ตัว อะไรบาง
20 เปนจํานวนเฉพาะหรือไม เพราะเหตุใด
3) ตัวประกอบของ 37 มีกี่ตัว อะไรบาง
37 เปนจํานวนเฉพาะหรือไม เพราะเหตุใด
4) ตัวประกอบของ 49 มีกี่ตัว อะไรบาง
49 เปนจํานวนเฉพาะหรือไม เพราะเหตุใด
5) ตัวประกอบของ 57 มีกี่ตัว อะไรบาง
57 เปนจํานวนเฉพาะหรือไม เพราะเหตุใด
7
1.3 ตัวประกอบเฉพาะ
พิจารณาจํานวนในตารางตอไปนี้
จํานวนนับ ตัวประกอบ ตัวประกอบที่เปนจํานวนเฉพาะ
2 1, 2 2
5 1, 5 5
6 1, 2, 3, 6 2, 3
7 1, 7 7
9 1, 3, 9 3
10 1, 2, 5, 10 2, 5
25 1, 5, 25 5
ตัวประกอบที่เปนจํานวนเฉพาะ เรียกวา ตัวประกอบเฉพาะ
จําไดไหมวา จํานวนเฉพาะ เปนจํานวนนับทีม่ ตี วั ประกอบเพียงสองตัว
คือ 1 และตัวมันเอง และตัวประกอบเฉพาะ คือ ตัวประกอบที่เปน
จํานวนเฉพาะ

ตอบคําถามตอไปนี้ โดยทําลงในสมุด
1) ตัวประกอบของ 15 มีจํานวนใดบาง และตัวประกอบเฉพาะของ 15
คือจํานวนใดบาง
2) ตัวประกอบของ 18 มีจํานวนใดบาง และตัวประกอบเฉพาะของ 18
คือจํานวนใดบาง
3) ตัวประกอบของ 22 มีจํานวนใดบาง และตัวประกอบเฉพาะของ 22
คือจํานวนใดบาง
4) ตัวประกอบของ 30 มีจํานวนใดบาง และตัวประกอบเฉพาะของ 30
คือจํานวนใดบาง
5) ตัวประกอบของ 42 มีจํานวนใดบาง และตัวประกอบเฉพาะของ 42
คือจํานวนใดบาง
8
กิจกรรมฝกทักษะ
1 หาตัวประกอบทุกตัวของจํานวนตอไปนี้
1. 2 2. 4 3. 7 4. 8
5. 14 6. 19 7. 16 8. 21
9. 23 10. 24 11. 26 12. 33
13. 46 14. 72 15. 68 16. 56
17. 81 18. 95 19. 112 20. 123
21. 125 22. 160 23. 168 24. 172
2 วงลอมรอบจํานวนเฉพาะทุกจํานวน และวาดรูปดาวทับจํานวนที่มีตัวประกอบ
6 จํานวน
1 6 11 16 21 26 31 36 41 46
2 7 12 17 22 27 32 37 42 47
3 8 13 18 23 28 33 38 43 48
4 9 14 19 24 29 34 39 44 49
5 10 15 20 25 30 35 40 45 50
3 หาตัวประกอบเฉพาะทุกตัวของจํานวนตอไปนี้
1. 13 2. 16 3. 21 4. 24
5. 38 6. 41 7. 48 8. 50
9. 55 10. 56 11. 61 12. 63
ฝกทําตอใน บฝ.คณิตศาสตร
ป.6 เลม 1 หนา 1-5

ความรูที่ ได
ตัวประกอบเฉพาะทุกจํานวนเปนจํานวนเฉพาะใชหรือไม เพราะเหตุใด
9
6, 8, 9, 12, 18 áÅÐ 24
2. ¡ÒÃᡵÑÇ»ÃСͺ ¨íҹǹ㴺ŒÒ§·ÕèÁÕ 4 ໚¹µÑÇ»ÃСͺ

พิจารณาการเขียน 42 ในรูปการคูณ
42 = 2 × 3 × 7
2, 3 และ 7 เปนตัวประกอบเฉพาะของ 42
การเขียน 42 = 2 × 3 × 7 เรียกวา การแยกตัวประกอบ
การเขียนจํานวนนับในรูปการคูณของตัวประกอบเฉพาะ
เราเรียกวา การแยกตัวประกอบ

พิจารณาวิธีการแยกตัวประกอบของ 18 โดยการเขียน 18 ในรูปการคูณ


ของตัวประกอบ
เขียน 18 ในรูปผลคูณของตัวประกอบสองตัวที่ไมมีตัวใดเปน 1
18 = 2 × 9 หรือ 18 = 3 × 6
จะเห็นวา 9 และ 6 ไมเปนตัวประกอบเฉพาะ ดังนั้น สามารถเขียน 9 และ
6 ในรูปการคูณของตัวประกอบตอไปอีก
18 = 2 × 9 หรือ 18 = 3 × 6
=2×3×3 =3×3×2
ดังนั้น 18 = 2 × 3 × 3 หรือ 18 = 3 × 3 × 2
เปนการเขียน 18 ในรูปการคูณของตัวประกอบเฉพาะหรือเปนการแยก
ตัวประกอบของ 18
การคูณจํานวนที่เทากันหลาย ๆ จํานวน สามารถเขียนในรูปเลขยกกําลังได
เชน 2 × 2 = 22 22 อานวา สองยกกําลังสอง
2 × 2 × 2 = 23 23 อานวา สองยกกําลังสาม
10 3 × 3 × 3 × 3 = 34 34 อานวา สามยกกําลังสี่
ตัวอยางที่ 2
แยกตัวประกอบของ 54 ถาแยกตัวคูณ แลวยังมีบางจํานวน
ที่ ไมเปนจํานวนเฉพาะ ใหแยกตัวคูณ
วิธีทํา 54 = 2 × 27 ไปเรื่อย ๆ จนตัวคูณทุกจํานวนเปน
= 2× 3×9 จํานวนเฉพาะ และการคูณจํานวน
= 2× 3×3 × 3 ที่ เทากันหลาย ๆ จํานวน สามารถ
เขี ยนใหอยู ในรูปเลขยกกําลังไดนะครับ
= 2 × 33
ดังนั้น 54 = 2 × 33
ตอบ ๕๔ = ๒ × ๓๓

พิจารณาวิธีการแยกตัวประกอบของ 156 โดยการตั้งหาร


ใหนําจํานวนนับที่ตองการแยกตัวประกอบเปนตัวตั้ง จากนั้นหาจํานวน
เฉพาะมาหาผลหารไปเรื่อย ๆ จนผลหารสุดทายเปนจํานวนเฉพาะ
2 156
2 78
3 39
13
ดังนั้น 156 = 2 × 2 × 3 × 13
= 22 × 3 × 13

เพื่อความสะดวกและรวดเร็ว เราควรเลือกจํานวนเฉพาะที่นอยที่สุด
ที่หารตัวตั้งไดลงตัวเปนตัวหาร และหารไปเรื่อย ๆ จนผลหารสุดทาย
เปนจํานวนเฉพาะ จากนั้นเขียนจํานวนนับนั้นในรูปการคูณของตัวหาร
ทุกตัวกับผลหารที่ไดคะ

