สรุป

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 7

ความรู้เกี่ยวกับสํานักงานป้องกับควบคุมโรคที่ 12 สงขลา

“ประชาชนในพื้นที่เขต 12 ได้รับการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพระดับมาตรฐานสากล ภายในปี 2580”

2. การป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพระดับมาตรฐานสากล
หมายถึง

- ทบทวน → วันที่ 16 ก.พ. 64


 ระบบการป้ อ งกั น ควบคุ ม โรคที่ มี ส มรรถนะได้ ต าม
- แผนปฏิ บั ติ ก าร สคร.12 สงขลา (พ.ศ. 64-68) ฉบั บ
ตัวชี้วัดมาตรฐานสากลที่องค์กรระดับนานาชาติเป็นผู้
ปรับปรุง พ.ศ.64
กําหนด
- ปรั บ วิ สั ย ทั ศ น์ ข องหน่ ว ยงานใหม่ เ พื่ อ ให้
 หรื อ สามารถปฏิ บั ติ ง านตามเป้ า หมายที่อ งค์ ก รระดั บ
วิสัยทัศน์ คือ “ประชาชนในพื้นที่เขต 12 ได้รับการ
นานาชาติกําหนด เช่น
ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพระดับมาตรฐานสากล ภายใน
ปี 2580”
โดยยึดหลัก  มาตรฐาน ISO
 การพั ฒ นาคุ ณ ภาพการบริ ห ารจั ด การภาครั ฐ
(PMQA)

1. ประชาชนในพื้นที่เขต 12  หลัก เกณฑ์คุณธรรมและความโปร่งใส (ITA)

ได้รับการป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพ เป็นต้น

หมายถึง
 ประชาชนมีสุขภาพดี โดยมีความเสี่ยงต่อโรคและ
ภัยสุขภาพลดลง
1. องค์ ค วามรู้ รู ป แบบ และบริ ก ารด้ า นการเฝ้ า ระวั ง
 ลด ป่วย พิการ ตายจากโรคและภัยที่ป้องกันได้
ป้ อ งกั น ควบคุ ม โรค และภั ย สุ ข ภาพที่ มี คุ ณ ภาพ ได้
มาตรฐาน และเหมาะสมบริบทพื้นที่

2. สคร.12 สงขลา และเครื อ ข่ า ยมี ร ะบบจั ด การภาวะ


ฉุ ก เฉิ นด้ า นสาธารณสุ ข ได้ ต ามมาตรฐานสากล และ
สามารถตอบโต้ภาวะฉุกเฉินได้อย่างมีประสิทธิภาพ

3. เครือข่าย และประชาชนสามารถนําองค์ความรู้ด้านการ
เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพไปใช้ใน
การดําเนินงานในพื้นทีไ่ ด้อย่างมีประสิทธิภาพ
ค่านิยม
4. เครือข่ายมีศักยภาพและระบบกลไกที่เ ป็นมาตรฐาน
ในการดําเนินงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัย เป็นนายตนเอง หมั่นฝึกฝนตนเองให้มีศักยภาพ
เร่งสร้างสิ่งใหม่ สร้างสรรค์นวัตกรรม/สิ่งใหม่
สุขภาพ
ใส่ใจประชาชน ยึดประชาชนเป็น
5. สคร.12 สงขลา สามารถเฝ้ า ระวั ง ป้ องกั น ควบคุ มโรค
ศูนย์กลาง
และภัยสุขภาพระหว่างประเทศ ถ่อมตนอ่อนน้อม มีสัมมาคารวะมีนํ้าใจ ให้อภัย

พันธกิจ สํานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา


1.ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และพัฒนารูปแบบเทคโนโลยีนโยบาย มาตรการ ด้านการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค
และภัยสุขภาพที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน และเหมาะสมบริบทพื้นที่
2.พัฒนาความเข้มแข็งของระบบจัดการภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขที่ได้มาตรฐานสากล
3.เสริมสร้าง ประสานความร่วมมือ และถ่ายทอดองค์ความรู้และให้บริการเฉพาะด้านการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุม
โรค และภัยสุขภาพให้แก่เครือข่าย และประชาชน
4.พัฒนาและประเมินศัก ยภาพระบบกลไกของเครือข่ายการดําเนินงานเฝ้า ระวังป้องกันควบคุม โรคและภัย
สุขภาพ
5.เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพระหว่างประเทศ

