Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 29

ACID

BASE
LESSON PLAN
FOR GRADES 9-10

LENGTH OF LESSON : 2 HRS


SUBJECT COURSE : CHEMISTRY
COMPILED BY MR. WIRAWAT CHAMPANON
FACULTY OF EDUCATION, CHULALONGKORN UNIVERSITY
TEACHER

สถาบันวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
มหาวิทยาลัยเท็กซัส เมืองออสติน
รัฐเท็กซัส ประเทศสหรัฐอเมริกา

AUTHORED BY MAISHA RUMMAN


OCTOBER, 2014
แผนการสอนปฏิบัติการทางเคมี

อินดิเคเตอร์
น้ำกะหล่ำปลีม่วง
กะหล่ำปลีม่วง มีสาร Anthocyanin
ซึ่งเป็นเม็ดสีที่ละลายน้ำได้ดี เปลี่ยนเป็นสีเเดงเมื่ออยู่ใน
สารละลายกรด เเละเปลี่ยนเป็นสีเขียวเมื่ออยู่ในสารละลายเบส
มาตรฐานการเรียนรู้ 112.35

ข้อที่ 10 ได้รับแนวคิดและหลักการ
ทางวิทยาศาสตร์ โดยนักเรียนเข้าใจ
และสามารถประยุกต์ใช้แนวคิดและ
หลักการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็น
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการ
แก้ปัญหาของนักเรียนได้
ผลการเรียนรู้

Presentations are communication tools that can be used as demonstrations, lectures,


speeches, reports, and more. It is mostly presented before an audience.
1. ระบุกรด-เบส และจำแนกความแตกต่างระหว่างทฤษฎีกรด-เบส
ของอาร์เรเนียสและทฤษฎีกรด-เบสของเบรินสเตด-ลาวรี รวมถึง
ทำนายผลิตภัณฑ์ของปฏิกิริยาระหว่างกรด-เบสที่แตกตัว

2. ระบุค่า PH และใช้ความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออนหรือไฮ
ดรอกไซด์ไอออน เพื่อคำนวณค่า PH ของสารละลาย
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถระบุกรด เบส และ pH ได้
2. นักเรียนสามารถทำนายและวัดค่า pH ของ
กรดและเบสได้
3. นักเรียนสามารถคำนวณค่า pH โดยใช้
ความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออนได้
วัตถุประสงค์การทดลอง

Presentations are communication tools that can be used as demonstrations, lectures,


นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับวิธีการสร้างตัวเปรียบเทียบวัดค่า
speeches, reports, and more. It is mostly presented before an audience. PH จาก
กะหล่ำปลีม่วง และนักเรียนจะได้วัดค่า PH ของสารทั่วไปอีก 6 ชนิด ได้แก่
น้ำส้มสายชู น้ำมะนาว แชมพู สบู่ นม และสารฟอกขาวคลอร็อกซ์ จากนั้น
นักเรียนจะได้ทำการทดลอง โดยเลือกสาร 1 ชนิด จาก 6 ชนิดไม่ซ้ำกัน เติมลง
ในน้ำกะหล่ำปลีม่วง และทำการวัดค่า PH อีกครั้ง เมื่อสิ้นสุดการทดลอง
นักเรียนจะได้เขียนคำอธิบายว่าเพราะเหตุใดเมื่อเติมสารลงในน้ำกะหล่ำปลี
ม่วง ค่า PH จึงมีการเปลี่ยนแปลง (หรือมีค่าคงเดิม) ลงในใบงานกิจกรรมการ
ทดลอง
1. กะหล่ำปลีม่วง
2. เตาเผาหรือเกาแก๊สขนาดพกพา
3. หม้อ
4. ภาชนะใส่น้ำกะหล่ำปลีม่วงและสารชนิดอื่น ๆ

วัสดุอุปกรณ์ 5. แถบกระดาษขาวหรือแผ่นการ์ดที่มีรูพรุน
6. น้ำส้มสายชู

การทดลอง
7. น้ำมะนาว
8. แชมพู
9. สบู่
10. นม
11. น้ำยาฟอกขาวคลอร็อกซ์
12. คอมพิวเตอร์ หรือแล็ปท็อป (ถ้ามี)
SDS SHEET

สารฟอกขาว
คลอร็อกซ์
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย
http://www.thecloroxcompany.com/downloads/
msds/bleach/cloroxregularbleach0809_.pdf.
01 Engagement
ขั้นที่ 1 ขั้นสร้างความสนใจ

02 Exploration
ขั้นที่ 2 ขั้นสำรวจและค้นหา
5E
03 Explanation
Inquiry ขั้นที่ 3 ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป

Learning 04 Elaboration
ขั้นที่ 4 ขั้นขยายความรู้

05 Evaluation
ขั้นที่ 5 ขั้นประเมินผล
ครูใช้คำถามเพื่อนำเข้าสู่บทเรียน
1.1 นักเรียนมีความคิดอย่างไรเมื่อครูพูดถึงคำ
ว่า “กรด” หรือ “เบส”
ขั้นที่ 1
1.2 นักเรียนสามารถบอกตัวอย่างของสารต่าง ๆ
ขั้นสร้างความสนใจ ที่นักเรียนคิดว่าเป็น “กรด” หรือ “เบส” ให้ครูฟังได้
(Engagement) หรือไม่ว่ามีอะไรบ้าง
1.3 ครูวาดตารางบนกระดานและเขียนคำตอบที่
นักเรียนแต่ละคนระบุว่าเป็น “กรด” หรือ “เบส”
1. ครูใช้คำถามเพื่อให้นักเรียนสืบค้นและศึกษาข้อมูล
1.1 คำจำกัดความหรือคำอธิบายของ “กรด เบส และ pH” คืออะไร ตาม
ทฤษฎีกรด-เบสของอาร์เรเนียสและทฤษฎีกรด-เบสของเบรินสเตด-ลาวรี
1.2 โดยให้นักเรียนค้นคว้าข้อมูลผ่านออนไลน์โดยใช้คอมพิวเตอร์ หรือ
แล็ปท็อป (ถ้ามี) หรือใช้หนังสือเรียน (แหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม)
2. ครูให้นักเรียนสืบค้นและศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการสร้างตัวเปรียบเทียบวัด ขั้นที่ 2
ค่า pH จากกะหล่ำปลี ส่วนของหัวข้อ “น้ำกะหล่ำปลีม่วง”และ“ระดับสีของ
ขั้นสำรวจและค้นหา
กะหล่ำปลีม่วง” โดยสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
http://www.funsci.com/fun3_en/acids/acids.htm#contents (Exploration)
3. ครูให้นักเรียนสืบค้นและศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับเอกสารข้อมูลความปลอดภัย
ของสารฟอกขาวคลอร็อกซ์
http://www.thecloroxcompany.com/downloads/msds/bleach/cloro
xregularbleach0809_.pdf
4. ครูให้นักเรียนสร้างตัวเปรียบเทียบวัดค่า pH จากกะหล่ำปลี จากวัสดุอุ
ปกร์ที่จัดเตรียมไว้ (ซึ่งสามารถเตรียมให้นักเรียนล่วงหน้าได้ หากสอบถาม
นักเรียนแล้ว นักเรียนกังวลเรื่องความปลอดภัย) เพื่อใช้วัดค่า pH ของความ
เป็นกรด-เบส
5. ครูให้นักเรียนจับกลุ่มและทำการระบุค่า pH ของสารทั้ง 6 ชนิด ได้แก่
น้ำส้มสายชู น้ำมะนาว แชมพู สบู่ นม และสารฟอกขาวคลอร็อกซ์ โดยใช้ตัว ขั้นที่ 2
เปรียบเทียบวัดค่า pH จากกะหล่ำปลี ที่นักเรียนสร้างขึ้น ขั้นสำรวจและค้นหา
6. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทำการทดลอง โดยเลือกสาร 1 ชนิด จาก 6 ชนิด
ไม่ซ้ำกัน เติมลงในน้ำกะหล่ำปลี และทำการวัดค่า pH อีกครั้ง
(Exploration)
7. เมื่อสิ้นสุดการทดลองครูให้นักเรียนเขียนคำอธิบายว่าเพราะเหตุใดเมื่อ
เติมสารลงในน้ำกะหล่ำปลีม่วง ค่า pH จึงมีการเปลี่ยนแปลง (หรือมีค่าคงเดิม)
ลงในใบงานกิจกรรมการทดลอง
8. ครูให้นักเรียนตอบคำถามท้ายการทดลองให้ครบถ้วน
1. เมื่อสิ้นสุดการทดลองครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผล
การทดลอง ซึ่งเป็นการระบุค่า pH ของสาร 1 ชนิด ที่กลุ่มของ
นักเรียนทำการทดลอง
ขั้นที่ 3 2. ครูใช้คำถามว่า “เพราะเหตุใดเมื่อเติมสารลงในน้ำกะหล่ำปลี
ขั้นอธิบาย ม่วง ค่า pH จึงมีการเปลี่ยนแปลง (หรือมีค่าคงเดิม)” เพื่อให้
นักเรียนอธิบายการทดลอง วัดและนำข้อมูลมาเปรียบเทียบเพื่อ
และลงข้อสรุป
หาค่า pH ชนิดของสารที่กลุ่มตนเองทดลองได้
(Explanation) 3. ครูให้นักเรียนตอบคำถามการทดลองเกี่ยวกับเรื่องกรด-เบส
ตามความเข้าใจและข้อมูลที่นักเรียนสืบค้นมาก่อน
4. เมื่อนักเรียนตอบคำถามการทดลองยังไม่ครบถ้วน
ครูใช้คำถามหรือเทคนิคยกตัวอย่างสถานการณ์เชื่อมโยงคำ
ขั้นที่ 3 ตอบเพื่อช่วยให้นักเรียนเข้าใกล้กรอบแนวคิดของคำตอบมาก