11
ตัวอยางที่ 3 ตัวอยางที่ 4
แยกตัวประกอบของ 144 แยกตัวประกอบของ 228
วิธีทํา 2 144 วิธีทํา 2 228
2 72 2 114
2 36 3 57
2 18 19
3 9
3
ดังนั้น 144 = 2 × 2 × 2 × 2 × 3 × 3 ดังนั้น 228 = 2 × 2 × 3 × 19
= 24 × 32 = 22 × 3 × 19
ตอบ ๑๔๔ = ๒๔ × ๓๒ ตอบ ๒๒๘ = ๒๒ × ๓ × ๑๙
พิจารณาวิธีการแยกตัวประกอบของ 96 โดยใชแผนภาพตนไม
96
12 × 8
4 × 3 4 × 2
2 × 2 2 × 2
ดังนั้น 96 = 2 × 2 × 3 × 2 × 2 × 2
หรือ 96 = 2 × 2 × 2 × 2 × 2 × 3
= 25 × 3
การแยกตัวประกอบโดยใชแผนภาพตนไม ทําไดโดยการเขียนจํานวน
ที่กําหนดใหในรูปการคูณของจํานวนนับสองจํานวน ถาจํานวนใด
ยังไมเปนจํานวนเฉพาะ ใหเขียนในรูปการคูณไปเรื่อย ๆ จนตัวคูณ
ทุกตัวเปนจํานวนเฉพาะ
12
กิจกรรมพัฒนาความรู
• อุปกรณ
กระดาษ A4 และสลากจํานวนนับ
• วิธีจัดกิจกรรม
1) ครูแจกกระดาษ A4 ใหนกั เรียนคนละ 1 แผน จากนัน้ ครูกาํ หนดใหนกั เรียนหญิง
แตละคน มีคาเทากับ 2 และนักเรียนชายแตละคน มีคาเทากับ 3
2) ครูจับสลากจํานวนนับที่ตองการใหแยกตัวประกอบ จากนั้นใหแตละคนเขียน
คําตอบลงในกระดาษ A4 ถาเขียนในรูปแยกตัวประกอบไดถูกตอง ครูเขียน
คะแนน 1 คะแนน ลงในกระดาษ A4
3) ใหนักเรียนจัดกลุมโดยใหเทากับผลคูณในสลากที่ครูจับได เชน 24 แตละกลุม
ตองมีนักเรียนหญิง 3 คน และนักเรียนชาย 1 คน ใครจับกลุมไดถูกตอง
ครูเขียนคะแนนเพิ่มอีก 1 คะแนน
4) ทําซํ้าขอ 2)-3) อีก 4 ครั้ง เมื่อครบ 5 ครั้ง ใครไดคะแนนมากที่สุด เปนผูชนะ

1. การเขียนจํานวนในรูปการคูณตอไปนี้ เปนการแยกตัวประกอบหรือไม
เพราะเหตุใด
1) 10 = 2 × 5 2) 25 = 5 × 5 3) 56 = 2 × 4 × 7
4) 56 = 2 × 4 × 3 5) 18 = 2 × 3 × 9 6) 30 = 2 × 5 × 3
2. แยกตัวประกอบของจํานวนตอไปนี้
1) 12 2) 16 3) 24 4) 36
5) 44 6) 58 7) 74 8) 82
9) 106 10) 112 11) 256 12) 230

13
กิจกรรมฝกทักษะ
1 เขียนตัวเลขแทนจํานวนใน ใหถูกตอง
1. 32 = 2 × 2. 48
=2×2× × 8
=2×2×2× 2 × 3 2 ×
= × 2
2 แยกตัวประกอบของจํานวนตอไปนี้ โดยใชการเขียนในรูปผลคูณของตัวประกอบ
พรอมทั้งเขียนคําตอบในรูปเลขยกกําลัง
1. 20 2. 40 3. 56 4. 84
5. 175 6. 196 7. 200 8. 250
3 แยกตัวประกอบของจํานวนตอไปนี้ โดยใชการตั้งหาร พรอมทั้งเขียนคําตอบ
ในรูปเลขยกกําลัง
1. 75 2. 80 3. 136 4. 268
5. 363 6. 845 7. 690 8. 1,000
4 แยกตัวประกอบของจํานวนตอไปนี้ โดยใชแผนภาพตนไม พรอมทั้งเขียน
คําตอบในรูปเลขยกกําลัง
1. 52 2. 76 3. 92 4. 81
5. 180 6. 366 7. 488 8. 756
ฝกทําตอใน บฝ.คณิตศาสตร
ป.6 เลม 1 หนา 6-13

ความรูที่ ได
หญิงกลาววา “จํานวนคูทุกจํานวนมี 2 เปนตัวประกอบ” หญิงกลาวถูกตอง
หรือไม อยางไร
14
45 ÁÕµÑÇ»ÃСͺ੾ÒСÕè¨íҹǹ
3. µÑÇËÒÃËÇÁÁÒ¡ (Ë.Ã.Á.) ÍÐäúŒÒ§

กิจกรรมพัฒนาความรู
• อุปกรณ
กระดาษ A4
• วิธีจัดกิจกรรม
1) ใหนักเรียนจับกลุม กลุมละ 3 คน จากนั้นครูแจกกระดาษ A4
ใหกลุมละ 1 แผน
2) ใหแตละกลุมชวยกันหาวิธีแบงกลุมนักเรียน โดยมีขอมูลและเงื่อนไข ดังนี้
นักเรียนชั้น ป.6 มีอยู 3 หอง แตละหองมีจํานวนนักเรียน ดังนี้
36, 40 และ 44 คน ถาตองการจัดนักเรียนเปนกลุม กลุมละเทา ๆ กัน
โดยไมคละหองกันและไมเหลือเศษ จะจัดนักเรียนไดกี่กลุม กลุมละกี่คน
3) แตละกลุมทําความเขาใจโจทยปญหา แลวใหลงมือชวยกันคิดแกปญหา
ลงในกระดาษ A4
4) เมื่อแตละกลุมทําเสร็จเรียบรอยแลว ใหออกมานําเสนอหนาชั้นเรียน
โดยมีครูคอยตรวจสอบความถูกตอง และอธิบายเพิ่มเติมในสวนที่ยังมี
ขอบกพรอง
จากกิจกรรมพัฒนาความรู เราอาจแบงกลุมนักเรียน โดยพิจารณาจาก
ตัวประกอบของ 36, 40 และ 44 ดังนี้
จํานวนนับที่หาร 36 ลงตัว ไดแก 1, 2, 3, 4, 6, 9, 12, 18 และ 36
จํานวนนับที่หาร 40 ลงตัว ไดแก 1, 2, 4, 5, 8, 10, 20 และ 40
จํานวนนับที่หาร 44 ลงตัว ไดแก 1, 2, 4, 11, 22 และ 44
จะเห็นวา 36, 40 และ 44 มีตัวประกอบที่เหมือนกัน คือ 1, 2 และ 4
ดังนั้น อาจจัดกลุมนักเรียนกลุมละ 2 คน จะได 60 กลุม
หรือจัดกลุมนักเรียนกลุมละ 4 คน จะได 30 กลุม 15
จํานวนนับที่หารจํานวนตั้งแตสองจํานวนขึ้นไปไดลงตัว เรียกวา ตัวหารรวม
หรือตัวประกอบรวมของจํานวนเหลานั้นคะ
พิจารณาจํานวนนับที่หาร 12 และ 18 ลงตัว
จํานวนนับที่หาร 12 ลงตัว ไดแก 1, 2, 3, 4, 6 และ 12
จํานวนนับที่หาร 18 ลงตัว ไดแก 1, 2, 3, 6, 9 และ 18
จํานวนนับที่หาร 12 และ 18 ลงตัว คือ 1, 2, 3 และ 6
ดังนั้น ตัวหารรวมหรือตัวประกอบรวมของ 12 และ 18 คือ 1, 2, 3
และ 6
ตัวอยางที่ 5
หาตัวหารรวมของ 24, 30 และ 40
วิธีทํา จํานวนนับที่หาร 24 ลงตัว ไดแก 1, 2, 3, 4, 6, 8, 12 และ 24
จํานวนนับที่หาร 30 ลงตัว ไดแก 1, 2, 3, 5, 6, 10,15 และ 30
จํานวนนับที่หาร 40 ลงตัว ไดแก 1, 2, 4, 5, 8, 10, 20 และ 40
จํานวนนับที่หาร 24, 30 และ 40 ลงตัว คือ 1 และ 2
ดังนั้น ตัวหารรวมของ 24, 30 และ 40 คือ 1 และ 2
ตอบ ๑ และ ๒
พิจารณาจํานวนนับที่หาร 18 และ 27 ลงตัว
จํานวนนับที่หาร 18 ลงตัว ไดแก 1, 2, 3, 6, 9 และ 18
จํานวนนับที่หาร 27 ลงตัว ไดแก 1, 3, 9 และ 27
ตัวหารรวมของ 18 และ 27 คือ 1, 3 และ 9
จะเห็นวา 9 เปนตัวหารรวมที่มีคามากที่สุด
เรียก 9 วา ตัวหารรวมมากของ 18 และ 27
ตัวหารรวมที่มีคามากที่สุด เรียกวา ตัวหารรวมมาก ใชอักษรยอวา ห.ร.ม.
16
ตัวอยางที่ 6
หา ห.ร.ม. ของ 16, 28 และ 36 โดยการหาตัวประกอบ
วิธีทํา จํานวนนับที่หาร 16 ลงตัว ไดแก 1, 2, 4, 8 และ 16
จํานวนนับที่หาร 28 ลงตัว ไดแก 1, 2, 4, 7, 14 และ 28
จํานวนนับที่หาร 36 ลงตัว ไดแก 1, 2, 3, 4, 6, 9, 12, 18 และ 36
ตัวหารรวมของ 16, 28 และ 36 คือ 1, 2 และ 4
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 16, 28 และ 36 คือ 4
ตอบ ๔ ตัวประกอบรวมของ 16, 28 และ 36 คือ 1, 2 และ 4
แต ห.ร.ม. ของ 16, 28 และ 36 ไมเทากับ 1 × 2 × 4 นะครับ

