Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 13

การผลิตถ่านคุณภาพ

และน้้าส้มควันไม้

จัดทาโดย
ฝ่ายพัฒนาลูกค้าและชนบท
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
ค้าน้า
ถ้าพูดถึง “อาหารปิ้ง – ย่าง” ก็ต้องนึกถึง “ถ่านไม้” สิ่งที่น่ากลัวที่สุดของอาหารประเภท
นี้คือ “สารก่อมะเร็ง” ซึ่งจะระเหยออกมา เมื่อถ่านติดไฟที่ความร้อนสูง ก่อนจะกลายเป็นขี้เถ้า น้ามันระเหยนี้
จะไม่เป็นอันตรายเลยหากเพียงแต่ทาให้มันระเหยไปจนเกือบหมดแล้วตั้งแต่กระบวนการผลิตถ่าน โดยการให้
อุณหภูมิที่สูงในสภาวะปลอดออกซิเจน ซึ่งสภาวะนี้จะทาให้สารก่อมะเร็ง ดังกล่าวระเหยออกไป ถ่านที่ได้เป็น
ถ่านคุณภาพมีปริมาณคาร์บอนสูง เกิดขี้เถ้าน้อย เมื่อนาไปใช้จะให้ความร้อนสูง เกิดรูพรุนมาก ดูดกลิ่นและ
สารพิษได้ดี
ในกระบวนการผลิ ต ถ่ า นคุ ณ ภาพนี้ เ กิ ด ผลพลอยได้ อี ก อย่ า งนอกจากถ่ า นไม้ แ ล้ ว คื อ
“น้้ า ส้ ม ควั น ไม้ ” ซึ่ ง มี คุ ณ สมบั ติ ใ นการควบคุ ม แมลงศัต รู พื ช ซึ่ ง เมื่ อ น าไปใช้ แ ล้ ว จะไม่ ส่ ง ผลกระทบต่ อ
สิ่งแวดล้อม ไม่เป็นอันตรายต่อผู้ใช้งาน ทั้งนี้มีวิธีการ และเคล็ดลับบางอย่างในกระบวนการเก็บ กระบวนการ
ทาให้เกิดคุณภาพดี และหากนามากลั่นให้บริสุทธิ์แล้ว “น้้าส้มควันไม้กลั่น ” นี้จะมีคุณสมบัติพิเศษทางด้าน
สุขภาพ เช่น เป็นส่วนผสมของแชมพูสระผม ครีมอาบน้า ครีมทาผิว เจลล้างมือ ฯลฯ
การใช้ถ่านไม้ 1 กิโลกรัม จะสามารถลดการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ที่เป็น
สาเหตุของสภาวะโลกร้อนได้ถึง 400 กรัม เมื่อเทียบกับการใช้ก๊าซหุงต้มแอลพีจี ซึ่งมีแนวโน้มราคาจะสูงขึ้น
เรื่อยๆ การนาเศษไม้ ปลายไม้ในชุมชนมาผลิตเป็นถ่านคุณภาพเพื่อใช้งาน ทั้งยังเป็นการลดปัญหาหมอกควัน
จากการเผาเศษวัสดุดังกล่าวแล้ว ยังเป็นการสร้างรายได้ให้กับครัวเรือนอีกด้วย
ชนิดของเตาเผาถ่าน
เตาผลิตถ่านมีหลายชนิดแตกต่างกันไปตามภูมิภาคของโลก และวัตถุประสงค์ในการใช้งาน
อาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภท
1. เตาผลิตถ่านระบบอุตสาหกรรม มีวัตถุประสงค์ในการนาผลพลอยได้ไปเป็นวัตถุดิบใน
อุตสาหกรรมเคมี โดยนาควันที่เกิดขึ้นจากการเผาถ่านมาควบแน่น แล้วนาของเหลวที่ได้มากลั่นแบบลาดับส่วน
2. เตาผลิตถ่านแบบดั้งเดิม สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ชนิด
2.1 เตาหลุม หรือเตากลบ เป็นเตาชนิดแรกของโลกที่ยังคงใช้อยู่จนถึงปัจจุบัน มีรูปร่าง
ขนาด และวัสดุที่ใช้กลบแตกต่างกันไปแต่ละภูมิภาค เช่น เตากลบ เตาเหลี่ยม เตาโดม ที่ใช้กลบด้วยดิน แกลบ
ขี้เลื่อย เตาชนิดนี้ก่อสร้างง่าย ราคาถูก แต่คุณภาพต่า เนื่องจากอากาศสามารถไหลผ่านวัสดุที่ใช้กลบได้
2.2 เตาโลหะ เป็นเตาขนาดเล็ก สามารถโยกย้ายได้ ให้ผลิตผลและคุณภาพถ่านดี
พอสมควร แต่อายุการใช้งานสั้น เนื่องจากความร้อนและกรดในควันขณะเผาถ่านไม้
2.3 เตาดินหรือเตาอิฐก่อ เตาชนิดนี้ได้มีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่องนับเป็นร้อยๆ ปี
ลักษณะที่ดีของเตาดิน หรือเตาอิฐก่อ
1) ผนึกแน่น มีช่องอากาศเข้า ปล่องควันออกเพียง 1 จุด ง่ายต่อการควบคุมอุณหภูมิ นาควันไปควบแน่นเป็นน้าส้มควันไม้ได้ง่าย
2) ช่องใส่ฟืนหน้าเตา และช่องอากาศเข้าต้องแยกจากกันเพื่อความสะดวกและปลอดภัย
3) ควรมีกาแพงกั้นระหว่างไม้ฟืนกับห้องเผาไหม้เพื่อป้องกันการสูญเสียไม้ฟืนที่อาจลุกไหม้ก่อนเวลาที่เหมาะสม
4) มีท่อระบายน้าจากพื้นเตา รองพื้นโครงสร้างเตาด้วยหินหรืออิฐหัก ป้องกันความชื้นซึมเข้า ประหยัดฟืนหน้าเตาและป้องกันการเกิดส้นถ่าน
5) เตามีขนาดและความสูงที่เหมาะสมต้องมีรูปร่างที่สามารถกระจายความร้อนได้ทั่วถึงทุกจุดของเตา
6) มีความสูงพอเหมาะเพือ่ ไม่ให้อุณหภูมิดา้ นบนของเตาสูงกว่าอุณหภูมิทพี่ ื้นเตามากนัก ป้องกันการเกิดขี้เถ้าที่สว่ นบนของเตาและส้นถ่านที่พื้นเตา
7) ช่องควันออกอยู่ต่ากว่าระดับพื้นเตา มีสดั ส่วนเหมาะสมกับขนาดเตาหากขนาดใหญ่หรือเล็กเกินไป จะเปลืองฟืนหน้าเตา และเกิดส้นถ่านได้ง่าย
8) ปล่องควันด้านล่างใหญ่กว่าด้านบน ป้องกันควันย้อนกลับ ไม่ให้เกิดแรงดูดทาให้ควันไหลออกเร็วเกินไปจนไม่สามารถควบคุมถ่านให้ดีได้
9) มีรอบการเผาไม่นานนัก นาถ่านออกและใส่ไม้ฟืนเสร็จในเวลาสั้น รักษาอุณหภูมิให้อุ่นเสมอ ลดการยืดหดตัวของเตา ประหยัดไม้ฟืนหน้าเตา

