คู่มือการบริการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 80

คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

คู่มือการบรการ
ิ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

ส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ
กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม

AA

สำสำ�นั
นักก หอสมุ
หอสมุ ดด
แห่แห่ งชาติ
งชาติ
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

คู่มือการบรการ
ิ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

พิมพ์ครัง้ แรก มกราคม พุทธศักราช 2565 จ�ำนวน 200 เล่ม


ลิขสิทธิข์ องส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร

ข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาติ

กรมศิลปากร, สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์. -- กรุงเทพฯ:
สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร, 2565.
80 หน้า.

1. เลขมาตรฐานวารสารสากล. 2. เลขมาตรฐานหนังสือสากล.
3. พระราชบัญญัติจดแจ้งการพิมพ์ พ.ศ. 2550. I ชือ
่ เรอื่ ง.
025.3
ISBN (e-book) 978-616-283-619-0

ที่ปรกษา

อธิบดีกรมศิลปากร (นายกิตติพันธ์ พานสุวรรณ)
รองอธิบดีกรมศิลปากร (นายพนมบุตร จันทรโชติ)
ผู้อ�ำนวยการส�ำนักบร ิหารกลาง (นางรักชนก โคจรานนท์)
ผู้อ�ำนวยการส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ (นางสาววาสนา งามดวงใจ)
นางสาวพิมพ์พรรณ ไพบูลย์หวังเจร ิญ นักอักษรศาสตร์ทรงคุณวุฒิ

คณะผู้จด
ั ท�ำ
นางสาวปุณณภา สุขสาคร ว่าทีเ่ ร ืออากาศตร ี สิร ิพงษ์ มุกด์มณี
นางสาวว ิภานันท์ ล�ำงาม นางสาวสุวลักษณ์ แดงศร ี
นางสาวพรยุภา นันทพรกรกุล นายวัศนันท์ พรประสิทธิ์
นางสาวอรวรรณ เชาว์ประเสร ิฐ นายว ิร ิยะ เรวัตบวรวงศ์

ศิลปกรรม นายชโย ทองลือ


จัดพิมพ์โดย ส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร

พิมพ์ที่ ส�ำนักพิมพ์คณะรัฐมนตร ีและราชกิจจานุเบกษา


สี่แยกซังฮี้ ถนนสามเสน เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 โทรศัพท์ 0 2243 0613
โทรสาร 0 2243 1820

B สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

ค�ำน�ำ

กรมศิลปากร โดยส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ มีภารกิจหนึง่ ในการท�ำหน้าที่ ก�ำหนด


เลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร (ISSN) และเลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ
(ISBN) ให้แก่หน่วยงานและส�ำนักพิมพ์ทผ
ี่ ลิตสิง่ พิมพ์ประเภทต่าง ๆ ขึน
้ ในประเทศไทย
ได้แก่ วารสาร นิตยสาร และหนังสือ ซึง่ ผู้ผลิตควรด�ำเนินการตามมาตรฐานสากล
เพือ
่ ประโยชน์ในการควบคุมและเผยแพร่ขอ
้ มูลเกี่ยวกับสิง่ พิมพ์ทผ
่ี ลิตขึน
้ ในประเทศ
เช่น ประโยชน์ในการควบคุมสต็อกสินค้า การค้นคืนและเข้าถึงข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว
อีกทัง้ ใช้แทนรหัสสินค้าเพื่อจัดจ�ำหน่ายหร ือติ ดต่ อสื่อสารระหว่างส�ำนักพิมพ์ ร้าน
หนังสือ ห้องสมุดหร ือประชาชน เป็นต้น
การรับ จดแจ้ ง การพิ ม พ์ ถื อเป็ น หน้ าที่ ข องส� ำ นั ก หอสมุ ด แห่ งชาติ
ตามพระราชบั ญญั ติ จ ดแจ้งการพิ ม พ์ พุ ท ธศั ก ราช 2550 โดยรับท�ำ หน้ า ที่เป็ น
นายทะเบี ย นรั บ จดแจ้ ง การพิ มพ์ หั วหนั ง สื อพิ มพ์ แต่ ละชื่ อ เร อื่ งที่ ผ ลิ ต ขึ้ น
ในประเทศไทย ซึง่ ปัจจุบน
ั ส�ำนักหอสมุดแห่งชาติได้พฒ
ั นาระบบการบรการให้
ิ มค
ี วาม
ทันสมัย สะดวกรวดเร็ว โดยการพัฒนาการให้บร ิการผ่านระบบสารสนเทศทางด้ า น
มรดกศิลปวัฒนธรรมเพื่อประชาชนทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Service) ตามนโยบาย
ของกรมศิลปากร
กรมศิลปากร ตระหนักในพันธกิจเผยแพร่ความรูแ
้ ก่สังคมจึงมอบหมายให้
ส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ จัดพิมพ์ คูม
่ อ
ื การบรการ
ิ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์ขน
ึ้
เพื่อเผยแพร่ข้อมูลและแนวปฏิบัติการขอใช้บร ิการของส�ำนักพิมพ์ โรงพิมพ์ หน่วย
งานต่าง ๆ และเพื่อใช้เป็นคู่มือปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ โดยมีเนื้อหากล่าวถึงความ
เป็นมาของระบบเลขมาตรฐานสากล ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์ตาม
พระราชบัญญัติจดแจ้งการพิมพ์ พุทธศักราช 2550 ตลอดจน หลักเกณฑ์ ว ิธีการ
การน�ำไปใช้การขอใช้บร ิการผ่านระบบ e –Service ซึง่ จะเป็นประโยชน์ต่อส�ำนัก
พิมพ์และหน่วยงานต่าง ๆ รวมถึงผู้สนใจที่ต้องการศึกษาหาความรู ้ เกี่ยวกับเรอื่ ง
ดังกล่าวด้วย
กรมศิลปากรหวังเป็นอย่างยิง่ ว่าหนังสือคู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และ
การจดแจ้งการพิมพ์เล่มนีจ
้ ะสร้างความตระหนักรูแ
้ ละอ�ำนวยประโยชน์ต่อผูใ้ ช้บร ิการ
วงการหนังสือและการพิมพ์ของประเทศต่อไป

(นายกิตติพน
ั ธ์ พานสุวรรณ)
อธิบดีกรมศิลปากร

ส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ
กุมภาพันธ์ 2565
สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ C
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

สารบัญ
หน้า

ค�ำน�ำ
บทน�ำ 1
เลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร (ISSN)
ประวัติ 7
ศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติแห่งประเทศไทย 9
หน้าทีข
่ องศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติแห่งประเทศไทย 10
โครงสร้างระบบเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร 10
ประโยชน์ 11
หลักเกณฑ์การก�ำหนดเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร 12
ขอบเขตการก�ำหนดเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร 12
การใช้เลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร 13
หลักเกณฑ์การขอเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร 14
เอกสารประกอบการขอเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร 18
ขั้นตอนการขอเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสารผ่านระบบ e-Service 19
ขั้นตอนการแก้ไข/เปลี่ยนแปลงข้อมูลเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร 28
ผ่านระบบ e-Service

เลขมาตรฐานสากลประจ�ำ หนั ง สื อ (ISBN)


ประวัติ 31
การบร ิหารเลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ 33
ภารกิจหน้าที
่ 34
ประโยชน์ 35
ผูผ
้ ลิตสิง่ พิมพ์ทต
ี่ ้องด�ำเนินการขอเลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ 35
โครงสร้างของเลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ 36
สิ่งพิมพ์ทใี่ ห้เลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ 37
สิ่งพิมพ์ทไี่ ม่ให้เลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ 38
การพิมพ์เลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ 39
เอกสารประกอบการขอเลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ 40

สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ E
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

สารบัญ
หน้า

ขั้นตอนการขอเลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือผ่านระบบ e-Service 42
ขั้นตอนการขอยกเลิกเลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ 48
ผ่านระบบ e-Service

การจดแจ้งการพิมพ์ตามพระราชบัญญัตจิ ดแจ้งการพิมพ์ พุทธศักราช 2550
ประวัติ 53
ความรูเ้ กี่ยวกับการบร ิการจดแจ้งการพิมพ์ของส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ 55
การจดแจ้งการพิมพ์หนังสือพิมพ์ 55
เอกสารประกอบการจดแจ้งการพิมพ์หนังสือพิมพ์ 56
หลักเกณฑ์ ว ิธีการ และเงอื่ นไขการจดแจ้งการพิมพ์ 56
การก�ำหนดพื้นทีก
่ ารให้บร ิการจดแจ้งการพิมพ์ 58
การเปลี่ยนแปลงรายการหนังสือพิมพ์ทจ
ี่ ดแจ้งการพิมพ์ 59
เอกสารประกอบการเปลี่ยนแปลงรายการทีจ
่ ดแจ้งการพิมพ์ 60
หลักเกณฑ์ ว ิธีการ และเงอื่ นไขการเปลี่ยนแปลงรายการ 61
ทีจ
่ ดแจ้งการพิมพ์
การยกเลิกเป็นผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา บรรณาธิการหร ือเจ้าของกิจการ 62
หนังสือพิมพ์
เอกสารประกอบการยกเลิกเป็นผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา บรรณาธิการ 62
หร ือเจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์

หลักเกณฑ์ ว ิธีการ และเงอื่ นไขการยกเลิกเป็นผู้พิมพ์ 62

ผู้โฆษณา บรรณาธิการหร ือเจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์


ขั้นตอนการจดแจ้งการพิมพ์ตามพระราชบัญญัติจดแจ้งการพิมพ์ฯ 63
พุทธศักราช 2550 ผ่านระบบ e-Service

บรรณานุกรม 73

F สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

บทน�ำ

เลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร (ISSN)
เลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร (International Standard Serial
Number : ISSN) คื อ รหั สเฉพาะที่ก�ำหนดให้ แก่ สิ่งพิมพ์ต่อเนื่ องแต่ ละรายชือ

มีจุดมุ่งหมายเพื่อใช้ส�ำหรับสืบค้นข้อมูล ควบคุม ตรวจสอบ การรวบรวมวารสาร
และแลกเปลี่ ย นข่ า วสารหร ือการติ ด ต่ อ ต่ า งๆ เกี่ ย วกั บ วารสาร ให้ เ ป็ น ไป
อย่างถูกต้อง สะดวก รวดเร็ว รวมถึงการควบคุมสินค้าคงคลังของส�ำนักพิมพ์
เลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร (ISSN) ประกอบด้วยตัวเลขอารบิก
8 หลัก และต้องปรากฏค�ำว่าเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร หร ือตัวอักษร
ISSN น�ำหน้าทุกครัง้ เมื่อมีการตีพิมพ์ ตามด้วยตัวเลข 4 หลักแรก คั่นด้วย
เครอื่ งหมายยัติภังค์ (-) และตามด้วยตัวเลข 4 หลักท้าย โดยหลักที่ 8 คือ
ตั วเลขตรวจสอบ (Check digit) ที่ไ ด้ จากการค� ำ นวณเลขตรวจสอบตาม
หลักการของ Modulus 11

ตัวอย่างการพิมพ์เลขมาตรฐานสากลประจำ�วารสาร (ISSN)
ISSN 2651-2491
เลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ 2651-2491

เลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ (ISBN)
เลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ (International Standard Book
Number : ISBN) คือ เลขรหัสสากลทีก
่ �ำหนดขึน
้ เพื่อใช้ส�ำหรับสิ่งพิมพ์ประเภท
หนังสือทัว่ ไป มีความมุง่ หมายทีจ
่ ะก�ำหนดให้เป็นเอกลักษณ์ของหนังสือแต่ละเล่ม
เพื่ อ ความสะดวกถู ก ต้ อ งและรวดเร็ว ในการด� ำ เนิ น งานด้ า นควบคุ ม ข้ อ มู ล
สิ่ ง พิ ม พ์ ใ นระบบคอมพิ ว เตอร์ ด้ า นการสั่ ง ซื้อ หนั ง สื อ ด้ า นการแลกเปลี่ ย น
การส�ำรวจข้อมูล และการควบคุมสินค้าคงคลังของส�ำนักพิมพ์ อีกทัง้ เพื่อให้เกิด
ความร่วมมือในการจัดท�ำเลขประจ�ำหนังสือให้เป็นมาตรฐานทัว่ โลก
เลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ (ISBN) ประกอบด้วยเลข 13 หลัก
แบ่งออกได้เป็น 5 ส่วน คือ รหัส EAN รหัสกลุม
่ (Group Identifier) รหัสส�ำนักพิมพ์

สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ 1
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

(Publisher Identifier) รหัสชือ


่ เรอื่ ง (Title Identifier) และเลขตรวจสอบ
(Check Digit) ทีไ่ ด้จากการค�ำนวณเลขตรวจสอบตามหลักการของ Modulus
10 และต้องปรากฏค�ำว่าเลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ หร ือตัวอักษร ISBN
น�ำหน้าทุกครัง้ เมื่อมีการตีพิมพ์

ตัวอย่างการพิมพ์เลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร (ISSN)
ISBN 978-616-283-561-2

เลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ 978-616-283-561-2

การจดแจ้งการพิมพ์ตามพระราชบัญญัติจดแจ้งการพิมพ์ พุทธศักราช 2550


การจดแจ้งการพิมพ์ตามพระราชบัญญัติจดแจ้งการพิมพ์พุทธศักราช
2550 คื อ การแจ้ ง จดหั ว หนั ง สื อ พิ ม พ์ ต่ อเจ้ า พนั ก งานจดแจ้ ง การพิ ม พ์
เพื่อด�ำเนินการจัดพิมพ์สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องขึน
้ ใหม่ในราชอาณาจักร มีความมุ่งหมาย
ให้ ภาครัฐสามารถทราบถึ งข้อมูลพื้นฐานของหนังสื อพิมพ์ อาทิ เจ้าของกิ จการ
หนั ง สื อ พิ ม พ์ บรรณาธิก าร ผู้ พิ ม พ์ ผู้ โ ฆษณา และแหล่ ง ต� ำ บลที่ อ ยู่ ทั้ ง นี้
เพือ
่ ประโยชน์ในการตรวจสอบของประชาชนผูท
้ ไี่ ด้รบ
ั ความเสียหายในการฟ้องร้อง
ด�ำเนินคดี ในกรณีทบ
ี่ ค
ุ คลดังกล่าวกระท�ำผิดกฎหมายอันเนือ
่ งมาจากการเป็นผูพ
้ ม
ิ พ์
ผู้โฆษณา บรรณาธิการ หร ือเจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์นั้นๆ

ระบบสารสนเทศทางด้านมรดกศิลปวัฒนธรรมเพือ
่ ประชาชนทางอิเล็กทรอนิกส์
(e-Service)

ส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ โดยกลุ่มบร ิการทรัพยากรสารสนเทศ กลุ่มงาน


บร ิการพิเศษ ISSN ISBN และจดแจ้งการพิมพ์ ด�ำเนินการให้บร ิการผ่านระบบ
สารสนเทศทางด้ า นมรดกศิ ล ปวั ฒ นธรรมเพื่ อ ประชาชนทางอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์
(e-Service) ผู้ใช้บร ิการสามารถขอรับบร ิการได้ทเี่ ว็บไซต์ e-service.nlt.go.th
โดยในปีพุทธศั กราช 2554 ส� ำนั กหอสมุดแห่ งชาติ ร่วมมือกั บศู นย์เทคโนโลยี
สารสนเทศมรดกศิ ลปวั ฒ นธรรม กรมศิ ล ปากร ได้ พัฒ นาระบบการให้ บร ิการ
ประชาชนของส� ำนั กหอสมุ ดแห่ งชาติ ด้ ว ยระบบอิ เล็ ก ทรอนิ ก ส์ ตามนโยบาย
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศ เพื่อให้เข้าถึงผู้รบ
ั บร ิการได้
อย่างครอบคลุม อีกทัง้ สามารถอ�ำนวยความสะดวก และให้บร ิการแก่ประชาชน
อันประกอบไปด้วย การบรการเลขมาตรฐานสากลประจ�
ิ ำวารสาร (International

2 สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

Standard Serial Number : ISSN) บร ิการเลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ


(International Standard Book Number : ISBN) การบร ิการก�ำหนดข้อมูล
รายละเอียดรายการทางบรรณานุกรมหนังสือ (Cataloguing in Publication
: CIP) และบร ิการลงรับหนังสือและวารสารตามพระราชบัญญัติจดแจ้งการพิมพ์
พุทธศักราช 2550

อย่ า งไรก็ ต าม ระบบสารสนเทศทางด้ านมรดกศิ ล ปวั ฒ นธรรม


เพื่ อ ประชาชนทางอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (e-Service) เดิ ม ไม่ ค รอบคลุ ม งานบร ิการ
จดแจ้งการพิ ม พ์ อี กทั้งไม่ รองรับ พั ฒ นาการของเทคโนโลยี ที่เปลี่ ยนแปลงไป
อย่างรวดเร็ว ส่ งผลให้ ใ นปี พุ ทธศั กราช 2561 ส� ำ นั ก หอสมุ ด แห่ ง ชาติ ร ว่ มกั บ
ศู นย์เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศมรดกศิ ลปวั ฒ นธรรม กรมศิ ล ปากร พั ฒ นาระบบ
สารสนเทศทางด้ า นมรดกศิ ล ปวั ฒ นธรรมเพื่ อ ประชาชนทางอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์
ให้ มี ป ระสิ ท ธิภ าพ สามารถท� ำ งานได้ ต รงกั บ ความต้ อ งการในการใช้ ง าน
ของผู้ ใ ช้ บ ร ิการ มี ก ารจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล ในระบบอย่ า งเป็ น ระเบี ย บในรู ป แบบ
ฐานข้อมูล โดยเฉพาะพั ฒ นาระบบการรับ ช�ำ ระเง น
ิ ค่ า ธรรมเนี ย มการจดแจ้ง
การพิมพ์ผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ และครอบคลุมงานบร ิการ 5 ระบบ ได้แก่
บร ิการเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร (International Standard Serial
Number : ISSN) บรการเลขมาตรฐานสากลประจ�
ิ ำหนังสือ (International Standard
Book Number : ISBN) บร ิการจดแจ้งการพิ มพ์ ตามพระราชบั ญ ญั ติ จดแจ้ง
การพิ ม พ์ พุ ท ธศั ก ราช 2550 บร ิการก� ำ หนดข้ อ มู ล รายละเอี ย ดรายการ
ทางบรรณานุ กรมหนังสื อ (Cataloguing in Publication : CIP) และบร ิการ
ลงรับ หนั ง สื อ และวารสารตามพระราชบั ญ ญั ติ จ ดแจ้ง การพิ ม พ์ พุ ท ธศั ก ราช
2550
ผู้ ใช้บร ิการที่ต้องการขอรับบร ิการก� ำหนดเลขมาตรฐานสากลประจ�ำ
วารสาร (International Standard Serial Number : ISSN) บรการเลขมาตรฐานสากล

