เกวลิณ - law6105 Take Home Cptpp

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 3

นางสาวเกวลิณ กิจเที/ยงธรรม 6524011214

งาน Take Home


รายวิชา LAW 6105 กฎหมายเกีย> วกับทรัพย์ สินทางปัญญา
หลักสู ตรนิตศิ าสตร์ มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง

“ประโยชน์ จากการค้ าระหว่ างประเทศจะเกิดขึ:นสู งสุ ดเมื@อประเทศต่ าง ๆ ผลิตสิ นค้ าที@ตนมีต้นทุน


ในการผลิตตํ@าทีส@ ุ ดเมื@อเปรี ยบเทียบกับประเทศอื@น ๆ แล้ วนําสินค้ าเหล่ านั:นมาค้ าขายแลกเปลีย@ นกัน” เป็ นแนวคิด
ที-สาํ คัญในทางทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ หากแต่ปัจจุบนั ในทางปฏิบตั ินD นั ประโยชน์สูงสุ ดดังกล่าวจะไม่เกิดขึDนเลย
หากยังมีการเก็บภาษีขาเข้าและมีการใช้มาตรการกีดกันทางการค้าต่าง ๆ ระหว่างกันของประเทศที-พฒั นาแล้ว
กับประเทศที- กาํ ลังพัฒนาหรื อประเทศด้อยพัฒนา ซึ- งจะส่ งผลทําให้ราคาที- แท้จริ งของสิ นค้าไม่เป็ นไปตาม
ความเป็ นจริ งอย่างที-ควรจะเป็ น และทําให้การค้าขายไม่เป็ นไปอย่างเสรี และมีประสิ ทธิภาพ
ด้ว ยเหตุ นD ี แนวคิ ด เกี- ย วกับ ความตกลงเขตการค้า เสรี (Free Trade Area Agreement. : FTA) จึ ง เป็ น
แนวคิดที-สาํ คัญในทางการค้าระหว่างประเทศซึ-งเป็ นการเจรจาแบบสองฝ่ าย โดยให้ประเทศหนึ-งเลือกผลิตสิ นค้า
ที-ตนเองถนัด และมีตน้ ทุนการผลิตตํ-าที-สุด กล่าวคือผลิตสิ นค้าที-คาดว่าประเทศตนได้เปรี ยบเชิ งเปรี ยบเทียบ
(Comparative Advantage) มากที- สุ ด แล้ว นํา สิ น ค้า ที- ผ ลิ ต ได้นD ี ไปแลกเปลี- ย นกับ สิ น ค้า ที- ป ระเทศตนไม่ ถ นัด
หรื อเสี ยเปรี ยบ โดยแลกเปลี-ยนสิ นค้ากับประเทศอื-นที-ผลิตสิ นค้าแล้วได้เปรี ยบ ดังนัDน ประเทศทัDงสองก็จะทํา
การค้าต่อกันได้ โดยต่างฝ่ ายต่างสมประโยชน์กนั (Win-Win Situation) สามารถใช้เพื-อขยายโอกาสในการค้า
สร้างพันธมิตรทางเศรษฐกิจ และเพิ-มความสามารถในการแข่งขันด้านราคาให้แก่สินค้าของตน เนื- องจากสิ นค้า
ที-ผลิตใน FTA จะถูกเก็บภาษีขาเข้าในอัตราที-ต-าํ กว่าสิ นค้าที-ผลิตในประเทศอื-น ๆ ที-ไม่ใช่สมาชิก FTA จึงทําให้
สิ นค้าที-ผลิตภายในกลุ่มได้เปรี ยบในด้านราคากว่าสิ นค้าจากประเทศนอกกลุ่ม
ในขณะเดี ยวกัน ปั จจุ บนั การค้าระหว่างประเทศที- เกี- ยวกับทรั พย์สินทางปั ญญาเป็ นหนึ- งในการค้า
ที- ป ระเทศพัฒ นาแล้ว ให้ค วามสํา คัญ และมุ่ ง ที- จ ะทํา การคุ ม้ ครองเพื- อ ประโยชน์ ใ นทางเศรษฐกิ จ เนื- อ งจาก
นวัตกรรมของประเทศเหล่านัDนมีการพัฒนาเป็ นอย่างมากอันจะทําให้เกิดการสร้างสรรค์ผลงานที-หลากหลาย
และแปลกใหม่ เป็ นที- ดึงดู ดต่ อผูบ้ ริ โภค ทําให้เกิ ดโครงสร้ างตลาดที- มีการแข่งขันทางการค้า (Competitive
Market) มี การพัฒนาตลาดและเครื อข่ายการกระจายสิ นค้า การคุ ม้ ครองจึ งเป็ นสิ- งจําเป็ นที- จะเป็ นการสร้ าง
ความมัน- ใจและความน่ า เชื- อ ถื อ ต่ อ ผูบ้ ริ โ ภค กล่ า วได้ว่า เป็ นการคุ ม้ ครองการใช้ป ระโยชน์ จ ากนวัต กรรม
เพื-อส่ งเสริ มการลงทุนจากชาวต่างชาติและเป็ นการส่ งเสริ มการค้าเสรี ระหว่างประเทศ
ดังนัDน เมื-อการคุม้ ครองทรัพย์สินทางปั ญญามีความสําคัญในทางการตลาดที-จะเป็ นการส่ งเสริ มการค้า
เสรี ระหว่างประเทศซึ- งจะเป็ นผลประโยชน์ของประเทศที-พฒั นาแล้วที-มีความพร้อมที-จะใช้องค์ความรู ้ของตน
ในการสร้างนวัตกรรมใหม่เพื-อขับเคลื-อนการค้าระหว่างประเทศตามความตกลงเขตการค้าเสรี ประเทศที-พฒั นา
แล้วจึงผลักดันให้มีมาตรการบังคับหรื อระเบียบแบบแผนใด ๆที-จะใช้คุม้ ครองทรัพย์สินทางปั ญญา โดยอ้างว่า
กฎเกณฑ์ที-เกี-ยวกับการคุม้ ครองเรื- องดังกล่าวในความตกลงระหว่างประเทศมีอยูไ่ ม่เพียงพอ จึงเกิดการผลักดัน
ความตกลงในทางทรั พย์สินทางปั ญญาอยู่มากมาย หนึ- งในนัDนคื อ CPTPP (Comprehensive and Progressive
Agreement for Trans Pacific - Partnership)
นางสาวเกวลิณ กิจเที/ยงธรรม 6524011214