เตาดิน หรือเตาอิฐก่อแบ่งเป็น 3 แบบ


แบบที่ 1 เตาแบบตะวันออกกลาง เป็นเตาทรงกลมก่อสร้างด้วยหินโดยมีดินเหนียวเป็นตัว
ประสาน มีใช้ใน อิรัก อิหร่าน อัฟกานิสถาน ปากีสถาน ฯลฯ
แบบที่ 2 เตาแบบยุโรป เป็นเตาทรงโดม มีช่องลมเข้าโดยรอบ จึงเรียกว่าเตารังผึ้ง มี
จุดเด่นคือค่าก่อสร้างถูก ระยะเวลาในการผลิตสั้น ผลิตผลและคุณภาพถ่านอยู่ในเกณฑ์ดี ถึงดีมาก ถ่านที่ได้
เหมาะสาหรับใช้เป็นเชื้อเพลิง หากต้องการนามาประกอบอาหารปิ้ง – ย่าง ต้องคัดเฉพาะถ่านที่อยู่ส่วนบนของ
เตา เตารังผึ้งมีจุดด้อยคือ มีทรงกลมและสูง มีช่องเติมเชื้อเพลิงอยู่ด้านข้าง ทาให้การกระจายความร้อนไม่ดี
เท่าที่ควร มีใช้ในยุโรป และอาณานิคม รวมทั้งไทย
แบบที่ 3 เตาแบบจีน เป็นเตารูปไข่ หลังคาโค้ง เพื่อให้การกระจายความร้อนจากด้านหน้า
ไปทางด้านหลัง และจากหลังคาไปยังพื้นเป็นไปอย่างทั่วถึงและสม่าเสมอ ไม่มีจุดอับที่จะทาให้เกิดส้นถ่าน หรือ
ขี้เถ้า ญี่ปุ่นได้พัฒนาเตาชนิดนี้มาอย่างต่อเนื่อง จนได้เตาที่มีลักษณะที่ดีครบทุกประการ เรียกเตาชนิดนี้ว่า
“เตาอิวาเตะ” (IWATE KILN) ซึ่งมี 2 ชนิด คือ
1) เตาเผาถ่านดา หรือถ่านอ่อน (Black or Soft Charcoal)
2) เตาเผาถ่านขาว หรือถ่านแข็ง (White or Hard Charcoal)

การผลิตถ่านคุณภาพและน้้าส้มควันไม้ 1
ผลิตผลจากกระบวนการเผาถ่าน
1. ถ่านไม้ คือ ผลิตผลที่ได้หลังจากไม้ถูกสลายตัวด้วยความร้อน และมีคุณสมบัติแตกต่างกันไป
ตามคุณสมบัติเฉพาะตัวของไม้แต่ละชนิด และกระบวนการผลิตถ่าน ถ่านไม้สามารถจาแนกชนิดออกได้ตาม
วิธีการผลิต ชนิดของวัตถุดิบ และการใช้ประโยชน์ ดังนี้
1.1 จาแนกตามวิธีการผลิตได้ 2 วิธี คือ
วิธีที่ 1 ถ่านขาว หรือถ่านแข็ง (White or Hard Charcoal) ผลิตโดยใช้ความร้อนที่
ประมาณ 1,000 – 1,100 แล้วนาถ่านที่กาลังลุกไหม้อยู่ออกมาดับนอกเตาโดยใช้ขี้เถ้าผสมดิน และน้า
ประมาณ 10 – 20% ขี้เถ้าดังกล่าวจะติดแน่นอยู่ที่ผิวถ่านเป็นสีขาวปนเทา จึงเรียกว่า “ถ่านขาว” มีคุณสมบัติ
แข็งกว่าถ่านดา เนื้อถ่านสุกเท่ากัน และปริมาณคาร์บอนเสถียร (Fixed Carbon) เท่ากันทั้งแท่ง จุดไฟติดยาก
แต่ลุกไหม้ได้นาน มีการผลิตถ่านขาวอยู่เพียง 3 ประเทศ คือ จีน เกาหลี และญี่ปุ่น
วิธีที่ 2 ถ่านด้า หรือถ่านอ่อน (Black or Soft Charcoal) ผลิตโดยใช้ความร้อนที่
ประมาณ 400 - 700 แล้วปิดเตาไม่ให้อากาศเข้า ปล่อยถ่านไว้ในเตาจนกว่าจะเย็นเอง ถ่านที่ได้จะมีสีดา
จึงเรียกว่า “ถ่านดา” มีความแข็งน้อยกว่าถ่านขาว และถ้าไม้เปลี่ยนเป็นถ่านอย่างรวดเร็ว จะได้ถ่านที่มีความ
แข็งน้อยกว่าถ่านดาที่ได้จากการให้ไม้เปลี่ยนเป็นถ่านอย่างช้าๆ ถ่านดาจะสุกไม่เท่ากันทั้งแท่ง ถ่านดาเป็น
วัตถุดิบที่สาคัญสาหรับผลิ ตถ่านกัมมันต์ (Activated Carbon) โดยนาถ่านดาไปเผาด้วยไอน้าที่อุณหภูมิ
1,100 – 1,200
1.2 จาแนกตามชนิดของวัตถุดิบ เช่น ถ่านไม้มะขาม ถ่านไม้โกงกาง ถ่านไม้ไผ่ ฯลฯ ถ่าน
ไม้แต่ละชนิดจะมีคุณสมบัติเฉพาะแตกต่างกันไป ถ่านที่ผลิตจากไม้เนื้อแข็งก็จะได้ถ่านที่มีความแข็งมากกว่า
ถ่านไม้ที่ผลิตจากไม้เนื้ออ่อน ถ่านที่ผลิตจากไม้ไผ่ซึ่งเป็นไม้ใยยาว ก็จะได้ถ่านที่ให้ความร้อนเร็วกว่าถ่านที่ผลิต
จากไม้ไผ่ใยสั้น แต่ก็จะมอดเร็วกว่าไม้ใยสั้น
1.3 จาแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ เช่น ถ่านเชื้อเพลิง ถ่านกรองน้า ถ่านปรับ
สภาพดิน ถ่านผสมอาหารสัตว์ ฯลฯ
เมื่อนาถ่านไม้ออกมาจากเตาใหม่ๆมีความชื้นต่ามาก แต่เมื่อสัมผัสอากาศนอกเตาถ่านไม้
จะดูดซับความชื้นจากอากาศเข้าไปในตัวถ่านเอง อาจทาให้ความชื้นในถ่านไม้เพิ่ มสูงถึง 10% ขึ้นอยู่กับ
ความชื้นในอากาศขณะนั้น หากผลิตถ่านไม้ด้วยเตาหลุม หรือเตาดินกลบและใช้น้าดับถ่าน ถ่านไม้ที่ได้จะมี
ความชื้นสูงมาก และไม่เป็นที่ต้องการของผู้ซื้อ เนื่องจากติดไฟยาก มีควันมาก และมีค่าความร้อนต่า เนื่องจาก
ต้องสูญเสียความร้อนไปใช้ระเหยน้าในถ่านด้วย
การใช้ประโยชน์จากถ่านไม้ จ้าแนกตามคุณสมบัติเฉพาะตัวของถ่านไม้
1) การใช้ประโยชน์จากถ่านขาว (White Charcoal) ถ่านขาวเป็นถ่านไม้ที่มีการผลิตเพียง
3 ประเทศในโลกเท่านั้น การนามาใช้ประโยชน์จึงมีลักษณะพิเศษเฉพาะตัวตามค่านิยมของประชาชนใน
ประเทศนั้นๆด้วย เช่น
- ใช้ทาน้าแร่ (Mineral Water) โดยการนาถ่านขาวใส่ลงในกาต้มน้าร้อน ประมาณ 100 กรัม
ต่อน้า 1 ลิตร ถ่านจะดูดซับกลิ่น และสารอินทรีย์ต่างๆที่ปนมากับน้า และแร่ธาตุต่างๆในถ่านจะละลายออกมา