ขั้นอธิบาย ยิ่งขึ้น
5. ครูอธิบายผลการทดลองและคำตอบที่ถูกต้อง รวมถึง
และลงข้อสรุป สอนเชื่อมโยงความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของค่า pH
(Explanation) คำนวณโดยใช้สมการ เพื่อระบุค่า pH ที่สอดคล้องกับผลการ
ทดองในแต่ละกลุ่ม
1. ครูใช้คำถามเพื่อให้นักเรียนสืบค้นข้อมูล และอธิบายถึงการ
ประยุกต์ใช้ความรู้ที่ได้เรียน ดังนี้
1.1 นักเรียนสามารถนำความรู้เรื่องกรด-เบสนี้ไปใช้กับ
สถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันของเราได้อย่างไร ขั้นที่ 4
1.2 นักเรียนคิดว่าสามารถนำความรู้นำไปใช้ในสาขาอาชีพใด ขั้นขยายความรู้
ได้บ้าง และนำไปใช้อย่างไร
(Elaboration)
1.3 เพราะเหตุใดกรด-เบสจึงเกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิต (ครูให้แนว
ความคิดบางประการ ได้แก่ การเกิดกรดไหลย้อนและความสำคัญ
ของยาลดกรด วิธีบัฟเฟอร์รักษา pH ในเลือด เป็นต้น)
2. ครูให้นักเรียนจับคู่และแลกเปลี่ยนความรู้
เกี่ยวกับเรื่องความสัมพันธ์ของกรด-เบสกับสิ่ง
มีชีวิตที่ครูถามข้างต้น และครูสรุปความรู้
ขั้นที่ 4
ขั้นขยายความรู้
(Elaboration)
ขั้นที่ 5
ขั้นประเมินผล
(Evaluation)

1. นักเรียนสามารถเรียนรู้และเข้าใจตลอดทั้งบทเรียน
2. ประเมินจากใบงานผลการทดลองและการนำเสนอ
สื่อการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้

1. Presentations
Dr. Laude’s are communication
Hot Science tools that
– Cool Talks Lecture #91can be used as demonstrations, lectures,
speeches, reports, and more. It is mostly presented before an audience.
2. http://www.funsci.com/fun3_en/acids/acids.htm#contents
3. http://www.chemistry.wustl.edu/~edudev/LabTutorials/Buffer/Buffer.html
4. http://facultyfp.salisbury.edu/dfrieck/htdocs/212/rev/acidbase/Bronst.htm
5. http://www.chemtutor.com/acid.htm#what
6. http://www.scienceclarified.com/everyday/Real-Life-Chemistry-Vol-2/Acids-and-Bases-Real-life-
7. applications.html
8. http://www.chemistry.wustl.edu/~edudev/LabTutorials/Buffer/Buffer.html
9. http://scifun.chem.wisc.edu/chemweek/biobuff/biobuffers.html
10. http://dl.clackamas.cc.or.us/ch105-04/arrheniu.htm
ใบงาน
กิจกรรม
การทดลอง
เฉลยใบงาน
กิจกรรม
การทดลอง
ตอนที่ 1
ใบงาน 1.1 ตารางบันทึกผลการทดลอง โดยบันทึกข้อมูลตามผล
การทดลองของแต่ละกลุ่มที่ได้นำเสนอ
กิจกรรม 1.2 การเขียนคำจำกัดความหรือคำอธิบายของ “กรด เบส
การทดลอง ตามทฤษฎีกรด-เบสของอาร์เรเนียสและทฤษฎีกรด-เบสของ
เบรินสเตด-ลาวรี รวมถึงค่า pH”
ตอนที่ 2
2.1 แบบบันทึกผลการทดลองของแต่ละกลุ่มเลือกสาร 1 ชนิด
จาก 6 ชนิดไม่ซ้ำกัน เติมลงในน้ำกะหล่ำปลี โดยมีรายละเอียด
ใบงาน ดังนี้
กิจกรรม 2.1.1 ชื่อของสารที่เลือก
2.1.2 ค่า pH ของน้ำกะกล่ำปลีก่อนการทดลอง โดยบันทึก
การทดลอง
จากการสังเกตและเปรียบเทียบข้อมูล
2.1.3 ค่า pH ของน้ำกะกล่ำปลีหลังการทดลอง โดยบันทึก
จากการสังเกตและเปรียบเทียบข้อมูล
2.2 ครูใช้คำถามในใบงานกิจกรรมท้ายการทดลอง เพื่อประเมิน
ความรู้ของนักเรียนและนำไปสู่การสอนเชื่อมโยงความรู้เกี่ยวกับ
การเปลี่ยนแปลงของค่า pH โดยใช้สมการ เพื่อระบุค่า pH ที่
สอดคล้องกับผลการทดองในแต่ละกลุ่ม ดังนี้
ใบงาน
2.2.1 จงอธิบายความแตกต่างระหว่างความเข้มข้นของของไฮ
กิจกรรม โดรเนียมไอออนที่อยู่ในสาร เมื่อเทียบกับความเข้มข้นของของไฮ