ประจ�ำหนังสือ (International Standard Book Number : ISBN) และบร ิการ
จดแจ้ ง การพิ ม พ์ ต ามพระราชบั ญ ญั ติ จ ดแจ้ ง การพิ ม พ์ พุ ท ธศั ก ราช 2550
สามารถขอรับบร ิการได้ที่ e-service.nlt.go.th โดยผู้ใช้บร ิการต้องด�ำเนินการ
สมัครสมาชิกในระบบ ดังนี้

สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ 3
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

ขั้นตอนการสมัครสมาชิก
1. เข้าสู่เว็บไซต์ e-service.nlt.go.th
2. ผู้ใช้บร ิการคลิกทีป
่ ุ่มสมัครสมาชิก

3. กรอกรายละเอี ย ดในแบบฟอร์มการสมั ค รสมาชิก โดยคลิกเลือก


ประเภททีใ่ ห้บร ิการตามทีผ
่ ู้ใช้บร ิการต้องการ

4. ผู้ใช้บร ิการรอผลการอนุมัติสมาชิก เมื่อเจ้าหน้าที่ด�ำเนินการอนุมัติ


สมาชิกเร ียบร้อ ยแล้ ว ระบบจะแจ้งผลการอนุ มัติ ผ่ า นจดหมายอิ เล็ ก ทรอนิ ก ส์
ของผู้ใช้บร ิการตามทีไ่ ด้สมัครสมาชิกไว้
5. ผู้ใช้บร ิการเข้าสู่ระบบ ด้วยรหัสผู้ใช้และรหัสผ่านทีก
่ �ำหนดไว้

4 สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

เมื่ อ ผู้ ใ ช้บ ร ิการได้ ร บ


ั การอนุ มั ติ ส มาชิก และเข้ า สู่ ร ะบบสารสนเทศ
ทางด้ านมรดกศิ ลปวั ฒ นธรรมเพื่ อ ประชาชนทางอิ เล็ ก ทรอนิ ก ส์ (e-Service)
เร ียบร้อยแล้ว ผู้ใช้บร ิการสามารถเลือกขอรับบร ิการทีต
่ ้องการ ประกอบไปด้วย
บร ิการก�ำหนดเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร (International Standard
Serial Number : ISSN) บร ิการก� ำ หนดเลขมาตรฐานสากลประจ�ำ หนั ง สื อ
(International Standard Book Number : ISBN) และบรการจดแจ้
ิ งการพิมพ์
ตามพระราชบัญญัติจดแจ้งการพิมพ์ พุทธศักราช 2550

สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ 5
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

เลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร
(International Standard Serial Number : ISSN)

ประวัติ
องค์ ก ารยู เ นสโก (UNESCO) โดยความร่ว มมื อ ของสภาสหพั น ธ์
ว ิทยาศาสตร์โลก (International Council of Scientific Union) และรัฐบาล
ฝรัง่ เศสเป็นผู้ร ิเรมิ่ ระบบข้อมูลวารสารระหว่างชาติขน
ึ้ ภายใต้โครงการสารนิเทศ
ว ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างชาติ (UNISIST) โดยมีวัตถุประสงค์ทส
ี่ �ำคัญ
คื อ ควบคุ ม สิ่ ง พิ ม พ์ ป ระเภทวารสาร และจั ด ให้ มี ก ารบั น ทึ ก ข้ อ มู ล วารสาร
ทีด
่ �ำเนินการอยู่ในประเทศต่างๆ ทัว่ โลก ภายใต้แบบแผนเดียวกัน และให้มีแหล่ง
รวบรวมข้ อ มู ล วารสารที่ ตี พิ ม พ์ ทุ ก แห่ ง เพื่ อ ให้ ผู้ ใ ช้ เ ข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล วารสาร
โดยสามารถค้ นหาสิ่ งที่ ต้ องการได้ อย่างรวดเร็ ว หลั งจากที่ ไ ด้ ศึ กษา
เกี่ ยวกั บความเป็นไปได้ ของระบบข้อมูลวารสารแล้ว ได้ ด�ำเนิ น การจัด ตั้ ง ศู น ย์
ข้อมูลวารสารระหว่างชาติระดับสากล (International Serial Data System - ISDS)
ขึน
้ ในปีคร ิสตศักราช 1973 (พุทธศักราช 2516) ช่วงแรกของการจัดตั้งด�ำเนินงาน
เฉพาะวารสารทางว ิทยาศาสตร์เท่านั้น ต่ อมาจึงได้ รวบรวมวารสารสาขาอื่นด้ วย
หลังจากที่จด
ั ตั้งศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติระดับสากลแล้วได้มีการเชิญชวน
ให้ประเทศต่างๆ เข้าร่วมเป็นสมาชิก

ส�ำหรับประเทศไทยมีสำ� นักหอสมุดแห่งชาติเป็นหน่วยงานเพียงแห่งเดียว
ทีท
่ ำ� หน้าทีแ
่ บบให้เปล่าในการก�ำหนดเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร (ISSN)
ให้ แก่ สิ่งพิมพ์ต่อเนื่ อง ที่ผลิตในประเทศไทย โดยกระทรวงศึ กษาธิการซึง่ เป็น
ต้ นสังกั ดในขณะนั้ นได้ อนุมัติให้ หอสมุดแห่ งชาติ กรมศิ ลปากร ท�ำหน้าที่เป็น
ศู นย์ข้อ มู ลวารสารระหว่า งชาติ แห่ งประเทศไทย เมื่ อ พุ ท ธศั ก ราช 2517 เพื่ อ
ปฏิ บัติงานร่ว มกั บ ศู นย์ ข้ อ มู ลวารสารระหว่า งชาติ ร ะดั บสากล ประเทศฝรัง่ เศส
หลั ง จากนั้ น องค์ ก ารยู เ นสโกได้ ข อให้ ป ระเทศไทยลงนามเข้ า เป็ น สมาชิก ของ
ศู นย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติ ระดั บสากลอย่างเป็นทางการ และในธรรมนูญ
ศูนย์ขอ
้ มูลวารสารระหว่างชาติระดับสากล (Statutes of International Centre
for Registration of SerialPublications) ได้ระบุไว้ในมาตรา 2 ว่า ประเทศ
สมาชิกขององค์การสหประชาชาติ ทีม
่ ค
ี วามประสงค์จะขอรับประโยชน์และท�ำงาน
ร่วมกับศูนย์ขอ
้ มูลวารสารระหว่างชาติระดับสากล ประเทศฝรัง่ เศส จะต้องเป็นสมาชิก
ตามกฎแห่งธรรมนูญนี้ ดังนั้น ศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติแห่งประเทศไทย
โดยส� ำ นั ก หอสมุ ด แห่ ง ชาติ จึง ได้ ส มั ค รเป็ น สมาชิก ศู น ย์ ข้ อ มู ล วารสารระหว่ า ง

สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ 7
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

ชาติ ระดั บสากล ประเทศฝรัง่ เศส ในพุทธศักราช 2528 และหอสมุดแห่งชาติ


เล็งเห็นถึงความส�ำคัญในเรอื่ งนี้จงึ ได้ติดต่อขอรหัสชุดเลขมาตรฐานสากลประจ�ำ
วารสารของประเทศไทยไปยั ง ศู น ย์ ข้ อ มู ล วารสารระหว่ า งชาติ ร ะดั บ สากล
ประเทศฝรัง่ เศส และได้ รบ
ั เป็นศูนย์วารสารระหว่างชาติ แห่งประเทศไทย เพื่อ
เผยแพร่ แ ละประชาสั มพั นธ์ ก ารใช้ เ ลขมาตรฐานสากลประจ� ำ วารสาร
ไปยังส�ำนักพิมพ์ โรงพิมพ์ และหน่วยงานต่ างๆ ในประเทศ ศูนย์ข้อมูลวารสาร
ระหว่างชาติ ระดั บสากล (International Serials Data System Interna-
tional Centre : ISDS-IC) เปลี่ยนชือ
่ มาเป็นศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติ
สากล (International Standard Serial Number International Cen-
tre : ISSN-IC) เมื่อพุทธศักราช 2536

ระยะเรมิ่ ต้นด�ำเนินงานศูนย์ขอ
้ มูลวารสารระหว่างชาติแห่งประเทศไทย
(International Standard Serial Number National Centre for
Thailand) ซึง่ มีพื้นที่ด�ำเนินการอยู่ ณ หอสมุดแห่งชาติ ได้ รบ
ั ความร่วมมือ
จากศูนย์ประมวลผลแห่งประเทศไทย ส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ ให้ยืมใช้เครอื่ ง
คอมพิวเตอร์ ให้ค�ำปร ึกษาและวางระบบงาน พุทธศักราช 2532 ศูนย์วารสาร
ระหว่างชาติ ระดั บ สากลได้ พั ฒ นาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ OSIRIS (Online
Serials Information Registration and Inquiry System) เพื่อใช้ในงาน
ศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติ ระดั บสากล และศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติ
ประเทศต่ างๆ ส�ำหรับประเทศไทยได้ ใช้โปรแกรมนี้ในการปฏิบัติงาน จนกระทั่ง
พุทธศักราช 2548 ศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติ ระดั บสากล ได้ เปลี่ยนระบบ
การจัดเก็บข้อมูลจากระบบ OSIRIS มาเป็นระบบโปรแกรม VTLS (Virginia Tech
Library System) คือระบบที่ศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติ แต่ ละประเทศ
จะปฏิบัติงานในฐานะลูกข่าย (Cataloguing Client) โดยการจัดท�ำข้อมูล
วารสารในรูปแบบมาตรฐาน MARC 21 และบันทึกข้อมูลผ่านระบบเคร ือข่าย
อิ นเทอร์เน็ ตไปยังศู นย์ข้อมู ลวารสารแม่ ข่ายที่ศูนย์ข้อมู ลวารสารระหว่ างชาติ
ระดั บสากล ประเทศฝรัง่ เศส (International Standard Serial Number
International Centre : ISSN-IC)

8 สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

ศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติแห่งประเทศไทย
(International Standard Serial Number National Centre for Thailand)
ศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติ แห่งประเทศไทย ได้ สมัครเป็นสมาชิก
ของศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติระดับสากล ประเทศฝรัง่ เศส ในปีพุทธศักราช
2528 การสมัครเป็นสมาชิกในครัง้ นั้นท�ำให้ประเทศไทยได้รบ
ั ประโยชน์และสิทธิ
ต่ างๆ ดั งนี้

1. ด้านการบร ิหาร
1.1 ผู้ อ�ำนวยการศู นย์ข้อมู ลวารสารระหว่างชาติ แห่ งประเทศไทย
(ผู้ อ�ำนวยการส� ำนั กหอสมุ ด แห่ งชาติ ) มี สิ ท ธิเข้ า ร่ว มประชุ มในคณะกรรมการ
อ�ำนวยการ (General Assembly) ซึง่ ทีป
่ ระชุมนี้จะท�ำหน้าทีก
่ �ำหนดระเบียบ
ข้อบั งคั บ และเป็ น ผู้ คั ดเลื อ กและจัด ตั้ งคณะกรรมการบร ิหาร (Governing
Board) และก�ำหนดนโยบายในการด�ำเนินงานของศูนย์ขอ
้ มูลวารสารระหว่างชาติ
ระดับสากล
1.2 ผู้ อ�ำนวยการศู นย์ข้อมู ลวารสารระหว่างชาติ แห่ งประเทศไทย
มีสิทธิได้รบ
ั เลือกเป็นคณะกรรมการบร ิหาร (Governing Board) เพื่อท�ำหน้าที่
บร ิหารงานศู น ย์ ข้ อ มู ล วารสารระหว่ า งชาติ ร ะดั บ สากล และมี สิ ทธิอ อกเสี ยง
ในทีป
่ ระชุมเพื่อให้การด�ำเนินงานเป็นประโยชน์แก่ประเทศไทย
1.3 ศูนย์ขอ
้ มูลวารสารระหว่างชาติแห่งประเทศไทย จะต้องจ่ายค่าบ�ำรุง
สมาชิกให้แก่ศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติระดับสากลตามทีก
่ �ำหนดเป็นประจ�ำ
ทุกปี เพือ
่ เป็นค่าใช้จา่ ยในการด�ำเนินงานด้านต่างๆ เช่น การด�ำเนินงานด้านข้อมูล
เลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร การจัดการประชุมประจ�ำปี เพื่อแลกเปลี่ยน
ข้อคิดเห็นในการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ การประชุมเกี่ยวกับความร่วมมือ
กับองค์กรระหว่างประเทศต่างๆ ทีเ่ ป็นข่ายงาน ได้แก่ บร ิการข้อมูลผ่านเคร ือข่าย
อินเทอร์เน็ต เอกสารสิ่งพิมพ์ รายงานการประชุม คู่มือการปฏิบัติงาน เป็นต้น

2. ด้านว ิชาการ
2.1 เป็นศูนย์กลางในการก�ำหนดเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร
ให้แก่วารสารทีต
่ ีพม
ิ พ์ในประเทศไทย
2.2 ได้ รบ
ั เอกสารคู่มือทางว ิชาการต่ างๆ เพื่อใช้ในการปฏิ บัติงาน
ข้อมูลวารสารทัง้ ในรูปสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
2.3 ได้รบ
ั บรการในการใช้
ิ แหล่งข้อมูลของศูนย์ขอ
้ มูลวารสารระหว่างชาติ
ระดั บสากลในการค้ น คว้ า ข้ อ มู ล วารสารได้ ทั่ ว โลก ผ่ า นระบบเคร ือข่ า ย
อินเทอร์เน็ต

สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ 9
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์


2.4 ข้ อ มู ล วารสารของประเทศไทยได้ ร บ
ั การเผยแพร่ใ นรู ป แบบ
บรรณานุกรมออนไลน์

หน้าที่ของศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติแห่งประเทศไทย
1. ก� ำ หนดเลขมาตรฐานสากลประจ�ำ วารสาร (ISSN) ให้ กั บ วารสาร
ทีส
่ �ำนักพิมพ์และหน่วยงานต่างๆ จัดพิมพ์
2. รวบรวม และท�ำรายการวารสารทีก
่ �ำหนดเลขมาตรฐานสากลประจ�ำ
วารสาร ตามมาตรฐาน MARC และบันทึกข้อมูลวารสารในโปรแกรม VTLS และ
จัดส่งไปยังศูนย์ข้อมูลวารสารสากล ประเทศฝรัง่ เศส
3. ติดต่อประสานงานกับศูนย์ขอ
้ มูลวารสารสากล และศูนย์ขอ
้ มูลวารสาร
ระหว่างชาติประเทศอื่นๆ เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน
4. ส่ ง เสร ิมและประชาสั ม พั น ธ์ให้ มี ก ารใช้เ ลขมาตรฐานสากลประจ�ำ
วารสารแก่ ผู้ จัด พิ ม พ์ ทั่ว ประเทศให้ แพร่ห ลาย เพื่ อ ประโยชน์ ในการรวบรวม
ข้อมูลวารสารให้ครบถ้วนสมบูรณ์

โครงสร้างระบบเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร (ISSN)

1. เลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร ประกอบด้วยตัวเลขอารบิก 8 หลัก


และจะต้องมีตัวอักษรค�ำว่า ISSN น�ำหน้าทุกครัง้ เมื่อมีการตีพิมพ์ เพื่อให้ทราบ
ว่าเป็นเลขในระบบเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร

10 สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

2. เลข 8 หลักนี้ แบ่งเป็น 7 หลักแรก คือ เลขมาตรฐานสากลประจ�ำ


วารสารส่วนหลักที่ 8 เป็นตัวเลขตรวจสอบ (Check digit)
3. การเขียนเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสารจะต้องมีตัวอักษร ISSN
ตัวพิมพ์ใหญ่ ตามด้วยตัวเลข 4 หลักแรก ตามด้วยเครอื่ งหมายยัติภังค์ (-) และ
ตามด้วยตัวเลข 4 หลักท้าย เช่น ISSN 2651-0502
4. เลขมาตรฐานสากลประจ�ำ วารสาร จะไม่ มี ส่ ว นใดที่ แ ปลความได้
โดยตั ว เลข 7 หลั ก แรก จะเป็ น ตั ว เลขที่ ไ ด้ ม าโดยการเร ียงล� ำ ดั บ ตามว ธิ ีก าร
ในฐานข้อมูลของศูนย์ข้อมูลวารสารระดับสากล ประเทศฝรัง่ เศส ส่วนหลักที่ 8
เป็นตัวเลขตรวจสอบ (Check digit)
5. การค�ำนวณเลขตรวจสอบเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร จะใช้
หลักการของ Modulus 11 ในบางครัง้ อาจได้ตัวเลขผลการตรวจเป็น 10 จะใช้
อักษร X ตัวพิมพ์ใหญ่แทนเลข 10 ดังนั้นเลขตรวจสอบจึงมีได้ตั้งแต่ 0-9 และ
อักษร X ตัวพิมพ์ใหญ่

ประโยชน์
1. ส่ ง เสร ิมและเผยแพร่ใ ห้ ร ายชื่อ วารสาร นิ ต ยสาร หนั ง สื อ พิ ม พ์
ที่ จัด พิ ม พ์ ใ นแต่ ล ะประเทศ แพร่ห ลายไปทั่ ว โลก และเป็ น ประโยชน์ ส� ำ หรับ
ผู้ทป
ี่ ระสงค์จะสั่งซือ
้ วารสาร สามารถติดต่อขอสั่งซือ
้ ได้โดยใช้เลขมาตรฐานสากล
ประจ�ำวารสาร
2. ช่วยให้ผพ
ู้ ม
ิ พ์และผูใ้ ช้วารสารทัว่ โลกสามารถติดต่อกันได้อย่างสะดวก
รวดเร็ว
3. สามารถน�ำไปใช้รว่ มกับรหัสบาร์โค้ด ซึง่ จะช่วยให้ระบบการบรการลู
ิ กค้า
ระบบการขาย การรับ และคื น สิ น ค้ า การสอบถามข้ อ มู ล สิ น ค้ า มี ค วามสะดวก
รวดเร็วขึน
้ และใช้ในการวางแผนการผลิตและควบคุมสินค้าคงคลัง
4. สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างห้องสมุดทั้งภายในประเทศ และ
ต่างประเทศ โดยว ิธีการสืบค้นด้วยเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร
5. เป็นรหัสประจ�ำของวารสารแต่ละชือ
่ โดยใช้เลข 8 หลัก
6. ช่วยให้ นักศึ กษา นั กว ิจัย นั กว ิชาการ และบุ คคลทั่วไป ได้ รบ
ั ข้อมูล
วารสาร นิ ต ยสาร หนั ง สื อ พิ ม พ์ ทุ ก สาขาว ชิ าจากประเทศต่ างๆ ทั่ ว โลก
อย่างรวดเร็ว ครบถ้วน

สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ 11
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

หลักเกณฑ์การก�ำหนดเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร มีหลักการ ดังนี้


1. ก�ำหนดเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร ให้ แก่ สิ่งพิมพ์ประเภท
วารสารทุกๆ ชือ

2. ก�ำหนดเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสารใหม่เมื่อเปลี่ยนชือ
่ วารสาร
(การเปลี่ ย นราคา เปลี่ ย นส� ำนั กพิ ม พ์ เปลี่ ยนเนื้ อ หาและรู ปเล่ ม ยั ง คงใช้เลข
มาตรฐานสากลประจ�ำวารสารเดิม)
3. ก� ำ หนดเลขมาตรฐานสากลประจ�ำ วารสารใหม่ ส� ำ หรับ วารสาร
ทีม
่ รี ป
ู แบบสือ
่ อย่างอืน
่ เช่น รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic) ซีดรี อม (CD-ROM)
ฟลอปปี้ ดิสก์ (Floppy Disk) และออนไลน์ (Online)
4. วารสารรู ป แบบต่ า งๆ ไม่ ต้ อ งก� ำ หนดเลขมาตรฐานสากลประจ�ำ
วารสารใหม่ เช่น วารสารทีเ่ ป็นซีดีรอม เมื่อมีการเปลี่ยนลักษณะนามสกุลไฟล์
5. วารสารปกอ่ อ น มี ก ารปรับ เปลี่ ย นเป็ น ปกแข็ ง ไม่ ต้ อ งก� ำ หนด
เลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสารใหม่
6. เลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสารที่ก�ำหนดให้กับวารสารชือ
่ ใดแล้ว
แม้วา่ จะไม่มีการตีพิมพ์เลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสารนั้น ไม่สามารถน�ำมาใช้
กับวารสารชือ
่ อื่นได้ไม่วา่ กรณีใด
7. เลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสารสามารถยกเลิกการใช้ได้ กรณีทห
ี่ ยุด
หร ือยกเลิกการตีพิมพ์ โดยจะแสดงผลในการค้นหาข้อมูลในฐานว่ามีการยกเลิก
แต่ไม่สามารถน�ำเลขกลับมาใช้กับวารสารชือ
่ อื่นได้อีก

ขอบเขตการก�ำหนดเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร
เลขมาตฐานสากลประจ�ำวารสารจะขึ้นอยู่กับชือ
่ วารสารเท่านั้ น ซึง่ มี
ขอบเขตการก�ำหนดเลข ดั งต่ อไปนี้
1. สิง่ ตีพม
ิ พ์ทใี่ ห้เลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร
1.1 หนังสือพิมพ์
1.2 วารสาร นิตยสาร
1.3 จดหมายข่าว จุลสาร
2. สิง่ ไม่ตีพม
ิ พ์ทใี่ ห้เลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร
2.1 วารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ์อเิ ล็กทรอนิกส์
2.2 วารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ์ในรูปซีดีรอม

12 สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

3. สิ่งพิมพ์ทไี่ ม่ให้เลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร
3.1 หนังสือ
3.2 ปฏิทน

3.3 โปสเตอร์ (Poster)
ทัง้ นี้ การก�ำหนดเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร (ISSN) จะพิจารณา
ตามความเหมาะสมของแต่ละศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติแต่ละประเทศด้วย

การใช้เลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร
การพิมพ์เลขมาตรฐานสากลประจำ�วารสารกับสิ่งพิมพ์ประเภทวารสาร
จะมีรูปแบบและตำ�แหน่งทีพ
่ ิมพ์ ดังนี้
1. รูปแบบการพิมพ์เลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร
การพิมพ์เลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสารจะต้องพิมพ์คำ� ว่า ISSN
น�ำหน้าเลขอารบิก 8 หลักตามรูปแบบ ดังนี้

ISSN 2774-0552 (Print)

ISSN 2774-0560 (Online)

2. ต�ำแหน่งทีพ
่ ิมพ์เลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร แบ่งตามประเภท
วัสดุ ดังนี้
2.1 สิง่ ตีพม
ิ พ์ ต�ำแหน่งทีเ่ หมาะสมของการพิมพ์เลขมาตรฐานสากล
ประจ�ำวารสารบนสิ่งตีพิมพ์ มีดังนี้
2.1.1 มุมปกขวาด้านบนของวารสาร
2.1.2 มุมปกขวาด้านล่างของวารสาร
2.1.3 หน้าปกใน
2.1.4 บนหร ือล่างของชือ
่ หัวของวารสาร
2.1.5 ปกหลัง
2.1.6 หน้าลิขสิทธิข์ องส�ำนักพิมพ์
2.1.7 หน้าทีม
่ ีบทความบรรณาธิการ

2.2 สิ่งไม่ตีพิมพ์ การพิมพ์เลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสารบนสิ่งไม่


ตีพิมพ์ มีดังนี้
2.2.1 วารสารออนไลน์ จะต้ อ งแสดงเลขมาตรฐานสากล
ประจ�ำวารสารทีห
่ น้าชือ
่ เรอื่ ง หร ือ หน้าแรกทีส
่ ืบค้นเนื้อหา

สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ 13
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

2.2.2 วารสารในรูปแบบซีดีรอม (CD-ROM) ฟลอปปี้ ดิ สก์


(Floppy Disk) จะต้ อ งแสดงเลขมาตรฐานสากลประจ�ำ วารสารลงบนฉลาก
ของซีดีรอม หร ือ ฟลอปปี้ ดิสก์ ให้เห็นได้ชด
ั เจน

หลักเกณฑ์การขอเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร
1. ผู้ขอเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสารฉบับตีพิมพ์ (Print) หากเป็น
หน่วยงานเอกชนเมื่อต้ องการขอเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร ฉบับตีพิมพ์
(Print) ต้องด�ำเนินการจดแจ้งการพิมพ์ เพือ
่ น�ำหนังสือแสดง การจดแจ้งการพิมพ์
(แบบ พ.2) ใช้ประกอบในการขอเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร ผู้ใช้บร ิการ
ต้ องด� ำเนิ นการให้ เร ียบร้อยก่ อนการขอเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสารฉบั บ
ตี พิมพ์ (Print) ในกรณีที่ผู้ ใช้บ ร ิการขอเลขมาตรฐานสากลประจ�ำ วารสารเป็น
หน่วยงานราชการ ไม่ต้องด�ำเนินการจดแจ้งการพิมพ์
2. ผูใ้ ช้บรการขอเลขมาตรฐานสากลประจ�
ิ ำวารสารฉบับออนไลน์ (Online)
ทัง้ หน่วยงานราชการและเอกชนสามารถยื่นค�ำร้อง ในการขอเลขมาตรฐานสากล
ประจ�ำวารสารโดยไม่ต้องจดแจ้งการพิมพ์
3. ก�ำหนดชือ
่ เรอื่ งภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และวาระการออกวารสาร
นิตยสาร หนังสือพิมพ์ จุลสาร บนหน้าปกหร ือหน้าเว็บไซต์ (URL) เช่น วารสาร
ว ิชาการระบุ ปีที่ 1 (Volume : Vol) ฉบับที่ 1 (No.) ช่วงเวลาก�ำหนดออก
(ราย 6 เดือน) มกราคม – มิถุนายน 2564 (January - June 2021)
4. ก� ำ หนดพื้ น ที่ ว างเลขมาตรฐานสากลประจ�ำ วารสารฉบั บ ตี พิ ม พ์
(Print) และฉบับออนไลน์ (Online) บนหน้าปกวารสาร หร ือ บนหน้าเว็บไซต์
(URL) เช่น ISSN XXXX-XXXX (Print), ISSN XXXX-XXXX (Online)

14 สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

ตัวอย่าง หน้าปกวารสารว ิชาการ

ตัวอย่าง หน้าปกนิตยสาร

สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ 15
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

ตัวอย่าง หน้าปกหนังสือพิมพ์

16 สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์
 
 

ตัวอย่าง หน้าเว็บไซต์ หรอื URL จาก คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์


มหาว ิทยาลัย

 

 

   

 
สำ�นั
สำ นักกหอสมุ
หอสมุดดแห่
แห่งงชาติ
ชาติ 17
สำนักหอสมุดแห่งชาติ
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

เอกสารประกอบการขอเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร (ISSN)
1) การขอเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร (ISSN) ฉบับตีพิมพ์ (Print)
1. ตัวเล่มวารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ์ และจุลสาร ฉบับสมบูรณ์
พร้อมเผยแพร่ฉบับทีเ่ ป็นวาระการออกล่าสุด (ฉบับจร ิง)
2. ส�ำเนาหน้าปกวารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ์ และจุลสาร ต้องระบุ
ค�ำว่า ISSN XXXX-XXXX (Print) ให้ชด
ั เจน
3. ส�ำเนาหน้าสารบัญวารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ์ และจุลสาร
4. ในกรณีหน่วยงานเอกชนต้ องแนบส�ำเนาหนังสื อแสดงการจดแจ้ง
การพิมพ์ (แบบ พ.2)

2) การขอเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร (ISSN) ฉบับออนไลน์ (Online)


1. ตัวเล่มวารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ์ และจุลสาร ฉบับสมบูรณ์
พร้อมเผยแพร่ฉบับทีเ่ ป็นวาระการออกล่าสุด (ฉบับจร ิง)
2. หน้าปกวารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ์ และจุลสาร ต้องระบุค�ำว่า
ISSN XXXX-XXXX (Online) ให้ชด
ั เจน
3. ส�ำเนาหน้าสารบัญวารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ์ และจุลสาร
4. ต้องเตร ียมไฟล์วารสารฉบับสมบูรณ์ (Full text) ปรากฏอยู่บนหน้า
เว็บไซต์ (Website) ของหน่ ว ยงานหร ือสถาบั น โดยต้ อ งระบุ ค� ำ ว่า ISSN
XXXX-XXXX (Online) ทีห
่ น้าเว็บไซต์ (Website) ให้ชด
ั เจน

18 
สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

ขั้นตอนการขอเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร (ISSN)
ผ่านระบบ e-Service

1. เข้าสู่ระบบผ่านเว็บไซต์ e-service.nlt.go.th
2. ผู้ใช้บร ิการคลิกที่ปุ่มบร ิการค�ำร้อง >> ค�ำร้องขอ ISSN >> ขอเลข
ISSN >> ยื่นค�ำร้องใหม่

3. ขั้ น ที่ 1 กรอกแบบค� ำ ร้อ ง (Data Input) ประเภทหน่ ว ยงาน


(Publisher Category) เลือกประเภทหน่วยงานของผู้ใช้บร ิการ คือ หน่วยงาน
เอกชน (Individual) หร ือ หน่วยงานราชการ (Government)

4. ประเภทหน่ ว ยงาน (Publisher Category) เลื อ กประเภท


หน่ ว ยงานราชการ ระบุ ก ระทรวง… กรม… หร ือหน่ ว ยงานต้ น สั ง กั ด ถ้ า เลื อ ก
ประเภทเอกชน ระบุบุคคล (Individual) หร ือ นิติบุคคล (Legal Entity)


สำ�นั
สำ นักกหอสมุ
หอสมุดดแห่
แห่งงชาติ
ชาติ 19
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

5. ประเภทของสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (Type of Serial) เลือกประเภท


ของสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง ได้แก่ หนังสือพิมพ์ (Newspaper) วารสาร (Journal)
นิ ต ยสาร (Magazine) จุ ล สาร (Pamphlet) หนั ง สื อ พิ ม พ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์
(E-Newspaper) วารสารอิเล็กทรอนิกส์ (E-Journal) นิตยสารอิเล็กทรอนิกส์
(E-Magazine) หร ือจุลสารอิเล็กทรอนิกส์ (E-Pamphlet)
6. เว็บไซต์ (Website) หร ือ URL ในกรณีทข
ี่ อเลขมาตรฐานสากล
ประจ�ำวารสารแบบฉบับออนไลน์ (Online) >> ต้องใส่ Link ทีเ่ ข้าถึงตัวสิ่งพิมพ์

7. ส� ำหรับหน่ วยงานราชการที่ต้องการขอเลขมาตรฐานสากลประจ�ำ
วารสารฉบับตีพิมพ์ (Print) และฉบับออนไลน์ (Online) หร ือ หน่วยงานเอกชน
ทีต
่ ้องการขอเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสารฉบับออนไลน์ (Online) >> ท�ำ
เครอื่ งหมาย √ ทีช
่ อ
่ ง “เคยมีการจดแจ้งการพิมพ์มาก่อนหน้านี้แล้ว แต่ไม่สามารถ
ค้นหาหมายเลขจดแจ้งการพิมพ์ได้ (Do you have a Press Act License,
but it can’t find?)” จากนั้นพิมพ์ชอ
ื่ วารสาร นิตยสาร หร ือหนังสือพิมพ์ไทย
(Thai Title) ตามด้วย ชือ
่ วารสาร นิตยสาร หรอหนั
ื งสือพิมพ์ อังกฤษ (English Title)
ในกรณีขอเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสารฉบับตีพิมพ์ ให้วงเล็บ (Print) ท้าย
ชือ
่ เรอื่ งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ดังนี้

ตัวอย่างชือ
่ วารสารภาษาไทย :
วารสารการสร้างเสร ิมสุขภาพไทย (Print)
ตัวอย่างชือ
่ วารสารภาษาอังกฤษ :
Thai Health Promotion Journal (Print)

20 สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

กรณี ขอเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสารฉบับออนไลน์ ให้ วงเล็บ


(Online) ท้ายชือ
่ เรอื่ งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ดังนี้

ตัวอย่างชือ
่ วารสารภาษาไทย :
วารสารบร ิหารธุรกิจ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี
มหาว ิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Online)
ตัวอย่างชือ
่ วารสารภาษาอังกฤษ :
Journal of Business Administration, Thammasat Business School,
Thammasat University (Online)

กรณี ที่ชอ
ื่ วารสารมีแต่ ภาษาอั งกฤษ ให้ลงชือ
่ วารสารภาษาอังกฤษใน
ช่องชือ
่ วารสารภาษาไทย และชือ
่ วารสารภาษาอังกฤษ ดังนี้

ตัวอย่างชือ
่ วารสารภาษาไทย :
Journal of Medical BioScience (JMBS) (Online)
ตัวอย่างชือ
่ วารสารภาษาอังกฤษ :
Journal of Medical BioScience (JMBS) (Online)

8. ส่ ว นหน่ ว ยงานเอกชนที่ ต้ อ งการขอเลขมาตรฐานสากลประจ�ำ


วารสารฉบับตีพม
ิ พ์ ต้องด�ำเนินการจดแจ้งการพิมพ์ ก่อนขอเลขมาตรฐานสากล
ประจ�ำวารสาร เมื่อด�ำเนินการจดแจ้งการพิมพ์เร ียบร้อยแล้วคลิกที่ “ค้นหาจาก
การจดแจ้งการพิมพ์ (Search) เพื่อใส่เลขทะเบียนจดแจ้งการพิมพ์ (Press
Act License No.)

9. ช่องชือ
่ เดิมวารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ์ (Former Titles) และ
(ถ้ามี) ช่องเดิม (Former ISSN) ให้ระบุชอ
ื่ เดิมของวารสารทีต
่ ้องการยกเลิก
เลขมาตรฐานสากลประจ�ำ วารสาร หร ือเลขมาตรฐานสากลประจ�ำ วารสาร
ฉบับตีพิมพ์ หร ือฉบับออนไลน์ ทีเ่ คยขอเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสารแล้ว
10. วัตถุประสงค์ในการพิมพ์ (Aim and Scops) ผู้ใช้บร ิการกรอก
วัตถุประสงค์ในการพิมพ์วารสาร นิตยสาร หร ือหนังสือพิมพ์

สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ 21
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

11. ปีทเี่ รมิ่ พิมพ์ (Date of Distribution) คือ ปีทเี่ รมิ่ พิมพ์วารสาร
นิตยสาร หร ือหนังสือพิมพ์

12. วาระการออก (Typically Published / Frequency) ผูใ้ ช้บรการ



เลื อ กวาระการออกวารสาร เช่ น ราย 3 เดื อ น (Quarterly) ราย 6 เดื อ น
(Semiannual)

22 สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

13. ภาษาทีพ
่ ิมพ์ (Language) คลิกทีเ่ ครอื่ งหมาย + เพิ่มภาษา (Add)
จากนั้นเลือกภาษา เช่น ภาษาจีน ในกรณีทส
ี่ ิ่งพิมพ์มีจำ� นวนมากกว่า 2 ภาษา
คลิกทีเ่ ครอื่ งหมาย + เพิ่มภาษา (Add) เช่น เพิ่มภาษาไทย ดังตัวอย่าง

ในกรณีทส
ี่ ิ่งพิมพ์มีจำ� นวนมากกว่า 2 ภาษา คลิกทีเ่ ครอื่ งหมาย + เพิ่ม
ภาษา (Add) เช่น เพิ่มภาษาไทย ดังตัวอย่าง

สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ 23
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

14. ผู้ ร บ
ั ผิ ด ชอบการจัด พิ ม พ์ / ส� ำ นั ก พิ ม พ์ (Publisher) ให้ พิ ม พ์ ชื่อ
หน่ ว ยงานย่ อ ย ตามด้ ว ยหน่ ว ยงานใหญ่ เช่น คณะนิ ติ ศ าสตร์ มหาว ท
ิ ยาลัย
ธรรมศาสตร์ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

15. พิมพ์ทอ
ี่ ยูภ
่ าษาไทย เช่น เลขที่ (Address) 10 พิมพ์ “10” ไม่ต้อง
พิมพ์คำ� ว่า เลขที่ หรอื ช่องถนน (Road) ว ิภาวดีรงั สิต กรอก “ว ิภาวดีรงั สิต” ไม่ต้อง
พิมพ์คำ� ว่า ถนน
16. Publisher’s name ให้พม
ิ พ์ชอ
ื่ หน่วยงานย่อยตามด้วยหน่วยงานใหญ่
เป็นภาษาอังกฤษ เช่น คณะตามด้วยชือ
่ มหาว ิทยาลัย