การผลิตถ่านคุณภาพและน้้าส้มควันไม้ 2
เพิ่มคุณภาพและรสชาติของน้า สามารถนามาชงชา กาแฟ ปรุงอาหารและผสมเหล้าวิสกี้ จะรสชาติที่นุ่มละมุน
และต้องเปลี่ยนถ่านใหม่ทุกๆ 10 วัน แต่ถ้าหากต้องการใช้ประโยชน์เพียงแค่ดูดซับกลิ่นและอินทรีย์สารที่ปนมา
กับน้า สามารถนาถ่านนี้ไปล้างน้าสะอาด และผึ่งแดดให้แห้ง แล้วนากลับมาใช้ใหม่ได้
- เพิ่มรสชาติและธาตุอาหารในข้าว โดยใช้ถ่านขาวประมาณ 100 กรัม ต่อข้าว 1 ลิตร ถ่านจะ
ดูดซับกลิ่น และสารอินทรีย์ที่ปนมากับน้า และยังดูดซับสารต่างๆรวมทั้งกลิ่นหืนที่ติดมากับราข้าว แร่ธาตุต่างๆ
จะถูกละลายปนในข้าว ทาให้ได้ข้าวสวยที่หุงขึ้นหม้อและรสชาติดี ถ่านนี้สามารถนากลับมาใช้ใหม่ โดยล้างให้
สะอาดและผึ่งแดดให้แห้งหลังการใช้ทุกครั้ง แร่ธาตุจะค่อยหมดไปเมื่อใช้ไป 7 – 10 ครั้ง
- ใช้ในการประกอบอาหารปิ้ง – ย่าง ทาให้อาหารมีรสชาติดี เนื่องจากเมื่อถ่านไม้ลุกไหม้ จะ
เกิดฟิล์มบางๆของขี้เถ้าที่ผิวถ่านไหม้ ถ่านไม้จะให้ความร้อนโดยการแผ่รังสีที่ไม่มีเปลวไฟ รังสีความร้อนนี้มี
ความยาวคลื่นสั้นมาก ความร้อนจากรังสีนี้จะทาให้ผิวด้านนอกของอาหาร หรือเนื้อสัตว์แห้ง และแข็งตัวอย่าง
รวดเร็วกว่าความร้อนจากแหล่งอื่น แม้แต่ไมโครเวฟ ดังนั้นรสชาติของอาหาร หรือเนื้อสัตว์จะถูกเก็บไว้ภายใน
โดยไม่สูญเสีย อาหารที่ปิ้ง - ย่างด้วยวิธีนี้จึงมีรสชาติดีกว่าวิธีอื่น เช่น ใช้แก๊ส ไฟฟ้า หรือไมโครเวฟ
- ใช้ในการอาบน้า โดยเปิดน้าร้อนผ่านถุงผ้าที่บรรจุถ่านขาวไว้ภายใน น้าร้อนที่ได้จะมีคุณภาพ
ใกล้เคียงกับน้าจากบ่อน้าพุร้อน
- ใช้ทาผงขัดของใช้ที่ผลิตด้วยโลหะมีค่า เนื่องจากมีความแข็งมาก แต่ไม่ทาให้โลหะมีค่านั้นมี
รอยขูดขีดเหมือนใช้กระดาษทราย
2) การใช้ประโยชน์จากถ่านด้า (Black Charcoal) ที่ผลิตด้วยอุณหภูมิต่้าและใช้เวลาสั้น
เหมาะในการใช้ประโยชน์เป็นเชื้อเพลิง เนื่องจากมีราคาถูกเพราะมีผลิตผลสูง แม้ว่าค่าความร้อนจะต่า แต่มี
ปริมาณความร้อนสูงพอที่จะชดเชยกันได้ โดยยอมให้มีควันบ้างเล็กน้อย ไม้ที่ใช้เป็นวัตถุดิบควรเป็นไม้ใยสั้น
เพื่อให้มีการเผาไหม้ได้นานขึ้น ยกเว้นถ่านไม้ที่ใช้ในการตีเหล็ก ต้องเป็นถ่านไม้ที่ผลิตจากไม้ใยยาว เช่นไม้ไผ่
เพราะต้องการความร้อนสูงในเวลาที่สั้นมาก
3) การใช้ประโยชน์จากถ่านด้าที่ผลิตด้วยอุณหภูมิสูงและใช้เวลานาน เป็นถ่านไม้ที่มีการ
นาไปใช้ประโยชน์ได้หลากหลายที่สุด เนื่องจากมีคาร์บอนเสถียรสูง และมีสารระเหยง่ายต่า ซึ่งเป็นดัชนีบ่งชี้ ถึง
ระดับความบริสุทธิ์ของถ่านไม้ วิธีดูลักษณะถ่านประเภทนี้อย่างง่ายๆ คือ เมื่อเคาะถ่านจะมีเสียงดังกังวาน
คล้ายเสียงเคาะกระเบื้องดินเผา เมื่อหักดูจะเห็นสีดามันวาว และเมื่อใช้นิ้วถูรอยหักของถ่านจะไม่มีสีดาติดนิ้ว
เลย ส่วนที่ผิวถ่านอาจจะมีสีดาติดบ้างเล็กน้อยเนื่องจากคุณสมบัติของเปลือกไม้ เมื่อจุดติดไฟแล้วถ่านต้องไม่
แตก และมีควันน้อยมาก
การใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรม
1) อุตสาหกรรมเคมี เพื่อเป็นวัตถุดิบผลิตสารเคมีต่างๆ เช่น คาร์บอนไดซัลไฟด์ (Carbon
Disulphide) โซเดียมไซยาไนด์ (Sodium Cyanide) เมทัลลิก คาร์ไบต์ (Metallic Carbide) ซิลิคอน คาร์ไบด์
(Silicon Carbide) ถ่านกัมมันต์ (Activated Carbon) ฯลฯ ถ่านไม้ที่ใช้ในอุตสาหกรรมประเภทนี้ต้องมี
คาร์บอนเสถียรสูงมากกว่า 82% สารระเหยง่ายน้อยกว่า 10%

การผลิตถ่านคุณภาพและน้้าส้มควันไม้ 3
ถ่ า นกั ม มั น ต์ สามารถใช้ ป ระโยชน์ ใ นอุ ต สาหกรรมต่ า งๆ ได้ อ ย่ า งหลากหลาย เช่ น
อุตสาหกรรมน้าดื่ม ระบบผลิตน้าประปา ระบบบาบัดน้าเสีย ระบบกรองน้าของสระว่ายน้า และตู้ปลาสวยงาม
การฟอกสีและกลิ่นของผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เช่น ไขมัน น้ามันพืช เครื่องดื่ ม การกรองกลิ่นและสารพิษ
รวมทั้งการควบคุมความชื้นของระบบหมุนเวียนอากาศบรรจุในหน้ากากป้องกันไอพิษ
2) อุตสาหกรรมโลหะ เพื่อเป็นตัวลดสนิมของโลหะ กาจัดสิ่งเจือปนในโลหะ เพิ่มปริมาณ
คาร์บอนเพื่อผลิตโลหะหล่อ เคลือบผิวแบบหล่อโลหะ ถ่านไม้ที่ใช้ในอุตสาหกรรมประเภทนี้ต้องการความ
แข็งแรง (Strength) ของถ่านสูง
3) อุตสาหกรรมผลิตปูนซีเมนต์ โดยใช้เป็นเชื้อเพลิงร่วม และนาขี้เถ้าที่ได้ไปเป็นส่วนผสมของ
ปูนซีเมนต์ เพื่อให้ปูนซีเมนต์แข็งตัวช้าลง และเพิ่มความแข็งแรงของปูนซีเมนต์ด้วย
4) อุตสาหกรรมผลิตพลุ และดอกไม้ไฟ ดินปืน และวัตถุระเบิดต่าง
5) ใช้ผลิตแก๊สโปรดิวเซอร์ (Producer Gas) เพื่อเป็นต้นกาเนิพลังงานในโรงงานอุตสาหกรรม
จะได้แก๊สที่สะอาดมีน้ามันดินน้อย
6) อุตสาหกรรมผลิตฉนวน ทั้งฉนวนป้องกันความร้อน รังสีคลื่นไฟฟ้า และเสียง
การใช้ประโยชน์ในครัวเรือน
1) ใช้เป็นเชื้อเพลิงประกอบอาหาร และสร้างความอบอุ่นในฤดูหนาว
2) ใช้ประกอบอาหาร ปิ้ง-ย่าง แทนถ่านขาว แต่จะต้องเลือกเฉพาะถ่านไม้ที่ผลิตด้วยอุณหภูมิ
สูงเท่านั้น และควรควบคุมช่องอากาศของเตา ปิ้ง-ย่าง รวมทั้งอาจใช้ขี้เถ้ากลบบางๆเพื่อให้ถ่านมอดช้าลง
3) ใช้ดูดกลิ่น และความชื้นในบ้าน เช่น ห้องนั่งเล่น ห้องรับแขก ครัว ตู้กับข้าว ตู้เย็น ตู้เก็บ
รองเท้า หากหมดประสิทธิภาพการดูดซับแล้ว สามารถนามาล้าง ผึ่งแดดให้แห้งแล้วนากลับมาใช้ใหม่ได้
4) ใช้ทาเครื่องประดับบ้าน เพื่อความสวยงาม และประโยชน์ในการดูดกลิ่นและความชื่น
5) สาหรับห้องปรับอากาศมักจะมีกลิ่นรุนแรงมาก และอาจจะมีเชื้อจุลินทรีย์ที่เป็นอันตราย
ต่อมนุษย์อาศัยอยู่ จะนาถ่านไม้ไปวางดักไว้ที่ช่องดูดอากาศกลับของเครื่องปรับอากาศ ถ่านไม้จะดูดซับกลิ่น
รวมทั้งจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ที่อาศัยอยู่ในถ่านไม้จะช่วยกาจัดจุลินทรีย์ที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ได้อีกด้วย
6) ใช้ใส่ลงไปในภาชนะเก็บข้าวสาร เพื่อดูดความชื้น และป้องกันการทาลายจากมอดข้าว
7) ใช้ดูดความชื้นใต้ถุนบ้าน โดยเฉพาะบ้านไม้ที่มีการก่ออิฐล้อมใต้ถุนบ้าน จะมีความชื้นสูง
มาก ทาให้เกิดเชื้อรา และทาให้ไม้โครงและพื้นผุพัง
8) ใช้บาบัดน้าเสียจากครัวและน้าอาบ โดยการนาถ่านไม้ใส่กระสอบตาข่ายมาวางรองรับน้า
เสียก่อนปล่อยสู่ท่อระบายน้าสาธารณะ
9) ใช้บาบัดน้าเสียจากห้องส้วม โดยการนาถ่านไม้ใส่ไว้ในบ่อซึม ถ่านไม้จะเป็นที่อยู่อาศัยของ
จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ และช่วยบาบัดน้าเสียจนสามารถปล่อยสู่ท่อระบบน้าสาธารณะได้ แต่ต้องมีการคานวณ
ปริมาณและคุณภาพของน้าเสีย
การใช้ประโยชน์ของถ่านไม้ในการเกษตร
1) ใช้เป็นสารปรับปรุงดิน

