Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 37

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบร่างกายมนุษย์

หน่วยการเรียน
ระบบร่างกายมนุษย์
เวลา 28 ชั่วโมง
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การ
ลำเลียงสารผ่านเซลล์ ความสัมพันธ์ของ โครงสร้าง และหน้าที่ของ
ระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของ
โครงสร้าง และหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์
กัน รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ม.2/1 ระบุอวัยวะและบรรยายหน้าที่ของอวัยวะที่เกี่ยวข้องใน
ระบบหายใจ
ม.2/2 อธิบายกลไกการหายใจเข้าและออกโดยใช้แบบจำลอง รวม
ทั้งอธิบายกระบวนการแลกเปลี่ยนแก๊ส
ม.2/3 ตระหนักถึงความสำคัญของระบบหายใจ โดยการบอก
แนวทางในการดูแลรักษาอวัยวะในระบบหายใจให้ทำงาน
เป็ นปกติ
ม.2/4 ระบุอวัยวะและบรรยายหน้าที่ของอวัยวะในระบบขับถ่าย
ในการกำจัดของเสียทางไต
ม.2/5 ตระหนักถึงความสำคัญของระบบขับถ่ายในการกำจัดของ
เสียทางไต โดยการบอกแนวทางในการปฏิบัติตนที่ช่วยให้
ระบบขับถ่ายทำหน้าที่ได้อย่างปกติ
ม.2/6 บรรยายโครงสร้างและหน้าที่ของหัวใจ หลอดเลือด และ
เลือด

1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบร่างกายมนุษย์

ม.2/7 อธิบายการทำงานของระบบหมุนเวียนเลือดโดยใช้แบบ
จำลอง
ม.2/8 ออกแบบการทดลองและทดลองในการเปรียบเทียบอัตรา
การเต้นของหัวใจขณะปกติและ หลังทำกิจกรรม
ม.2/9 ตระหนักถึงความสำคัญของระบบหมุนเวียนเลือด โดยการ
บอกแนวทางในการดูแลรักษา อวัยวะในระบบหมุนเวียนเลือด
ให้ทำงานเป็ นปกติ
ม.2/10 ระบุอวัยวะและบรรยายหน้าที่ของอวัยวะในระบบ
ประสาทส่วนกลางในการควบคุม การทำงานต่าง ๆ ของ
ร่างกาย
ม.2/11 ตระหนักถึงความสำคัญของระบบประสาท โดยการ
บอกแนวทางในการดูแลรักษา รวมถึงการป้ องกันการกระ
ทบกระเทือนและอันตรายต่อสมองและไขสันหลัง
ม.2/12 ระบุอวัยวะและบรรยายหน้าที่ของอวัยวะในระบบ
สืบพันธุ์ของเพศชายและเพศหญิง โดยใช้แบบจำลอง
ม.2/13 อธิบายผลของฮอร์โมนเพศชายและเพศหญิงที่ควบคุม
การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย เมื่อเข้าสู่วัยหนุ่มสาว
ม.2/14 ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงของร่างกายเมื่อเข้าสู่วัย
หนุ่มสาว โดยการดูแลรักษาร่างกายและจิตใจของตนเองใน
ช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลง
ม.2/15 อธิบายการตกไข่ การมีประจำเดือน การปฏิสนธิ และ
การพัฒนาของไซโกต จนคลอดเป็ นทารก
ม.2/16 เลือกวิธีการคุมกำเนิดที่เหมาะสมกับสถานการณ์ที่
กำหนด

2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบร่างกายมนุษย์

ม.2/17 ตระหนักถึงผลกระทบของการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
โดยการประพฤติตนให้เหมาะสม

2. สาระการเรียนรู้
2.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1) ระบบหายใจมีอวัยวะต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ จมูก ท่อลม ปอด
กะบังลม และกระดูกซี่โครง
2) มนุษย์หายใจเข้าเพื่อนำแก๊สออกซิเจนเข้าสู่ร่างกายเพื่อนำไปใช้
ในเซลล์ และหายใจออกเพื่อกำจัดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออก
จากร่างกาย
3) อากาศเคลื่อนที่เข้าและออกจากปอดได้ เนื่องจากการ
เปลี่ยนแปลงปริมาตรและความดันของอากาศภายในช่องอกซึ่ง
เกี่ยวข้องกับการทำงานของกะบังลมและกระดูกซี่โครง
4) การแลกเปลี่ยนแก๊สออกซิเจนกับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ใน
ร่างกายเกิดขึ้นบริเวณถุงลมในปอดกับหลอดเลือดฝอยที่ถุงลม
และระหว่างหลอดเลือดฝอยกับเนื้อเยื่อ
5) การสูบบุหรี่ การสูดอากาศที่มีสารปนเปื้ อน และการเป็ นโรค
เกี่ยวกับระบบหายใจบางโรค อาจทำให้เกิดโรคถุงลมโป่ งพอง
ซึ่งมีผลให้ความจุอากาศของปอดลดลง ดังนั้น จึงควรดูแลรักษา
ระบบหายใจให้ทำหน้าที่เป็ นปกติ
6) ระบบขับถ่ายมีอวัยวะที่เกี่ยวข้อง คือ ไต ท่อไต กระเพาะ
ปั สสาวะ และท่อปั สสาวะ โดยมีไต ทำหน้าที่กำจัดของเสีย
เช่น ยูเรีย แอมโมเนีย กรดยูริก รวมทั้งสารที่ร่างกายไม่ต้องการ

3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบร่างกายมนุษย์

ออกจากเลือด และควบคุมสารที่มีมากหรือน้อยเกินไป เช่น น้ำ


โดยขับออกมาในรูปของปั สสาวะ
7) การเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสม เช่น รับประทานอาหาร
ที่ไม่มีรสเค็มจัด การดื่มน้ำสะอาดให้เพียงพอเป็ นแนวทางหนึ่งที่
ช่วยให้ระบบขับถ่ายทำหน้าที่ได้อย่างปกติ
8) ระบบหมุนเวียนเลือดประกอบด้วยหัวใจ หลอดเลือด และเลือด