ตัวอย่าง คณะตามด้วยชือ
่ มหาว ิทยาลัย
Faculty of Law, Thammasat University
ตัวอย่าง กรม ตามด้วยสังกัดกระทรวง
Department of Disease Control, Ministry of Public Health

24 สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

17. สาระสังเขป (Abstract) พิมพ์ค�ำอธิบายเนื้อหาสาระของสิ่งพิมพ์


โดยย่อ เช่น บทความจากวารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ์ จุลสาร ให้มค
ี วามสั้น
กะทัดรัด มีความถูกต้อง ชัดเจน ไม่เสนอความคิดเห็นลงไปในเนือ
้ หา

18. เมื่ อ พิ ม พ์ แ ละบั นทึกข้ อ มู ลถู ก ต้ อ งครบถ้ ว นแล้ ว คลิ ก >> ถั ด ไป


ขัน
้ ตอนตรวจสอบ (Next)

19. ขัน
้ ที่ 2 ด�ำเนินการตรวจสอบ (Editing) ข้อมูลการขอเลขมาตรฐานสากล
ประจ�ำวารสาร
ตัวอย่าง การกรอกข้อมูลการขอเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร (ISSN)

สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ 25
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

20. ในกรณี ที่เป็นหน่วยงานราชการ เมื่อด� ำเนิ นการตรวจสอบข้อมูล


การขอเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสารเร ียบร้อยแล้ว >> ถัดไป ขั้นที่ 3 แนบ
ไฟล์ (Attachment) โดยแนบไฟล์ ต่างๆ ดังนี้
1) ส�ำเนาหน้าปกวารสาร นิตยสาร หรอหนั
ื งสือพิมพ์
2) ส�ำเนาหน้าสารบัญวารสาร นิตยสาร หรอหนั
ื งสือพิมพ์
3) กรณีทเี่ ป็นหน่วยงานราชการ ไม่ต้องแนบไฟล์ส�ำเนาหนังสือแสดง
การจดแจ้งการพิมพ์ (แบบ พ.2)

21. ในกรณีทเี่ ป็นหน่วยงานเอกชน ต้องด�ำเนินการเพิม


่ ไฟล์ โดยแนบ
“ส�ำเนาหนังสือแสดงการจดแจ้งการพิมพ์ (แบบ พ.2)”
22. เมื่อกรอกข้อมูลครบถ้ วนพร้อมแนบไฟล์เร ียบร้อยแล้วคลิก >>
ถัดไป ขั้นที่ 4 บันทึกค�ำร้อง (Save) ค�ำร้องจะถูกส่งมายังเจ้าหน้าที่ >> ค�ำร้อง
จะอยูใ่ นช่องทาง “อยูร่ ะหว่างด�ำเนินการ”

23. เมื่ อ เจ้า หน้ า ที่ต รวจสอบค� ำ ร้อ ง และพบว่า มี ข้ อ มู ล ที่ผู้ใช้บร ิการ
ต้องแก้ไข เจ้าหน้าที่จะแจ้งข้อมูลที่ต้องแก้ไข ผู้ใช้บร ิการสามารถตรวจสอบได้
ทีช
่ อ
่ ง “ข้อความใหม่” เมื่อตรวจสอบและต้องการแก้ไขค�ำร้อง ผู้ใช้บร ิการคลิก
ที่ “ค�ำร้องทีต
่ ้องการแก้ไข” เมื่อแก้ไขค�ำร้องเร ียบร้อยแล้ว ต้องคลิกถัดไปจนถึง
ขัน
้ ที่ 4 บันทึกค�ำร้อง (Save) ค�ำร้องจะถูกส่งมาทีเ่ จ้าหน้าที่

26 สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

24. เมื่ อ ค� ำ ร้อ งได้ ด� ำ เนิ น การแก้ ไข ข้ อ มู ล มี ค วามถู ก ต้ อ งครบถ้ ว น


จะได้ รบ
ั การอนุมัติเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสารฉบับตี พิมพ์ (Print) หร ือ
ฉบับออนไลน์ (Online) โดยตรงมุมบนด้ านขวามือจะระบุเลขมาตรฐานสากล
ประจ�ำ วารสาร เช่น ISSN 2774-0153 ที่ ไ ด้ ร บ
ั การอนุ มั ติ ซึ่ง ผู้ ใ ช้ส ามารถ
ตรวจสอบผ่านช่องทาง “อนุมัติ”

หมายเหตุ

1. เมือ
่ กรอกค�ำร้องในแบบฟอร์มกรอกข้อมูลการขอเลขมาตรฐานสากล
ประจ�ำวารสารครบถ้วน จนถึงขัน
้ ที่ 4 บันทึกค�ำร้อง (Save) ระบบจะขึน
้ เลขทีค
่ ำ� ร้อง
(Request No.) เพื่อส่งให้เจ้าหน้าทีต
่ รวจสอบ
2. ส�ำหรับการขอเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร ผู้ใช้บร ิการต้องส่ง
ค�ำร้องแยกประเภทระหว่าง ฉบับตีพิมพ์ (Print) หร ือ ฉบับออนไลน์ (Online)
3. เมื่อจัดพิมพ์สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องเร ียบร้อยแล้ว ส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ
ขอความร่วมมือผูใ้ ช้บรการจั
ิ ดส่งสิง่ พิมพ์ จ�ำนวน 3 ฉบับ มาทีส
่ ำ� นักหอสมุดแห่งชาติ

สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ 27
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

ขั้ น ตอนการแก้ ไข/เปลี่ ย นแปลงข้ อ มู ล เลขมาตรฐานสากลประจ�ำ วารสาร


(ISSN) ผ่านระบบ e-Service
1. เข้าสู่ระบบผ่านเว็บไซต์ e-service.nlt.go.th
2. ผู้ใช้บร ิการคลิกทีป
่ ุ่มบร ิการค�ำร้อง >> ค�ำร้องขอ ISSN >> แก้ไข/
เปลี่ยนแปลงข้อมูล ISSN >> เพิ่มการขอเปลี่ยนแปลง ISSN

3. คลิกที่ “เพิ่มการขอเปลี่ยนแปลง ISSN” ระบบจะแสดงหน้าจอการ


ค้นหาข้อมูลเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร จากนั้นคลิกเลือก ชือ
่ สิ่งพิมพ์ทไี่ ด้
รับการอนุมัติ เช่น “ข่าวห้องสมุด” >> คลิกทีว่ งกลมหน้ารหัสค�ำร้อง >> เลือก >>
แสดงรายละเอียดวารสาร นิตยสาร หร ือหนังสือพิมพ์ทต
ี่ ้องการแก้ไข

28 สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

4. ระบบจะอนุญาตให้แก้ไขเฉพาะหน้าข้อความทีม
่ ีสัญลักษณ์สี่เหลี่ยม
เท่านั้ น โดยต้ องท�ำเครอื่ งหมาย √ ลงในช่อง เพื่อด� ำเนิ นการแก้ ไข เช่น
กระทรวง (Ministry) ประเภทของสิ่งพิมพ์ (Type of Serial)

ในกรณี ที่ ผู้ ใ ช้ บ ร ิการต้ องการแก้ ไ ขวาระการออก (Typically


Published/Frequency) ของวารสาร นิตยสาร หร ือหนังสือพิมพ์ เช่น จาก
ราย 4 เดือน (Three times) เป็นราย 6 เดือน (Semiannual) ต้องส่งหนังสือ
ราชการโดยเร ียนถึ ง ผู้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก หอสมุ ด แห่ ง ชาติ แจ้ ง เร อื่ งขอ
เปลี่ยนแปลงวาระการออก เพื่อด�ำเนินการแก้ไขเป็นลายลักษณ์อักษร

5. ชือ
่ วารสาร นิตยสาร หร ือหนังสือพิมพ์ไทย (Thai Title) และชือ

วารสาร นิตยสารหร ือหนังสือพิมพ์ อังกฤษ (English Title) ซึง่ เป็นส่วนทีผ
่ ู้ใช้
ไม่ สามารถแก้ ไขข้ อ มู ลได้ ต้ อ งส่ งหนังสื อ ราชการ โดยเร ียนถึ ง ผู้ อ� ำ นวยการ
ส� ำ นั ก หอสมุ ด แห่ ง ชาติ เพื่ อ ขอยกเลิ ก การใช้ ชื่ อ วารสาร นิ ต ยสาร หร ือ
หนังสือพิมพ์ และเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสารเดิม

สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ 29
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

6. เมือ
่ ผูใ้ ช้สง่ หนังสือราชการ แจ้งเรอื่ งขอยกเลิกการใช้ชอ
ื่ วารสารนิตยสาร
หรอหนั
ื งสือพิมพ์ และเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสารเดิมเรยบร้
ี อยแล้ว เจ้าหน้าที่
จากส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ จะด�ำเนินการตอบกลับทางหนังสือราชการ จากนั้น
ผูใ้ ช้บรการ
ิ จึงจะสามารถเข้ามาขอเลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร ในชือ
่ วารสาร
นิตยสารหรอหนั
ื งสือพิมพ์ใหม่ ผ่านระบบ e-Service ได้อก
ี ครัง้

30 สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

เลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ
(International Standard Book Number : ISBN)

ประวัติ
เมื่อคร ิสต์ศักราช 1965 บร ิษัทจ�ำหน่ายหนังสือใหญ่ทส
ี่ ุดของอังกฤษ
คือ บร ิษัท ดับเบิลยู. เอช. สมิท แอนด์ ซันด์ จ�ำกัด (W. H. Smith & Son Ltd.)
จะขนย้ายหนังสื อและการปฏิบัติงานทั้งหมดไปยังสถานที่ใหม่ที่เมืองสว ินดอน
และจะติ ด ตั้ ง เคร อื่ งคอมพิ ว เตอร์เพื่ อ ช่ว ยในการปฏิ บั ติ ง านด้ า นการส� ำ รวจ
การสั่งซือ
้ และการควบคุมคลังหนังสือให้มีประสิทธิภาพรวดเร็วยิง่ ขึน
้ จึงจ�ำเป็น
จะต้ อ งก� ำ หนดหมายเลขให้ แ ก่ ห นั ง สื อ แต่ ล ะชื่ อ เร อื่ ง เพื่ อ ให้ ทั น ก� ำ หนด
การเคลื่อนย้ายในคร ิสต์ศักราช 1967

เพื่อให้ การก�ำหนดเลขเป็นมาตรฐานเดี ยวกั นส� ำหรับส� ำนั กพิมพ์อื่นๆ


บร ิษัท ดับเบิลยู. เอช. สมิท ได้ปร ึกษากับสภาสมาคมส�ำนักพิมพ์ และได้เชิญ
ศาสตราจารย์ เอฟ. จี. ฟอสเตอร์ (F. G. Foster) แห่งภาคว ิชาเศรษฐศาสตร์
กรุ ง ลอนดอน มาช่ว ยในการก� ำ หนดเลขแบบมาตรฐาน ในเดื อ นพฤษภาคม
คร ิสต์ศักราช 1966 ศาสตราจารย์ ฟอสเตอร์ ได้เสนอรายงานสรุปว่า จ�ำเป็น
จะต้องน�ำระบบหมายเลขมาตรฐานก�ำหนดให้แก่หนังสือแต่ละชือ
่ เรอื่ งในวงการ
ธุรกิจหนังสือ

สภาสมาคมส�ำนักพิมพ์ ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการว ิธีการและการเผยแพร่ขึน



ประกอบด้ วยผู้แทนจากส� ำนั กพิมพ์ต่างๆ เพื่อด� ำเนิ นการตามรายงานร่วมกั บ
ศาสตราจารย์ ฟอสเตอร์ พร้อมผู้แทนของส�ำนักพิมพ์ต่างๆ ทีม
่ าช่วยกรรมการ
ในด้ านคอมพิวเตอร์ คณะกรรมการได้ เรมิ่ ด� ำเนิ น การและตกลงที่จะวางแผน
จัดท�ำเลขสากลส�ำหรับหนังสือทัง้ หมดทีพ
่ ิมพ์โดยส�ำนักพิมพ์ต่างๆ ในประเทศ
อังกฤษ ไม่เฉพาะแต่ ละส� ำนั กพิมพ์ที่เป็นสมาชิกของสมาคมส�ำนักพิมพ์เท่านั้น
ในการจัดท�ำเลขประจ�ำหนังสือนี้ได้เชิญ เอ. เจ. เวลส์ (A. J. Wells) บรรณาธิการ
ผู้ จัด การของสภาบรรณานุ ก รมแห่ ง ชาติ ป ระเทศอั ง กฤษมาร่ว มจัด ท� ำ ด้ ว ย
การจัดท�ำระบบเลขมาตรฐานประจ�ำหนัง สื อ (Standard Book Number) นี้
ได้จด
ั ท�ำส�ำเร็จและเรมิ่ ใช้เมื่อคร ิสต์ศักราช 1967

สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ 31
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

ระบบเลขมาตรฐานประจ�ำ หนั ง สื อ ของอั ง กฤษ เร ียกว่ า Standard


Book Number (SBN) ประกอบด้วยตัวเลข 9 หลัก ซึง่ แบ่งออกเป็น 9 ส่วน
การพิ ม พ์ เ ลขทั้ ง 9 ส่ ว นนี้ ลงในหนั ง สื อ ก� ำ หนดให้ มี ร ะยะห่ า ง 1 ระยะเสมอ
เลขทัง้ 3 ส่วนมีหน้าทีด
่ ังนี้
ส่ ว นที่ 1 รหั ส ของส� ำ นั ก พิ ม พ์ (Publisher Prefix) อาจเป็ น ตั ว เลข
ตั้งแต่ 2 หลัก ถึง 7 หลัก ส�ำนักพิมพ์ใหญ่ผลิตหนังสือมากจะได้เลขรหัสน้อยหลัก
ดังนั้นจะเหลือเลขรหัสมากส�ำหรับหนังสือแต่ละชือ
่ เรอื่ ง
ส่วนที่ 2 รหัสเฉพาะของชือ
่ เร ื่อง (Title Number) หนังสือเร ื่องใดเร ื่องหนึง่
หร ือเล่มใดเล่มหนึง่ เลขรหัสอาจเป็นเลขตั้งแต่ 1 หลัก ถึง 6 หลัก และขึน
้ อยู่กับ
เลขส�ำนักพิมพ์ ถ้าเลขหลักหร ือต�ำแหน่งของส�ำนักพิมพ์น้อย เลขหลักของชือ
่ เรอื่ ง
ก็จะมาก แต่ ถ้าเลขหลักของส�ำนักพิมพ์มีมาก เลขหลักของชือ
่ เรอื่ งก็จะมีน้อยลง
ตามล�ำดับ ซึง่ เมือ
่ เลขทัง้ 2 ส่วนนีม
้ ารวมกันแล้ว จะได้เลข 8 หลัก หรอื 8 ต�ำแหน่ง
ส่วนที่ 3 เลขตรวจสอบ (Check Digit) เป็นส่วนสุดท้ายของเลขประจ�ำ
หนังสือ และมีหนึง่ หลักเสมอ เลขตรวจสอบ จะท�ำหน้าทีต
่ รวจสอบว่าเลขทัง้ 8 หลัก
ทีบ
่ ันทึกเข้าไปในคอมพิวเตอร์นั้นเป็นเลขทีถ
่ ูกต้องหร ือไม่

ในระหว่ า งคร ิสต์ ศั ก ราช 1966 ส� ำ นั ก พิ ม พ์ แ ละตั ว แทนจ�ำ หน่ า ย


หนั ง สื อ ส่ ว นใหญ่ ใ นยุ โรปก� ำ ลั ง พิ จ ารณาน� ำ เคร อื่ งคอมพิ ว เตอร์ม าใช้ ส� ำ หรับ
การสั่ ง ซื้อ และการควบคุ ม การส� ำ รวจหนั ง สื อ และสิ่ ง จ�ำ เป็ น เบื้ อ งต้ น ส� ำ หรับ
การใช้ร ะบบเคร อื่ งจัก รกล ก็ คื อ เลขรหั ส ง่ า ยๆ และเป็ น เอกลั ก ษณ์ ส� ำ หรับ
หนังสือแต่ละเล่ม

ในขณะที่ ป ระเทศอั ง กฤษได้ จั ด ระบบเลขมาตรฐานประจ�ำ หนั ง สื อ


(SBN) ขึ้นใช้เมื่ อ คร ิสต์ ศักราช 1967 ประเทศต่ างๆ จึงเรมิ่ ตื่ นตั วเรอื่ งการน� ำ
เลขมาตรฐานประจ�ำ หนั ง สื อ มาใช้ใ นประเทศของตน ประเทศสหรัฐอเมร ิกา
เรมิ่ มีหน่ วยงานต่ างๆ สนใจ เช่น สมาคมห้ องสมุ ดอเมร ิกั น สภาส� ำนั กพิ มพ์
หนังสื อของอเมร ิกา และสมาคมมาตรฐานของอเมร ิกา ก� ำลังศึ กษาระบบเลข
มาตรฐานของอังกฤษอยูใ่ นขณะนั้น เพือ
่ ศึกษาถึงความสามารถในการน�ำไปใช้กับ
หนั ง สื อ ของสหรัฐ อเมร ิกา ส่ วนประเทศเยอรมนี น� ำ เอาระบบเลขมาตรฐาน
ประจ�ำหนังสื อไปใช้แล้ว

32 สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

คร ิสต์ ศั กราช 1967 คณะกรรมการว ชิ าการขององค์ ก ารมาตรฐาน


ระหว่ า งชาติ (ISO/TC 46) ได้ ตั้ ง คณะบุ ค คลขึ้ น คณะหนึ่ ง เพื่ อ ตรวจสอบ
และศึ ก ษาถึ ง ความสามารถในการน� ำ เอาระบบเลขมาตรฐานประจ�ำ หนั ง สื อ
ของอั ง กฤษ ไปใช้ กั บ ประเทศต่ างๆ จากค� ำ แนะน� ำ ของศาสตราจารย์
เอฟ. จี. ฟอสเตอร์ (F. G. Foster) สรุปได้ ว่า ประเทศต่ างๆ สามารถน� ำเอา
ระบบเลขมาตรฐานประจ�ำหนังสือของอังกฤษไปใช้ได้ และระบบ SBN นี้ สามารถ
ท�ำให้ เป็นระบบสากลได้ โดยการเพิ่มเลขเข้าไป 1 หลัก เพื่อแทนความหมาย
ของประเทศ หร ือกลุ่มของประเทศ หร ือกลุ่มของภาษา เป็นต้น