พิจารณาการหา ห.ร.ม. ของ 16 และ 24 โดยการแยกตัวประกอบ


16 = 2 × 2 × 2 × 2
24 = 2 × 2 × 2 × 3
ห.ร.ม. ของ 16 และ 24 คือ 2 × 2 × 2 = 8
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 16 และ 24 คือ 8
การหา ห.ร.ม. ของจํานวนตั้งแตสองจํานวนขึ้นไป โดยใชการแยกตัวประกอบ
หาไดจากผลคูณของตัวประกอบที่ซํ้ากันของทุกจํานวนเหลานั้นมาคูณกันคะ

ตัวอยางที่ 7
หา ห.ร.ม. ของ 24, 36 และ 42 โดยการแยกตัวประกอบ
วิธีทํา 24 = 2 × 2 × 2 × 3
36 = 2 × 2 × 3 × 3
42 = 2 × 3 × 7
ห.ร.ม. ของ 24, 36 และ 42 คือ 2 × 3 = 6
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 24, 36 และ 42 คือ 6
ตอบ ๖
17
พิจารณาการหา ห.ร.ม. ของ 18, 24 และ 30 โดยการตั้งหาร
ขั้นที่ 1 หาจํานวนเฉพาะที่เปนตัวหารรวมของ 18, 24 และ 30 เชน 2
จากนั้นนํา 2 ไปหาร 18, 24 และ 30
18 ÷ 2 2 18 24 30 24 ÷ 2
9 12 15 30 ÷ 2
ขั้นที่ 2 หาจํานวนเฉพาะที่เปนตัวหารรวมของ 9, 12 และ 15 ได 3
จากนั้นนํา 3 ไปหาร 9, 12 และ 15
2 18 24 30
9÷3 3 9 12 15 12 ÷ 3
3 4 5 15 ÷ 3

ขั้นที่ 3 หาจํานวนเฉพาะทีเ่ ปนตัวหารรวมของ 3, 4 และ 5 จะเห็นวา ไมมี


ขั้นที่ 4 หาผลคูณของจํานวนเฉพาะที่เปนตัวหารรวมทุกตัว
จะได 2 × 3 = 6
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 18, 24 และ 30 คือ 6
ตัวอยางที่ 8
หา ห.ร.ม. ของ 24, 32 และ 40 โดยการตั้งหาร
วิธีทํา 2 24 32 40 อาจหารดวยตัวหารรวมอื่น เชน
2 12 16 20 4 24 32 40
2 6 8 10 2 6 8 10
3 4 5 3 4 5
ห.ร.ม. ของ 24, 32 และ 40 ห.ร.ม. ของ 24, 32 และ 40
คือ 2 × 2 × 2 = 8 คือ 4 × 2 = 8
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 24, 32 และ 40 คือ 8
ตอบ ๘
18
à¡Ãç´¤³Ôµ
การหาตัวหารรวมและตัวหารรวมมากของ 48 และ 56 โดยใชแผนภาพ
จํานวนนับที่หาร 48 ลงตัว ไดแก 1, 2, 3, 4, 6, 8, 12, 16, 24 และ 48
จํานวนนับที่หาร 56 ลงตัว ไดแก 1, 2, 4, 7, 8, 14, 28 และ 56
สามารถใชแผนภาพเพื่ออธิบาย ดังนี้
จํานวนนับที่หาร 48 ลงตัว จํานวนนับที่หาร 56 ลงตัว

1 2 3 4 1 2 4 7
6 8 12 16 8 14 28
24 48 56

ตัวหารรวมของ 48 และ 56

3 6 1 7 14
12 16 2 28 56
4
24 48 8

ตัวหารรวมมาก คือ 8
ดังนั้น ตัวหารรวมมากของ 48 และ 56 คือ 8

การหา ห.ร.ม. โดยใชแผนภาพ


19
หา ห.ร.ม. ของจํานวนตอไปนี้
1) 8, 12 2) 14, 21 3) 30, 40
4) 25, 45 5) 26, 52 6) 48, 54
7) 18, 28, 30 8) 45, 65, 80 9) 32, 56, 64

กิจกรรมฝกทักษะ
1 หา ห.ร.ม. ของจํานวนตอไปนี้
A G S
12, 16 8, 18 15, 21
R E T
25, 55 24, 32, 40 18, 30, 42
O N C
21, 49, 56 36, 63, 90 22, 132, 154
M D I
48, 60, 108 26, 65, 117 15, 75, 120
นําพยัญชนะภาษาอังกฤษเติมลงในชองวางที่ตรงกับ ห.ร.ม. ในแตละขอ
ใหถูกตอง
………………. ………………. ………………. ………………. ………………. ………………. ………………. ……………….
2 5 8 4 6 8 3 6
………………. ………………. ………………. ………………. ………………. ……………….
22 7 12 12 7 9
……………….
13
……………….
15 V ……………….
15
……………….
3
……………….
7
……………….
5
20
2 หา ห.ร.ม. ของจํานวนตอไปนี้ โดยการหาตัวประกอบรวม
1. 18, 24 2. 30, 42 3. 56, 64
4. 72, 81 5. 100, 121 6. 110, 140
7. 12, 16, 22 8. 15, 25, 35 9. 36, 48, 63
10. 12, 20, 28 11. 24, 32, 68 12. 52, 72, 108
3 หา ห.ร.ม. ของจํานวนตอไปนี้ โดยการแยกตัวประกอบ
1. 8, 12 2. 10, 15 3. 25, 40
4. 21, 36 5. 24, 32 6. 42, 48
7. 20, 40, 60 8. 48, 64, 108 9. 52, 74, 90
10. 28, 35, 42 11. 48, 56, 96 12. 54, 90, 108
4 หา ห.ร.ม. ของจํานวนตอไปนี้ โดยการตั้งหาร
1. 12, 18 2. 24, 45 3. 26, 39
4. 32, 54 5. 58, 60 6. 40, 70
7. 8, 18, 30 8. 20, 40, 80 9. 28, 56, 70
10. 21, 36, 45 11. 35, 45, 50 12. 48, 72, 108
ฝกทําตอใน บฝ.คณิตศาสตร
ป.6 เลม 1 หนา 14-21

ความรูที่ ได
ถาแปงมีคุกกี้รสนม รสช็อกโกแลต และรสสตรอวเบอรรีจํานวน 36, 42
และ 45 ชิ้น ตามลําดับ ตองการจัดคุกกี้ใสกลอง กลองละเทา ๆ กัน โดยไมคละรส
และไมเหลือเศษ แปงจะจัดคุกกี้แตละรสไดมากที่สุดกี่กลอง และกลองละกี่ชิ้น

21
¨íҹǹ¹Ñº·ÕèÁÕ 7 ໚¹µÑÇ»ÃСͺ
4. µÑǤٳËÇÁ¹ŒÍ (¤.Ã.¹.) ÁÕÅѡɳÐ໚¹Í‹ҧäÃ

กิจกรรมพัฒนาความรู
• อุปกรณ
กระดาษ A4 และบัตรตัวเลข
• วิธีจัดกิจกรรม
1) ใหนักเรียนจับคูกับเพื่อน จากนั้นครูแจกกระดาษ A4 แลวชูบัตรตัวเลข
ที่มีกระดาษปดตัวเลขไว
2) ใหแตละคูช ว ยกันหาจํานวนในบัตรตัวเลขทีค่ รูปด ไว โดยพิจารณาตามเงือ่ นไข
ตอไปนี้
• จํานวนนับที่ปดไวมีคามากกวา 19 แตนอยกวา 25 24 ? 23
• จํานวนนับที่ปดไวหารดวย 3 ลงตัว
20
• เมื่อนําจํานวนนับนี้บวกดวย 3 ผลบวกที่ไดหารดวย 3 และ 7 ลงตัว
3) เมือ่ ทําเสร็จเรียบรอยแลว ครูสมุ ตัวแทนใหออกมานําเสนอหนาชัน้ เรียน โดยมี
ครูคอยตรวจสอบความถูกตอง และอธิบายเพิ่มเติมในสวนที่ยังมีขอบกพรอง