9) หัวใจของมนุษย์แบ่งเป็ น 4 ห้อง ได้แก่ หัวใจห้องบน 2 ห้อง


และห้องล่าง 2 ห้อง ระหว่างหัวใจห้องบนและหัวใจห้องล่างมี
ลิ้นหัวใจกั้น
10) หลอดเลือด แบ่งเป็ นหลอดเลือดอาร์เตอรี หลอดเลือดเวน
หลอดเลือดฝอย ซึ่งมีโครงสร้างต่างกัน
11) เลือด ประกอบด้วยเซลล์เม็ดเลือด เพลตเลต และพลาสมา
12) การบีบและคลายตัวของหัวใจทำให้เลือดหมุนเวียน และ
ลำเลียงสารอาหาร แก๊สของเสีย และสารอื่น ๆ ไปยังอวัยวะและ
เซลล์ต่าง ๆ ทั่วร่างกาย
13) เลือดที่มีปริมาณแก๊สออกซิเจนสูงจะออกจากหัวใจไปยังเซลล์
ต่าง ๆ ทั่วร่างกาย ขณะเดียวกันแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จาก
เซลล์จะแพร่เข้าสู่เลือด และลำเลียงกลับเข้าสู่หัวใจและถูกส่งไป
แลกเปลี่ยนแก๊สที่ปอด
14) ชีพจรบอกถึงจังหวะการเต้นของหัวใจซึ่งอัตราการเต้นของ
หัวใจในขณะปกติและหลังจากทำกิจกรรมต่าง ๆ จะแตกต่างกัน
ส่วนความดันเลือดเกิดจากการทำงานของหัวใจและหลอดเลือด

4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบร่างกายมนุษย์

15) อัตราการเต้นของหัวใจมีความแตกต่างกันในแต่ละบุคคล คน
ที่เป็ นโรคหัวใจและหลอดเลือดจะส่งผลทำให้หัวใจสูบฉีดเลือดไม่
เป็ นปกติ
16) การออกกำลังกาย การเลือกรับประทานอาหาร การพักผ่อน
และการรักษาภาวะทางอารมณ์ให้เป็ นปกติ จึงเป็ นทางเลือก
หนึ่งในการดูแลรักษาระบบหมุนเวียนเลือดให้เป็ นปกติ
17) ระบบประสาทส่วนกลาง ประกอบด้วยสมองและไขสันหลัง
จะทำหน้าที่ร่วมกับเส้นประสาทซึ่งเป็ นระบบประสาทรอบนอก
ในการควบคุมการทำงานของอวัยวะต่าง ๆ รวมถึงการแสดง
พฤติกรรมเพื่อการตอบสนองต่อสิ่งเร้า
18) เมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้นหน่วยรับความรู้สึกจะเกิดกระแส
ประสาทส่งไปตามเซลล์ประสาท รับความรู้สึกไปยังระบบ
ประสาทส่วนกลาง แล้วส่งกระแสประสาทมาตามเซลล์ประสาท
สั่งการไปยังหน่วยปฏิบัติงาน เช่น กล้ามเนื้อ
19) ระบบประสาทเป็ นระบบที่มีความซับซ้อนและมีความสัมพันธ์
กับทุกระบบในร่างกาย ดังนั้น จึงควรป้ องกันการเกิดอุบัติเหตุที่
กระทบกระเทือนต่อสมอง หลีกเลี่ยงการใช้สารเสพติด หลีกเลี่ยง
ภาวะเครียด และรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ เพื่อดูแลรักษา
ระบบประสาทให้ทำงานเป็ นปกติ
20) มนุษย์มีระบบสืบพันธุ์ที่ประกอบด้วยอวัยวะต่าง ๆ ที่ทำ
หน้าที่เฉพาะ โดยรังไข่ในเพศหญิงจะทำหน้าที่ผลิตเซลล์ไข่ ส่วน
อัณฑะในเพศชายจะทำหน้าที่สร้างเซลล์อสุจิ
21) ฮอร์โมนเพศทำหน้าที่ควบคุมการแสดงออกของลักษณะทาง
เพศที่แตกต่างกัน เมื่อเข้าสู่วัยหนุ่มสาวจะมีการสร้างเซลล์ไข่

5
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบร่างกายมนุษย์

และเซลล์อสุจิ การตกไข่ การมีรอบเดือน และถ้ามีการปฏิสนธิ


ของเซลล์ไข่และเซลล์อสุจิจะทำให้เกิดการตั้งครรภ์
22) การมีประจำเดือนมีความสัมพันธ์กับการตกไข่ โดยเป็ นผล
จากการเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมนเพศหญิง
23) เมื่อเพศหญิงมีการตกไข่และเซลล์ไข่ได้รับการปฏิสนธิกับเซลล์
อสุจิจะทำให้ได้ไซโกต ไซโกต จะเจริญเป็ นเอ็มบริโอและฟี ตัส
จนกระทั่งคลอดเป็ นทารก แต่ถ้าไม่มีการปฏิสนธิ เซลล์ไข่จะ
สลายตัว ผนังด้านในมดลูกรวมทั้งหลอดเลือดจะสลายตัวและ
หลุดลอกออก เรียกว่า ประจำเดือน
24) การคุมกำเนิดเป็ นวิธีป้ องกันไม่ให้เกิดการตั้งครรภ์ โดยป้ องกัน
ไม่ให้เกิดการปฏิสนธิหรือไม่ให้มีการฝั งตัวของเอ็มบริโอ ซึ่งมี
หลายวิธี เช่น การใช้ถุงยางอนามัย การกินยาคุมกำเนิด

2.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
(พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา)

3. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
ระบบหายใจมีอวัยวะที่เป็ นทางเดินของอากาศ ได้แก่ จมูก ท่อลม
และปอด และมีอวัยวะที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กะบังลมและกระดูกซี่โครง
โดยอากาศเคลื่อนที่เข้าและออกจากปอดเป็ นผลจากการเปลี่ยนแปลง
ปริมาตรและความดันภายในช่องอกซึ่งเกี่ยวกับการทำงานของกะบังลม
และกระดูกซี่โครง เมื่อมนุษย์หายใจนำอากาศเข้าสู่ร่างกาย อากาศเดิน
ทางผ่านจมูก ท่อลม และเข้าสู่ปอดซึ่งเป็ นบริเวณที่เกิดการแลกเปลี่ยน
แก๊สออกซิเจนกับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ โดยแก๊สออกซิเจนแพร่จาก
ถุงลมเข้าสู่หลอดเลือดฝอย ส่วน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์แพร่จาก