การผลิตถ่านคุณภาพและน้้าส้มควันไม้ 4
- เนื่องจากถ่านไม้มีรูพรุนมากมาย เมื่อใส่ถ่านไม้ลงในดินจะทาให้ดินร่วนซุย อุ้มน้าและอากาศ
ได้มากขึ้น ทาให้รากพืชขยายตัวอย่างรวดเร็ว ทั้งยังดูดซับปุ๋ยไนโตรเจน ไม่ให้ระเหยสู่อากาศในรูปของแก๊ส
แอมโมเนีย ทาให้ประหยัดปุ๋ย รวมทั้งธาตุต่างๆ ที่อยู่ในถ่านไม้จะเป็นแหล่งจุลธาตุ (Trace Element) สาหรับ
พืชได้เป็นอย่างดี
- ถ่านไม้สามารถช่วยปรับปรุงดินที่เสื่อมโทรมเนื่องจากการทาการเกษตรที่ไม่ ถูกต้อง เช่น
ปลูกพืชชนิดเดิมซ้าๆ กัน ทาให้เป็นแหล่งสะสมโรคและแมลง รวมทั้งสารเคมีที่ตกค้าง เป็นผลให้ดินเป็นกรดจัด
ส่งผลให้ประสิทธิภาพในการใช้ปุ๋ยลดลง รวมทั้งยังทาให้โรคและแมลงสร้างภูมิต้านทานต่อสารเคมีที่ใช้ป้องกัน
และกาจัด เมื่อเกิดกรณีดังกล่าวเกษตรกรมักจะเพิ่มการใช้สารเคมี ซึ่งยิ่งจะทาให้สภาพดินเลวร้ายลงไปอีก
- ถ่านไม้จะช่วยปรับสภาพความเป็นกรดให้ลดน้อยลง เนื่องจากถ่านไม้มีฤทธิ์เป็นด่าง และในรู
พรุนของถ่านไม้ซึ่งมีนาดเล็กมาก จึงเป็นที่อยู่อาศัยและขยายพันธุ์ของจุลินทรีย์ที่ เป็นประโยชน์ เช่น แอคทิโน
มันซิส (Actinomysis) ไทรโคเดอมา (Trichordema) และบาซิลลัส (Bacillus) ซึ่งเป็นจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์
ในการควบคุมจุลินทรีย์ที่เป็นโทษ
- ในรูพรุนของถ่านไม้มัก จะเป็นที่อาศัยของจุลินทรีย์ เชื้ ออโซโตแบคเตอร์ (Azotobactor)
ซึ่งเป็นจุลิ นทรีย์ที่ผลิ ตอาหารโดยการตรึ งไนโตเจนจากอากาศ ถ่านไม้จึงเป็นแหล่งสะสมไนโตรเจนทั้งจาก
จุลินทรีย์ และไนโตรเจนส่วนเกินที่ตกค้างอยู่ในดิน เมื่อรากพืชไซไปถึง จุลินทรีย์ที่อาศัยและเอื้อประโยชน์
(Symbiotic) บริเวณรากพืชจะเพิ่มจานวนมากขึ้นไปด้วย เช่น เชื้อราไมคอไรซา (Vericular Arbuscular
Mycorrhiza) และเชื้อไรโซเนี ย ม (Rhizobium) จุลิ นทรีย์เหล่ านี้ อาศัยอาหารจากรากพืช โดยได้รั บ
คาร์โบไฮเดรต ซึง่ พืชได้จากการสังเคราะห์แสง แล้วตอบแทนพืชโดยการช่วยย่อยฟอสฟอรัส ซึ่งประจุไฟฟ้าของ
ดินตรึงไว้เป็นกรดฟอสฟอริค (Phosphoric Acid) ธาตุโปแตสเซียม (K) และธาตุต่างๆ ให้พืชนาไปใช้ประโยชน์
อย่างสะดวกขึ้น
- ถ่านไม้เพิ่มคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ให้กับดิน ซึ่งพืชสามารถนาไปใช้ปรุงอาหารโดยการ
สังเคราะห์แสงได้ดีขึ้น ส่งผลให้ผลิตผลมีคุณภาพดีขึ้น ทาให้ผลไม้ลดความฝาดเพิ่มความหวานมากขึ้น
- ถ่ า นไม้ แ ม้ จ ะไม่ ใ ช่ ปุ๋ ย หรื อ สารเคมี เ กษตร แต่ ถ่ า นไม้ ส ามารถสร้ า งสภาวะแวดล้ อ มที่
เหมาะสมให้กับพืช เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ปุ๋ย ลดโรคและแมลงประเทศญี่ปุ่นจึงได้รับรองอย่างเป็นทางการ
ให้ถ่านไม้เป็น วัสดุปรั บปรุงดิน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1986 (พ.ศ. 2529) ปัจจุบันในประเทศญี่ปุ่นใช้ถ่านไม้เพื่อ
การเกษตรมากกว่าปีละ 50,000 ตัน
- ถ่านไม้ที่ใช้ควรเป็นเศษถ่านขนาดเล็ก ขนาดไม่เกิน 5 ม.ม. หรืออาจนาถ่านแกลบ หรือ ถ่าน
ชานอ้อยมาใช้แทนได้ แต่ต้องระวังขี้เถ้าที่ปนมากั บถ่านไม้ด้วย เพราะขี้เถ้ามีความเป็นด่างสูงมาก จะต้องลด
ปริมาณการใช้โดยควบคุมไม่ให้ดินกลายเป็นด่าง เพราะพืชไม่ชอบดินที่เป็นด่าง หรือเป็นกรดจัดเหมือนกัน ควร
รักษาระดับค่าความเป็นกรด-ด่าง ของดินไว้ที่ PH 6.0 – 6.8
- ใช้ช่วยในการทาปุ๋ยหมัก ในกระบวนการผลิตปุ๋ยหมัก เมื่อกองเศษพืชสลับกับมูลสัตว์ หรือ
ปุ๋ยไนโตรเจน พร้อมทั้งใส่เชื้อจุลินทรีย์เพื่อช่วยย่อยแล้ ว กระบวนการหมักจะเริ่มต้นโดยจุลินทรี ย์ที่ต้องการ
อากาศ (Arobic Bacteria) แต่เมื่อหมักไประยะหนึ่ง อากาศในกองปุ๋ยหมักจะหมดลง การหมักจะเปลี่ยนไปใช้