CPTPP (Comprehensive and Progressive Agreement for Trans Pacific - Partnership) ถื อเป็ นหนึ- ง
ในความตกลงระหว่ า งประเทศของ FTA สมัย ใหม่ ที- มิ ไ ด้มี เ พี ย งข้อ ตกลงคลอบคลุ ม มากกว่ า ด้า นการค้า
การลงทุ น แต่ ข ยายขอบเขตไปถึ ง ภาคบริ ก าร การจัด ซืD อ จัด จ้า งภาครั ฐ การคุ ้ม ครองทรั พ ย์สิ น ทางปั ญ ญา
(เช่น สมาชิกต้องเข้าร่ วมอนุสัญญาระหว่างประเทศเพื-อการคุม้ ครองพันธุ์พืชใหม่ หรื อ International Union for
the Protection of New Varieties of Plants (UPOV) 1991 รวมทัDงต้องมีการเชื-อมโยงระบบแจ้งเตือนสิ ทธิ บตั รยา)
หรื อ แม้แ ต่ ก ารคุ ้ม ครองสิ ท ธิ แ รงงาน ตามอนุ สั ญ ญาขององค์ก ารแรงงานระหว่า งประเทศ (ILO) ซึ- งเป็ น
มาตรฐานที- สู ง กว่ า FTA ที- ไ ทยได้ร่ ว มลงนามทัDง หมด และเป็ นข้อ ตกลงพหุ ภ าคี ที- ค รอบคลุ ม ตลาดขนาด
ใหญ่ ปั จจุบนั มีสมาชิก †† ประเทศ โดยประเทศไทยมิได้เป็ นสมาชิก
หากจะพิ จ ารณาถึ ง ข้อ ดี ข ้อ เสี ย ของการเป็ นสมาชิ ก ของประเทศไทยจะมี ป ระเด็ น ที- น่ า สนใจ
อยู่หลายประเด็นหนึ- งในนัDนคื อการคุ ม้ ครองทรั พย์สินทางปั ญญาในทางการเกษตร เนื- องจากประเทศไทย
เป็ นประเทศเกษตรกรรมมานับ แต่ อ ดี ต จนถึ ง ปั จ จุ บ นั มี ค วามผูก พัน กับ การประกอบอาชี พ ทางการเกษตร
หรื อเกษตรกร มีวิถีชีวิตและจารี ตประเพณี ที-เกี-ยวพันกับทรัพยากรธรรมชาติและการเพาะปลูก ทําให้เศรษฐกิจ
ส่ ง ออกหลัก ของประเทศไทยมัก จะเป็ นการส่ ง ออกทางการเกษตร ดัง นัDน ทุ ก สิ- ง ทุ ก อย่า งที- ส่ ง ผลกระทบ
หรื อเกี-ยวข้องกับการเกษตรก็ยอ่ มมีผลต่อประเทศไทยไปด้วย
ในการนีD จึงพิจารณาถึงประเทศเกษตรกรรมกับการเป็ นสมาชิ ก CPTPP ภายใต้บริ บทการค้าระหว่าง
ประเทศในระบบตลาดการค้า เสรี ที- เ น้ น จํา นวนเชิ ง ปริ มาณในการผลิ ต เพื- อ ส่ ง ออกเป็ นหลัก ตามหลัก
วิทยาศาสตร์ แล้วการปลูกพืชด้วยเมล็ดพันธุ์หรื อการปรั บปรุ งพันธุ์พืชด้วยเทคโนโลยีเป็ นวิธีการที- ทาํ ให้ได้