6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบร่างกายมนุษย์

หลอดเลือดฝอยเข้าสู่ถุงลมเพื่อกำจัดออกจากร่างกายผ่านการหายใจ
ออก แก๊สออกซิเจนที่แพร่เข้าสู่หลอดเลือดฝอยถูกลำเลียงไปยังเนื้อเยื่อ
ต่าง ๆ ของร่างกายและเกิดการแลกเปลี่ยนแก๊สขึ้น โดยแก๊สออกซิเจน
จากหลอดเลือดฝอยแพร่เข้าสู่เนื้อเยื่อ ส่วนแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
แพร่จากเนื้อเยื่อเข้าสู่หลอดเลือดฝอยเพื่อลำเลียงไปยังปอดและกำจัด
ออกจากร่างกาย ซึ่งการสูบบุหรี่และการสูดอากาศที่มีสารปนเปื้ อนอาจ
เป็ นสาเหตุของโรคระบบทางเดินหายใจ เช่น โรคถุงลมโป่ งพอง ดังนั้น
จึงควรดูแลรักษาอวัยวะในระบบหายใจให้ทำงานอย่างปกติ
ระบบขับถ่ายมีอวัยวะที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ไต ท่อไต กระเพาะ
ปั สสาวะ และท่อปั สสาวะ ภายในไต มีหน่วยไตทำหน้าที่กำจัดของ
เสียต่าง ๆ ออกจากเลือด และดูดสารที่มีประโยชน์กลับเข้าสู่เลือด
ของเหลวที่ผ่านการทำงานของหน่วยไตจะไหลผ่านท่อไตไปเก็บใน
กระเพาะปั สสาวะเพื่อกำจัดออกจากร่างกายผ่าน ท่อปั สสาวะ ซึ่งการ
เลือกรับประทานอาหารที่ไม่มีรสจัดและการดื่มน้ำอย่างเพียงพอเป็ น
แนวทางในการดูแลรักษาอวัยวะในระบบขับถ่ายให้ทำงานอย่างปกติ
ระบบหมุนเวียนเลือดประกอบด้วยหัวใจ แบ่งออกเป็ น 4 ห้อง
ได้แก่ ห้องบน 2 ห้อง และห้องล่าง 2 ห้อง มีลิ้นหัวใจกั้นระหว่างห้อง
บนและห้องล่าง หัวใจทำหน้าที่สูบฉีดเลือดไปยังอวัยวะต่าง ๆ หลอด
เลือดแบ่งออกเป็ นหลอดเลือดอาร์เตอรีทำหน้าที่ลำเลียงเลือดที่มีแก๊ส
ออกซิเจนสูงไปยังเซลล์ (ยกเว้นหลอดเลือดอาร์เตอรีจากหัวใจไปยัง
ปอด) หลอดเลือดเวนทำหน้าที่ลำเลียงเลือดที่มีแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์สูงจากเซลล์กลับสู่หัวใจ (ยกเว้นหลอดเลือดเวน
จากปอดกลับมายังหัวใจ) และหลอดเลือดฝอยทำหน้าที่แลกเปลี่ยน
แก๊สและสารอาหาร และเลือดประกอบด้วยเซลล์เม็ดเลือดแดงทำ

7
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบร่างกายมนุษย์

หน้าที่ลำเลียงแก๊สออกซิเจนไปหล่อเลี้ยงเซลล์ เซลล์เม็ดเลือดขาวทำ
หน้าที่กำจัดเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอม และเพลตเลตทำหน้าที่ ช่วย
การแข็งตัวของเลือด ระบบหมุนเวียนเลือดมีการหมุนเวียนอย่างเป็ น
ระบบ โดยเลือดที่มีแก๊สออกซิเจนต่ำ แต่แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์สูงเข้า
สู่หัวใจห้องบนขวาและผ่านลงสู่หัวใจห้องล่างขวา แล้วลำเลียงไปยัง
ปอดเพื่อแลกเปลี่ยนแก๊สกลายเป็ นเลือดที่มีแก๊สออกซิเจนสูง แต่มีแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ต่ำ กลับเข้าสู่หัวใจห้องบนซ้ายและผ่านลงสู่หัวใจ
ห้องล่างซ้ายเพื่อนำเลือดที่มีแก๊สออกซิเจนสูงไปยังเซลล์ต่าง ๆ โดยการ
ออกกำลังกาย การเลือกรับประทานอาหาร และการรักษาสภาวะทาง
อารมณ์ช่วยให้ระบบหมุนเวียนเลือดทำงานปกติ

ระบบประสาทประกอบด้วยสมองทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของ
ร่างกาย ไขสันหลังทำหน้าที่ส่งผ่านกระแสประสาท และเส้นประสาท
ทำหน้าที่รับส่งกระแสประสาท ซึ่งมีเซลล์ประสาทอยู่จำนวนมาก
การทำงานของระบบประสาทเกิดจากการส่งกระแสประสาทจาก
อวัยวะรับความรู้สึกไปยังไขสันหลังและ ส่งต่อไปยังสมอง จากนั้นสมอง
ส่งกระแสประสาทผ่านไขสันหลังไปยังหน่วยปฏิบัติการต่าง ๆ ระบบ
ประสาทเกี่ยวข้องกับการทำงานของทุกระบบจึงควรป้ องกันการกระ
ทบกระเทือนของสมองและไขสันหลัง หลีกเลี่ยงการใช้สารเสพติด และ
ภาวะเครียด เพื่อดูแลรักษาระบบประสาทให้ทำงานอย่างเป็ นปกติ
ระบบสืบพันธุ์แบ่งออกเป็ นระบบสืบพันธุ์เพศชาย มีการสร้างเซลล์
อสุจิจากอัณฑะซึ่งทำหน้าที่เป็ นเซลล์สืบพันธ์เพศชาย ถูกควบคุมโดย
ฮอร์โมนเทสโทสเทอโรน และระบบสืบพันธุ์เพศหญิง มีการสร้างเซลล์
ไข่จากรังไข่ซึ่งทำหน้าที่เป็ นเซลล์สืบพันธุ์เพศหญิง ถูกควบคุมโดย
ฮอร์โมนโพรเจสเทอโรนและฮีสโตรเจน เพศหญิงในวัยเจริญพันธุ์มีการ

8
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบร่างกายมนุษย์

ตกไข่ เดือนละ 1 เซลล์ และหากเซลล์ไข่ไม่ได้รับการปฏิสนธิจากเซลล์


อสุจิจะกลายประจำเดือน แต่หากเซลล์ไข่ได้รับการปฏิสนธิจากอสุจิจะ
แบ่งเซลล์เป็ นไซโกต เอ็มบริโอ และเจริญเป็ นทารกในครรภ์ ซึ่งอยู่ใน
ครรภ์ประมาณ 9 เดือน อย่างไรก็ตาม มีวิธีการคุมกำเนิดหากไม่พร้อม
สำหรับการมีบุตร เช่น การคุมกำเนิดโดยวิธีทางธรรมชาติ การใช้
อุปกรณ์ การใช้สารเคมี การทำหมัน

4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. มีวินัย
2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่ เรียนรู้
1) ทักษะการสังเกต 3. มุ่งมั่นในการทำงาน
2) การสำรวจค้นหา
3) การจำแนกประเภท
4) ทักษะการทดลอง
5) ทักษะการกำหนดและ
ควบคุมตัวแปร
6)ทักษะการลงความเห็นจาก
ข้อมูล
7) ทักษะการตีความหมาย
ข้อมูลและการลข้อสรุป
8) ทักษะการจัดกระทำและสื่อ
ความหมายข้อมูล
3. ความสามารถในการใช้ทักษะ