การผลิตถ่านคุณภาพและน้้าส้มควันไม้ 5
จุลินทรีย์ที่ไม่ต้องการอากาศ (Anarobic Bacteria) ซึ่งจะได้ปุ๋ยหมักคุณภาพไม่ดีและมีกลิ่นเหม็น เนื่องจากธาตุ
อาหารเปลี่ยนเป็นแก๊สแอมโมเนีย มีเทน และไฮโดรเจนซัลไฟด์ และความร้อนทาให้ธาตุอาหารในปุ๋ยหมักเหลือ
น้ อย รวมทั้งจุ ลิ น ทรี ย์ ที่มีป ระโยชน์ เ ป็ น จุ ลิ นทรี ย์ที่ส ามารถตรึ งไนโตรเจนในอากาศได้ ก็ จ ะไม่มี เหลื อ จึ ง
จาเป็นต้องกลับกองปุ๋ยหมัก เพื่อเพิ่มอากาศให้กับจุลินทรีย์และลดอุณหภูมิ แต่ก็จะทาให้สิ้นเปลืองแรงงานและ
ค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น หากนาเศษถ่านผสมรวมไปในกองปุ๋ยหมักประมาณ 10 - 20% ก็ไม่จาเป็นต้องกลับกองปุ๋ย
หมักเลย ยังทาให้ปุ๋ยหมักเป็นได้เร็วขึ้น เนื่องจากจุลินทรีย์ที่อยู่ในรูพรุนถ่านเพิ่มคุณภาพของปุ๋ยหมัก
- ถ่านไม้ยังช่วยเพิ่มผลิ ตผล และป้องกันโรคและแมลงให้กับพืชที่ให้ ผลิตผลจากหน่อ เช่น
หน่อไม้ หน่อไม้ฝรั่ง เผื อก มันฝรั่ง ขมิ้น ขิง โดยการนาเศษถ่านมาคลุมโคนต้นไม้เหล่านี้ เพื่อเพิ่มอุณหภูมิและ
ความชื่นทาให้แตกหน่อได้ไวและมากขึ้น จะให้ผลดียิ่งขึ้น หากใช้ร่วมกับน้าส้มควันไม้
2) ช่วยรักษาผลิตผลไว้สดนานขึ้น ผักและผลไม้จะผลิตแก๊สเอทีลีน (Ethylene) ด้วยตัวเอง
เพื่อให้ผลเองสุก หากต้องการไม่ให้ผักผลไม้สุกเร็ว เพื่อรักษาความสดไว้ได้นานขึ้น สามารถทาได้โดยใส่ผงถ่าน
ลงในกล่องบรรจุเพื่อดูดซับแก๊สเอทีลินไม่ให้ออกฤทธิ์ โดยผักและผลไม้ยังคงสดอยู่ได้นานถึง 17 วัน โดยไม่
เสียหาย ปัจจุบันได้มีการนาผงถ่านกัมมันต์ผสมลงไปในกระดาษที่ใช้ทากล่องบรรจุผักและผลไม้โดยเฉพาะ
3) ช่วยปรับปรุงคุณภาพแหล่งน้า โดยการนาถ่านไม้ใส่กระสอบตาข่ายใส่ไว้ที่ก้นบ่อ และใช้
เครื่องสูบน้าวางกลางกองถ่านไม้ แล้วสูบน้าให้ไหลหมุนเวียน น้าจะไหลผ่านถ่านไม้เศษอินทรี ยวัตถุจะถูกย่อย
สลายโดยจุ ลิ นทรี ย์อยู่ ในรู พรุน ของถ่านทาให้ น้ามีคุณภาพดีอยู่ตลอดเวลา วิธีนี้นามาประยุกต์ใช้กับตู้ปลา
สวยงาม บ่อเลี้ยงปลา และกุ้ง โดยจะไม่เกิดน้าเน่าเสียเนื่องจากการบูดเน่าของเศษอาหารเลย และจะให้ผลดี
ยิ่งขึ้น หากใช้ร่วมกับน้าส้มควันไม้
การใช้ประโยชน์ของถ่านไม้ในการปศุสัตว์
1) ใช้รองพื้นคอกปศุสั ตว์ โดยปกติเกษตรกรมักจะใช้แกลบรองพื้น คอกปศุสัตว์ เนื่องจาก
แกลบสามารถหาได้ง่ายในราคาถูก ทั้งยังย่อยสลายยากเนื่องจากมีปริมาณซิลิ กา (Silica) สูงจึงอาจใช้ได้หลาย
ครั้ง แต่แกลบก็ยังคงเป็นอินทรียวัตถุที่ย่อยสลายได้ และมักจะย่อยสลายด้วยจุลินทรีย์ที่ ไม่ใช้อากาศ จึงทาให้
เกิดความร้อน แก๊สแอมโมเนีย (NH3) ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) และมีเทน (CH4) ซึ่งทาให้สัตว์เกิดความเครียด
และส่งผลกระทบถึงสุขภาพ และผลผลิต
2) หากเกษตรกรเปลี่ยนวัสดุรองพื้นคอกเป็นถ่านแกลบ หรือถ่านชานอ้อย ซึ่งหาได้ง่ายและ
ราคาถูกเช่นเดียวกัน ถ่านสามารถดูดซับความชื้นและกลิ่นได้ดีกว่า และไม่ย่อยสลายจึงไม่เกิดความร้อน และ
แก๊สแอมโมเนีย อีกทั้งการย่อยสลายจากมูลสัตว์ยังเป็นการย่อยโดยจุลินทรีย์ที่ใช้อากาศที่อาศัยในรูพรุนของ
ถ่าน จึงไม่เกิดแก๊สมีเทน และไฮโดรเจนซัลไฟด์ จะได้ผลดียิ่งขึ้นหากใช้ร่มกันน้าส้มควันไม้
3) ใช้ผสมอาหารสัตว์ หากนาผงถ่านผสมในอาหารสัตว์เพียง 1% ถ่านจะช่วยดูดซับแก๊สใน
กระเพาะและลาไส้ ทาให้สัตว์ไม่มีอาการท้องอืด โดยเฉพาะสัตว์เคียวเอื้อง เช่น วัว ควาย ถ่านจะช่วยย่อย
อาหารให้ดีขึ้น จะได้ผลดียิ่งขึ้นถ้าหากใช้ร่วมกับน้าส้มควันไม้

การผลิตถ่านคุณภาพและน้้าส้มควันไม้ 6
2. ขี้เถ้า มีการนาไปใช้ ดังนี้
1) ใช้ช่วยลดความฝาด และขมของผักและผลไม้ โดยนาผักและผลไม้ที่มีความฝาดและขมมา
แช่และล้างด้วยน้าละลายขี้เถ้า
2) ใช้เป็นส่วนผสมน้าเคลือบเครื่องปั้นดินเผา เนื่องจากมีออกไซด์ของโลหะอยู่หลายชนิด
3) ใช้แทนผงซักฟอก
4) ใช้ในการย้อมผ้า
5) ใช้เป็น ปุ๋ย เนื่องจากในขี้เถ้ ามีธาตุแคลเซียมประมาณ 40% โซเดียม และโปแตสเชียม
ประมาณอย่างละ 20% และยังมีธาตุอื่ นๆ เช่น เหล็ก แมงกานิส โบรอน และยังมีค่าความเป็นด่างสูง ดังนั้น
ขี้เถ้าจึงใช้ประโยชน์ได้ทั้งเป็นปุ๋ยและปรับสภาพดินให้ลดความเป็นกรด แต่ต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง
3. น้้าส้มควันไม้ (Wood Vinegar)
น้าส้มควันไม้เป็นของเหลวสีน้าตาลใส มีกลิ่นควันไฟ ที่ได้มาจากการควบแน่น (Condensed)
ควันที่เกิดจากการผลิตถ่านไม้ในช่วงที่ไม้กาลังเปลี่ยนเป็นถ่าน (Carbonization) อุณหภูมิในเตาอยู่ระหว่าง
300 - 400 สารประกอบต่างๆในไม้ฟืนจะถูกสลายตัวด้วยความร้อนเกิด เป็นสารประกอบใหม่มากมาย
(Pyrolysis) แต่ถ้าเก็บควันในช่วงอุณหภูมิต่ากว่า 300 C แม้ว่า เฮมิเซลลูโลส (Hemicellulose) จะสลายตัว
แล้ว และเซลลูโลสกาลังเริ่มสลายตัว แต่ก็จะมีสารประกอบที่มีประโยชน์น้อยมากไม่สามารถนาไปใช้ประโยชน์
ได้ และถ้าเก็บควันในช่วงอุณหภูมิเกิน 425 น้ามันดินจะสลายตัว เป็นสารก่อมะเร็ง
สมาคมน้าส้มควันไม้แห่งประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเป็นคนกลางในการซื้อขายน้าส้มควันไม้ ได้ตั้งเกณฑ์
มาตรฐานของการเก็ บน้าส้มควันไม้ที่ผลิตจากเตาอิวาเตะ (IWATE) ไว้โดยการวัดอุณหภูมิที่ปากปล่องควัน
ระหว่าง 80 C – 150 C ซึ่งอุณหภูมิภายในเตาจะอยู่ระหว่าง 300 C - 400 C
น้าส้มควันไม้สามารถเก็บได้โดยอาศัยเครื่องมือง่ายๆ โดยอาศัยการถ่ายเทความร้อนจากปล่อง
ดักควันที่มีอุณหภูมิสูง สู่อากาศรอบปล่องดักควันที่มีอุณหภูมิต่ากว่า ความชื้นในควันก็จะควบแน่นเป็นหยดน้า
นามารวบรวมและทาให้บริสุทธิ์ขึ้นก็สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้
จุดสาคัญของการเก็บน้าส้มควันไม้ก็คือ ต้องให้ปล่องดักควันอยู่ห่างจากปากปล่องควันของ
เตาผลิตถ่าน 20 – 30 ซ.ม. หากทั้งสองส่วนเชื่อมต่อกันโดยตรงจะเท่ากับเป็นการต่อความยาวให้กับปล่องควัน
ของเตา ซึ่งมีผลกระทบถึงการไหลเวียนของอากาศภายในเตา ส่งผลถึงคุณภาพและผลิตผลของถ่านไม้ด้วย
อุปกรณ์ที่ใช้ดักน้าส้มควันไม้ต้องทาจากวัสดุทนกรด เช่น เหล็กไร้สนิม (Stainless Steel) ซึ่ง
มีราคาแพง ดังนั้นหากต้องการเก็บน้าส้มควันไม้จากเตาผลิตถ่านที่มีปล่องควันหลายจุด ก็จะต้องลงทุนสูงกว่า
เตาผลิตถ่านที่มีปล่องควันจุดเดียว เช่น เตาอิวาเตะ
ผลิตผลของน้าส้มควันไม้ที่ได้จากการเก็บโดยการระบายความร้อนด้วยอากาศจะได้ประมาณ
8% ของน้าหนักไม้ฟืน เมื่อนาไปผ่านกระบวนการทาให้บริสุทธิ์ก็จะเหลือผลิตผลเพียงประมาณ 5% หาก
ต้องการเพิ่มผลิตผลของน้าส้มควันไม้ สามารถทาได้โดยการนาท่อหล่อเย็นติดตั้งในปล่องดักควันก็จ ะได้ผลิตผล
เพิ่มขึ้น อาจได้ถึง 15% และได้ความร้อนจากสารที่ใช้หล่อเย็นซึ่งอาจใช้น้า หรืออากาศ ก็จะได้น้าร้อน หรือ
อากาศร้อนมาใช้ประโยชน์อย่างอื่นได้