ผลผลิ ต มากและได้คุ ณ ภาพเป็ นไปตามที- ต ้อ งการ ด้ว ยเหตุ นD ี เมล็ด พัน ธุ์ แ ละพัน ธุ์ พื ช จึ ง เป็ นปั จ จัย ในทาง
เกษตรกรรมภายใต้ตลาดค้าเสรี ที-สาํ คัญ การแย่งชิงในตัวเมล็ดพันธุ์หรื อพันธุ์พืชจึงเกิดขึDนในปั จจุบนั
เมื- อ มี ก ารแย่ง ชิ ง และมี ก ารพัฒ นาเมล็ ด พัน ธุ์ ห รื อ พัน ธุ์ พื ช แนวคิ ด ที- มี ค วามต้อ งการเป็ นเจ้า ของ
และต้องการคุม้ ครองสิ- งที-ตนเองผลิตคิดค้นและพัฒนาจึงเกิดขึDน กล่าวคือเป็ นแนวคิดในการคุม้ ครองทรัพย์สิน
ทางปั ญญาในทางการพัฒนาเมล็ดพันธุ์ และพันธุ์ พืช การคุ ม้ ครองลักษณะนีD จึงเป็ นการคุ ม้ ครองที- ส่งผลต่ อ
โครงสร้างของกรรมสิ ทธิ‡ ในตัวเมล็ดพันธุ์และพันธุ์พืชที-เดิมเป็ นสิ ทธิ ของเกษตรกรซึ- งเป็ นสิ ทธิ ตามธรรมชาติ
ที-มีอยูต่ ามวิถีชีวติ และประเพณี ในการธํารงและปกป้องวิถีชีวติ ของตนเอง รวมทัDงได้รับผลประโยชน์จากวิถีชีวิต
ของตนเอง เพื-อถ่วงดุลระหว่างสิ ทธิ นักปรับปรุ งพันธุ์พืชในประเทศอุตสาหกรรมที-ตอ้ งการปกป้ องพันธุ์พืช
ของตนที-ได้รับการปรับปรุ งด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่นD นั จะได้รับผลกระทบเป็ นอย่างมากสําหรับการนีD
โดยแนวคิดการคุม้ ครองทรัพย์สินทางปั ญญาในเมล็ดพันธุ์และพันธุ์พืชนัDนเป็ นผลประโยชน์ในด้าน
ธุ ร กิ จ ทางการเกษตรที- ป ระเทศอุ ต สาหกรรม (ประเทศที- พ ฒ ั นาแล้ว ) ได้เ ปรี ย บในการมี น วัต กรรมสํา หรั บ
การพัฒ นาเมล็ด พัน ธุ์ ห รื อ พัน ธุ์ พื ช หากแนวคิ ด นีD บรรลุ ผ ล สิ- ง ที- ต ามมาคื อ การแปรสภาพของโครงสร้ า ง
กรรมสิ ทธิ‡ ในเมล็ดพันธุ์หรื อพันธุ์พืชจากสมบัติของสาธารณะเป็ นทรัพย์สินของปั จเจกชน (Private Property)
ที- ถื อ ได้ว่ า เป็ นการคุ ก คามของระบบทรั พ ย์สิ น ทางปั ญ ญาที- คุ ก คามทรั พ ยากรตามธรรมชาติ ผ่ า นกลไก
การคุม้ ครองพันธุ์พืชใหม่ซ- ึ งสอดคล้องกับการรองรับสิ ทธิ นกั ปรับปรุ งพันธุ์พืช สิ ทธิ เกษตรกรซึ- งเป็ นสิ ทธิ ตาม
ธรรมชาติ จึงถูกลิดรอน บิ ดเบื อนไปจากที- เคยมีอยู่ตามวิถีชีวิตและจารี ตประเพณี ที-ตนเองมีอยู่ตามธรรมชาติ
นางสาวเกวลิณ กิจเที/ยงธรรม 6524011214