จากกิจกรรมพัฒนาความรู จํานวนนับที่ 3 หารลงตัว หรือมี 3 เปนตัวประกอบ


เรียกจํานวนนับนั้นวา “พหุคูณของ 3” จํานวนนับที่ 3 และ 7 หารลงตัว เรียกวา
“ตัวคูณรวมของ 3 และ 7”

22
พิจารณาจํานวนนับที่ 4 และ 6 หารลงตัว
จํานวนนับที่ 4 หารลงตัว ไดแก 4, 8, 12, 16, 20, 24, …
จํานวนนับเหลานี้ เรียกวา ตัวคูณของ 4 หรือพหุคูณของ 4
จํานวนนับที่ 6 หารลงตัว ไดแก 6, 12, 18, 24, 30, 36, …
จํานวนนับเหลานี้ เรียกวา ตัวคูณของ 6 หรือพหุคูณของ 6
จํานวนนับที่ 4 และ 6 หารลงตัว ไดแก 12, 24, …
ดังนั้น ตัวคูณรวมของ 4 และ 6 ไดแก 12, 24, …
ตัวอยางที่ 9
หาตัวคูณรวมของ 2, 4 และ 7
วิธีทํา จํานวนนับที่มี 2 หารลงตัว ไดแก 2, 4, 6, 8, 10, 12, 14, 16, 18,
20, 22, 24, 26, 28, 30, …, 50, 52, 54, 56, 58, …
จํานวนนับที่มี 4 หารลงตัว ไดแก 4, 8, 12, 16, 20, 24, 28, 32,
36, 40, 44, 48, 52, 56, …
จํานวนนับที่มี 7 หารลงตัว ไดแก 7, 14, 21, 28, 35, 42, 49, 56,
63, …
จํานวนนับที่มี 2, 4 และ 7 หารลงตัว ไดแก 28, 56, …
ดังนั้น ตัวคูณรวมของ 2, 4 และ 7 ไดแก 28, 56, …
ตอบ ๒๘, ๕๖, …
พิจารณาตัวคูณของ 6 และ 8
ตัวคูณของ 6 ไดแก 6, 12, 18, 24, 30, 36, 42, 48, 54, 60, …
ตัวคูณของ 8 ไดแก 8, 16, 24, 32, 40, 48, 56, 64, 72, …
ตัวคูณรวมของ 6 และ 8 ไดแก 24, 48, …
ตัวคูณรวมที่นอยที่สุดของ 6 และ 8 ไดแก 24
เรียก 24 วา ตัวคูณรวมนอยของ 6 และ 8
ตัวคูณรวมที่นอยที่สุด เรียกวา ตัวคูณรวมนอย ใชอักษรยอวา ค.ร.น.
23
ตัวอยางที่ 10
หา ค.ร.น. ของ 2, 3 และ 4 โดยการหาตัวคูณรวม
วิธีทํา ตัวคูณของ 2 ไดแก 2, 4, 6, 8, 10, 12, 14, 16, 18, 20, 22, 24, …
ตัวคูณของ 3 ไดแก 3, 6, 9, 12, 15, 18, 21, 24, …
ตัวคูณของ 4 ไดแก 4, 8, 12, 16, 20, 24, 28, 32, 36, …
ตัวคูณรวมของ 2, 3 และ 4 ไดแก 12, 24, …
ตัวคูณรวมที่นอยที่สุดของ 2, 3 และ 4 คือ 12
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 2, 3 และ 4 คือ 12
ตอบ ๑๒
พิจารณาวิธีการหา ค.ร.น. ของ 4 และ 10 โดยการแยกตัวประกอบ
4 =2×2
10 = 2 × 5
ค.ร.น. ของ 4 และ 10 คือ 2 × 2 × 5 = 20
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 4 และ 10 คือ 20
การหา ค.ร.น. ของจํานวนนับตัง้ แตสองจํานวนขึน้ ไป โดยใชการแยกตัวประกอบ
เมื่อแยกตัวประกอบของแตละจํานวนแลว เลือกตัวประกอบที่ซํ้าของทุกจํานวน
เลือกตัวประกอบที่ซํ้าของบางจํานวนและเลือกตัวประกอบตัวที่ไมซํ้ามาทุกตัว
จากนั้นนําตัวประกอบที่เลือกไวมาคูณกันทั้งหมดคะ

ตัวอยางที่ 11
หา ค.ร.น. ของ 6, 12 และ 15
ถาเปนตัวประกอบ
วิธีทํา 6 = 2 × 3 ที่ ซํ้ากันอยางนอยสองตัว
12 = 2 × 2 × 3 ใหเลือกเพี ยงตัวเดี ยวครับ
15 = 3 × 5
ค.ร.น. ของ 6, 12 และ 15 คือ 3 × 2 × 2 × 5 = 60
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 6, 12 และ 15 คือ 60
ตอบ ๖๐
24
พิจารณาการหา ค.ร.น. ของ 15, 45 และ 60 โดยการตั้งหาร
ขั้นที่ 1 หาจํานวนเฉพาะที่หาร 15, 45 และ 60 อยางนอยสองจํานวน
ไดลงตัว เชน 5 จากนั้นนํา 5 ไปหาร 15, 45 และ 60
5 15 45 60 45 ÷ 5
15 ÷ 5
3 9 12 60 ÷ 5

ขั้นที่ 2 หาจํานวนเฉพาะที่หาร 3, 9 และ 12 อยางนอยสองจํานวน


ไดลงตัว เชน 3 จากนั้นนํา 3 ไปหาร 3, 9 และ 12
5 15 45 60
3 3 9 12 9÷3
3÷3
1 3 4 12 ÷ 3

ขั้นที่ 3 หาจํานวนเฉพาะที่หาร 1, 3 และ 4 อยางนอยสองจํานวน


ไดลงตัว จะเห็นวา ไมมี
ขั้นที่ 4 หาผลคูณของตัวหารทุกตัว และผลหารขั้นสุดทายทุกตัว
จะได 5 × 3 × 1 × 3 × 4 = 180
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 15, 45 และ 60 คือ 180
ตัวอยางที่ 12
หา ค.ร.น. ของ 30, 36 และ 48 โดยการตั้งหาร
วิธีทํา 3 30 36 48 อาจหารดวยตัวคูณรวมอื่น เชน
2 10 12 16 6 30 36 48
2 5 6 8 2 5 6 8
5 3 4 5 3 4
ค.ร.น. ของ 30, 36 และ 48 ค.ร.น. ของ 30, 36 และ 48
คือ 3 × 2 × 2 × 5 × 3 × 4 = 720 คือ 6 × 2 × 5 × 3 × 4 = 720
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 30, 36 และ 48 คือ 720
ตอบ ๗๒๐ 25
à¡Ãç´¤³Ôµ
ความสัมพันธระหวาง ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
เมื่อกําหนดจํานวนนับสองจํานวน เราหา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจํานวนนับ
ทั้งสองได
กําหนดจํานวนนับสองจํานวน คือ 9 และ 12
หา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของ 9 และ 12 ได ดังนี้
9=3×3
12 = 2 × 2 × 3
ห.ร.ม. ของ 9 และ 12 คือ 3
ค.ร.น. ของ 9 และ 12 คือ 2 × 2 × 3 × 3 = 36
ผลคูณของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของ 9 และ 12 เทากับ 3 × 36 = 108
ผลคูณของจํานวนนับสองจํานวนที่กําหนดให เทากับ 9 × 12 = 108
จะไดวา ผลคูณของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของ 9 และ 12 เทากับผลคูณของ 9
และ 12 เพราะตางเทากับ 108 9
6 13
กําหนดจํานวนนับสองจํานวน คือ 15 และ 30
หา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของ 15 และ 30 ได ดังนี้
15 = 3 × 5
30 = 2 × 3 × 5
ห.ร.ม. ของ 18 และ 30 คือ 3 × 5 = 15
ค.ร.น. ของ 18 และ 30 คือ 2 × 3 × 5 = 30
ผลคูณของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของ 15 และ 30 เทากับ 15 × 30 = 450
ผลคูณของจํานวนนับสองจํานวนที่กําหนดให เทากับ 15 × 30 = 450
จะไดวา ผลคูณของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของ 15 และ 30 เทากับผลคูณของ
15 และ 30 เพราะตางเทากับ 450
ผลคูณของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจํานวนนับสองจํานวน
เทากับผลคูณของจํานวนนับสองจํานวนนั้น
26
แนวขอสอบ เนนการคิด
กําหนดให [a, b] แทน ค.ร.น. ของ a และ b
(a, b) แทน ห.ร.ม. ของ a และ b
a ⊕ b = [a, b] ÷ (a, b)
คาของ 12 ⊕ 18 ตรงกับขอใด
1. 2 2. 4 3. 6 4. 8
แนวคิด 6 12 18
2 3
ค.ร.น. ของ 12 และ 18 คือ 6 × 2 × 3 = 36
จะได [12, 18] = 36
ห.ร.ม. ของ 12 และ 18 คือ 6
จะได (12, 18) = 6
12 ⊕ 18 = [12, 18] ÷ (12, 18)
= 36 ÷ 6
= 6
ตอบ ขอ 3.