การผลิตถ่านคุณภาพและน้้าส้มควันไม้ 7
การท้าน้้าส้มควันไม้ให้บริสุทธิ์
น้ าส้ ม ควั น ไม้ ที่ไ ด้ จ ากการเก็บ จากเตาผลิ ตถ่ าน ยัง ไม่ ส ามารถน ามาใช้ ป ระโยชน์ไ ด้ทั น ที
เนื่องจากการเปลี่ยนเป็นถ่านไม่ได้เกิดขึ้นพร้อมกันทั้งเตา แต่จะเริ่มที่หน้าเตาด้านบน แล้วแผ่กระจายมายังหลัง
เตาด้านล่าง ดังนั้นควันที่ออกมาจากปล่องควันจึงเป็นควันที่ผสมกันระหว่างควันอุณหภูมิต่าและสูง และเมื่อ
อุ ณ หภู มิ สู ง ถึ ง 310 C ลิ ก นิ น (LIGNIN) ก็ จ ะเริ่ ม สลายตั ว ก็ จ ะมี น้ า มั น ดิ น (TAR) และสารระเหยง่ า ย
(VOLATILE) ปนออกมาด้วย น้ามันดินที่ละลายน้าไม่ได้ (OIL BASE) จะนาไปใช้ประโยชน์ในการเกษตรไม่ได้
เพราะจะไปปิดปากใบของพืช และเกาะติดรากพืช ทาให้พืชเติบโตช้า หรือตายได้
การท้าให้น้าส้มควันไม้บริสุทธิ์ท้าได้ 3 วิธี ได้แก่
1) ปล่อยให้ตกตะกอน โดยนาน้าส้มควันไม้มาเก็บในถังทรงสูง มีความสูงมากกว่าความกว้าง
ประมาณ 3 เท่า โดยทิ้งให้ตกตะกอนประมาณ 90 วัน น้าส้มควันไม้ก็จะตกตะกอน แบ่งเป็น 3 ชั้น
- ชั้นบนสุดจะเป็นน้ามันใส (LIGHT OIL)
- ชั้นกลางเป็นของเหลวใสสีชา คือน้าส้มควันไม้
- ชั้นล่างสุดจะเป็นของเหลวข้นสีดา คือน้ามันดิน
หากนาผงถ่านมาผสมประมาณ 5% โดยน้าหนัก ผงถ่านก็จะดูดซับทั้งน้ามันใส และน้ามันดิน
ให้ตกตะกอนลงสู่ชั้นล่างสุดในเวลาที่เร็วขึ้น เพียงประมาณ 45 วันเท่านั้น ระหว่างการปล่อยให้ตกตะกอน
สารประกอบในน้ าส้ ม ควั น ไม้ จ ะท าปฏิ กิ ริ ย ากั บ ออกซิ เ จน และท าปฏิ กิ ริ ย าซึ่ ง กั น และกั น เปลี่ ย นเป็ น
สารประกอบใหม่ที่มีโมเลกุลยาวขึ้น (POLIMERLIZATION) เช่น ฟอมาดีไฮด์ (FOMADEHYDE) ทาปฏิกิริยา
กับฟีนอล (PHENOL) เปลี่ยนเป็นน้ามันดิน (TAR) แล้วตกตะกอน หรือจับตัวติดแน่นกับผนังของถังเก็บ ดังนั้น
หากนาน้าส้มควันไม้มากรองโดยไม่ตกตะกอนเสียก่อน ก็จะเกิดน้ามันดินใหม่ได้ทั้งๆที่ได้ผ่านการกรองแล้ว
หลังจากตกตะกอนจนครบกาหนดแล้ว นาน้าส้มควันไม้มากรองซ้าอีกครั้งด้วยผ้ากรอง แล้วจึง
นาไปใช้ประโยชน์ได้ น้าส้มควันไม้ที่บริสุทธิ์ต้องมีน้ามันดินไม่เกิน 1% ซึ่งสามารถตรวจสอบได้ง่ายโดยการดู
ความใสหากมีน้ามันดินเกิน 1% น้าส้มควันไม้จะขุ่น และมีสีดา น้าส้มควันไม้ที่ดีจะมีลักษณะใส สีชา หรือสี
น้าตาลแดง แตกต่างกันไปตามชนิดของไม้
2) การกรอง โดยใช้ผ้ากรอง หรือถังกรองที่ใช้ผงถ่านกัมมันต์ ซึ่งจะได้คุณสมบัติแตกต่างกัน
ไป เพราะถ่านกัมมัน ต์จะลดความเป็ นกรดของน้าส้มควันไม้ และจะใช้วิธีนี้เพื่อนาไปเป็นวัตถุดิบในการ
อุตสาหกรรม
3) การกลั่น โดยกลั่นได้ทั้งในความดันบรรยากาศ และกลั่นแบบลดความดันรวมทั้งกลั่นแบบ
ลาดับส่วนเพื่อแยกเฉพาะสารหนึ่งสารใดในน้าส้มควันไม้มาใช้ประโยชน์มักใช้ในอุตสาหกรรมผลิตยา
คุณสมบัติของน้้าส้มควันไม้
น้าส้มควันไม้แตกต่างจากน้าส้มสายชู หรือน้าส้มอื่นๆ ที่ได้จากการหมัก หรือสังเคราะห์อื่นๆ
คือมีสารประกอบหลากหลายกว่า โดยเฉพาะฟีนอล (PHENOL) ซึ่งได้จากการสลายตัวของลิกนิน (LIGNIN)
น้าส้มควันไม้ที่ได้จากไม้ต่างชนิดก็จะมีคุณสมบัติแตกต่างกันด้วย เช่น น้าส้มควันไม้ที่ได้จากไม้ยูคาลิปตัส จะมี
ความเป็นกรดต่าและมีสีใส แต่มีเมทานอล (METHANOL) สูงกว่าไม้กระถินยักษ์ หรือไม้สะเดา