กลยุทธ์ :

1. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และพัฒนารูปแบบเทคโนโลยีนโยบาย 1) พัฒนาสมรรถนะของระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขตาม


เกณฑ์ของกฎอนามัยระหว่างประเทศ
มาตรการ ด้านการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพ
2) บริหารจัดการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขในระดับเขต ระดับ
เป้าหมาย : ลดความชุก อุบัติการณ์และความพิการจากการเจ็บป่วย จังหวัด ระดับท้องถิ่น
และการเสียชีวิตจากโรคและภัยสุขภาพที่สามารถป้องกันควบคุมได้ 3) พัฒนาศักยภาพช่องทางเข้าออกประเทศ และจังหวัดชายแดนตาม
ข้อกําหนดของกฎอนามัยระหว่างประเทศ และ พรบ.โรคติดต่อ พ.
กลยุทธ์ ศ.2558

1) พัฒนานโยบาย มาตรการด้านการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค และ 4) พัฒนา และรักษาคุณภาพห้องปฏิบัติการตามมาตรฐานสากล

ภัยสุขภาพเหมาะสมกับบริบทพื้นที่
3. เสริ ม สร้ า ง ประสานความร่ ว มมื อ และถ่ า ยทอดองค์ ค วามรู้
2) พัฒนาระบบกลไกการพัฒนานวัตกรรม และวิจัยด้านการเฝ้าระวัง
และให้บริการเฉพาะด้านการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค และ
ป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพที่มีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล
ภัยสุขภาพให้แก่เครือข่าย และประชาชน

2. พั ฒ นาความเข้ ม แข็ ง ของระบบจั ด การภาวะฉุ ก เฉิ น ด้ า น เป้าหมาย : เครือข่าย และประชาชนสามารถนําองค์ความรู้ด้านการเฝ้า


สาธารณสุข ระวัง ป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพไปใช้ในการดําเนินงานในพื้นที่

เป้าหมาย : สคร.12 และเครือข่ายมีระบบจัดการภาวะฉุกเฉินด้าน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สาธารณสุขได้ตามาตรฐานสากล และสามารถตอบโต้ภาวะฉุกเฉินได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
กลยุทธ์
1) พัฒนา และถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุม
โรค และภัยสุขภาพไปใช้ในการดําเนินงานในพื้นที่ ผู้อํานวยการ
2) ประเมิน และรับรองการดําเนินงานของเครือข่ายให้ได้มาตรฐาน  นายแพทย์เฉลิมพล โอสถพรมมา
ตามที่กรมควบคุมโรคกําหนด รองผู้อํานวยการ
3) พัฒนาระบบการสื่อสารความเสี่ยงด้านการป้องกัน ควบคุมโรคและ
 นางสวรรยา จันทูตานนท์
ภัยสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ
 นายปฐมพร พริกชู
4) พัฒนาระบบการให้บริการเฉพาะ และพัฒนาศูนย์สาธิตบริการ
ผู้ช่วยผู้อํานวยการ
ด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่สําคัญของพื้นที่ที่มี
 นายธีร์ธวัช ศรีเพ็ชรสัย
คุณภาพ

4. ยกระดับโครงสร้างพื้นฐานและการบริหารจัดการองค์กร
เป้าหมาย : สคร.12 มีโครงสร้างพื้นฐานและการบริหารจัดการองค์กรที่
มีประสิทธิภาพ

กลยุทธ์ :
1) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการดําเนินงาน
2) พัฒนาระบบบริหารจัดการองค์กร สู่ระบบราชการ 4.0
3) พัฒนาระบบฐานข้อมูล และสนับสนุนให้มีการนําเทคโนโลยี
สารสนเทศมาสนับสนุนการดําเนินงาน
4) พัฒนาสู่การเป็นองค์กรแห่งความรอบรู้ด้านสุขภาพ

5. พัฒนาสมรรถนะบุคลากรด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัย
สุขภาพ
เป้าหมาย : บุคลากรของ สคร.12 และเครือข่าย มีความเชี่ยวชาญด้าน
การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ และสมรรถนะเฉพาะด้าน