มุม เทคโนโลยี
การหา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. โดยใชโปรแกรม Microsoft Excel
นักเรียนสามารถใชโปรแกรม Microsoft Excel มาชวยตรวจสอบวา ห.ร.ม.
และ ค.ร.น. ของจํานวนนับที่นักเรียนคิดคํานวณถูกตองหรือไม เชน
หา ห.ร.ม. ของ 12, 15 และ 18 จะมีวิธีตรวจสอบโดยใชโปรแกรม Microsoft
Excel โดยพิมพ =GCD(12,15,18) แลวกด Enter จะไดคา ห.ร.ม. ออกมา
หา ค.ร.น. ของ 12, 15 และ 18 จะมีวิธีตรวจสอบโดยใชโปรแกรม Microsoft
Excel โดยพิมพ =LCM(12,15,18) แลวกด Enter จะไดคา ค.ร.น. ออกมา
27
หาตัวคูณรวมของจํานวนตอไปนี้มา 3 จํานวน
1) 5, 10 2) 4, 6 3) 6, 8
4) 9, 10 5) 8, 12 6) 7, 9
7) 3, 6, 9 8) 2, 3, 4 9) 5, 7, 9

กิจกรรมฝกทักษะ
1 หา ค.ร.น. ของจํานวนตอไปนี้ตามแนวตั้ง แนวนอน และแนวทแยง
1. 4 8 2. 9 12
9 5 8 10

3. 6 7 4. 14 20
14 18 24 32

5. 15 30 6. 12 16
35 60 36 48

28
2 หา ค.ร.น. ของจํานวนที่กําหนดให โดยใชการหาตัวคูณรวม
1. 2, 4 2. 3, 4 3. 5, 7
4. 8, 6 5. 10, 30 6. 12, 18
7. 3, 4, 8 8. 9, 15, 21 9. 6, 8, 12
10. 28, 63, 70 11. 24, 32, 68 12. 12, 16, 32
3 หา ค.ร.น. ของจํานวนที่กําหนดให โดยการแยกตัวประกอบ
1. 9, 12 2. 8, 10 3. 15, 20
4. 14, 18 5. 22, 11 6. 26, 39
7. 15, 20, 25 8. 28, 32, 40 9. 36, 44, 50
10. 12, 20, 28 11. 21, 54, 63 12. 52, 72, 108
4 หา ค.ร.น. ของจํานวนที่กําหนดให โดยการตั้งหาร
1. 16, 20 2. 24, 35 3. 25, 40
4. 32, 36 5. 42, 48 6. 54, 56
7. 16, 28, 32 8. 25, 42, 81 9. 63, 84, 13
10. 24, 36, 40 11. 15, 24, 45 12. 24, 56, 66
ฝกทําตอใน บฝ.คณิตศาสตร
ป.6 เลม 1 หนา 22-25

ความรูที่ ได
ปอมแปมหา ค.ร.น. ของ 18 และ 24 เขียนสรุปเปนแผนภาพได ดังนี้
18 = 2 × 3 × 3 18 24
24 = 2 × 2 × 2 × 3 3 23 22
ตัวประกอบเฉพาะที่ซํ้ากัน
ของ 18 และ 24
ค.ร.น. ของ 18 และ 24 คือ 3 × 3 × 2 × 2 × 2 = 72 นักเรียนเห็นดวยกับ
ปอมแปมหรือไม อยางไร
29
¹ÒÃÕÁÕÊŒÁ 35 ¼Å µŒÍ§¡ÒÃ
5. ⨷»˜ÞËÒà¡ÕèÂǡѺ Ë.Ã.Á. ẋ§ãÊ‹¶Ø§ ¶Ø§ÅÐà·‹Ò æ ¡Ñ¹
6 ¶Ø§ ¹ÒÃÕẋ§ÊŒÁä´Œ¶Ø§ÅСÕè¼Å
áÅÐ ¤.Ã.¹. áÅÐàËÅ×ÍÊŒÁ¡Õè¼Å

กิจกรรมพัฒนาความรู
• อุปกรณ
กระดาษ A4
• วิธีจัดกิจกรรม
1) ใหนักเรียนจับคูกับเพื่อน จากนั้นครูแจกกระดาษ A4
2) ใหแตละคูชวยกันวางแผนและหาคําตอบของโจทยปญหาตอไปนี้
นิธิศวางแผนขายคุกกี้ในงานตลาดนัดโรงเรียน โดยมีคุกกี้รสนม 24 ชิ้น
คุกกี้รสช็อกโกแลต 28 ชิ้น และคุกกี้รสผลไมรวม 32 ชิ้น นิธิศจัดคุกกี้ใสถุง
ถุงละเทา ๆ กัน โดยไมคละรสและไมเหลือเศษ
• นิธิศจะจัดคุกกี้ไดกี่ถุง และถุงละกี่ชิ้น (คิดทุกวิธีที่เปนไปได)
• ถานิธิศขายคุกกี้ราคาถุงละ 10 บาท นิธิศจะไดเงินทั้งหมดกี่บาท
• จํานวนคุกกี้ที่มากที่สุดที่นิธิศสามารถจัดใสถุงไดเปนเทาใด
3) เมือ่ แตละคูท าํ เสร็จเรียบรอยแลว ใหตวั แทนออกมานําเสนอหนาชัน้ เรียน โดยมี
ครูคอยตรวจสอบความถูกตอง และอธิบายเพิ่มเติมในสวนที่ยังมีขอบกพรอง
จากกิจกรรมพัฒนาความรู เราสามารถจัดคุกกี้ใสถุงได 3 วิธี