9
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบร่างกายมนุษย์

ชีวิต

5. ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
- ผังมโนทัศน์ เรื่อง ระบบหายใจ
- ผังมโนทัศน์ เรื่อง ระบบขับถ่าย
- ผังมโนทัศน์ เรื่อง ระบบหมุนเวียนเลือด
- ผังมโนทัศน์ เรื่อง ระบบประสาท
- ผังมโนทัศน์ เรื่อง อวัยวะรับสัมผัสของมนุษย์
- ผังมโนทัศน์ เรื่อง ระบบสืบพันธุ์
- แผ่นพับ เรื่อง สารพิษในบุหรี่ที่ส่งผลต่อระบบหายใจ หรือเรื่อง สาร
พิษในอากาศที่ส่งผลต่อระบบหายใจ
- แผ่นพับ เรื่อง การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
- รายงาน เรื่อง ไตเทียม
- รายงาน เรื่อง ระบบหมุนเวียนเลือดของสัตว์
- รายงาน เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของร่างกายเข้าสู่วัยหนุ่มสาว
- แบบจำลองระบบหมุนเวียน
- แบบจำลองระบบร่างกายมนุษย์

6. การวัดและการประเมินผล

10
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบร่างกายมนุษย์

รายการวัด วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การ


ประเมิน
6.1 การประเมิน - ตรวจรายงาน - แบบประเมิน - ระดับ
ชิ้นงาน/ เรื่อง รายงาน คุณภาพ 2
ภาระงาน ไตเทียม ผ่านเกณฑ์
- แบบประเมิน
(รวบยอด) - ตรวจรายงาน - ระดับ
รายงาน
เรื่อง ระบบ คุณภาพ 2
หมุนเวียนเลือด ผ่านเกณฑ์
ของสัตว์
- แบบประเมิน
- ตรวจรายงาน - ระดับ
รายงาน
เรื่อง คุณภาพ 2
การ ผ่านเกณฑ์
เปลี่ยนแปลง
ของร่างกายเข้า - แบบประเมิน
สู่วัยหนุ่มสาว ชิ้นงาน - ระดับ
- ตรวจแผ่นพับ คุณภาพ 2
เรื่อง สารพิษใน ผ่านเกณฑ์
บุหรี่ที่ส่งผลต่อ
ระบบหายใจ
หรือเรื่อง สาร
- แบบประเมิน
พิษในอากาศที่
ชิ้นงาน
ส่งผลต่อระบบ - ระดับ
หายใจ คุณภาพ 2
ผ่านเกณฑ์
- แบบประเมิน

11
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบร่างกายมนุษย์

รายการวัด วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การ


ประเมิน
- ตรวจแผ่นพับ ชิ้นงาน
เรื่อง - ระดับ
- แบบประเมิน
การตั้งครรภ์ คุณภาพ 2
ชิ้นงาน
ก่อนวัย ผ่านเกณฑ์
อันควร - ระดับ
- แบบประเมิน
- ตรวจผังมโน คุณภาพ 2
ชิ้นงาน
ทัศน์ เรื่อง ผ่านเกณฑ์
ระบบหายใจ - ระดับ
- แบบประเมิน
- ตรวจผังมโน คุณภาพ 2
ชิ้นงาน
ทัศน์ เรื่อง ผ่านเกณฑ์
ระบบขับถ่าย - ระดับ
- ตรวจผังมโน คุณภาพ 2
- แบบประเมิน
ทัศน์ เรื่อง ผ่านเกณฑ์
ชิ้นงาน
ระบบหมุนเวียน
เลือด - ระดับ
- แบบประเมิน
- ตรวจผังมโน คุณภาพ 2
ชิ้นงาน
ทัศน์ เรื่อง ผ่านเกณฑ์
อวัยวะรับสัมผัส - ระดับ
- แบบประเมิน
ของมนุษย์ คุณภาพ 2
แบบจำลอง
- ตรวจผังมโน ผ่านเกณฑ์
- แบบประเมิน
ทัศน์ เรื่อง - ระดับ
แบบจำลอง
ระบบประสาท คุณภาพ 2

12
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบร่างกายมนุษย์

รายการวัด วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การ


ประเมิน
- ตรวจผังมโน ผ่านเกณฑ์
ทัศน์ เรื่อง ระบบ - ระดับ
สืบพันธุ์ คุณภาพ 2
- แบบจำลอง ผ่านเกณฑ์
ระบบหมุน
เวียนเลือดของ
มนุษย์
- แบบจำลอง
ระบบ
ร่างกายมนุษย์
6.2 การประเมิน
ก่อนเรียน - ตรวจแบบ - แบบทดสอบ - ประเมินตาม
- แบบทดสอบ ทดสอบ ก่อนเรียน สภาพจริง
ก่อนเรียน ก่อนเรียน
หน่วยการ
เรียนรู้ที่ 1
6.3 การ
ประเมิน
ระหว่าง - ตรวจใบงานที่ - ใบงานที่ 1.1 - ร้อยละ 60
การจัด 1.1 ผ่านเกณฑ์
กิจกรรม - Topic - ร้อยละ 60
1) ระบบ - ตรวจ Topic Question ผ่านเกณฑ์

13
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบร่างกายมนุษย์

รายการวัด วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การ


ประเมิน
หายใจ Question - ร้อยละ 60
- แบบฝึ กหัด ผ่านเกณฑ์
- ตรวจแบบ
ฝึ กหัด
2) ระบบขับ - ตรวจใบงานที่ - ใบงานที่ 1.2 - ร้อยละ 60
ถ่าย 1.2 ผ่านเกณฑ์
- Topic - ร้อยละ 60
- ตรวจ Topic Question ผ่านเกณฑ์
Question - ร้อยละ 60
- แบบฝึ กหัด ผ่านเกณฑ์
- ตรวจแบบ
ฝึ กหัด
3) ระบบ - ตรวจใบงานที่ - ใบงานที่ 1.3 - ร้อยละ 60
หมุนเวียน 1.3 ผ่านเกณฑ์
เลือด - ใบงานที่ 1.4 - ร้อยละ 60
- ตรวจใบงานที่ ผ่านเกณฑ์
1.4 - Topic - ร้อยละ 60
Question ผ่านเกณฑ์
- ตรวจ Topic - ร้อยละ 60
Question - แบบฝึ กหัด ผ่านเกณฑ์