การผลิตถ่านคุณภาพและน้้าส้มควันไม้ 8
น้าส้มควันไม้มีสารประกอบต่างๆ มากกว่า 200 ชนิดซึ่งได้จากการสลายตัวของไม้ด้วยความ
ร้อนเกิดเป็นสารประกอบใหม่หลายชนิด เช่น กรดอินทรีย์และแอลกอฮอล์ชนิดต่างๆได้จากการสลายตัวของเฮ
มิเซลลูโลส และเซลลูโลส ส่วนฟีนอลได้จากการสลายตัวของลิกนิน น้าส้มควันไม้มีสารประกอบที่สาคัญ ได้แก่
น้า ประมาณ 85% กรดอินทรีย์ ประมาณ 3% และสารอินทรีย์อื่นๆอีก 12% มีค่าความเป็นกรด (pH)
ประมาณ 3% ความถ่วงจาเพาะประมาณ 1.012 – 1.024 แตกต่างกันไปตามชนิดของไม้
การใช้ประโยชน์จากน้้าส้มควันไม้
1) ใช้ในอุตสาหกรรม ผลิตสารดับกลิ่นตัว สารปรับผิวนุ่ม ทั้งใช้โดยตรงโดยทางผิวหนัง หรือ
ผสมน้าอาบ ใช้ผลิตสารช่วยย่อย
2) ใช้ในครัวเรือน น้าส้มควันไม้จัดได้ว่าเป็นน้าส้มสารพัดประโยชน์ ที่เหมาะสมจะมีไว้ติด
บ้านสามารถทดแทนการใช้สารเคมีได้ ดังนี้
- ความเข้มข้น 100% รักษาแผลสด น้าร้อน-ไฟลวก รักษาโรคน้ากัดเท้าและเชื้อราที่ผิวหนัง
- ผสมน้า 20 เท่า ราดทาลายปลวก และมด
- ผสมน้า 50 เท่า ป้องกัน ปลวก มด และสัตว์ต่างๆ เช่น ตะขาบ แมงป่อง กิ้งกือ ฯลฯ
- ผสมน้า 100 เท่า ราดโคนต้นไม้รักษาโรครา และโรคเน่า รวมทั้งป้องกันแมลงไม่ให้วางไข่
ฉีดพ่นถังขยะเพื่อป้องกันกลิ่น และแมลงวัน ใช้ดับกลิ่นในห้องน้า ห้องครัว และบริเวณชื้นแฉะ ใช้ดับกลิ่นกรง
สัตว์เลี้ยง ใช้หมักขยะสดและเศษอาหารเป็นปุ๋ยสาหรับไม้ประดับรอบบ้าน โดยต้องผสมน้าอีก 5 - 10 เท่า
หลังจากหมักแล้ว 1 - 3 เดือน
- ผสมน้า 200 เท่า ฉีดพ่นใบไม้เพื่อขับไล่แมลง และป้องกันเชื้อรา และรดโคนต้นเพื่อเร่งการ
เจริญเติบโต
2) ใช้ในการเกษตร น้าส้มควันไม้มีความเข้มข้นสูง มีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อที่รุนแรง เนื่องจากมี
ความเป็นกรดสูง และมีสารประกอบ เช่น เมทานอล และฟีนอล ซึ่งสามารถฆ่าเชื้อได้ดีเมื่อเจือจาง 200 เท่า
จุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์และต่อต้านเชื้อแบคทีเรีย (ANTIBACTERIAL MICROBE) จะเพิ่มปริมาณมากขึ้น
เนื่องจากได้รับสารอาหารจากกรดน้าส้ม (ACITIC ACID) น้าส้มควันไม้จึงสามารถนามาใช้ในการเกษตรได้ดี
เช่น
- ใช้ผสมน้า 20 เท่า พ่นลงดิน เพื่อฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ และแมลงในดิน เช่นโรคเน่าเละจาก
แบคทีเรีย โรคโคนเน่าจากเชื้อรา ไส้เดือนฝอย ฯลฯ ประสิทธิภาพของน้าส้มควันไม้ที่ความเข้มข้นจะเทียบเท่า
การอบฆ่าเชื้อด้วยการรมควัน (FUMIGATION) ควรทาก่อนการเพาะปลูก 10 วัน เพราะน้าส้มควันไม้ ที่รดลง
ดินจะไปทาปฏิกิริยากับสารที่มีฤทธิ์เป็นด่าง เกิดคาร์บอนโมโนออกไซด์ (CO) ซึ่งเป็นพิษต่อพืช แต่เมื่อแก๊ส
คาร์บอนโมโนออกไซด์ทาปฏิกิริยากับออกซิเจนเปลี่ยนเป็นแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO ²) แล้วจึงสามารถ
ปลูกพืชได้ รวมทั้งพืชจะได้รับประโยชน์จาก CO ² ด้วย
- ใช้ผสมน้า 50 เท่า พ่นลงดิน เพื่อฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ที่เข้าทาลายพืชแล้ว หากใช้ความเข้มข้น
มากกว่านี้ รากพืชอาจได้รับอันตรายได้

การผลิตถ่านคุณภาพและน้้าส้มควันไม้ 9
- ใช้ผสมน้า 200 เท่า ความเข้มข้นระดับนี้สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างหลากหลาย เช่นใช้ฉีด
พ่นที่ใบพืช รวมทั้งพื้นดินรอบๆต้นพืชทุกๆ 7 – 15 วัน เพื่อขับไล่แมลง ป้องกันและกาจัดเชื้อรา และกระตุ้น
ความต้านทาน และการเจริ ญเติบ โตของพืช เนื่องจากความเข้มระดับนี้ส ามารถทาลาย ไข่แมลง และฆ่า
จุ ลิ น ทรี ย์ ที่ เ ป็ น โทษต่ อ พื ช เช่ น บาซิ ล ไล ( BACILLI) ที่ ไ ม่ มี ส ปอร์ (SPORE) รวมทั้ ง เชื้ อ ไซโฟมั ย ซี ส
(SYPHOMYCETE) ซึ่งอ่อนแอในสภาวะที่เป็นกรดจะถูกทาลายลงก่อน หลังจากนั้นจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ เช่น
แอคทิโนมัยซีส (ACTINOMYCES) และไตรคอเดอมา (TRICHODEMA) จะเพิ่มจานวนอย่างรวดเร็ว ในพื้นที่ที่มี
การใช้สารเคมีอย่างหนัก และยาวนาน อาจจะไม่เหลือเชื้อจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์อยู่เลย ต้องใช้ปุ๋ยหมักเข้า
ช่วย และหากได้ใส่ถ่านลงไปด้วยก็จะมีประสิทธิภาพดีขึ้นอย่างมากอีกด้วย ห้ามใช้อัตราส่วนเข้มข้นกว่านี้ฉีด
พ่นใบพืช จะทาให้ใบพืชไหม้เนื่องจากความเป็นกรดสูงมากเกินไป อัตราส่วนผสมน้า 200 เท่านี้จึงช่วยทั้ง
ป้องกัน กาจัดโรคและแมลง กระตุ้นความต้านทาน และกระตุ้นความเจริญเติบโตของพืชอีกด้วย อีกทั้งยัง
สามารถนาไปฉีดพ่นที่กองปุ๋ยหมัก เพื่อเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ช่วยย่อยให้เป็นปุ๋ยหมักได้เร็วขึ้น
- ผสมน้า 500 เท่า ฉีดพ่นผลอ่อนของพืชเพื่อช่วยขยายให้ผลโตขึ้น หลังจากติดผลแล้ว 15 วัน
และฉีดพ่นก่อนเก็บเกี่ยว 20 วัน เพื่อเพิ่มน้าตาลในผลไม้อีกด้วย เนื่องจากน้าส้มควันไม้ช่วยการสังเคราะห์
น้าตาลและกรดอะมิโน ดังนั้นจึงเพิ่มทั้งผลิตผล และคุณภาพ
- ใช้ผสมน้า 1,000 เท่า เป็นสารจับใบจะช่วยลดการใช้สารเคมี เนื่องจากสารเคมีสามารถออก
ฤทธิ์ได้ดีในสารละลายที่เป็นกรดอ่อนๆ และสามารถลดการใช้สานเคมีมากกว่าครึ่งจากที่เคยใช้
- ใช้ทาปุ๋ยคุณภาพสูง โดยใช้น้าส้มควันไม้เข้ มข้น 100% หมักกับหอยเชอรี่บด เศษปลา เศษ
เนื้อ หรือกากถั่วเหลือง โดยใช้โปรตีนต่างๆ 1 กิโลกรัม ต่อน้าส้มควันไม้ 2 ลิตร หมักนาน 1 เดือน แล้วกรอง
กากออก เวลาใช้ให้ผสมน้า 200 เท่า
- ใช้หมักกับสมุนไพร เช่น เมล็ดและใบสะเดา หางไหลแดง ข่าแก่ ตะไคร้หอม ฯลฯ เพื่อเพิ่ม
ฤทธิ์ของน้าส้มควันไม้ในการไล่แมลง และป้องกันโรค และสามารถเก็บสารละลายนี้ไว้ได้นานโดยไม่บูดเน่า
3) ใช้ในปศุสัตว์ ใช้ลดกลิ่น และแมลงในฟาร์มปศุสัตว์ โดยการใช้ครั้งแรกควรผสมน้า 100
เท่า หลังจากนั้นเพิ่มเป็นผสมน้า 200 เท่า จะกาจัดกลิ่น และลดจานวนแมลงได้อย่างมีประสิทธิภาพ ใช้ผสม
อาหารสัตว์ เพื่อช่วยการย่อยอาหาร และป้องกันโรคท้องเสีย แต่การให้โดยตรงโดยการผสมน้าสัตว์จะรังเกียจ
กลิ่นควันไฟ ควรนาไปผสมกับผงถ่านเสียก่อน โดยนาน้าส้มควันไม้ 2 ลิตร ผสมกับผงถ่าน 8 กิโลกรัม แล้วนา
ผงถ่านที่ชุ่มด้วยน้าส้มควันไม้นี้ไปผสมอาหารสัตว์ 990 กิโลกรัม ก็จะได้อาหารสัตว์ 1 ตันพอดี ถ่านผสมอาหาร
สัตว์ จะมีคุณสมบัติและประโยชน์ดังนี้
- ช่วยทาให้การย่อย และการใช้ประโยชน์จากอาหารดีขึ้น ทาให้สัตว์โตเร็วกว่าปกติ โดยใช้
อาหารเท่าเดิม หรือใช้อาหารน้อยลง 5% ในเวลาเท่าเดิม
- ช่วยยับยั้งการเกิดแก๊ส และดูดซึมโลหะหนักในกระเพาะอาหาร ทาให้สัตว์สุขภาพดี
- ช่วยป้องกัน และรักษาท้องเสีย
- ช่ว ยปรั บปรุ งคุณภาพ และลดปริมาณน้าในเนื้อสั ตว์ ทาให้คุณภาพของเนื้อสัตว์ดีขึ้นทั้ง
รสชาติ สี และกลิ่น