คร ิสต์ศักราช 1968 มีการประชุมทีล


่ อนดอน โดยตัวแทนจากประเทศ
เดนมาร์ก ฝรั่งเศส สาธารณรัฐ เยอรมนี เนเธอร์แ ลนด์ นอร์เวย์ อั ง กฤษ
สหรัฐอเมร ิกา และผู้สังเกตการณ์จากองค์การศึกษาว ิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม
ของสหประชาชาติ ประเทศอื่นๆ ทีไ่ ม่ได้เข้าร่วมประชุมได้เขียนเสนอข้อคิดเห็น
แสดงความสนใจส่งไปยังกรรมการ ทีป
่ ระชุมได้เสนอให้ปรับปรุงระบบ SBN ของ
อังกฤษขึน
้ เป็นระบบสากล เพื่อให้ประเทศต่างๆ ทัว่ โลกได้ใช้ทวั่ กัน

ดั งนั้ น กรรมการแผนกเอกสารขององค์ ก ารมาตรฐานระหว่ า งชาติ


จึงจัดให้ มี การประชุ มขึ้ นอี กครัง้ หนึ่ งที่ กรุ งเบอร์ลิ น ประเทศเยอรมนี ตะวั นตก
เมื่ อเดื อนพฤษภาคม คร ิสต์ ศั กราช 1969 เพื่ อพิ จารณาระบบเลขมาตรฐาน
สากลประจำ�หนั งสื อ การประชุ มครั้งสุ ดท้ ายมี ขึ้ นที่ กรุ งสต๊ อคโฮม ประเทศ
สว ีเดน เมื่อเดือนตุลาคม คร ิสต์ศักราช 1969 ผลของการประชุมสองครัง้ หลังนี้
ทีป
่ ระชุมได้รา่ งหลักคำ�แนะนำ�ที่ 2108 ขององค์การมาตรฐานระหว่างชาติ (ISO
Recommendation 2108) เกี่ยวกับระบบเลขมาตรฐานสากลประจำ�หนังสือ
(ISBN Systems) และได้ตีพิมพ์ออกเผยแพร่แก่ประเทศสมาชิกทัง้ หมดระหว่าง
คร ิสต์ศักราช 1970

การบรหารเลขมาตรฐานสากลประจ�
ิ ำหนังสือ (ISBN) ของประเทศไทย
ปีพุทธศักราช 2519 ส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ ได้สมัครเข้าเป็นสมาชิก
ศู น ย์ เ ลขมาตรฐานสากลประจ� ำ หนั ง สื อ (International ISBN Agency)
ที่กรุ งเบอร์ลิ นประเทศเยอรมนี ต ะวั นตก เพื่ อ ขอใช้เลขมาตรฐานสากลประจ�ำ
หนังสื อ เป็ น เลขเอกลั กษณ์ ป ระจ�ำหนังสื อ ที่ผลิ ตในประเทศไทยแต่ ล ะชื่อ เร อื่ ง
โดยระบบเลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนัง สื อ มี ประโยชน์ อ ย่ า งยิ่ง กั บห้ อ งสมุ ด
ท�ำให้ การค้นคืนข้อมูลและการเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศเป็นไปด้ วยความรวดเร็ว
และมี ป ระสิ ท ธิภ าพโดยการสื บ ค้ น จากตั ว เลขมาตรฐานสากลประจ�ำ หนั ง สื อ

สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ 33
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

อี กทั้งยังสามารถใช้ควบคุ ม สิ่ ง พิ ม พ์ ที่ผ ลิ ต ขึ้น ในประเทศ และท�ำให้ ทราบถึ ง


แนวโน้มการผลิตหนังสือในสาขาต่ างๆ ตลอดจนใช้ในการยืมคืน หร ือใช้ในการ
แลกเปลีย
่ นระหว่างห้ องสมุ ด

การบร ิหารงานของระบบเลขมาตรฐานสากลประจ�ำ หนัง สื อ (ISBN)


ระดับกลุ่มประเทศส�ำหรับประเทศไทย อยู่ในความรับผิดชอบของส�ำนักหอสมุด
แห่งชาติ โดยมีหน้าที่ ดังนี้
1. ประสานงานกั บ ศู น ย์ เ ลขมาตรฐานสากลประจ�ำ หนั ง สื อ ในฐานะ
ตัวแทนของส�ำนักพิมพ์ต่างๆ ภายในกลุ่ม
2. ตัดสินใจในการแบ่งประเภทของส�ำนักพิมพ์
3. เก็บรักษารายชือ
่ และรหัสของส�ำนักพิมพ์ หร ือหน่วยงาน
4. บร ิหารจัดการชุดเลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือให้แก่ส�ำนักพิมพ์
หร ือหน่วยงาน
5. ก�ำหนดเลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือให้สำ� หรับหนังสือแต่ละเล่ม
6. ตรวจสอบข้อมูลเลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือตามทีผ
่ ใู้ ช้ขอตรวจสอบ
7. จัดท�ำคู่มือการใช้เลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ

ภารกิ จหน้ าที่ ของศู นย์เลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนั งสื อประเทศไทย


1. ท�ำหน้าทีก
่ ลุ่มประเทศไทย เพื่อติ ดต่ อและประสานงานกับศูนย์เลข
มาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ (International ISBN Agency) ส�ำนักงานใหญ่
ณ ประเทศอังกฤษ ได้แก่ การจัดท�ำรายละเอียดกรณีทศ
ี่ ูนย์เลขมาตรฐานสากล
ประจ�ำหนังสือ การจ่ายค่าสมาชิก อีกทัง้ มีการปรับกฎเกณฑ์ต่างๆ
2. จัดเตร ียมบัญชีเลขส�ำเร็จรูปไว้ให้แก่สมาชิกของกลุ่มประเทศไทย
3. ควบคุมและท�ำบัญชีตรวจสอบการใช้เลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ
4. ให้คำ� แนะน�ำและให้คำ� ปรกษาการก�
ึ ำหนดเลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ

34 สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

ประโยชน์ ของเลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนั งสื อ


1. ท�ำให้การค้นคืนข้อมูลและการเข้าถึงข้อมูลเป็นไปด้วยความรวดเร็ว
และมีประสิทธิภาพ ด้วยการใช้เลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ ในการสืบค้นข้อมูล
2. ท�ำหน้าที่เป็นส่วนควบคุมจ�ำนวนสิ่งพิมพ์ที่ผลิตขึ้นในประเทศ และ
ท�ำให้ทราบแนวโน้มการผลิตหนังสือในสาขาว ิชาต่างๆ
3. เลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ ให้ความสะดวกในด้านการบร ิการ
ยืมคืนของห้องสมุด
4. ใช้ใ นการยื ม ระหว่า งห้ อ งสมุ ด ท�ำ ให้ ก ารค้ นหาข้ อ มู ล ไม่ ผิด พลาด
และเป็นไปด้วยความสะดวก รวดเร็ว
5. ส่งเสรมและเผยแพร่
ิ ให้รายชือ
่ สิง่ พิมพ์ในแต่ละประเทศให้แพร่หลาย
6. ผูพ
้ ม
ิ พ์และผูใ้ ช้หนังสือทัว่ โลกสามารถติดต่อกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว
7. ใช้เ ป็ น รหั ส สิ น ค้ า แทนการระบุ ชื่อ หนั ง สื อ ในการติ ด ต่ อ สื่ อ สาร
ระหว่างส�ำนักพิมพ์ ร้านหนังสือ ห้องสมุด หร ือผู้ซอ
ื้ ทัว่ ไป
8. แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างห้องสมุด รวบรวมและจัดท�ำบัญชีรายชือ

ประกอบธุรกิจการค้า สิ่งพิมพ์ และฐานข้อมูลบรรณานุกรม รวมถึงการสืบค้น
ข้อมูลเกี่ยวกับหนังสือได้งา่ ยขึน

ผูผ
้ ลิตสิง่ พิมพ์ทต
ี่ ้องด�ำเนินการขอเลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ (ISBN)
1. ส�ำนักพิมพ์ ซึง่ เป็นผูร้ ับผิดชอบในการจัดพิมพ์หนังสือต่างๆ ออกจ�ำหน่าย
2. โรงพิมพ์ ทัง้ โรงพิมพ์ขนาดใหญ่ กลาง และขนาดเล็ก ทีร่ บ
ั พิมพ์หนังสือ
ของส�ำนักพิมพ์ หร ือผู้วา่ จ้างพิมพ์ ทีเ่ ป็นหน่วยงานราชการ เอกชน หร ือบุคคล
3. หน่วยงานราชการระดับกรมขึน
้ ไป หากเป็นหน่วยงานย่อย ให้ทก
ุ หน่วยงาน
จัดสิ่งพิมพ์เข้าไว้ในระดับทีก
่ รมสังกัด เช่น ส�ำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์
จัดไว้ในกรมศิลปากร
4. สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา เช่น มหาว ิทยาลัยเกษตรศาสตร์
5. องค์การต่างๆ สมาคมทีส
่ �ำคัญ เช่น สมาคมผูจ
้ ด
ั พิมพ์และผูจ
้ ำ� หน่าย
หนังสือแห่งประเทศไทย สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี

สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ 35
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

โครงสร้างของเลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ (ISBN)

ส่วนที่ 1 Prefix Element น�ำหน้าด้วยเลข 3 หลัก เท่านั้น คือ เลข 978


ของรหัส EAN ซึง่ เป็นรหัสแท่ง (Barcode) แสดงสินค้าหร ือผลิตภัณฑ์ประเภท
หนังสือ เป็นข้อมูลส่วนทีไ่ ม่เปลี่ยนแปลง

ตัวอย่าง 978-XXX-XXX-XXX-X

ส่วนที่ 2 รหัสกลุม
่ ประเทศ (Registration Group Element) ก�ำหนด
โดยศูนย์เลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ (International ISBN Agency)
แสดงถึงกลุ่มประเทศตามลักษณะทางภูมิศาสตร์ หร ือกลุ่มประเทศตามการใช้
ภาษา เช่น 616 คือ รหัสประเทศไทย หร ือ 2 เป็นเลขทีก
่ �ำหนดให้ประเทศฝรัง่ เศส
และกลุ่มประเทศทีใ่ ช้ภาษาฝรัง่ เศส เป็นต้น

ตัวอย่าง 978-616-XXX-XXX-X

ส่วนที่ 3 รหัสส�ำนักพิมพ์ (Registrant Element) หน่วยงานให้บร ิการ


เลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ จะเป็นผู้ก�ำหนดเลขส่วนนี้ให้แต่ละส�ำนักพิมพ์
ทีจ
่ ะขอใช้เลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ มีได้ตั้งแต่ 1-7 หลัก ขึน
้ อยู่กับจ�ำนวน
สิ่งพิมพ์ทจ
ี่ ะผลิต
ส่วนที่ 4 รหัสชือ
่ เรอื่ ง (Publication Element) แสดงล�ำดับของสิง่ พิมพ์
แต่ละรายการทีผ
่ ลิตจากส�ำนักพิมพ์นั้นๆ
ส่วนที่ 5 เลขตรวจสอบ (Check Digit) ได้จากการค�ำนวณเลข 12 หลักแรก
โดยใช้สูตร Modulus 10 ส�ำหรับตรวจสอบความถูกต้องของเลข

36 สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

สิ่งพิมพ์ที่ให้เลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ (ISBN)
1. หนังสือ
2. จุลสาร
3. สิ่งพิมพ์อักษรเบรลล์
4. สิ่ งพิ มพ์ ที่ ส� ำนั กพิ มพ์ ไม่ ได้ เจตนาที่ จ ะปรั บ ปรุ งประจ� ำ หร อื
ด�ำเนินการอยู่เรอื่ ยๆ (เมื่อพิมพ์เผยแพร่แล้วถือว่าสิ้นสุด)
5. หนังสือเสียง และหนังสือเสียงทีส
่ ามารถเข้าถึง ดาวน์โหลด และ
การส่งข้อมูลผ่านระบบเคร ือข่ายอินเทอร์เน็ต
6. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในรูปของเทป
แม่เหล็กบันทึกข้อมูล (Tape) ฟลอปปี้ ดส
ิ ก์ (Floppy Disk) ซีดรี อม (CD-ROM) และ
การเข้าถึงผ่านระบบเคร ือข่ายอินเทอร์เน็ต ทัง้ การดาวน์โหลดและการส่งข้อมูล
7. ไฟล์ส�ำเนาของหนังสือในรูปแบบดิ จท
ิ ัล ที่อยู่ในกระบวนการผลิต
สิ่งพิมพ์
8. สิ่งพิมพ์ในรูปวัสดุย่อส่วน เช่น ไมโครฟอร์ม
9. ซอฟต์แวร์ทางการศึกษา หร ือการเร ียนการสอน ภาพยนตร์ ว ิดีโอ
แผ่ น ใส ทั้ ง ในรู ป แบบที่ ส ามารถเข้ า ถึ ง ดาวน์ โ หลด และส่ ง ข้ อ มู ล ผ่ า นระบบ
เคร ือข่ายอินเทอร์เน็ต
10. สิ่งพิมพ์สื่อผสมที่ประกอบด้ วยเนื้ อหาเป็นส่ วนใหญ่ เช่น หนังสื อ
พร้อมซีดี หร ือหนังสือพร้อมดีว ีดี
11. สิ่ งพิ ม พ์ ที่รวมบทความของผู้ แ ต่ ง คนเดี ยว หร ือบทความที่มีก าร
พิมพ์เผยแพร่อย่างต่อเนื่อง ซึง่ จัดพิมพ์โดยส�ำนักพิมพ์
12. หนั ง สื อ แสดงงานศิ ล ปะ และหนั ง สื อ ภาพ ซึ่ง มี ห น้ า ปกใน และ/
หร ือมีเนื้อหา หร ือค�ำอธิบาย
13. แอปพลิเคชันหนังสื ออิเล็กทรอนิ กส์ ซึง่ เนื้ อหามีความส� ำคั ญ และ
มี ลั ก ษณะคล้ า ยหนั ง สื อ และเผยแพร่สู่ ส าธารณะ ทั้ ง นี้ ให้ ห มายถึ ง รู ป ภาพ
ภาพเคลื่อนไหว และเสียง
14. แผนทีแ
่ ผ่นและแผนทีเ่ ล่ม

สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ 37
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

สิ่งพิมพ์ที่ไม่ให้เลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ (ISBN)
1. สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง เช่น วารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ์
2. บทคัดย่อทุกชนิด ทัง้ ด้านว ิชาการ และบทคัดย่อทีม
่ ีเนื้อหาเชิงศิลป์
3. สิ่งพิมพ์ทวั่ ไป หร ือสิ่งพิมพ์ดิจท
ิ ล
ั ทีม
่ ีวัตถุประสงค์ทางการตลาด
หร ือการโฆษณาสิ น ค้ า เช่น สื่ อ โฆษณา หร ือชุ ด ค� ำ สั่ ง โปรแกรมคอมพิ ว เตอร์
ขนาดเล็ก (Widgets) เช่น โปรแกรมระบบปฏิบัติการ windows
4. เนื้อเพลง
5. งานศิลปะ และชุดงานศิลปะ ทีไ่ ม่มีหน้าปกในหร ือเนื้อหา
6. เอกสารส่วนบุคคล เช่น ประวัตบ
ิ ค
ุ คลในรูปแบบดิจท
ิ ล
ั หรอข้
ื อมูลส่วนตัว
7. บัตรอวยพร
8. แผ่นบันทึกเสียงเพลง
9. ซอฟต์ แวร์ ภาพยนตร์ ว ิดี โอ หร ือแผ่นใส ที่ไม่มีวัตถุประสงค์ เพื่อ
การศึกษาหร ือการเร ียนการสอน
10. กระดานข่าวดิจท
ิ ล

11. อีเมล และการโต้ตอบทางอิเล็กทรอนิกส์
12. เกม
13. หนังสือท�ำมือ หร ือหนังสือประดิษฐ์ ซึง่ ไม่มีวัตถุประสงค์ในการใช้
งานทัว่ ไป
14. เอกสารอนุ ญ าต หร ือบั ต รก� ำ นั ล ในการเข้ า ถึ ง สิ่ ง พิ ม พ์ ดิ จิ ทั ล
บนเคร ือข่ายอินเทอร์เน็ต
15. สมุดภาพระบายสี สมุดแบบฝึกหัด
16. สิ่งพิมพ์ทม
ี่ ีอายุการใช้งานสั้น เช่น สมุดบันทึก ปฏิทน
ิ โปรแกรม
ภาพยนตร์ สูจบ
ิ ัตร
17. สิ่ ง พิ ม พ์ ฉ บั บ ส� ำ เนาที่ ไ ม่ ไ ด้ จัด พิ ม พ์ โ ดยโรงพิ ม พ์ ห ร ือส� ำ นั ก พิ ม พ์
เช่น ว ิทยานิพนธ์ หร ือ งานว ิจัยของบุคคล

38 สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

การพิมพ์เลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ (ISBN)
โดยทัว่ ไปเลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ ให้ปรากฏบนสิ่งพิมพ์ ทัง้ นี้
มีรูปแบบและต�ำแหน่งทีจ
่ ะพิมพ์ได้ ดังนี้
การพิมพ์เลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสื อ จะต้ องพิมพ์ค�ำว่า ISBN
หร ือเลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ น�ำหน้าเลขบนสิ่งพิมพ์ 13 หลัก พิมพ์ได้
2 แบบ โดยต้องพิมพ์เป็นเลขอารบิกเท่านั้น ดังนี้

แบบทีใ่ ช้เครอื่ งหมายยัติภังค์ (–) ระหว่างตัวเลข เช่น


ISBN 978-616-283-313-7
เลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ 978-616-283-313-7

แบบทีไ่ ม่มีเครอื่ งหมายยัติภังค์ (–) ระหว่างตัวเลข เช่น


ISBN 978 616 283 313 7
เลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ 978 616 283 313 7

ต�ำแหน่งที่พิมพ์บนสิ่งพิมพ์ แบ่งตามประเภทของวัสดุ ดังนี้


สิ่งตีพิมพ์
1. หน้าลิขสิทธิ์ (หลังหน้าปกใน) ถ้าไม่สามารถพิมพ์ได้ ก็อาจจะพิมพ์
บนมุมล่างของหน้าชือ
่ เรอื่ งหร ือทีอ
่ น
ื่ ๆ ถ้าไม่สามารถพิมพ์ตามต�ำแหน่งดังกล่าวได้
2. มุมล่างของสันหนังสือ
3. มุมขวาด้ านล่างสุ ดของปกหลัง (ถ้ ามีบาร์โค้ ด เลขมาตรฐานสากล
ประจ�ำหนังสือจะอยู่ด้านบนของบาร์โค้ด)
4. หน้ า ปกหลั งของใบหุ้ ม ปก หร ือส่ ว นหลั ง ของวั ส ดุ ที่ห่ อ หุ้ มสิ่ ง พิ มพ์
ต้องพิมพ์ด้วยตัวใหญ่พอทีจ
่ ะอ่านออกได้

สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ 39
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

วัสดุไม่ตีพิมพ์
1. สิ่ ง พิ ม พ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เช่น ซีดี ร อม (CD-ROM) หร ือ สิ่ ง พิ ม พ์
ออนไลน์ (Online) ต้ องแสดงเลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสื อ ที่หน้ าชือ
่ เรอื่ ง
หร ือหน้าแรกบนหน้าจอทีส
่ ืบค้นเนื้อหา
2. สื่อในรูปฟิลม
์ (Film) ว ิดีโอ (VDO) ดีว ีดี (DVD) และแผ่นใส ให้แสดง
เลขมาตรฐานสากลประจ�ำ หนั ง สื อ บนสลากที่ ป รากฏบนสื่ อ ถ้ า ไม่ ส ามารถ
ปรากฏบนสื่อต�ำแหน่งดังกล่าว ให้ปรากฏไว้ทด
ี่ ้านหลังบรรจุภัณฑ์นั้นๆ
นอกจากจะต้ อ งพิ ม พ์ เ ลขมาตรฐานสากลประจ�ำ หนั ง สื อ บนสิ่ ง พิ ม พ์
แล้ ว ส� ำ นั ก พิ ม พ์ ค วรพิ ม พ์ เ ลขมาตรฐานสากลประจ�ำ หนั ง สื อ บนสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์
หลายประเภทเพื่อประชาสัมพันธ์สิ่งพิมพ์ของส�ำนักพิมพ์ เช่น กล่องใส่หนังสือ
รายชื่ อ หนั ง สื อ เว็ บ ไซต์ (Website) สื่ อ โฆษณา และควรใช้ ข นาดตั ว อั ก ษร
ทีเ่ ห็นได้ชด
ั เจน

เอกสารที่ต้องเตรยมส�
ี ำหรับการขอเลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ (ISBN)
ประกอบด้วย 1. หน้าลิขสิทธิข์ องหนังสือ มีรายละเอียด ดังนี้
- ชือ
่ หนังสือ*
- ปีทพ
ี่ ิมพ์
- ครัง้ ทีพ
่ ิมพ์
- จัดท�ำโดย หรอื จัดพิมพ์โดย แล้วตามด้วยชือ่ ของเจ้าของหนังสือ*
- ISBN* เช่น ISBN………………… หร ือ ISBN xxxxxxxxxxxx
- พิมพ์ที่ แล้วตามด้วยชือ
่ โรงพิมพ์
- ในกรณีที่ “ต้ องการข้อมูล ทางบรรณานุกรมของหอสมุด
แห่งชาติ (CIP)” ตามแบบฟอร์มข้อที่ 17 ให้เพิ่มค�ำว่า “ข้อมูลทางบรรณานุกรม
ของหอสมุดแห่งชาติ” พร้อมทัง้ ตีกรอบสี่เหลี่ยมและเว้นทีไ่ ว้ประมาณ 8 บรรทัด
ทีบ
่ รรทัดสุดท้ายภายในกรอบสี่เหลี่ยมใส่ค�ำว่า ISBN

หมายเหตุ : ข้อมูลทีม
่ ีเครอื่ งหมายดอกจันเป็นข้อมูลทีจ
่ ำ� เป็นต้องปรากฏในหน้า
ลิขสิทธิ์

40 สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

ตัวอย่างหน้าลิขสิทธิ์

คู่มือการบรการ
ิ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

พิมพ์ครัง้ แรก มกราคม พุทธศักราช 2565 จ�ำนวน 200 เล่ม

ลิขสิทธิข์ องส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร

ข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาติ

ISBN

ที่ปรกษา

อธิบดีกรมศิลปากร (นายกิตติพันธ์ พานสุวรรณ)
รองอธิบดีกรมศิลปากร (นายพนมบุตร จันทรโชติ)
ผู้อ�ำนวยการส�ำนักบร ิหารกลาง (นางรักชนก โคจรานนท์)
ผู้อ�ำนวยการส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ (นางสาววาสนา งามดวงใจ)
นางสาวพิมพ์พรรณ ไพบูลย์หวังเจร ิญ นักอักษรศาสตร์ทรงคุณวุฒิ
คณะผู้จด
ั ท�ำ
นางสาวปุณณภา สุขสาคร ว่าทีเ่ ร ืออากาศตร ี สิร ิพงษ์ มุกด์มณี
นางสาวว ิภานันท์ ล�ำงาม นางสาวสุวลักษณ์ แดงศร ี
นางสาวพรยุภา นันทพรกรกุล นายวัศนันท์ พรประสิทธิ์
นางสาวอรวรรณ เชาว์ประเสร ิฐ นายว ิร ิยะ เรวัตบวรวงศ์
ศิลปกรรม นายชโย ทองลือ
จัดพิมพ์โดย ส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร
พิมพ์ที่ ส�ำนักพิมพ์คณะรัฐมนตร ีและราชกิจจานุเบกษา

สี่แยกซังฮี้ ถนนสามเสน เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 โทรศัพท์ 0 2243 0613 โทรสาร 0 2117 1820

2. เอกสารการจัดตั้ งหร ือเอกสารจดทะเบียนนิ ติบุคคล เช่น หนังสื อ


จดทะเบียนจากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า หร ือ หนังสือจัดตั้งสมาคม ฯลฯ ในกรณี
ทีข
่ อเลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือเป็นครัง้ แรก
3. หน้าสารบัญ
4. หน้าปกหนังสือ
5. เรอื่ งย่อ

สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ 41
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

ขั้นตอนการขอเลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ (ISBN)
ผ่านระบบ e-Service

ขั้นตอนการยื่นค�ำร้องขอเลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ (ISBN)
1. เข้าสู่ระบบผ่านเว็บไซต์ e-service.nlt.go.th
2. ผู้ใช้บร ิการคลิกทีป
่ ุ่มบร ิการค�ำร้อง >> ค�ำร้องขอ ISBN >> ขอเลข
ISBN

3. เมือ
่ หน้าจอปรากฏค�ำร้องขอเลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ (Requestion
for ISBN) จากนั้นคลิกทีป
่ ุ่ม “ยื่นค�ำร้องใหม่”

42 สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

4. กรอกแบบฟอร์ม ข้ อ มู ล การขอเลขมาตรฐานสากลประจ�ำ หนัง สื อ


ให้ เ ร ียบร้อ ย (ข้ อ มู ล ในช่ อ งที่ มี ด อกจั น แดงคื อ ข้ อ มู ล ที่ ผู้ ใ ช้ บ ร ิการจ� ำ เป็ น
ต้องกรอกลงในแบบฟอร์ม) จากนั้นคลิกปุ่ม “ถัดไปขั้นตอนการตรวจสอบ”

ข้อมูลของแบบฟอร์มมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
1. ชือ
่ หนังสือ
2. ชือ
่ ผู้แต่ง
3. ชือ
่ ผู้แปล
4. ผู้วาดภาพประกอบ
5. ครัง้ ทีพ
่ ิมพ์
6. ชือ
่ ชุดและจ�ำนวนเล่มต่อชุด: กรณีทห
ี่ นังสือทีข
่ อไม่ได้มเี ล่มต่อเนื่อง
(เช่น เล่ม 1, เล่ม 2....เล่ม XX) ผู้ใช้ไม่ต้องกรอกข้อมูลในหัวข้อนี้
7. ผู้ ร ับ ผิ ด ชอบจัด การพิ ม พ์ : ให้ ก รอกข้ อ มู ล ของเจ้ า ของหนั ง สื อ
โดยกรอกข้อมูลในช่องผู้รบ
ั ผิดชอบจัดการพิมพ์จนถึงช่องเว็บไซต์ด้วยภาษาไทย
และ ช่อง Publisher’s name จนถึงช่อง Website ด้วยภาษาอังกฤษ กรณี
ที่ เ จ้า ของหนั ง สื อ เป็ น นิ ติ บุ ค คลให้ ผู้ ใ ช้บ ร ิการแนบหนั ง สื อ จดทะเบี ย นมาให้
เจ้าหน้าทีล
่ งข้อมูลในขั้นตอนที่ 3 ทีเ่ ป็นขั้นตอนการแนบไฟล์ด้วย
8. โรงพิมพ์: กรอกข้อมูลของโรงพิมพ์ที่ส่งหนังสื อเข้าไปตี พิมพ์ กรณี
เป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) ให้กรอกข้อมูลในทุกช่องด้วยเครอื่ งหมาย
– ยกเว้นช่องจังหวัด, ช่องอ�ำเภอ/เขต, และช่องต�ำบล/แขวง
9. ปีทพ
ี่ ิมพ์: หากปีทพ
ี่ ิมพ์เป็นปีถัดไปให้ ผู้ใช้บร ิการกรอกแบบฟอร์ม
เข้ามาในระบบตั้งแต่วันที่ 15 ธ.ค. ของปีก่อนหน้า
10. จ�ำนวนหน้า
11. ราคา: หากหนั ง สื อ ไม่ มี ก ารจัด จ�ำ หน่ า ยให้ เ ลื อ กช่อ ง “ไม่มีราคา
จ�ำหน่าย (Free Copy)”

สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ 43
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

12. จ�ำนวนที่จัด พิ ม พ์ : ใส่ จ ำ� นวนที่จัด พิ มพ์ โ ดยประมาณ และเลื อ ก


ลักษณะการพิมพ์ กรณีทเี่ ป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ให้ใส่จำ� นวนทีจ
่ ด
ั พิมพ์
เป็น 0 และเลือกลักษณะการพิมพ์เป็น อื่นๆ
1 3 . ป ร ะ เ ภ ท สิ่ ง พิ ม พ์ : เ ลื อ ก ป ร ะ เ ภ ท ข อ ง สิ่ ง พิ ม พ์ ที่ จ ะ ข อ เ ล ข
มาตรฐานสากลประจ�ำ หนั ง สื อ กรณี ที่ เ ป็ น หนั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ให้ ก รอก
เว็ บ ไซต์ ที่ จ ะน� ำ หนั ง สื อ ขึ้ น เผยแพร่ หากเป็
หากเป็นสิ
น สิ่ ่ งงพิ
พิ ม พ์ ป
มพ์ ระเภทอื่ น ไม่ ต้ อ ง
ประเภทอื
กรอกเว็บไซต์
14. ผู้จด
ั จ�ำหน่าย: กรณีที่ผู้จด
ั จ�ำหน่ายเป็นคนคนเดี ยวกับบุคคลหร ือ
นิ ติ บุ ค ค ล ใ น ข้ อ ที่ 7 ให้ ผู้ ใช้ ค ลิ ก เ ลื อ ก ช่ อ ง “ เ ป็ น ที่ อ ยู่ ต า ม ส� ำ นั ก พิ ม พ์
(Reference Publisher’s Address)”
15. วันทีเ่ ข้าโรงพิมพ์: ระบุวน
ั ทีน
่ ำ� หนังสือส่งเข้าโรง
าโรงพิมพ์โดยผูใ้ ช้บร ิการ
เลือกจากเครอื่ งหมายปฏิทน
ิ ทีอ
่ ยู่ข้างๆ ของช่อง
16. วั น ที่ เ ผยแพร่: ผู้ ใ ช้ บ ร ิการต้ องระบุ วั น ที่ ห นั ง สื อ จะเผยแพร่
โดยเลือกจากเครอื่ งหมายปฏิทน
ิ ทีอ
่ ยู่ข้างๆ ของช่อง
17. ผู้ ใ ช้บ ร ิการที่ มี ค วามประสงค์ ใ ห้ จัด ท� ำ ข้ อ มู ล ทางบรรณานุ ก รม
ของส� ำนั กหอสมุ ด แห่ งชาติ (CIP) : หากผู้ ใช้บร ิการต้ อ งการให้ เลื อ กต้ อ งการ
หากไม่ต้องการให้เลือกไม่ต้องการ CIP 1

ตัวอย่าง CIP ทีห


่ อสมุดแห่งชาติออกให้แก่ผู้ใช้ทข
ี่ อมาในแบบฟอร์มข้อที่ 17

11
CIP
CIP คืคืออ ข้ข้ออมูมูลลทางบรรณานุ
ทางบรรณานุกกรมของหนั
รมของหนังสือ หร
หรอื ื Cataloguing
Cataloguing in
in Publication
Publication
(CIP) เป็
เป็นนการก�
การกำำาหนดข้
หนดข้ออมูมูลลให้
ให้รรายละเอี
ายละเอียยดรายการทางบรรณานุ
ดรายการทางบรรณานุกกรม
รม ตามหลั
ตามหลักก
เกณฑ์ในการท�
นการทำำารายการ เลขหมู่หนังสือ หั
หัววเร
เรออื่ ื่ งง ให้
ให้แแก่กสำ
ส�ำานันักกพิ
พิมมพ์
พ์ หร
หรือผู
ือผู้จ้จด
ัด
ั พิพิมมพ์พ์
หนังสือ

44 
สำ�นั
สำ นักกหอสมุ
หอสมุดดแห่
แห่งงชาติ
ชาติ
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

4. ตรวจสอบข้ อ มู ลในแบบฟอร์มที่ก รอกในข้ อ ที่ 1 หากไม่ ต้อ งการ


แก้ไขคลิกปุ่ม “ถัดไป ขั้นตอนการแนบไฟล์”

5. แนบไฟล์เอกสาร จากนั้นคลิกปุ่ม “ถัดไป ขั้นตอนบันทึกค�ำร้อง”


สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ 45
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

6. คลิกปุ่ม “ยืนยัน” เพื่อบันทึกค�ำร้อง

7. หลั งจากบั น ทึกค� ำร้อ งเร ียบร้อ ยแล้ ว ระบบจะปรากฏค� ำ ร้อ งขึ้น
ทีห
่ น้าค�ำร้องขอเลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือของผู้ใช้บร ิการ

46 สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

8. หากเจ้าหน้าที่ตรวจสอบค�ำร้อง และพบว่าค�ำร้องต้องมีการแก้ไข
จะปรากฏสถานะแก้ไขข้อมูล พร้อมทัง้ มีสัญลักษณ์ซองจดหมายปรากฏตรงช่อง
ข้อความ ให้ คลิกที่สัญลักษณ์ ซองจดหมาย เพื่อดู ว่าเจ้าหน้ าที่ให้ แก้ ไขอย่างไร
จากนั้นคลิกปุ่มแก้ไข เพื่อด�ำเนินการแก้ไขค�ำร้อง คลิกถัดไปจนถึงขั้นตอนที่ 4
เพื่อบันทึกค�ำร้องส่งกลับมาให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบอีกครัง้

9. หากแบบฟอร์มข้อมูลถูกต้องเร ียบร้อย ทางเจ้าหน้าที่จะด�ำเนินการ


อนุมัติค�ำร้องการขอเลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ

10. หลั ง จากได้ ร บ


ั เลขมาตรฐานสากลประจ�ำ หนั ง สื อ และจัด พิ ม พ์
เร ียบร้อ ยแล้ ว ผู้ ใ ช้ บ ร ิการต้ อ งน� ำ ส่ ง สิ่ ง พิ ม พ์ ต ามพระราชบั ญ ญั ติ จ ดแจ้ ง
การพิมพ์ พ.ศ.2550 (มาตรา 9) จ�ำนวน 2 ฉบับ ให้แก่หอสมุดแห่งชาติภายใน 30 วัน
นับจากวันเผยแพร่

สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ 47
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

การยกเลิกเลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ (ISBN) สามารถท�ำได้เนื่องจาก


เหตุต่างๆ ดังต่อไปนี้
1. ยกเลิกการจัดพิมพ์ สิง่ พิมพ์ทไี่ ด้รบ
ั มาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ (ISBN)
2. เปลี่ยนแปลงข้อมูลต่ างๆ ในแบบฟอร์มการขอเลขมาตรฐานสากล
ประจ�ำหนังสือผ่านระบบ e-service เช่น เปลี่ยนแปลงชือ
่ เรอื่ ง โรงพิมพ์ เป็นต้น

หมายเหตุ ผู้ใช้บร ิการทีป


่ ระสงค์จะยกเลิกเลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ (ISBN)
แจ้งเจ้าหน้าที่ก่อนด�ำเนินการ ยกเลิกผ่านระบบ e-service

ขั้นตอนขอยกเลิกเลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ (ISBN)
ผ่านระบบ e-Service

ขั้นตอนการยื่นค�ำร้องขอยกเลิกเลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ (ISBN)
1. เข้าสู่ระบบผ่านเว็บไซต์ e-service.nlt.go.th

2. ผู้ ใ ช้บ ร ิการคลิ ก ที่ ปุ่ ม บร ิการค� ำ ร้อ ง >> ค� ำ ร้อ งขอ ISBN >> ขอ
ยกเลิกเลข ISBN

48 สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

3. คลิกทีป
่ ุ่มเครอื่ งหมายบวก (+) เพิ่มการขอยกเลิกเลข ISBN

4. ใส่ เ ลข ISBN ที่ช่อ งค� ำค้ น หร ือเลื อ กชื่อ หนัง สื อ ที่ต้อ งการยกเลิ ก
โดยคลิกทีส
่ ัญลักษณ์ o ทีห
่ น้ารหัสค�ำร้อง แล้วคลิกทีป
่ ุ่มเลือก

สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ 49
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

5. เมื่อคลิกทีเ่ ลือกแล้ว จะปรากฏหน้าจอแบบฟอร์มค�ำร้องขอยกเลิก


เลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ ดังนี้

6. จากนั้น ผู้ ใช้บ ร ิการเลื่ อ นหน้ า จอลงไปด้ า นล่ า งสุ ด ของแบบฟอร์ม


ผู้ใช้บร ิการกรอกข้อมูลลงในช่อง “เหตุผลการขอยกเลิก” เมื่อกรอกเหตุผลแล้ว
ให้คลิกทีป
่ ุ่ม ขั้นตอนการตรวจสอบ (Next)

50 สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

7. ปรากฏหน้าจอขั้นตอนที่ 2 เพื่อตรวจสอบเหตุผลทีข
่ อยกเลิก
8. เมื่อตรวจสอบข้อมูลเร ียบร้อยแล้ว คลิกถัดไปขัน
้ ตอนส่งแนบไฟล์

9. คลิกทีป
่ ุ่ม ถัดไป ในขั้นตอนบันทึกค�ำร้อง

สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ 51
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