- ตรวจแบบ

14
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบร่างกายมนุษย์

รายการวัด วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การ


ประเมิน
ฝึ กหัด
4)ระบบ - ตรวจใบงานที่ - ใบงานที่ 1.5 - ร้อยละ 60
ประสาท 1.5 ผ่านเกณฑ์
- Topic - ร้อยละ 60
- ตรวจ Topic Question ผ่านเกณฑ์
Question - ร้อยละ 60
- แบบฝึ กหัด ผ่านเกณฑ์
- ตรวจแบบ
ฝึ กหัด
5)ระบบ - ตรวจใบงานที่ - ใบงานที่ 1.6 - ร้อยละ 60
สืบพันธุ์ 1.6 ผ่านเกณฑ์
- ใบงานที่ 1.7 - ร้อยละ 60
- ตรวจใบงานที่ ผ่านเกณฑ์
1.7 - ใบงานที่ 1.8 - ร้อยละ 60
ผ่านเกณฑ์
- ตรวจใบงานที่ - Topic - ร้อยละ 60
1.8 Question ผ่านเกณฑ์
- ร้อยละ 60
- ตรวจ Topic - แบบฝึ กหัด ผ่านเกณฑ์
Question

- ตรวจแบบ

15
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบร่างกายมนุษย์

รายการวัด วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การ


ประเมิน
ฝึ กหัด
6) การ - ประเมินการ - แบบ - ระดับ
ปฏิบัติการ ปฏิบัติการ ประเมิน คุณภาพ 2
การ ผ่านเกณฑ์
ปฏิบัติการ
7) การนำ - ประเมินการนำ - แบบประเมิน - ระดับ
เสนอผล เสนอ การนำเสนอ คุณภาพ 2
งาน ผลงาน ผ่านเกณฑ์
8) - สังเกต - แบบสังเกต - ระดับ
พฤติกรรม พฤติกรรม พฤติกรรม คุณภาพ 2
การทำงาน การทำงานราย การทำงาน ผ่านเกณฑ์
รายบุคคล บุคคล รายบุคคล
9) - สังเกต - แบบสังเกต - ระดับ
พฤติกรรม พฤติกรรม พฤติกรรม คุณภาพ 2
การทำงาน การทำงานกลุ่ม การทำงาน ผ่านเกณฑ์
กลุ่ม กลุ่ม
10) - สังเกตความมี - แบบประเมิน - ระดับ
คุณลักษณะ วินัย คุณลักษณะ คุณภาพ 2
อันพึง ใฝ่ เรียนรู้ และ อันพึง ผ่านเกณฑ์
ประสงค์ มุ่งมั่น ประสงค์
ในการทำงาน
6.4 ประเมินหลัง

16
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบร่างกายมนุษย์

รายการวัด วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การ


ประเมิน
เรียน
1) ทดสอบ - ตรวจแบบ - แบบทดสอบ - ร้อยละ 60
หลังเรียน ทดสอบหลัง หลังเรียน ผ่านเกณฑ์
- แบบ เรียน - หนังสือ - ร้อยละ 60
ทดสอบ หลัง - ตรวจ Unit เรียน ผ่านเกณฑ์
เรียน หน่วย Question หน่วย
การเรียนรู้ที่ การเรียนรู้ที่ 1
1 - ร้อยละ 60
- - แบบ ผ่านเกณฑ์
Unit - ตรวจแบบ ฝึ กหัด
Question ฝึ กหัด หน่วย
หน่วยการ การเรียนรู้ที่ 1
เรียนรู้
ที่ 1
- แบบ
ฝึ กหัด
หน่วยการ
เรียนรู้
ที่ 1

7. กิจกรรมการเรียนรู้

17
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบร่างกายมนุษย์

 แผนฯ ที่ 1 : ระบบหายใจ


วิธีการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)
เวลา 6 ชั่วโมง
 แผนฯ ที่ 2 : ระบบขับถ่าย
วิธีการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)
เวลา 4 ชั่วโมง
 แผนฯ ที่ 3 : ระบบหมุนเวียนเลือด
วิธีการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)
เวลา 7 ชั่วโมง
 แผนฯ ที่ 4 : ระบบประสาท
วิธีการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)
เวลา 3 ชั่วโมง
 แผนฯ ที่ 5 : ระบบสืบพันธุ์
วิธีการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)
เวลา 8 ชั่วโมง

8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
8.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
ระบบร่างกายมนุษย์
2) แบบฝึ กหัดวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
ระบบร่างกายมนุษย์
3)แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สารละลาย
4)แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สารละลาย

18
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบร่างกายมนุษย์

5) ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ระบบหายใจ


6) ใบงานที่ 1.2 เรื่อง ระบบขับถ่าย
7) ใบงานที่ 1.3 เรื่อง หัวใจและหลอดเลือด
8)ใบงานที่ 1.4 เรื่อง เลือด
9) ใบงานที่ 1.5 เรื่อง ระบบประสาท
10) ใบงานที่ 1.6 เรื่อง ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
11) ใบงานที่ 1.7 เรื่อง ระบบสืบพันธุ์เพศเหญิง
12) ใบงานที่ 1.8 เรื่อง การปฏิสนธิและการตั้งครรภ์
13) ภาพยนตร์สารคดีสั้น Twig
14) PowerPoint เรื่อง ระบบร่างกายมนุษย์
15) QR Code

8.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องเรียน
2) ห้องสมุด
3)แหล่งข้อมูลสารสนเทศ

แบบทดสอบก่อนเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1

คำชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1. อวัยวะใดทำหน้าที่ในการแลก 6. เซลล์เม็ดเลือดขาวสร้างสารชนิดใด
เปลี่ยนแก๊ส มาทำลายเชื้อโรค

19
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบร่างกายมนุษย์

1. จมูก 1. วัคซีน
2. ปอด 2. แอนติเจน
3. ท่อลม 3. แอนติบอดี
4. กะบังลม 4. เฮโมโกลบิน
2. ข้อใดไม่ใช่การเปลี่ยนแปลงของ 7. ระบบประสาทของมนุษย์มีองค์
ช่องอกเมื่อหายใจเข้า ประกอบสำคัญใดบ้าง
1. กะบังลมเลื่อนต่ำลง 1. สมอง ไขสันหลัง เส้นประสาท
2. ช่องอกมีปริมาตรเพิ่มขึ้น 2. สมอง ปมประสาท เส้นประสาท
3. กระดูกซี่โครงเลื่อนสูงขึ้น 3. สมอง ไขสันหลัง ร่างแหประสาท
4. ช่องอกมีความดันเพิ่มขึ้น 4. สมอง เส้นประสาท เซลล์
3. ปั สสาวะประกอบด้วยสารชนิด ประสาท
ใดเป็ นหลัก 8. อสุจิเข้าผสมกับไข่ที่บริเวณใด
1. น้ำ 1. รังไข่
2. ยูเรีย 2. ท่อนำไข่
3. กลูโคส 3. ผนังมดลูก
4. กรดอะมิโน 4. ปากมดลูก
4. ข้อใดไม่ใช่วิธีการดูแลรักษาไต 9. ฮอร์โมนเพศชายคือฮอร์โมนใด
อย่างถูกวิธี 1. อีสโทรเจน
1. งดดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 2. โกรทฮอร์โมน
2. การรับประทานอาหารรสเค็ม 3. โพรเจสเทอโรน
3. การดื่มน้ำสะอาดอย่างเพียงพอ 4. เทสโทสเทอโรน
4. การออกกำลังกายอย่าง 10. แฝดร่วมไข่เกิดขึ้นได้อย่างไร
สม่ำเสมอ 1. เซลล์อสุจิ 2 เซลล์ เข้าผสมกับ
5. หลอดเลือดชนิดใดมีลิ้นกั้น เซลล์ไข่พร้อมกัน
ป้ องกันการไหลย้อนกลับ 2. เซลล์ไข่ 2 เซลล์ ที่สุกพร้อมกันถูก
ของเลือด ผสมในเวลา
1. หลอดเลือดดำ เดียวกัน
2. หลอดเลือดฝอย 3. เซลล์ไข่ 2 เซลล์ ที่สุกพร้อมกัน