การผลิตถ่านคุณภาพและน้้าส้มควันไม้ 10
- ช่วยปรับปรุงคุณภาพของไข่ ทาให้ไข่แดงใหญ่ และเหนียวขึ้น ทั้งยังเพิ่มปริมาณวิตามิน และ
ลดคอเลสเตอรอล
- ช่วยเพิ่มปริมาณน้านม
- ช่วยยับยั้งการเกิดแก๊สแอมโมเนีย และซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ทาให้ลดกลิ่นของมูลสัตว์ ซึ่งช่วย
ให้สัตว์ไม่เครียด ทั้งยังเพิ่มคุณภาพของปุ๋ยคอกที่ได้จากมูลสัตว์ให้ดีขึ้นด้วย
- ช่ ว ยยั บ ยั้ ง การฟั ก ไข่ ข องแมลงในมู ล สั ต ว์ ท าให้ ล ดปริ ม าณของแมลงในบริ เ วณฟาร์ ม
โดยเฉพาะแมลงวัน อัตราการใช้ใช้ผสมกับอาหารสัตว์ตามประเภทของสัตว์ ดังนี้
ชนิด อายุ อัตราผสมน้้าส้มควันไม้
เป็ดเนื้อ-ไก่เนื้อ เริ่มเลี้ยง – ขาย 0.7% – 0.8%
เป็ดไข่-ไก่ไข่ ไม่เกิน 100 วัน 0.4%
100 – 150 วัน 0.6%
เกิน 150 วัน 0.8%
หมู เริ่มเลี้ยง – ขาย 0.5% - 0.8%
วัวเนื้อ-วัวนม เริ่มเลี้ยง – ขาย 10% - 1.8%
4. แก๊สจากเตาเผาถ่าน (RETORT GAS)
เมื่อไม้ฟืนสด 1 ตัน ซึ่งมีค่าความร้อน 3,600 กิโลแคลอรี่/กิโลกรัม สลายตัวด้วยความร้อนจะให้
ผลิตผล 3 ชนิด โดยจะมีค่าและปริมาณความร้อน และมีส่วนผสมของแก๊สต่างๆ โดยปริมาตรดังนี้
ชนิด ปริมาณ ค่าความร้อน ปริมาณความร้อน
ถ่านไม้ 250 กิโลกรัม 7,400 กิโลแคอรี่/กิโลกรัม 1,850 ล้านแคอรี่
ของเหลวที่กลั่นตัวได้ 500 กิโลกรัม 2,800 กิโลแคอรี่/กิโลกรัม 1,400 ล้านแคอรี่
แก๊ส 250 กิโลกรัม 1,400 กิโลแคอรี่/กิโลกรัม 350 ล้านแคอรี่

แก๊ส ร้อยละ ส่วนผสม แก๊ส ร้อยละ ส่วนผสม


มีเทน 17 คาร์บอนไดออกไซด์ 38
ไฮโดรเจน 2 ออกซิเจน 2
คาร์บอนโมโนออกไซด์ 23 ไนโตรเจน 18
การนาแก๊สไปใช้ประโยชน์ จะต้องมีอุปกรณ์ดักน้ามันดินที่อาจติดออกมาด้วย เพราะจะทาให้
ท่อส่งแก๊สอุดตันได้ โดยนาไปเป็นเชื้อเพลิงสาหรับต้นกาเนิดพลังงานอื่นๆ เช่น เครื่องกาเนิดไอน้าและเครื่อง
กาเนิดไฟฟ้า เป็นต้น แต่ต้นกาเนิดพลังงานนั้นต้องอยู่ในบริเวณเดียวกับเตาผลิตถ่านเพื่อรักษาอุณหภูมิให้ร้อน
อยู่เสมอ มิฉะนั้นจะจุดติดไฟยาก หากนาควันทั้งหมดโดยไม่มีการแยกน้าส้มควันไม้ และน้ามันดินออกจากควัน
มาเป็นเชื้อเพลิงพร้อมแก๊สนี้ จะได้ปริมาณความร้อนเพิ่มเป็น 2 เท่า แต่อุปกรณ์ที่ใช้จะต้องทนกรดได้
การนาแก๊สมาใช้ประโยชน์นี้ มักกระทากันในเตาผลิตถ่านไม้ในระบบอุตสาหกรรม โดยเตา
ผลิตถ่านไม้เป็นเตาที่มีระบบผลิตอย่างต่อเนื่อง แต่สามารถนามาประยุกต์ใช้กับเตาผลิตถ่านแบบดั้งเดิม เช่นเตา
ทรงโดม หรือเตาอิวาเตะ โดยตั้งเตาเรียงเป็นหมู่ให้ครบจานวนรอบการผลิต เช่น ถ้าใช้เวลาในการผลิตครั้งละ 7
วัน ก็ต้องมี 7 เตา เป็นอย่างน้อย ทั้งนี้เพื่อต้องการให้มีแก๊สในปริมาณคงที่ตลอดเวลา โดยแก๊สที่จะนามาใช้งาน
ได้จะอยู่ในขั้นตอนที่ไม้เปลี่ยนเป็นถ่านไม้ และขั้นตอนทาให้ถ่านไม้บริสุทธิ์เท่านั้น
การนาควันมาใช้ประโยชน์ ทั้งการเก็บน้าส้มควันไม้ และนาแก๊สที่เหลือมาใช้เป็นเชื้อเพลิง
นอกจากจะทาให้มีรายได้เพิ่มแล้วยังลดมลพิษที่เกิดจากควันอีกด้วย

การผลิตถ่านคุณภาพและน้้าส้มควันไม้ 11

You might also like