วิธีที่ 1 วิธีที่ 2 วิธีที่ 3


จัดคุกกีใ้ สถงุ ถุงละ 1 ชิน้ จัดคุกกีใ้ สถงุ ถุงละ 2 ชิน้ จัดคุกกีใ้ สถงุ ถุงละ 4 ชิน้
จัดใสถงุ ได 84 ถุง ขายได จัดใสถงุ ได 42 ถุง ขายได จัดใสถงุ ได 21 ถุง ขายได
เงินทั้งหมด 840 บาท เงินทั้งหมด 420 บาท เงินทั้งหมด 210 บาท
จะเห็นวา วิธีที่ 3 เปนการจัดคุกกี้ใสถุงที่มีจํานวนคุกกี้มากที่สุด
30 สามารถใชความรู เรื่อง ห.ร.ม. มาชวยในการแกปญหาไดหรือไม
ตัวอยางที่ 13
กระดาษแผนหนึ่งกวาง 36 เซนติเมตร ยาว 48 เซนติเมตร
มะปรางตองการตัดกระดาษเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีขนาดใหญที่สุด
และมีขนาดเทา ๆ กัน โดยไมเหลือเศษเพื่อพับนก มะปรางจะตัด
กระดาษพับนกไดมากที่สุดกี่แผน
ขั้นตอนการแกโจทยปญหา
1) การวิเคราะห โจทยปญหา
สิ่งที่โจทยกําหนดให - กระดาษแผนหนึ่งกวาง 36 เซนติเมตร ยาว 48 เซนติเมตร
มะปรางตองการตัดกระดาษเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มี
ขนาดใหญที่สุดและมีขนาดเทา ๆ กัน โดยไมเหลือเศษ
เพื่อพับนก
สิ่งที่โจทยถาม - มะปรางจะตัดกระดาษพับนกไดมากที่สุดกี่แผน
2) การวางแผนแกโจทยปญหา
รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีดานยาวเทากันทุกดาน นั่นคือ ตองตัดกระดาษใหมีความกวาง
และความยาวเทากัน โดยไมใหกระดาษเหลือ เพราะฉะนั้น ความยาวดานของรูป
สี่เหลี่ยมจัตุรัสเปนตัวประกอบรวมของ 36 และ 48 เนื่องจากตองการรูปสี่เหลี่ยม
จัตุรัสที่มีขนาดใหญที่สุด ดังนั้น จึงหาตัวหารรวมมาก (ห.ร.ม.) ของ 36 และ 48
3) การแกปญหา
วิธีทํา กระดาษกวาง 36 เซนติเมตร ยาว 48 เซนติเมตร
หา ห.ร.ม. ของ 36 และ 48 ไดดังนี้
2 36 48
2 18 24
3 9 12
3 4
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 36 และ 48 คือ 2 × 2 × 3 = 12
31
กระดาษที่มะปรางตัดแลวแตละแผนยาวดานละ 12 เซนติเมตร
ดานกวางตัดได 36 ÷ 12 = 3 สวน
ดานยาวตัดได 48 ÷ 12 = 4 สวน
จํานวนของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่ตัดไดมากที่สุดเทากับ 4 × 3 = 12 แผน
ตอบ มะปรางจะตัดกระดาษพับนกไดมากที่สุด ๑๒ แผน
4) การตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคําตอบ
เนือ่ งจากตองการตัดกระดาษเปนรูปสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั ทีม่ ขี นาดใหญทสี่ ดุ โดยไมเหลือเศษ
ซึ่ง 36 และ 48 มี 12 เปนตัวหารรวมที่มีคามากที่สุด
ดังนั้น 12 เปนคําตอบที่สมเหตุสมผล

ตัวอยางที่ 14
เงาะราคากิโลกรัมละ 30 บาท และมังคุดราคา
กิโลกรัมละ 50 บาท ลูกนํ้าตองการซื้อผลไมแตละชนิด
โดยใชเงินเทากันและนอยที่สุด ลูกนํ้าตองจายเงินซื้อ กิโลกรัมละ
50 บาท กิโลกรัมละ
30 บาท

ผลไมชนิดละกี่บาท และไดผลไมชนิดละกี่กิโลกรัม
ขั้นตอนการแกโจทยปญหา
1) การวิเคราะห โจทยปญหา
สิ่งที่โจทยกําหนดให - เงาะราคากิโลกรัมละ 30 บาท และมังคุดราคากิโลกรัมละ
50 บาท ลูกนํ้าตองการซื้อผลไมแตละชนิดโดยใชเงินเทากัน
และนอยที่สุด
สิ่งที่โจทยถาม - ลูกนํ้าตองจายเงินซื้อผลไมชนิดละกี่บาท และไดผลไม
ชนิดละกี่กิโลกรัม
2) การวางแผนแกโจทยปญหา
จํานวนเงินที่ตองจายสําหรับซื้อผลไมแตละชนิดเปนตัวคูณรวมของ 30 และ 50
เนื่องจากตองการใชเงินนอยที่สุด จึงหาตัวคูณรวมนอย (ค.ร.น.) ของ 30 และ 50
จากนั้นนําจํานวนเงินที่หาไดหารดวยราคาของผลไมแตละชนิด เพื่อหาปริมาณของ
32 ผลไมที่ซื้อ
3) การแกปญหา
วิธีทํา เงาะราคากิโลกรัมละ 30 บาท มังคุดราคากิโลกรัมละ 50 บาท
หา ค.ร.น. ของ 30 และ 50 ได ดังนี้
5 30 50
2 6 10
3 5
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 30 และ 50 คือ 5 × 2 × 3 × 5 = 150
ลูกนํ้าจายเงินซื้อผลไมชนิดละ 150 บาท
ไดเงาะ 150 ÷ 30 = 5 กิโลกรัม
ไดมังคุด 150 ÷ 50 = 3 กิโลกรัม
ตอบ ลูกนํ้าตองจายเงินซื้อเงาะและมังคุดชนิดละ ๑๕๐ บาท
ไดเงาะ ๕ กิโลกรัม และมังคุด ๓ กิโลกรัม
4) การตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคําตอบ
เนื่องจากตองการหาจํานวนเงินที่ตองจายคาผลไมแตละชนิดที่เทากันและนอยที่สุด
ซึ่ง 30 และ 50 มี 150 เปนตัวคูณรวมที่มีคานอยที่สุด
ดังนั้น 150 เปนคําตอบที่สมเหตุสมผล

ตัวอยางที่ 15
สถานีรถไฟแหงหนึ่ง มีรถไฟธรรมดา
ออกจากสถานีทุก ๆ 30 นาที รถไฟดวน สถ า นี ร ถ ไ ฟ
ออกทุก ๆ 45 นาที และรถไฟดวนพิเศษ
ออกทุก ๆ 1 ชัว่ โมง ถารถไฟทัง้ สามประเภท
ออกพรอมกัน เวลา 07.00 น. ครั้งตอไป
รถไฟทัง้ สามประเภทจะออกพรอมกันเวลาใด

33
ขั้นตอนการแกโจทยปญหา
1) การวิเคราะห โจทยปญหา
สิ่งที่โจทยกําหนดให - สถานีรถไฟแหงหนึ่ง มีรถไฟธรรมดาออกจากสถานี
ทุก ๆ 30 นาที รถไฟดวนออกทุก ๆ 45 นาที
และรถไฟดวนพิเศษออกทุก ๆ 1 ชั่วโมง ถารถไฟทั้งสาม
ประเภทออกพรอมกันเวลา 07.00 น.
สิ่งที่โจทยถาม - ครั้งตอไปรถไฟทั้งสามประเภทจะออกพรอมกันเวลาใด
2) การวางแผนแกโจทยปญหา
เวลาที่รถไฟทั้งสามประเภทออกจากสถานีพรอมกันเปนตัวคูณรวมของ 30, 45
และ 60 เนื่องจากตองการเวลาครั้งตอไปที่รถไฟจะออกพรอมกัน
ดังนั้น จึงหาตัวคูณรวมนอย (ค.ร.น.) ของ 30, 45 และ 60
3) การแกปญหา
วิธีทํา รถไฟธรรมดาออกจากสถานีทุก ๆ 30 นาที รถไฟดวนออกทุก ๆ 45 นาที
และรถไฟดวนพิเศษออกทุก ๆ 1 ชั่วโมง หรือทุก ๆ 60 นาที
หา ค.ร.น. ของ 30, 45 และ 60 ได ดังนี้
5 30 45 60
3 6 9 12
2 2 3 4
1 3 2
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 30, 45 และ 60 คือ 5 × 3 × 2 × 3 × 2 = 180
รถไฟแตละประเภทจะออกจากสถานีพรอมกันในครั้งตอไปอีก 180 นาที
ขางหนา ซึ่งเทากับ 3 ชั่วโมง
นัน่ คือ ครัง้ ตอไปรถไฟทัง้ สามประเภทจะออกพรอมกันเวลา 7 + 3 = 10.00 น.
ตอบ ครั้งตอไปรถไฟทั้งสามประเภทจะออกพรอมกันเวลา ๑๐.๐๐ น.