การทดลอง โดรเนียมไอออนที่อยู่ในน้ำกะหล่ำปลีม่วง
2.2.2 เมื่อเติมสารที่แต่ละกลุ่มเลือก ลงไปในน้ำกะหล่ำปลี ค่า
pH มีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร ถ้ามีการปลี่ยนแปลง จงใช้
สมการ เพื่ออธิบายประกอบการเปลี่ยนแปลงของค่า pH นั้น
ข้อดีของแผน
1.1 กิจกรรมการทดลองสอดคล้องและมีความเหมาะสมกับ
มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ วัตถุประสงค์การเรียนรู้และ

วิเคราะห์ วัตถุประสงค์การทดลอง
1.2 มีเอกสารข้อมูลความปลอดภัยของสารที่อันตรายให้
แผนการสอน นักเรียนได้ศึกษาก่อนทำการทดลอง

กรดและเบส 1.3 มีการระบุวัสดุอุปกรณ์ และขั้นตอนการทดลองอย่างชัดเจน


1.4 มีสื่อการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าที่
ชัดเจน
1.5 ใช้กระบวนการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน (5E)
1.6 ใบงานกิจกรรมการทดลอง มีเฉลยคำตอบอย่างละเอียด
ข้อเสียของแผน
1.1 ระบุวันที่ทำการสอนแผนไม่ชัดเจน
1.2 ไม่ระบุสาระสำคัญและสาระการเรียนรู้
วิเคราะห์ 1.3 ไม่ระบุเวลาในกระบวนการเรียนรู้ของแต่ละขั้น (5E)

แผนการสอน 1.4 ครูนำนักเรียนเข้าสู่บทเรียนไม่เหมาะสมในขั้นที่ 1 ขั้น


สร้างความสนใจ (Engagement)
กรดและเบส 1.5 คำถามที่พัฒนากระบวนการคิดของนักเรียนในแต่ละ
ขั้นมีจำนวนน้อย
1.6 ไม่มีเฉลยคำตอบของคำถามในแต่ละขั้น (5E)
1.7 ตัวเปรียบเทียบในการทดลองอาจมีค่าคลาดเคลื่อน
ข้อเสนอแนะสำหรับแผน
1.1 ครูควรระบุการประเมินนักเรียนในด้านการให้ความร่วมมือหรือ
การมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีในชั้นเรียน และทักษะการทดลองลงในขั้นที่ 5 ขั้น
ประเมินผล (Evaluation)
1.2 ครูควรนำเข้าบทเรียนในขั้นที่ 1 ขั้นสร้างความสนใจ
(Engagement) ด้วยสิ่งของใกล้ตัว หรือสถานการณ์ที่ได้รับความสนใจ วิเคราะห์
ในปัจจุบัน
1.3 ครูควรระบุเวลาในกระบวนการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5
แผนการสอน
ขั้นตอนอย่างชัดเจน เพื่อควบคุมเวลาในการสอนให้เป็นไปตามแผนที่ กรดและเบส
กำหนดไว้อย่างสมบูรณ์
1.4 ครูควรเพิ่มคำถามเพื่อพัฒนากระบวนการคิดให้กับนักเรียนมาก
ขึ้น โดยในแต่ละคำถามครูควรคาดคะเนคำตอบของนักเรียนล่วงหน้า
และเขียนลงในแผนการสอน
THANK
YOU

You might also like