20
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบร่างกายมนุษย์

3. หลอดเลือดแดง ถูกผสมด้วยเซลล์อสุจิ
4. หลอดเลือดแดงและหลอดเลือด ตัวเดียวกัน
ดำ 4. เซลล์อสุจิเซลล์เดียวเข้าผสมกับ
เซลล์ไข่ แล้วแบ่ง
เซลล์เป็ นสองไซโกต

เฉลย

แบบทดสอบหลังเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1

คำชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1. ข้อใดเรียงลำดับการเดินทาง 6. ความดันเลือดของคนปกติมีควรค่า
ของอากาศเข้าสู่ร่างกาย เท่าใด
ได้ถูกต้อง 1. 60/90 มิลลิเมตรของปรอท
1. จมูก ท่อลม หลอดลมฝอย 2. 90/120 มิลลิเมตรของปรอท
แขนงปอด ถุงลม 3. 120/80 มิลลิเมตรของปรอท
2. จมูก ท่อลม แขนงปอด 4. 120/100 มิลลิเมตรของปรอท
หลอดลมฝอย ถุงลม 7. สมองส่วนใดทำหน้าที่เกี่ยวกับ
3. จมูก แขนงปอด ท่อลม ความคิด ความจำ และ
หลอดลมฝอย ถุงลม สติปั ญญา
4. จมูก แขนงปอด หลอดลมฝอย 1. พอนส์
ท่อลม ถุงลม 2. เซรีบรัม
2. เมื่อหายใจออก กะบังลมและ 3. เซรีเบลลัม
กระดูกซี่โครงมีการ 4. ไฮโพทาลามัส
เปลี่ยนแปลงอย่างไร 8. ต่อมลูกหมากทำหน้าที่ใดในระบบ

21
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบร่างกายมนุษย์

1. กะบังลมและกระดูกซี่โครง สืบพันธุ์เพศชาย
เลื่อนต่ำลง 1. สร้างเซลล์อสุจิ
2. กะบังลมและกระดูกซี่โครง 2. สร้างสารหล่อลื่น
เลื่อนสูงขึ้น 3. สร้างน้ำเลี้ยงเซลล์อสุจิ
3. กะบังลมเลื่อนต่ำลง กระดูก 4. สร้างสารที่มีฤทธิ์เป็ นเบส
ซี่โครงเลื่อนสูงขึ้น 9. ประจำเดือนเกิดขึ้นได้อย่างไร
4. กะบังลมเลื่อนสูงขึ้น กระดูก 1. การตกไข่เข้าสู่ท่อนำไข่
ซี่โครงเลื่อนต่ำลง 2. การฝั่ งตัวของเซลล์ไข่ที่ผนังมดลูก
3. สารชนิดใดไม่ควรพบใน 3. การหลุดลอกของผนังมดลูกเมื่อ
ปั สสาวะ ไม่มีการปฏิสนธิ
1. น้ำ 2. ยูเรีย 4. การสลายตัวของเซลล์อสุจิที่ไม่
3. โปรตีน 4. โซเดียม ถูกปฏิสนธิกับเซลล์ไข่
4. ข้อใดกล่าวถึงหน้าที่ของหลอด 10. เซลล์ไข่ที่ได้รับการผสมจากเซลล์
เลือดได้ถูกต้อง อสุจิจะพัฒนาเป็ น
1. หลอดเลือดแดง : แลกเปลี่ยน เซลล์ชนิดใด
แก๊ส 1. ฟี ตัส
2. หลอดเลือดแดง : ลำเลียงเลือด 2. ทารก
ไปยังปอด 3. ไซโกต
3. หลอดเลือดดำ : ลำเลียงเลือดดำ 4. เอ็มบริโอ
ไปส่วนต่าง ๆ ของ
ร่างกาย
4. หลอดเลือดแดง : กำจัดแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์
ออกจากเลือด
5. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง
1. เลือดที่เข้าสู่หัวใจห้องบนซ้ายมี
แก๊สออกซิเจนสูง
2. เลือดที่เข้าสู่หัวใจห้องบนขวามี

22
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบร่างกายมนุษย์

แก๊สออกซิเจนสูง
3. เลือดที่กลับจากอวัยวะต่าง ๆ
เข้าสู่หัวใจมีแก๊ส
ออกซิเจนต่ำ
4. เลือดที่ออกจากหัวใจไปอวัยวะ
ต่าง ๆ มีแก๊ส
ออกซิเจนสูง

เฉลย

แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบ

แบบประเมินผังมโนทัศน์/แผ่นพับ/ผังสรุป
คำชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน
ของนักเรียนตามรายการที่กำหนด แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับ
ระดับคะแนน
ลำดับ ระดับคะแนน
รายการประเมิน
ที่ 4 3 2 1
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์
2 ความถูกต้องของเนื้อหา
3 ความคิดสร้างสรรค์
4 ความตรงต่อเวลา
รวม

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


............../.................
./................
23
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบร่างกายมนุษย์

เกณฑ์การประเมินผังมโนทัศน์/แผ่นพับ/ผังสรุป
ประเด็นที่ ระดับคะแนน
ประเมิน 4 3 2 1
1. ความ ผลงาน ผลงาน ผลงาน ผลงานไม่
สอดคล้อง สอดคล้องกับ สอดคล้องกับ สอดคล้องกับ สอดคล้องกับ
กับจุด จุดประสงค์ทุก จุดประสงค์เป็ น จุดประสงค์บาง จุดประสงค์
ประสงค์ ประเด็น ส่วนใหญ่ ประเด็น
2. คว เนื้อหาสาระ เนื้อหาสาระ เนื้อหาสาระ เนื้อหาสาระ
ามถูกต้อง ของผลงานถูก ของผลงานถูก ของผลงานถูก ของผลงานไม่
ของ ต้องครบถ้วน ต้องเป็ นส่วน ต้องบาง ถูกต้องเป็ นส่วน
เนื้อหา ใหญ่ ประเด็น ใหญ่
3. คว ผลงานแสดงถึง ผลงานแสดงถึง ผลงานมีความ ผลงานไม่มี
ามคิด ความคิด ความคิด น่าสนใจ แต่ยัง ความน่าสนใจ
สร้างสรร สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ ไม่มีแนวคิด และไม่แสดงถึง
ค์ แปลกใหม่ และ แปลกใหม่ แต่ แปลกใหม่ แนวคิดแปลก
เป็ นระบบ ยังไม่เป็ นระบบ ใหม่
4. คว ส่งชิ้นงาน ส่งชิ้นงานช้า ส่งชิ้นงานช้า ส่งชิ้นงานช้า
ามตรงต่อ ภายในเวลาที่ กว่าเวลาที่ กว่าเวลาที่ กว่าเวลาที่
เวลา กำหนด กำหนด 1 วัน กำหนด 2 วัน กำหนด 3 วัน
ขึ้นไป