10. ปรากฏหน้าจอบันทึกรายการค�ำร้อง คลิกปุ่มยืนยัน

11. หลังจากคลิกปุ่ม ยืนยัน เพื่อส่งค�ำร้องเข้าไปในระบบ จะปรากฏ


หน้ า จอบั น ทึ ก ค� ำ ร้อ งและพิ ม พ์ ค� ำ ร้อ ง รอเจ้ า หน้ า ที่ ต รวจสอบข้ อ มู ล และ
ด�ำเนินการอนุมัติ

52 สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

การจดแจ้งการพิมพ์ตามพระราชบัญญัติจดแจ้งการพิมพ์
พุทธศักราช 2550
(Press Act)

ประวัติ
พระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎเกล้ า เจ้า อยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
ให้ออกพระราชบั ญญั ติ ว่า ด้ ว ยสมุ ดเอกสารและหนัง สื อ พิมพ์ ประกาศใช้เมื่อ
วั น ที่ 23 มกราคม พุ ท ธศั ก ราช 2465 โดยมาตรา 6 ก� ำ หนดให้ เ สนาบดี
กระทรวงมหาดไทยเป็นผู้ก�ำกับและรักษาพระราชบัญญัตินี้ และมีอ�ำนาจออกกฎ
ข้ อ บั ง คั บ เพื่ อ ด� ำ เนิ น การให้ เ ป็ น ไปตามพระราชบั ญ ญั ติ ในส่ ว นสาระส� ำ คั ญ
ของกฎเสนาบดีนั้น เนื้อหาเกี่ยวข้องกับอุปกรณ์ในการพิมพ์และการขออนุญาต
จั ด พิ ม พ์ ห นั ง สื อ ซึ่ ง พระราชบั ญ ญั ติ นี้ มี ทั้ ง หมด 40 มาตรา มี บ ทบั ญ ญั ติ
ทีเ่ กี่ยวข้องกับหอพระสมุดวชิรญาณส�ำหรับพระนคร ปรากฏในมาตรา 15 มาตรา
18 มาตรา 19 และมาตรา 28
ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชด�ำร ิว่า
พระราชบั ญ ญั ติ ว่ า ด้ ว ยสมุ ด เอกสารและหนั ง สื อ พิ ม พ์ พุ ท ธศั ก ราช 2465
ไม่สามารถใช้บงั คับด�ำเนินการทีเ่ กีย
่ วข้องกับการพิมพ์ การโฆษณา และการแจกจ่าย
สิ่งพิมพ์ได้อย่างทัว่ ถึง สมควรให้มีการปรับแก้ไขพระราชบัญญัติดังกล่าว จึงทรง
พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติวา่ ด้วยสมุดเอกสารและหนังสือพิมพ์
พุทธศักราช 2470 พร้อมทัง้ ออกกฎเสนาบดีรองรับพระราชบัญญัติ
พุทธศักราช 2476 หลั ง การเปลี่ ย นแปลงการปกครองเป็ น ระบอบ
ประชาธิป ไตย ผู้ แ ทนราษฎรได้ ถ วายค� ำ ปร ึกษาพระบาทสมเด็ จ พระปกเกล้ า
เจ้า อยู่ หั ว เห็ น ควรที่ จ ะส่ ง เสร ิมเสร ีภาพของบุ ค คลในการแสดงความคิ ด เห็ น
ที่ไ ม่ ขั ด กั บ ความสงบเร ียบร้อ ยและศี ล ธรรมอั น ดี ข องประชาชนได้ อ ย่ า งเต็ ม ที่
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ปรับแก้ไขพระราชบัญญัติว่าด้ วยสมุดเอกสาร
และหนังสือพิมพ์ พุทธศักราช 2470 และเปลีย
่ นแปลงชือ
่ ใหม่เป็นพระราชบัญญัติ
การพิมพ์ พุทธศักราช 2476
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล สภาผู้แทนราษฎร
ได้ มีมติ เห็ น สมควรให้ ป รับ แก้ ไขพระราชบั ญ ญั ติ ก ารพิ มพ์ พุ ท ธศั ก ราช 2476
ให้ เ หมาะสมยิ่ ง ขึ้ น จึ ง มี พ ระราชโองการให้ ต ราพระราชบั ญ ญั ติ ก ารพิ ม พ์
พุทธศักราช 2484 ใช้บังคับแทนพระราชบัญญัติการพิมพ์ พุทธศักราช 2476

สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ 53
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพ
ิ ลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติโดยค�ำแนะน�ำ
และยิ น ยอมของสภานิ ติ บั ญ ญั ติ แห่ ง ชาติ ให้ ย กเลิ ก พระราชบั ญ ญั ติ ก ารพิ ม พ์
พุทธศักราช 2484 และตราพระราชบัญญัติจดแจ้งการพิมพ์ พุทธศักราช 2550
โดยประกาศ ณ วันที่ 24 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2550 ต่อมาในปี พุทธศักราช
2551 มีประกาศส�ำนักนายกรัฐมนตร ี เรอื่ ง แต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าทีจ
่ ดแจ้ง
การพิมพ์ ตามพระราชบัญญัติจดแจ้งการพิมพ์ พุทธศักราช 2550 ประกาศ
ณ วันที่ 29 มกราคม พุ ทธศั กราช 2551 และประกาศกฎกระทรวงก� ำ หนด
หลั ก เกณฑ์ แ ละว ธิ ีก ารยื่ น จดแจ้ง การเปลี่ ย นรายการหลั ก ฐานการจดแจ้ง
การยกเลิ ก หลั ก ฐานการจดแจ้ ง การก� ำ หนดแบบการจดแจ้ ง และอั ต รา
ค่ าธรรมเนี ย มการจดแจ้งการพิ ม พ์ หนังสื อ พิ มพ์ พุ ท ธศั ก ราช 2550 ประกาศ
ณ วันที่ 3 มีนาคม พุทธศักราช 2551
สาระส� ำคั ญของพระราชบั ญญั ติ จดแจ้ง การพิ มพ์ พุ ท ธศั ก ราช 2550
ที่เ กี่ ยวข้ อ งกั บ ส� ำ นั ก หอสมุ ด แห่ ง ชาติ ปรากฏอยู่ ใ นบทบั ญ ญั ติ ข องมาตรา 8
และมาตรา 9 ดังนี้
มาตรา 8 ในสิ่ งพิ ม พ์ ซึ่งเป็ นหนัง สื อ ที่ไ ม่ ใช่ห นัง สื อ พิ มพ์ แ ละพิ มพ์ ขึ้น
ในราชอาณาจักรให้แสดงข้อความ ดังนี้
(1) ชือ
่ ผู้พิมพ์และทีต
่ ั้งโรงพิมพ์
(2) ชือ
่ และทีต
่ ั้งของผู้โฆษณา
(3) เลขมาตรฐานสากลประจ�ำ หนั ง สื อ ที่ ห อสมุ ด แห่ ง ชาติ
ได้ออกให้ ข้อความตามวรรคหนึ่งให้ พิมพ์ไว้ในลักษณะที่เห็ นได้ ชด
ั และบรรดา
ชือ
่ ตาม (1) และ (2) มิให้ใช้ชอ
ื่ ย่อ หร ือนามแฝง
สิ่งพิมพ์ตามวรรคหนึ่งให้ หมายความรวมถึงสิ่งพิมพ์ที่บันทึก
ด้วยว ิธีอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อขายหร ือให้เปล่าด้วย
มาตรา 9 ให้ ผู้ พิ ม พ์ ส่ ง สิ่ ง พิ ม พ์ ต ามมาตรา 8 จ� ำ นวนสองฉบั บ
ให้หอสมุดแห่งชาติ ภายใน 30 วันนับแต่ วันเผยแพร่

54 สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

ความรูเ้ กี่ยวกับการบรการจดแจ้
ิ งการพิมพ์ของส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ
กลุม
่ งานบรการพิ
ิ เศษ ISSN ISBN จดแจ้งการพิมพ์ เป็นกลุม
่ งานภายใต้
สังกัดกลุ่มบร ิการทรัพยากรสารสนเทศ ส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ เรมิ่ ให้บร ิการรับ
จดแจ้งการพิมพ์หนังสือพิมพ์ครัง้ แรก เมือ
่ วันที่ 4 มีนาคม พุทธศักราช 2551 โดย
ได้ร ับโอนภารกิจ จากกองบัญชาการต�ำรวจสันติบาลและศาลากลางจังหวัด 76 จังหวัด
ประกอบด้ วย เอกสารใบอนุญาตและใบรับแจ้งความการจดแจ้งการพิมพ์ ของ
หนังสือพิมพ์ตามพระราชบัญญัติการพิมพ์ พุทธศักราช 2484 เอกสารต้นฉบับ
จ�ำนวน 7,358 รายชือ
่ โดยกลุม
่ งานบรการพิ
ิ เศษ ISSN ISBN จดแจ้งการพิมพ์
กลุม
่ บรการทรั
ิ พยากรสารสนเทศ ส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ ให้บรการ
ิ จดแจ้งการพิมพ์
หนังสือพิมพ์ เปลีย
่ นแปลงรายการทีจ่ ดแจ้งการพิมพ์ และยกเลิกเป็นผูพ
้ ม
ิ พ์ ผูโ้ ฆษณา
บรรณาธิการ หรอเจ้
ื าของหนังสือพิมพ์ ดังนี้

1. การจดแจ้งการพิมพ์หนังสือพิมพ์
1.1 เจ้ า ของกิ จ การหนั ง สื อ พิ ม พ์ ยื่ น เอกสารการจดแจ้ ง การพิ ม พ์
ผ่ านเว็บไซต์ e-service.nlt.go.th พร้อ มจัด ส่ ง เอกสารและหลั ก ฐานตั ว จร ิง
มาทางไปรษณี ย์ ห ร ือยื่ น เอกสารด้ ว ยตนเอง โดยพนั ก งานเจ้า หน้ า ที่ จ ดแจ้ง
การพิมพ์ตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วนของเอกสารหลักฐาน
1.2 พนักงานเจ้าหน้าที่จดแจ้งการพิมพ์ท�ำหนังสื อส่งตรวจสอบข้อมูล
ประวัติอาชญากร และข้อมูลนิติบุคคลของผู้ทเี่ ป็นเจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์
1.3 พนักงานเจ้าหน้าทีจ
่ ดแจ้งการพิมพ์รบ
ั ผลตรวจสอบประวัติอาชญากร
และผลตรวจสอบข้ อ มู ล ของนิ ติ บุ ค คลผู้ ที่ เ ป็ น เจ้ า ของกิ จ การหนั ง สื อ พิ ม พ์
พร้อ มทั้ ง ตรวจหลั ก ฐานการช�ำ ระค่ า ธรรมเนี ย มจดแจ้ง การพิ ม พ์ ผ่ า นเว็ บ ไซต์
e-service.nlt.go.th
1.4 พนั ก งานเจ้ า หน้ า ที่ จ ดแจ้ ง การพิ ม พ์ อ อกหนั ง สื อ ส� ำ คั ญ แสดง
การจดแจ้งการพิมพ์ (แบบ พ.2) และแจ้งให้ เจ้าของกิ จการหนังสื อพิมพ์มารับ
หนังสือส�ำคัญแสดงการจดแจ้งการพิมพ์

สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ 55
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

เอกสารประกอบการจดแจ้งการพิมพ์หนังสือพิมพ์
1. หนังสือน�ำส่ง เรอื่ ง ขอออกหนังสือพิมพ์ (ฉบับจร ิง)
2. แบบจดแจ้งการพิมพ์เป็นเจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์ แบบ พ.1 (ฉบับจรง)ิ
3. รูปถ่ายหน้าตรง ไม่สวมหมวกและแว่นตาด�ำ ถ่ายไม่เกิน 6 เดือน
ขนาด 2 นิ้ว (ฉบับจร ิง) จ�ำนวน 3 รูป
4. ตัวอย่างชือ
่ หัวหนังสือพิมพ์ / วารสาร / นิตยสาร (ฉบับจร ิง)
5. เอกสารแสดงสิทธิเพื
์ อ่ ใช้เป็นสถานทีต
่ งั้ ของส�ำนักงานหนังสือพิมพ์ (ฉบับจรง)ิ
6. ภาพถ่ า ยภายในและภายนอกสถานที่ ตั้ ง ส� ำ นั ก งาน แสดงเลขที่
ตั้งส�ำนักงานหร ือชือ
่ อาคาร (ฉบับจร ิง)
7. แผนทีต
่ ั้งส�ำนักงาน (ฉบับจร ิง)
8. หนังสือมอบอ�ำนาจ (ฉบับจร ิง) พร้อมส�ำเนาบัตรประจ�ำตัวประชาชน
ของผู้มอบอ�ำนาจและรับรองส�ำเนา
9. บัตรประจ�ำตัวประชาชน (ฉบับจร ิง)
10. กรณีทเี่ ป็นนิติบุคลแสดงหนังสือรับรองนิติบุคคล (ฉบับจร ิง)
11. กรณีทเี่ ป็นสมาคมหรอมู
ื ลนิธ ิ แสดงใบอนุญาตจัดตัง้ สมาคมหรอองค์
ื การ
ทะเบียนสมาคม / มูลนิธแ
ิ ละใบส�ำคัญแสดงการจดทะเบียนแต่งตั้งกรรมการของ
สมาคม /มูลนิธ ิ (ฉบับจร ิง)
12. กรณีทเี่ ป็นสถาบันการศึกษา แสดงหนังสือรับรองว ิทยฐานะสถาบัน
อุดมศึกษาเอกชน ทม.4 ใบอนุญาตให้เป็นผูบ
้ รหารสถาบั
ิ นอุดมศึกษาเอกชน ทม.11
และหนังสือแต่งตั้งอธิการบดี (ฉบับจร ิง)
หลักเกณฑ์ ว ิธีการ และเงอื่ นไขการจดแจ้งการพิมพ์
ผู้ ใ ดประสงค์ จ ะจัด พิ ม พ์ ห นั ง สื อ พิ ม พ์ ต้ อ งยื่ น ค� ำ ขอจดแจ้ง การพิ ม พ์
แบบ พ.1 ตามหลั ก เกณฑ์ ที่ ก� ำ หนดในพระราชบั ญ ญั ติ จดแจ้ ง การพิ ม พ์
พุทธศักราช 2550 ประกอบกับกฎกระทรวงก�ำหนดหลักเกณฑ์และว ิธีการยื่น
ขอจดแจ้ง การเปลีย
่ นแปลงรายการหลักฐานการจดแจ้ง และการยกเลิกหลักฐาน
การจดแจ้ง โดยการก�ำหนดแบบจดแจ้ง และอัตราค่าธรรมเนียม มีรายละเอียดดังนี้
1. ชือ
่ หนังสือพิมพ์ พระราชบัญญัติจดแจ้งการพิมพ์ พุทธศักราช 2550
มาตรา 13 ชือ
่ ของหนังสือพิมพ์ต้องไม่มีลักษณะ ดังต่อไปนี้
1.1 ไม่พ้องหร ือมุ่งหมายให้คล้ายกับพระปรมาภิไธย พระนามาภิไธย
พระปรมาภิไธยย่อ พระนามาภิไธยย่อ หร ือนามพระราชวงศ์
1.2 ไม่พ้องหร ือมุ่งหมายให้คล้ายกับราชทินนาม เว้นแต่ราชทินนาม
ของตน ของบุพการ ีหร ือของผู้สืบสันดาน
1.3 ไม่ซ้ำ� กับชือ
่ หนังสือพิมพ์ทไี่ ด้รบ
ั จดแจ้งไว้แล้ว

56 สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

1.4 ไม่มีค�ำหร ือความหมายหยาบคาย


2. บรรณาธิการของหนังสือพิมพ์ มาตรา 14 บรรณาธิการหนังสือพิมพ์
ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังนี้
2.1 มีอายุไม่ต่�ำกว่ายี่สิบปีบร ิบูรณ์
2.2 มีสญ
ั ชาติไทยหรอสั
ื ญชาติประเทศซึง่ มีสนธิสญ
ั ญากับประเทศไทย
2.3 มีถิ่นทีอ
่ ยู่ประจ�ำในราชอาณาจักร
2.4 ไม่เป็นคนไร้ความสามารถหร ือคนเสมือนไร้ความสามารถ
2.5 ไม่เคยต้องโทษตามค�ำพิพากษาถึงทีส
่ ุดให้จำ� คุก เว้นแต่พ้นโทษ
มาแล้วไม่น้อยกว่าสามปีหร ือเป็นความผิดโดยประมาท หร ือความผิดลหุโทษ

3. เจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์ทเี่ ป็นบุคคลธรรมดา ผูพ


้ ม
ิ พ์หร ือผูโ้ ฆษณา
ตามมาตรา 15 ก�ำหนดคุณสมบัตแ
ิ ละไม่มล
ี ก
ั ษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้
3.1 มีอายุไม่ต่�ำกว่ายี่สิบปีบร ิบูรณ์
3.2 มีสัญชาติไทย
3.3 มีถิ่นทีอ
่ ยู่ประจ�ำในราชอาณาจักร
3.4 ไม่เป็นคนไร้ความสามารถหร ือคนเสมือนไร้ความสามารถ
3.5 ไม่เคยต้องโทษตามค�ำพิพากษาถึงทีส
่ ุดให้จำ� คุก เว้นแต่พ้นโทษ
มาแล้วไม่น้อยกว่าสามปีหร ือเป็นความผิดโดยประมาท หร ือความผิดลหุโทษ
4. เจ้าของหนังสือพิมพ์ทเี่ ป็นนิตบ
ิ ค
ุ คล ตามมาตรา 16 มีรายละเอียด ดังนี้
4.1 นิติบุคคลนั้นต้ องมีบุคคลซึง่ มีสัญชาติ ไทย ถื อหุ้ นไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 70 ของหุ้ นทั้งหมด
4.2 ต้องมีกรรมการไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจ�ำนวนกรรมการทัง้ หมด
เป็นผู้มีสัญชาติไทย ด้ ว ยห้ า มมิ ให้ บุ ค คลใดถื อ หุ้ น แทนบุ ค คลซึ่ง มิ ไ ด้ มีสั ญ ชาติ
ไทยในนิติบุคคลทีเ่ ป็นเจ้าของหนังสือพิมพ์

5. ผู้ พิ ม พ์ ผู้ โ ฆษณา บรรณาธิ ก าร หร ือเจ้ า ของหนั ง สื อ พิ ม พ์ ผูใ้ ด


เปลี่ ย นแปลงรายการที่ ไ ด้ เ คยจดแจ้ ง การพิ ม พ์ ไ ว้ แ ล้ ว อย่ า งใดอย่ า งหนึ่ ง
เพื่ อ ด� ำ เนิ น การเปลี่ ย นแปลงรายการในหลั ก ฐานการจดแจ้ง ภายใน 30 วั น
นับแต่ได้ทำ� การเปลี่ยนแปลงรายการดังกล่าว ดังนี้
5.1 ชือ
่ สัญชาติ ถิ่นทีอ
่ ยู่ของผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา บรรณาธิการ หร ือ
เจ้าของหนังสือพิมพ์ แล้วแต่กรณี