34
4) การตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคําตอบ
เนื่องจากตองการหาเวลาที่รถไฟทั้งสามประเภทจะออกจากสถานีพรอมกันครั้งตอไป
ซึ่ง 30, 45 และ 60 มี 180 เปนตัวคูณรวมที่มีคานอยที่สุด
ดังนั้น 180 เปนคําตอบที่สมเหตุสมผล

ตัวอยางที่ 16
โอมมีขนมปงหนาเนยนม 16 แผน ขนมปงหนาช็อกโกแลต 24 แผน และขนมปง
หนาสังขยา 40 แผน โอมตองการจัดขนมปงใสจานโดยไมปนกัน จานละเทา ๆ กัน และ
ไมมขี นมปงเหลืออยู โอมจะจัดขนมปงไดมากทีส่ ดุ จานละกีแ่ ผน และขนมปงแตละหนาจัดได
กี่จาน
ขั้นตอนการแกโจทยปญหา
1) การวิเคราะห โจทยปญหา
สิ่งที่โจทยกําหนดให - โอมมีขนมปงหนาเนยนม 16 แผน ขนมปงหนาช็อกโกแลต
24 แผน และขนมปงหนาสังขยา 40 แผน โอมตองการจัด
ขนมปงใสจานโดยไมปนกัน จานละเทา ๆ กัน และไมมี
ขนมปงเหลืออยู
สิ่งที่โจทยถาม - โอมจะจัดขนมปงไดมากที่สุดจานละกี่แผน
และขนมปงแตละหนาจัดไดกี่จาน
2) การวางแผนแกโจทยปญหา
โอมตองการจัดขนมปงใสจานโดยไมปนกัน จานละเทา ๆ กัน และไมมขี นมปงเหลืออยู
ดังนั้น จึงหาตัวหารรวมมาก (ห.ร.ม.) ของ 16, 24 และ 40 ซึ่งจะไดจํานวนขนมปง
แตละจาน จากนั้นนําจํานวนขนมปงในแตละจานที่หาไดหารดวยจํานวนขนมปง
แตละหนา เพื่อหาจํานวนจานของขนมปงแตละหนา
3) การแกปญหา
วิธีทํา ขนมปงหนาเนยนม 16 แผน ขนมปงหนาช็อกโกแลต 24 แผน
และขนมปงหนาสังขยา 40 แผน
35
หา ห.ร.ม. ของ 16, 24 และ 40 ได ดังนี้
2 16 24 40
2 8 12 20
2 4 6 10
2 3 5
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 16, 24 และ 40 คือ 2 × 2 × 2 = 8
โอมจะจัดขนมปงไดจานละ 8 แผน
ขนมปงหนาเนยนม 16 ÷ 8 = 2 จาน
ขนมปงหนาช็อกโกแลต 24 ÷ 8 = 3 จาน
ขนมปงหนาสังขยา 40 ÷ 8 = 5 จาน
ตอบ โอมจะจัดขนมปงไดจานละ ๘ แผน โดยจัดขนมปงหนาเนยนมได ๒ จาน
ขนมปงหนาช็อกโกแลตได ๓ จาน และขนมปงหนาสังขยาได ๕ จาน
4) การตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคําตอบ
เนื่องจากตองการจัดขนมปงใสจานโดยไมปนกัน จานละเทา ๆ กัน และไมมีขนมปง
เหลืออยู ซึ่ง 16, 24 และ 40 มี 8 เปนตัวหารรวมที่มีคามากที่สุด
ดังนั้น 8 เปนคําตอบที่สมเหตุสมผล

ตอบคําถามตอไปนี้
1) กระดาษแข็งแผนหนึ่งกวาง 55 เซนติเมตร ยาว 77 เซนติเมตร
มารกตองการตัดกระดาษเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาดเทา ๆ กัน
โดยไมเหลือเศษ รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่ตัดจะมีความยาวดานที่ยาวที่สุด
กี่เซนติเมตร และมารกจะตัดกระดาษไดทั้งหมดกี่แผน
2) กางเกงราคาตัวละ 120 บาท เสื้อราคาตัวละ 90 บาท ตองซื้ออยางนอย
อยางละกี่ตัวจึงจะจายเงินซื้ออยางละเทา ๆ กัน

36
กิจกรรมฝกทักษะ
วิเคราะหโจทยและแสดงวิธีทําโจทยปญหาตอไปนี้
1. คุณครูตงั้ นาฬกาปลุกไวสามเรือน ใหปลุกทุก ๆ 15 นาที 45 นาที และ 1 ชัว่ โมง
ตามลําดับ เมือ่ นาฬกาปลุกพรอมกันแลวหนึง่ ครัง้ อีกนานเทาใดนาฬกาทัง้ สาม
จึงจะปลุกพรอมกันอีกครั้ง
2. ตองซื้อปลามาสามชนิด คือ ปลาทอง ปลาเงิน และปลาหางนกยูง จํานวน 60,
75 และ 120 ตัว ตามลําดับ โดยตัง้ ใจจะเลีย้ งภายในตูป ลาใหไดจาํ นวนมากทีส่ ดุ
ตูละเทา ๆ กัน ไมเหลือเศษและไมปนกัน ตองจะตองปลอยปลาตูละกี่ตัว
3. ตูนมีริบบิ้นอยูสามเสน ยาว 49, 63 และ 84 เซนติเมตร ถานําริบบิ้นมาตัดแบง
เปนเสน เสนละเทา ๆ กัน ใหยาวที่สุดและไมเหลือเศษ จะไดริบบิ้นยาวเสนละ
กี่เซนติเมตร
4. เปหาความยาวของเชือกทีส่ นั้ ทีส่ ดุ ทีต่ ดั แบงเปนเสนยาวเสนละ 3 เมตร 12 เมตร
หรือ 15 เมตร ไดพอดี
5. ปามีดอกกุหลาบสามสี คือ กุหลาบสีแดง 65 ดอก กุหลาบสีชมพู 39 ดอก
และกุหลาบสีขาว 26 ดอก ตองการจัดใสแจกันจํานวนเทา ๆ กัน และไมปนกัน
โดยใหแตละแจกันมีจํานวนกุหลาบมากที่สุด และจะจัดไดแจกันละกี่ดอก
6. พอมีเชือกอยูส ามเสน เสนแรกยาว 35 เซนติเมตร เสนทีส่ องยาว 63 เซนติเมตร
และเสนทีส่ ามยาว 105 เซนติเมตร ตองการตัดแบงเปนเสน ยาวเสนละเทา ๆ กัน
ใหแตละเสนมีความยาวที่สุดและไมเหลือเศษ เชือกที่ตัดแตละเสนมีความยาว
เทาใด และตัดไดจํานวนทั้งหมดกี่เสน
7. ลุงมีลวดสามเสน ยาว 24 เมตร 48 เมตร และ 56 เมตร ตามลําดับ นําลวดมาตัด
เปนเสนสั้น ๆ ใหยาวเทากัน และยาวที่สุด โดยไมเหลือเศษ จะตัดลวดไดยาว
เสนละกี่เมตร และไดลวดทั้งหมดกี่เสน
8. แตนมีมดั หนังสืออยูส องชนิด โดยชนิดแรกแตละมัดสูง 32 เซนติเมตร และชนิด
ทีส่ องแตละมัดสูง 36 เซนติเมตร ถาแตนนํามัดหนังสือชนิดเดียวกันมาซอนกัน
ความสูงที่นอยที่สุดที่ทําใหมัดหนังสือทั้งสองชนิดสูงเทากันเทากับเทาใด
37
9. ที่ดินรูปสี่เหลี่ยมผืนผาแปลงหนึ่งกวาง 18 เมตร ยาว 30 เมตร ตองการ
ปกเสาเพื่อทํารั้วโดยใหระยะหางระหวางเสาที่อยูติดกันมีระยะหางระหวางเสา
เทากัน และมีระยะหางมากที่สุดเทาที่จะแบงใหพอดีได จงหาวาเสาแตละตน
หางกันกี่เมตร และใชเสาทั้งหมดกี่ตน
10. นักกีฬาสามคนวิ่งรอบสนามแหงหนึ่ง แตละคนวิ่งรอบสนามใชเวลา 16 นาที
24 นาที และ 32 นาที ตามลําดับ ถานักกีฬาสามคนเริ่มวิ่งเวลาเดียวกันที่จุด
เริ่มตน อีกนานเทาใดนักกีฬาทั้งสามคนจะวิ่งมาทันกันที่จุดเริ่มตนอีกครั้ง
ฝกทําตอใน บฝ.คณิตศาสตร
ป.6 เลม 1 หนา 26-29