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14-16 ดีมาก
11-13 ดี
8-10 พอใช้
ต่ำกว่า 8 ปรับปรุง

แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบ
24
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบร่างกายมนุษย์

แบบประเมินรายงาน
คำชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน
ของนักเรียนตามรายการที่กำหนด แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับ
ระดับคะแนน

ลำดับ ระดับคะแนน
รายการประเมิน
ที่ 4 3 2 1
1 ความถูกต้องของเนื้อหา
2 ความสมบูรณ์ของรูปเล่ม
3 ความตรงต่อเวลา
รวม

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


............/.......
.........../..................

เกณฑ์การประเมินรายงาน
ประเด็นที่ ระดับคะแนน
ประเมิน 4 3 2 1
1. คว เนื้อหาสาระ เนื้อหาสาระ เนื้อหาสาระ เนื้อหาสาระ
ามถูกต้อง ของรายงานถูก ของรายงานถูก ของรายงานถูก ของรายงานไม่
ของ ต้องครบถ้วน ต้องเป็ น ต้องบาง ถูกต้องเป็ นส่วน
เนื้อหา ส่วนใหญ่ ประเด็น ใหญ่
2. ความ มีองค์ประกอบ มีองค์ประกอบ มีองค์ประกอบ องค์ประกอบ
สมบูรณ์ ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถ้วน ไม่ครบถ้วน ไม่
ของรูป สมบูรณ์ มี สมบูรณ์ มี สมบูรณ์ แต่ยัง เป็ นระเบียบ
เล่ม ความเป็ น ความเป็ น ไม่เป็ นระเบียบ และรูปเล่ม

25
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบร่างกายมนุษย์

ระเบียบ และ ระเบียบ แต่รูป และรูปเล่ม ไม่สวยงาม


รูปเล่มสวยงาม เล่ม ไม่สวยงาม
ไม่สวยงาม
3. คว ส่งชิ้นงาน ส่งชิ้นงานช้า ส่งชิ้นงานช้า ส่งชิ้นงานช้า
ามตรงต่อ ภายในเวลาที่ กว่าเวลาที่ กว่าเวลาที่ กว่าเวลาที่
เวลา กำหนด กำหนด 1 วัน กำหนด 2 วัน กำหนด 3 วัน
ขึ้นไป

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
11-12 ดีมาก
9-10 ดี
6-8 พอใช้
ต่ำกว่า 6 ปรับปรุง

แบบประเมินแบบจำลอง

คำชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินแบบจำลองของ
นักเรียนตามรายการที่กำหนด แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับ
ระดับคะแนน
ระดับคะแนน
ลำดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์
2 ความถูกต้องของเนื้อหา
3 ความคิดสร้างสรรค์
4 การเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์
รวม

26
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบร่างกายมนุษย์

ลงชื่อ
................................................... ผู้ประเมิน
…............../......
............/..................

เกณฑ์การประเมินรายงาน
ประเด็นที่ ระดับคะแนน
ประเมิน 4 3 2 1
1. ความ แบบจำลอง แบบจำลอ แบบจำลอ แบบจำลอไม่
สอดคล้อง สอดคล้องกับ สอดคล้อง สอดคล้องกับ สอดคล้องกับ
กับจุด จุดประสงค์ กับจุดประสงค์ จุดประสงค์บาง จุดประสงค์
ประสงค์ ทุกประเด็น เป็ น ประเด็น
ส่วนใหญ่
2. ความถูก เนื้อหาสาระ เนื้อหาสาระ เนื้อหาสาระ เนื้อหาสาระ
ต้องของ ของแบบจำลอง ของแบบจำลอง ของ ของ
เนื้อหา ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็ นส่วน แบบจำลองถูก แบบจำลองไม่
ใหญ่ ต้อง ถูกต้องเป็ นส่วน
บางประเด็น ใหญ่
3. ความคิด ผลงานแสดงถึง ผลงานแสดงถึง ผลงานมีความ ผลงานไม่มี
สร้างสรร ความคิด ความคิด น่าสนใจ แต่ยัง ความน่าสนใจ
ค์ สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ ไม่มีแนวคิด และไม่แสดงถึง
แปลกใหม่ และ แปลกใหม่ แต่ แปลกใหม่ แนวคิดแปลก
เป็ นระบบ ยังไม่เป็ นระบบ ใหม่
4. การ เลือกใช้วัสดุ เลือกใช้วัสดุ เลือกใช้วัสดุ เลือกใช้วัสดุ
เลือกใช้ อุปกรณ์ อุปกรณ์ที่ อุปกรณ์ที่ อุปกรณ์
วัสดุ ที่เหมาะสม หา เหมาะสม และ เหมาะสม แต่มี ที่ไม่เหมาะสม
อุปกรณ์ ง่าย มีราคาถูก ราคาแพง และมีราคาแพง
และมีราคาถูก

27
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบร่างกายมนุษย์

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
15-16 ดีมาก
12-14 ดี
8-11 พอใช้
ต่ำกว่า 8 ปรับปรุง

แบบประเมินการปฏิบัติการ

คำชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินการปฏิบัติการ
ของนักเรียนตามรายการที่กำหนด แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับ
ระดับคะแนน

ลำดับ ระดับคะแนน
รายการประเมิน
ที่ 4 3 2 1
1 การปฏิบัติการทดลอง
2 ความคล่องแคล่วในขณะปฏิบัติการ
3 การนำเสนอ
รวม

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


................./......
............/..................