กลยุทธ์ :
1) พัฒนาระบบการจัดการทรัพยากรบุคคลที่มีประสิทธิภาพ
(โครงสร้าง อัตรากําลัง ภาระงาน และเส้นทางอาชีพ)
2) พัฒนาระบบการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรเพื่อยกระดับสู่ความ
เป็นมืออาชีพ
3) พัฒนาศูนย์ฝึกอบรมนักระบาดวิทยาภาคสนาม (FETC)
พ.ร.บ ข้อมูลข่าวสาร พ.ศ.2540

3.กลุ่มบุคคล+นิติบุคคล
4. จนท.รัฐ (ถูกกระทบเท่านั้น)

พ.ศ.2535 → อานันท์ ปัญยารชุน


↓ สิทธิของ ปชช.
ยกร่าง

สิทธิในการได้รับรู้
พ.ศ.2540 → ชวลิต ยงใจยุทธ
ที่เกี่ยวกับการดําเนินงานต่างๆ ด้วยวิธีการ

1.สิทธิที่ต้องรู้ข้อมูลข่าวสาร ที่หน่วยงานของรัฐต้องนําลงในกิจจา
ส่งร่าง→ผู้แทน + มติเห็นชอบ 23 ก.ค. 40
↓ 2.สิ ท ธิ ต รวจดู ข้ อ งมู ล ข่ า วสารที่ ห น่ ว ยงานของรั ฐ ต้ อ งจั ด ไว้ ใ ห้
ประกาศกิจจา 10 ก.ย. 40 ปชช. ตรวจดูได้โดยสะดวก (เรียกว่า ข้อมูลข่าวสารสาธารณะ)

3.สิ ท ธิ ใ นการขอข้ อ มู ล ข่ า วสารเป็ น การเฉพาะราย โดยไม่
บังคับใช้ 9 ธ.ค.40 พ้น 90 วันหลังประกาศกิจ
จําเป็นต้องมีส่วนได้เสีย

ให้ไว้ → 2 ก.ย.40
สิทธิการร้องเรียน (ม.13)
1.ไม่จัดพิมพ์ข้อมูลข่าวสารในกิจจา (ม.7)
เจตนารมณ์
2.ไม่จัดข้อมูลข่าวสารไว้ให้ปชช.ตรวจดู (ม.9)
3.ไม่จัดหาข้อมูลให้ตามคําขอ (ม.11)
1. ให้ ปชช. ได้รับรู้ ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดําเนินการต่างๆ
4.ปฎิบัติงานล่าช้า
ของรัฐ
5.ฝ่าฝืนไม่ปฎิบัติตาม กม.นี้
2. กําหนดหลักเกณฑ์ที่ชัดเจนเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารที่หน่วยงาน

รัฐไม่ต้องเปิดเผยหรืออาจไม่เปิดเผย
ร้องเรียนต่อคณะกรรมการ
3. คุ้ มครองข้ อ มู ล ข่ า วสารส่ ว นบุ คคลที่ อ ยู่ นความครอบครองของ
เว้นเกี่ยวกับ
หน่วยงานรัฐ
1. คําสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูล (ม.15)
2. คําสั่งไม่รับฟังคําคัดค้าน(ม.17)
หลักการของ พรบ.
3. คําสั่งแก้ไขเปลี่ยนแปลง/ลบข้อมูงข่าวสารส่วนบุคคล(ม.25)
- ไม่จําเป็นต้องมีส่วนได้เสีย → ม.9 ว.4
พิจารณาให้เสร็จ 30 วัน → ขยายได้ รวมไม่เกิน 60 วัน
- เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น
- ให้ความคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล สิทธิร้องเรียน (ม.33)
ผู้ทรงสิทธิตาม พรบ. *กรณีหน่วยงานของรัฐปฎิเสธว่าไม่มีข้อมูลตามที่ขอ และผู้ขอไม่
1.ปชช.ชาวไทย เชื่อว่าเป็นความจริง
2.ต่างด้าวถิ่นไทย
สิทธิคัดค้านการเปิดเผยข้อมูล (ม.17)
หากเห็นว่าข้อมูลข่าวสารนั้น กระทบประโยชน์ได้เสีย