ความรูที่ ได
“เมย นิด และฟาง วางแผนออมเงินพรอมกัน ซึ่งแตละคนออมเงินไมเทากัน
วันละ 2 บาท 3 บาท และ 5 บาท ตามลําดับ แตละคนตองออมเงินอยางนอย
กี่วันจึงจะมีเงินออมเทากัน และมีเงินออมอยางนอยกี่บาท” นักเรียนมีวิธีคิด
หาคําตอบไดอยางไร

µÃǨÊͺµ¹àͧ
หลังจากเรียนจบหนวยแลว ใหนักเรียนบอกสัญลักษณที่ตรงกับระดับ
ความสามารถของตนเอง
ดี พอใช ควร
ปรับปรุง
1. สามารถหาตัวประกอบ จํานวนเฉพาะ และตัวประกอบเฉพาะได
2. สามารถแยกตัวประกอบของจํานวนที่กําหนดใหได
3. สามารถหาตัวหารรวมมาก (ห.ร.ม.) ของจํานวนนับไมเกิน 3 จํานวนได
4. สามารถหาตัวคูณรวมนอย (ค.ร.น.) ของจํานวนนับไมเกิน 3 จํานวนได
5. สามารถแกโจทยปญหาเกี่ยวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ได

38
สนุก คิด
สนุก ทํา
หาคูของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
กิจกรรม ................................................................

อุปกรณ
บัตรโจทยและบัตรคําตอบ
วิธีจัดกิจกรรม
1) ใหนักเรียนจับคูเพื่อทํากิจกรรม จากนั้นครูแจกบัตรโจทยและบัตรคําตอบ
ใหแตละคูอยางละ 15 ใบ
2) ใหแตละคูส บั บัตรโจทยและบัตรคําตอบ จากนัน้ วางบัตรโจทยและบัตรคําตอบ
โดยควํ่าบัตรดานที่มีขอความและตัวเลขลงบนโตะ โดยแยกเปน 2 ฝง คือ
บัตรโจทยและบัตรคําตอบ
3) นักเรียนคนแรกจับบัตรโจทยขึ้นมา 1 ใบ และจับบัตรคําตอบขึ้นมา 1 ใบ
ถาบัตรคําตอบเปนคําตอบของบัตรโจทย ใหเก็บบัตรโจทยและบัตรคําตอบไว
เชน ถาจับไดบัตรโจทย คือ หา ค.ร.น. ของ 5 และ 12 และบัตรคําตอบ
คือ 60 ใหเก็บไว
4) สลับหนาทีก่ นั จนจับบัตรโจทยและบัตรคําตอบหมดทุกใบ ใครเก็บบัตรคําตอบ
ไดมากกวาเปนผูชนะ

39
¤Ó¶ÒÁ·ŒÒ·Ò¡ÒäԴ¢Ñé¹ÊÙ§
พอมีทดี่ นิ แปลงหนึง่ เปนรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผา ความยาวของทีด่ นิ เปน 3 เทาของความกวาง
ซึง่ ความยาวและความกวางของทีด่ นิ เปนจํานวนนับ และความยาวรอบรูปของทีด่ นิ แปลงนี้
มีคาเทากับ 80 เมตร ที่ดินแปลงนี้จะมีความยาวและความกวางเทาใด
บันทึกขอมูลลงในสมุด พรอมแสดงวิธที าํ โดยใชความรู เรือ่ ง ห.ร.ม. ในการหาคําตอบ
ความกวาง ความยาว ความยาวรอบรูป ห.ร.ม. ของความกวาง
และความยาวรอบรูป
1 เมตร 3 เมตร 1 + 1 + 3 + 3 = 8 เมตร ..........................................
2 เมตร ............... ................................................. ..........................................

àª×èÍÁâ§ÊÙ‹ªÕÇÔµ»ÃШÓÇѹ
นาราซื้อของที่มีราคานอยกวา 500 บาท โดยนาราใชธนบัตรฉบับละ 20 บาท
หรือ 50 บาท จายเปนคาสินคาไดพอดีโดยไมตองทอนเงิน สินคาที่นาราซื้อมีราคา
นอยที่สุดเทาใด

40
ÊÃØ» ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ
»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè 1
ตัวประกอบ จํานวนเฉพาะ การแยกตัวประกอบ
และตัวประกอบเฉพาะ
การแยกตัวประกอบ คือ การเขียนจํานวนนับ
• ตัวประกอบของจํานวนนับใด ๆ คือ จํานวนนับ ในรูปการคูณของตัวประกอบเฉพาะ ซึ่งสามารถ
ที่หารจํานวนนับนั้นไดลงตัว แยกตัวประกอบ โดยการเขียนในรูปการคูณ
• จํานวนเฉพาะ คือ จํานวนนับที่มากกวา 1 ของตัวประกอบ การตั้งหาร และการใชแผนภาพตนไม
ที่มีตัวประกอบเพียงสองตัว คือ 1 และ
ตัวมันเอง
• ตัวประกอบเฉพาะ คือ ตัวประกอบที่เปน
จํานวนเฉพาะ

ตัวหารรวมมาก (ห.ร.ม.)
ตัวหารรวมมาก (ห.ร.ม.) คือ ตัวหารรวมของ
จํานวนนับสองจํานวนหรือมากกวาที่มีคามากที่สุด
ซึ่งหาไดโดยการหาตัวประกอบของจํานวนนับเหลานั้น
หรือเขียนจํานวนนับเหลานั้นใหอยูในรูปการแยก
ห.ร.ม. ตัวประกอบ หรือใชการตั้งหาร

และ ค.ร.น.
ตัวคูณรวมนอย (ค.ร.น.)
ตัวคูณรวมนอย (ค.ร.น.) คือ ตัวคูณรวมของ
จํานวนนับสองจํานวนหรือมากกวาที่มีคานอยที่สุด
ซึ่งหาไดโดยการหาจํานวนนับที่มีจํานวนนับเหลานั้น
เปนตัวประกอบ หรือเขียนจํานวนนับนั้นใหอยูในรูป
การแยกตัวประกอบ หรือใชการตั้งหาร

โจทยปญหาเกี่ยวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น.


ขั้นตอนการแกโจทยปญหา มีดังนี้
1 การวิเคราะ
คราะห โจทยปญหา
2 การวางแผนแกโจทยปญหา ซึ่งคําสําคัญในโจทยปญหา เชน มีคามากที่สุด มีคานอยที่สุด
ทําใหเราคาดการณไดวา ควรจะใช ห.ร.ม. หรือ ค.ร.น. ในการแกโจทยปญหา
3 การแกปญหา
4 การตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคําตอบ

41
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน

คณิตศาสตร์1

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 เลม

ป.6
ตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ) 2560
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

เล่ม 1

คณิตศาสตร ป.6 เลม 1


¨Ó¹Ç¹¹Ñº·ÕèËÒà 16 ŧµÑÇ ¨Ó¹Ç¹¹Ñº·ÕèËÒà 20 ŧµÑÇ
2 ¢Í§ 1
3 2
1 2 4 8 1 2 4 5
16 10 20

µÑÇËÒÃËÇÁ¢Í§ 16 áÅÐ 20
0.027 -.. 0.3 =
ệ§ : ¹éÓµÒÅ
3:1
8 1 5
16 2 10
4 20
¹Ø‹¹ 2,800 ºÒ·

2 ¢Í§à§Ô¹¢Í§¹Ø‹¹
µÑÇËÒÃËÇÁÁÒ¡ ¤×Í 4
¹ÔÇ 5
Å´
á¹¹ 1 ¢Í§à§Ô¹¢Í§¹ÔÇ
2

¹Ø‹¹ÁÕà§Ô¹ÁÒ¡¡Ç‹Òá¹¹
ไพศาล ดร.ชิรา

นร.คณิตศาสตร์ ป.6 เล่ม 1


ISBN : 978 - 616 - 203 - 924 - 9

บริษท
ั อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด
142 ถนนตะนาว เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200
โทร./แฟกซ์ 0 2622 2999 (อัตโนมัติ 20 คูส
่ าย) 9 786162 039249
www.aksorn.com Aksorn ACT
70.- ไพศาล จรรยา ดร.ชิรา ลำดวนหอม 70 .-

You might also like