และผิดไปจากหลักกฎหมายว่าด้วยการคุม้ ครองทรัพยากรพันธุ์พืช ภาคการเกษตรจึงถูกครอบงําด้วยภาคธุ รกิจ


วิถีชีวิตเกษตรกรก็จะเปลี- ยนไป ความหลากหลายทางธรรมชาติ ก็จะไม่ได้รับการอนุ รักษ์อย่างที- ควรจะเป็ น
ดังนัDน หากประเทศเกษตรกรรมอยู่ภายใต้ความตกลงนีD ผลเสี ยที-จะเกิ ดขึDนก็จะเป็ นไปอย่างที-ได้กล่าวข้างต้น
ในส่ วนของผลดีกจ็ ะดีในแง่ของการได้รับความคุม้ ครองผลผลิตทางความคิด หากประเทศนัDน ๆ ได้มีการพัฒนา
พันธุ์พืชและเมล็ดพันธุ์ขD ึนมา การลอกเลียนแบบหรื อการนําไปทําซํDาอันเป็ นการละเมิดสิ ทธิในฐานะนักปรับปรุ ง
พันธุ์พืช เพื-อหาผลประโยชน์ในอย่างเดี ยวกันก็จะเกิ ดขึD นได้ยากมากยิ-งขึD น การพิจารณาถึ งผลดี และผลเสี ย
ของการเป็ นประเทศสมาชิกของ CPTPP ในประเทศเกษตรกรรมจึงควรพิจารณาเป็ นพิเศษว่าสุ ดท้ายแล้วจะเป็ น
ประโยชน์กบั ประเทศของตนจริ ง ๆ หรื อไม่ อย่างไร เพราะบริ บทของแต่ละประเทศย่อมมีความแตกต่างกันไป
ยากที-จะเอาอย่างกัน

You might also like