จนท.รัฐแจ้งผู้นั้นเสนอ

คัดค้านในเวลากําหนด ให้เวลาเสนอคัดค้านได้ ไม่น้อยกว่า 15
วัน นับแต่รับแจ้ง

จนท.พิจารณาคําคัดค้าน + แจ้งผล ไม่ชักช้า

ไม่รับฟังคําคัดค้า น → ห้ามเผยแพร่จนกว่าล่วงพ้น ระยะเวลา
องค์กรตาม พรบ.
อุทธรณ์ 15 วัน / คณะกรรมการนิจฉัยให้เปิดได้
1. คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ (กขร.)
สิทธิได้รับการคุ้มครองและแก้ไขข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล
2. คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร (กวฉ.)
1)สิทธิในการขอข้อมูลข่าวสารของตนเอง เช่น ข้อมูลประวัติการ
ทํางาน กพ7. หรือตรวจสอบประวัติอาชญากร เป็นต้น 3. สํานักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ
2)หน่ ว ยงานของรั ฐ จะเปิ ดเผยข้ อ มู ลข่ า วสารส่ วนบุ คคลโดยไม่
ได้รับความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลมิได้
3)หากเจ้ า ของข้ อ มู ล เห็ น ว่ า ข้ อ มู ล ข่ า วสารส่ ว นบุ ค คลไม่ ถู ก ต้ อ ง
สามารถร้องขอ แก้ไขเปลี่ยนแปลง หรือลบได้

สิทธิค้นคว้าเอกสาร ปวศ.
ข้ อ มู ล ข่ า วสารที่ ห น่ ว ยงายรั ฐ ไม่ ป ระสงค์ เ ก็ บ รั ก ษา / อายุ ก รม
กํ า หนด (20 /75 ปี ) ส่ ง หอจดหมายเหตุ กรมศิ ล ปากร /
หน่วยงานอื่นที่กําหนดใน พ.ร.ฎ
อํานาจหน้าที่ กขร.
1. สอดส่องดูแล แนะนําการปฎิบัติตาม พ.ร.บ หน้าที่ คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ
2. ให้คําปรึกษาแก่ จนท.รัฐ/หน่วยงานรัฐตามที่รับคําขอ 1. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานธุรการ และวิชาการแก่ กขร. กวฉ.
3. เสนอการตรา พรฎ./กฎกระทรวง/ระเบียบ 2. ประสานงานกับหน่วยงานรัฐ
4. พิจารณา+ให้ความเห็นเรื่องร้องเรียนตาม ม.13 3. ให้คําปรึกษาเอกชนเกี่ยวกับการปฎิบัติตาม พรบ.นี้
5. จัดทํารายงานการปฎิบัติตาม พรบ. เสนอ ครม. อย่างน้อยปี
ละ 1 ครั้ง
6. ดําเนินการตามที่ ครม. หรือ นรม. มอบหมาย ท.28
7. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กําหนดใน พรบ. นี้

หลักการคุ้มครองข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล


ปกปิดเป็นหลัก เปิดเผยเป็นข้อยกเว้น

อํานาจหน้าที่ กวฉ.
1. พิจารณาเรื่องอุทธรณ์
 คําสั่งไม่เปิดเผยข้อมูล ม.14,15
 คําสั่งไม่รับฟังคําคัดค้าน ม.17
 คําสั่งไม่แก้ไขเปลี่ยนแปลง หรือ ลบข้อมูลข่าวสารส่วน
บุคคล ม.25
2. เ รี ย ก บุ ค ค ล ม า ใ ห้ ถ่ อ ย คํ า ห รื อ ส่ ง วั ต ถุ เ อ ก ส า ร ห รื อ
พยานหลักฐานมาประกอบการพิจารณา ม.32
3. การฝ่าฝืน ม.32 → เรียกบุคคล/ให้ส่งเอกสาร
4. มีโทษตาม ม.40 → จํา 3 เดือน ปรับ 5000
หมวด 1 การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร

การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารเป็นการทั่วไป ม.7 (ข้อมูลต้องรู้)

ต้องพิมพ์ลงในกิจจา
1. โครงสร้างและการจัดองค์กรในการดําเนินงาน
2. สรุปอํานาจหน้าที่ที่สําคัญและวิธีดําเนินงาน

You might also like