28
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบร่างกายมนุษย์

เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติการ
ประเด็นที่ ระดับคะแนน
ประเมิน 4 3 2 1
1. การ ทำการทดลอง ทำการทดลอง ต้องให้ความ ต้องให้ความ
ปฏิบัติการ ตามขั้นตอน ตามขั้นตอน ช่วยเหลือบ้าง ช่วยเหลืออย่าง
ทดลอง และใช้อุปกรณ์ และใช้อุปกรณ์ ในการทำการ มากในการ
ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง ทดลอง และ ทำการทดลอง
แต่อาจต้องได้ การใช้อุปกรณ์ และการใช้
รับคำแนะนำ อุปกรณ์
บ้าง
2. คว มีความ มีความ ขาดความ ทำการทดลอง

29
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบร่างกายมนุษย์

าม คล่องแคล่วใน คล่องแคล่วใน คล่องแคล่วใน เสร็จ ไม่ทัน


คล่องแคล่ ขณะทำการ ขณะทำการ ขณะทำการ เวลา และทำ
วในขณะ ทดลองโดยไม่ ทดลองแต่ต้อง ทดลองจึง อุปกรณ์เสีย
ปฏิบัติ ต้องได้รับ ได้รับคำแนะนำ ทำการทดลอง หาย
การ คำชี้แนะ และ บ้าง และ เสร็จไม่ทันเวลา
ทำการทดลอง ทำการทดลอง
เสร็จทันเวลา เสร็จทันเวลา
3. กา บันทึกและสรุป บันทึกและสรุป ต้องให้คำ ต้องให้ความ
รบันทึก ผล การ ผล การ แนะนำในการ ช่วยเหลืออย่าง
สรุปและ ทดลองได้ถูก ทดลองได้ถูก บันทึก สรุป มากในการ
นำเสนอ ต้อง รัดกุม นำ ต้อง แต่การนำ และนำเสนอผล บันทึก สรุป
ผลการ เสนอผลการ เสนอผล การ การทดลอง และนำเสนอผล
ทดลอง ทดลองเป็ นขั้น ทดลองยังไม่ การทดลอง
ตอนชัดเจน เป็ นขั้นตอน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
11-12 ดีมาก

30
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบร่างกายมนุษย์

9-10 ดี
6-8 พอใช้
ต่ำกว่า 6 ปรับปรุง

แบบประเมินการนำเสนอผล

คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของ
นักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่
ตรงกับระดับคะแนน

ลำดั ระดับคะแนน
รายการประเมิน
บที่ 3 2 1
1 เนื้อหาละเอียดชัดเจน   

2 ความถูกต้องของเนื้อหา   

3 ภาษาที่ใช้เข้าใจง่าย   

4 ประโยชน์ที่ได้จากการนำเสนอ   

5 วิธีการนำเสนอผลงาน   

รวม

ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
............/..............
.../................

31
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบร่างกายมนุษย์

เกณฑ์การให้คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินสมบูรณ์ชัดเจน
ให้ 3 คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินเป็ นส่วนใหญ่
ให้ 2 คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินบางส่วน
ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14-15 ดีมาก
11-13 ดี
8-10 พอใช้
ต่ำกว่า 8 ปรับปรุง

แบบสังเกตพฤติกรรมการ

คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและ
นอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่
ตรงกับระดับคะแนน
ลำดั ระดับคะแนน
รายการประเมิน
บที่ 3 2 1
1 การแสดงความคิดเห็น   
  
2 การยอมรับฟั งความคิดเห็นของผู้

32
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบร่างกายมนุษย์

อื่น
การทำงานตามหน้าที่ที่ได้รับ
3   
มอบหมาย
4 ความมีน้ำใจ   

5 การตรงต่อเวลา   

รวม

ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
............../...........
......../................

เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14-15 ดีมาก

33
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบร่างกายมนุษย์

11-13 ดี
8-10 พอใช้
ต่ำกว่า 8 ปรับปรุง

แบบสังเกตพฤติกรรมการ

คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและ
นอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่
ตรงกับระดับคะแนน
การมี
การ ส่วน
การ การ ทำงาน ร่วมใน
แสดง ยอมรับ ตามที่ ความมี การ รวม
ลำดั ชื่อ–สกุล ความ ฟั งคน ได้รับ น้ำใจ ปรับปรุ 15
บที่ ของนักเรียน คิดเห็น อื่น มอบ ง คะแ

หมาย ผลงาน นน

กลุ่ม

3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1

34
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบร่างกายมนุษย์

ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน

.............
./.................../...............
เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14-15 ดีมาก
11-13 ดี
8-10 พอใช้
ต่ำกว่า 8 ปรับปรุง
แบบประเมินคุณลักษณะอัน
คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและ
นอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่
ตรงกับระดับคะแนน
คุณลักษณะ ระดับคะแนน
อันพึงประสงค์ รายการประเมิน 3 2 1
ด้าน
1. รักชาติ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาติได้
ศาสน์ 1.2 เข้าร่วมกิจกรรมที่สร้างความสามัคคี
กษัตริย์ ปรองดอง และเป็ นประโยชน์

35
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบร่างกายมนุษย์

ต่อโรงเรียน
1.3 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบัติ
ตามหลักศาสนา
1.4 เข้าร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวกับสถาบันพระมหา
กษัตริย์ตามที่โรงเรียนจัดขึ้น
2. ซื่อสัตย์ 2.1 ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง และเป็ นจริง
สุจริต 2.2 ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง
3. มีวินัย รับผิด 3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อ
ชอบ บังคับของครอบครัว
มีความตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง
ๆ ในชีวิตประจำวัน
4. ใฝ่ เรียนรู้ 4.1 รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์ และนำไป
ปฏิบัติได้
4.2 รู้จักจัดสรรเวลาให้เหมาะสม
4.3 เชื่อฟั งคำสั่งสอนของบิดา - มารดา โดยไม่โต้
แย้ง
4.4 ตั้งใจเรียน
5. อยู่อย่างพอ 5.1 ใช้ทรัพย์สินและสิ่งของของโรงเรียนอย่าง
เพียง ประหยัด
5.2 ใช้อุปกรณ์การเรียนอย่างประหยัดและรู้คุณค่า
5.3 ใช้จ่ายอย่างประหยัดและมีการเก็บออมเงิน
6. มุ่งมั่นในการ 6.1 มีความตั้งใจและพยายามในการทำงานที่ได้รับ
ทำงาน มอบหมาย
6.2 มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้
งานสำเร็จ
7. รักความเป็ น 7.1 มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและ
ไทย ภูมิปั ญญาไทย
7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย
8. มีจิต 8.1 รู้จักช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูทำงาน
สาธารณะ 8.2 รู้จักการดูแลรักษาทรัพย์สมบัติและสิ่ง

36
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบร่างกายมนุษย์

แวดล้อมของห้องเรียนและโรงเรียน

ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน

.............
./.................../...............
เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
สม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน 51-60 ดีมาก
พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อย 41-50 ดี

ครั้ง ให้ 2 คะแนน 30-40 พอใช้


ต่ำกว่า 30 ปรับปรุง
พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง
ให้ 1 คะแนน

37

You might also like