5.2 ชือ
่ ของหนังสือพิมพ์
5.3 วัตถุประสงค์และระยะเวลาออกหนังสือพิมพ์
5.4 ภาษาทีห
่ นังสือพิมพ์จะออกใช้
5.5 ชือ
่ และทีต
่ ั้งโรงพิมพ์หร ือสถานทีพ
่ ิมพ์

สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ 57
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

5.6 ชือ
่ และทีต
่ ั้งส�ำนักงานของหนังสือพิมพ์
6. ผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา บรรณาธิการ หร ือเจ้าของหนังสือพิมพ์ ผู้ใดเลิก
เป็นผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา บรรณาธิการ หร ือเจ้าของหนังสือพิมพ์ ให้แจ้งพนักงาน
เจ้าหน้าที่ เพื่อยกเลิกภายใน 30 วัน นับแต่วันทีเ่ ลิกเป็นผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา
บรรณาธิก าร หร ือเจ้า ของหนั ง สื อ พิ ม พ์ โดยติ ด ต่ อ ยื่ น แบบเลิ ก เป็ น ผู้ พิ ม พ์
ผูโ้ ฆษณา บรรณาธิการ หร ือเจ้าของหนังสือพิมพ์ แบบ พ.3 ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
ทีน
่ ายกรัฐมนตร ีแต่งตั้งตามประกาศ ส�ำนักนายกรัฐมนตร ีเรอื่ ง แต่ งตั้ งพนักงาน
เจ้าหน้าทีจ
่ ดแจ้งการพิมพ์ พุทธศักราช 2550

การก�ำหนดพื้นที่การให้บรการจดแจ้
ิ งการพิมพ์
การก� ำหนดพื้ นที่การให้ บ ร ิการจดแจ้ง การพิ มพ์ โดยเจ้า ของกิ จการ
หนังสือพิมพ์ต้องยื่นแบบจดแจ้งการพิมพ์และหลักฐานประกอบตามหลักเกณฑ์
และวธิ ก
ี ารยื่ นจดแจ้งการเปลี่ ย นแปลงรายการหลั ก ฐานการจดแจ้ง และการ
ยกเลิ กหลั ก ฐานการจดแจ้ง การก� ำ หนดแบบการจดแจ้ง การพิ ม พ์ แ ละอั ต รา
ค่ า ธรรมเนี ย มการจดแจ้ ง ให้ เ ป็ น ไปตามที่ ก� ำ หนดในกฎกระทรวง และมี
“ประกาศส�ำนักนายกรัฐมนตร ี เรอื่ ง แต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าทีจ
่ ดแจ้งการพิมพ์
ตามพระราชบัญญัติจดแจ้งการ พุทธศักราช 2550” มีสาระส�ำคัญ ดังนี้
1. ให้ อธิบดี กรมศิ ลปากร รองอธิบดี กรมศิ ลปากร ที่ได้ รบ
ั มอบหมาย
และผู้อ�ำนวยการส� ำนั กหอสมุดแห่ งชาติ กรมศิ ลปากร เป็นพนั กงานเจ้าหน้ าที่
จดแจ้งการพิ ม พ์ ส� ำหรับ กรุ งเทพมหานคร จัง หวั ด นนทบุ ร ี จัง หวั ด ปทุมธานี
จั ง หวั ด นครปฐม จั ง หวั ด สมุ ท รสาคร จั ง หวั ด สมุ ท รสงคราม และจั ง หวั ด
สมุทรปราการ
2. ให้ ผู้อ�ำนวยการส� ำนั กศิ ลปากรที่ 1-12 กรมศิ ลปากร เป็นพนั กงาน
เจ้าหน้าที่จดแจ้งการพิมพ์ ส� ำหรับเขตพื้นที่รบ
ั ผิดชอบของส� ำนั กศิ ลปากรนั้ นๆ
ดังนี้

58 สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

ส�ำนักศิลปากร เขตพืน
้ ทีร่ บ
ั ผิดชอบ

ส�ำนักศิลปากรที่ 1 ราชบุร ี เพชรบุร ี ประจวบคีร ีขันธ์

ส�ำนักศิลปากรที่ 2 สุพรรณบุร ี กาญจนบุร ี

ส�ำนักศิลปากรที่ 3 พระนครศรอยุ
ี ธยา นครนายก สระบุร ี อ่างทอง สิงห์บุร ี

ส�ำนักศิลปากรที่ 4 ลพบุร ี ชัยนาท นครสวรรค์ เพชรบูรณ์ อุทย


ั ธานี

ส�ำนักศิลปากรที่ 5 ปราจีนบุร ี ฉะเชิงเทรา ชลบุร ี จันทบุร ี ระยอง ตราด สระแก้ว

ส�ำนักศิลปากรที่ 6 สุโขทัย ตาก ก�ำแพงเพชร พิจต


ิ ร พิษณุโลก อุตรดิตถ์

ส�ำนักศิลปากรที่ 7 เชียงใหม่ เชียงราย ล�ำพูน ล�ำปาง น่าน พะเยา แม่ฮอ


่ งสอน แพร่

ส�ำนักศิลปากรที่ 8 ขอนแก่น เลย หนองคาย หนองบัวล�ำภู บึงกาฬ สกลนคร

อุดรธานี

ส�ำนักศิลปากรที่ 9 อุบลราชธานี มุกดาหาร ยโสธร อ�ำนาจเจร ิญ ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์

ส�ำนักศิลปากรที่ 10 นครราชสีมา ชัยภูมิ บุร ีรัมย์ สุร ินทร์ มหาสารคาม ศร ีสะเกษ

ส�ำนักศิลปากรที่ 11 สงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา นราธิวาส พัทลุง ตรัง

ส�ำนักศิลปากรที่ 12 นครศรธรรมราช
ี ชุมพร สุราษฎร์ธานี ภูเก็ต ระนอง พังงา กระบี่

2. การเปลีย
่ นแปลงรายการหนังสือพิมพ์ทจ
ี่ ดแจ้งการพิมพ์ มีกระบวนการและ
ขัน
้ ตอนดังนี้
2.1 เจ้ า ของกิ จ การยื่ น หลั ก ฐานการเปลี่ ย นแปลงรายการจดแจ้ ง
การพิมพ์ผ่านเว็บไซต์ พร้อมจัดส่งเอกสารและหลักฐานตั วจร ิงมาทางไปรษณีย์
หร ือยื่นเอกสารด้ วยตนเอง ณ หน่วยงานที่ให้บร ิการ โดย พนักงานที่จดแจ้ง
การพิมพ์ตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของเอกสารหลักฐาน (1 วันท�ำการ)
2.2 พนักงานเจ้าหน้าที่จดแจ้งการพิมพ์ท�ำหนังสื อส่งตรวจสอบข้อมูล
ประวัติอาชญากร และข้อมูลนิติบุคคลของผู้ที่เป็นเจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์ฯ
(2 วันท�ำการ)
2.3 พนักงานเจ้าหน้าทีจ
่ ดแจ้งการพิมพ์รบ
ั ผลตรวจสอบประวัติอาชญากร
และผลตรวจสอบนิติบค
ุ คลของผูท
้ เี่ ป็นเจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์ (3 วันท�ำการ)
2.4 พนั ก งานเจ้ า หน้ า ที่ จ ดแจ้ ง การพิ ม พ์ อ อกหนั ง สื อ ส� ำ คั ญ แสดง
การจดแจ้งการพิมพ์ (แบบ พ.2) และแจ้งให้ เจ้าของกิ จการหนังสื อพิมพ์มารับ
หนังสือส�ำคัญแสดงการจดแจ้งการพิมพ์ (1 วันท�ำการ)

สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ 59
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

เอกสารประกอบการเปลี่ยนแปลงรายการที่จดแจ้งการพิมพ์
1. หนังสื อน�ำส่ง เรอื่ ง การขอเปลี่ยนแปลงรายการจดแจ้งการพิมพ์
(ฉบับจร ิง)
2. แบบจดแจ้งการพิมพ์ เปลี่ยนแปลง หร ือยกเลิกรายการหลักฐาน
การจดแจ้งการพิมพ์ แบบ พ.3 (ฉบับจร ิง)
3. รูปถ่ายหน้าตรง ไม่สวมหมวกและแว่นตาด�ำ ถ่ายไม่เกิน 6 เดือน
ขนาด 2 นิ้ว (ฉบับจร ิง) จ�ำนวน 3 รูป
4. ตัวอย่างชือ
่ หัวหนังสือพิมพ์ / วารสาร / นิตยสาร (ฉบับจร ิง)
5. หนังสือส�ำคัญแสดงการจดแจ้งการพิมพ์ แบบ พ.2 (ฉบับจร ิง)
6. หนังสือโอนหัวหนังสือพิมพ์ (ฉบับจร ิง)
7. มติ ที่ประชุ มที่เห็ นชอบให้ เปลี่ ยนแปลงรายการที่จดแจ้งการพิ มพ์
(ฉบับจร ิง)
8. เอกสารแสดงสิทธิเ์ พื่อใช้เป็นสถานที่ต้ั งของส�ำนักงานหนังสือพิมพ์
เช่น หนังสื อ อนุ ญาตจากเจ้า ของที่ดิ น / อาคาร ยิ น ยอมให้ ใช้เป็ น สถานที่ตั้ง
ส�ำนักงานหนังสือพิมพ์ ส�ำเนา โฉลดทีด
่ ิน สัญญาเช่า (ฉบับจร ิง)
9. ภาพถ่ า ยภายในและภายนอกสถานที่ตั้ ง ส� ำ นั ก งาน แสดงเลขที่ตั้ง
ส�ำนักงานหร ือชือ
่ อาคาร (ฉบับจร ิง)
10. แผนทีต
่ ั้งส�ำนักงาน (ฉบับจร ิง)
11. หนั ง สื อ มอบอ� ำ นาจ (ฉบั บ จร ิง) พร้อ มส� ำ เนาบั ต รประจ� ำ ตั ว
ประชาชนของผู้มอบอ�ำนาจและรับรองส�ำเนา
12. บัตรประจ�ำตัวประชาชน (ฉบับจร ิง)
13. กรณีนิติบุคคลใช้หนังสือรับรองนิติบุคคล (ฉบับจร ิง)
14. กรณีเป็นสมาคมหร ือมูลนิธ ิ ใช้ใบอนุญาตจัดตั้งสมาคมหร ือองค์การ
ทะเบียนสมาคม / มู ลนิ ธ แ
ิ ละใบส� ำคั ญแสดงการจดทะเบี ยนแต่ ง ตั้ ง กรรมการ
ของสมาคม/ มูลนิธ ิ (ฉบับจร ิง)
15. กรณีเป็นสถาบันการศึกษา ใช้หนังสือรับรองว ิทยฐานะสถาบันอุดมศึกษา
เอกชน ทม.4 ใบอนุญาตให้เป็นผูบ
้ รหารสถาบั
ิ นอุดมศึกษาเอกชน ทม.11 และหนังสือ
แต่งตั้งอธิการบดี (ฉบับจร ิง)

60 สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

หลักเกณฑ์ ว ิธีการ และเงอื่ นไขการเปลี่ยนแปลงรายการที่จดแจ้งการพิมพ์


1. ผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา บรรณาธิการหร ือเจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์ ผู้ใด
เปลี่ ย นแปลงรายการที่ ไ ด้ เ คยจดแจ้ ง การพิ ม พ์ ไ ว้ แ ล้ ว อย่ า งใดอย่ า งหนึ่ ง
ดังต่อไปนี้ ให้ แจ้งพนั กงานเจ้า หน้ า ที่เพื่ อ ด� ำ เนิ น การเปลี่ ยนแปลงรายการใน
หลั กฐาน การจดแจ้งการพิ ม พ์ ภายใน 30 วั น นั บแต่ ไ ด้ ท�ำ การเปลี่ ยนแปลง
รายการดังกล่าว
(1) ชื่อ สั ญ ชาติ ถิ่ น ที่ อ ยู่ ข องผู้ พิ ม พ์ ผู้ โ ฆษณา บรรณาธิก ารหร ือ
เจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์ แล้วแต่กรณี
(2) ชือ
่ ของหนังสือพิมพ์
(3) วัตถุประสงค์และระยะเวลาออกหนังสือพิมพ์
(4) ภาษาทีห
่ นังสือพิมพ์จะออกใช้
(5) ชือ
่ และทีต
่ ั้งโรงพิมพ์หร ือสถานทีพ
่ ิมพ์
(6) ชือ
่ และทีต
่ ั้งส�ำนักงานของหนังสือพิมพ์
2. ผู้ พิ ม พ์ ผู้ โ ฆษณา บรรณาธิก ารหร ือเจ้า ของกิ จ การหนั ง สื อ พิ ม พ์
ทีป
่ ระสงค์จะด�ำเนินการตามข้อ 1. ให้ติดต่อยื่นแบบเปลี่ยนแปลงรายการ (แบบ
พ.3) ต่ อพนั ก งานเจ้ า หน้ า ที่ ที่ น ายกรัฐ มนตร ีแต่ งตั้ งตามประกาศส� ำ นั ก
นายกรัฐมนตร ี เรอื่ ง แต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าทีจ
่ ดแจ้งการพิมพ์ พ.ศ. 2550
3. การยื่นตาม ข้อ 1. ให้ยื่น ณ สถานทีด
่ ังต่อไปนี้
(1) ใ น ก ร ณี ที่ ส� ำ นั ก ง า น ข อ ง ห นั ง สื อ พิ ม พ์ ตั้ ง อ ยู่ ใ น เ ข ต
กรุ งเทพมหานคร จังหวั ดนนทบุ ร ี จังหวั ด ปทุมธานี จัง หวั ด นครปฐม จัง หวั ด
สมุ ท รสาคร จั ง หวั ด สมุ ท รสงคราม และจั ง หวั ด สมุ ท รปราการ ให้ ยื่ น ณ
ส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร
(2) ในกรณี ที่ ส� ำ นั ก งานของหนั ง สื อ พิ ม พ์ ตั้ ง อยู่ ใ นเขตจัง หวั ด อื่ น
นอกจากทีก
่ �ำหนดใน (1) ให้ยื่น ณ ส�ำนักศิลปากรที่ 1-12 ทีเ่ ขตอ�ำนาจในจังหวัด
นั้น
4. ผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา บรรณาธิการหร ือเจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์รายใด
ฝ่าฝืนไม่ด�ำเนินการแจ้งการเปลี่ยนแปลงรายการภายในก�ำหนดระยะเวลาต้ อง
ระวางโทษปรับทางปกครองไม่เกิน 20,000 บาท
5. กระบวนการดั ง กล่ า วไม่ ร วมระยะเวลารอคอยในการตรวจสอบ
ประวัติอาชญากรรม

สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ 61
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

3. การยกเลิกเป็นผูพ
้ ม
ิ พ์ ผูโ้ ฆษณา บรรณาธิการหรอเจ้
ื าของกิจการหนังสือพิมพ์
3.1 เจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์ยน
ื่ เอกสารหลักฐานขอยกเลิกเป็นผูพ
้ ม
ิ พ์
ผู้โฆษณา บรรณาธิการหร ือเจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์ผ่านเว็บไซต์ พร้อมจัดส่ง
เอกสารและหลั ก ฐานตั ว จร ิงมาทางไปรษณี ย์ ห ร ือยื่ น เอกสารด้ ว ยตนเอง
ณ หน่วยงานทีใ่ ห้บร ิการ โดยพนักงานทีจ
่ ดแจ้งการพิมพ์ตรวจสอบความถูกต้อง
ครบถ้วนของเอกสารหลักฐาน (1 วันท�ำการ)
3.2 พนักงานเจ้าหน้าทีจ
่ ดแจ้งการพิมพ์ทำ� หนังสือตอบค�ำขอยกเลิกเป็น
ผูพ
้ ม
ิ พ์ ผูโ้ ฆษณา บรรณาธิการหรอเจ้
ื าของกิจการหนังสือพิมพ์ (2 วันท�ำการ)
3.3 ออกหนังสือตอบกลับการยกเลิกเป็นผูพ
้ ม
ิ พ์ ผูโ้ ฆษณา บรรณาธิการ
หร ือเจ้ า ของกิ จ การหนั ง สื อ พิ ม พ์ และจั ด ส่ ง หนั ง สื อ ขอยกเลิ ก เป็ น ผู้ พิ ม พ์
ผู้โฆษณา บรรณาธิการหร ือเจ้าของหนังสือพิมพ์ทางไปรษณีย์หร ือโทรศัพท์แจ้ง
ให้เจ้าของกิจการทราบ (1 วันท�ำการ)

เอกสารประกอบการยกเลิกเป็นผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา บรรณาธิการ หรอเจ้


ื าของ
กิจการหนังสือพิมพ์
1. หนังสือน�ำส่ง เรอื่ ง ขอยกเลิกการพิมพ์หนังสือพิมพ์ (ฉบับจร ิง)
2. แบบแจ้งการพิมพ์ เปลีย
่ นแปลง หร ือยกเลิกรายการหลักฐานการ
จดแจ้งการพิมพ์ แบบ พ.3 (ฉบับจร ิง)
3. รูปถ่ายหน้าตรง ไม่สวมหมวกและแว่นตาด�ำ ถ่ายไม่เกิน 6 เดือน
ขนาด 2 นิว้ (ฉบับจร ิง) จ�ำนวน 1 รูป
4. ตัวอย่างชือ
่ หัวหนังสือพิมพ์ / วารสาร / นิตสาร (ฉบับจร ิง)
5. หนังสือส�ำคัญแสดงการจดแจ้งการพิมพ์ แบบ พ.2 (ฉบับจร ิง)
6. มติทป
ี่ ระชุมทีเ่ ห็นชอบให้ยกเลิกเป็นผูพ
้ ม
ิ พ์ ผูโ้ ฆษณา บรรณาธิการ
หร ือเจ้าของหนังสือพิมพ์ (ฉบับจร ิง)
7. หนังสือมอบอ�ำนาจ (ฉบับจร ิง) พร้อมส�ำเนาบัตรประจ�ำตัวประชาชน
ของผูม
้ อบอ�ำนาจและรับรองส�ำเนา
8. บัตรประจ�ำตัวประชาชน (ฉบับจร ิง)
9. กรณีเป็นนิติบุคคล แสดงหนังสือรับรองนิติบุคคล (ฉบับจร ิง)
10. กรณีเป็นสมาคมหรอมู
ื ลนิธ ิ แสดงใบอนุญาตจัดตัง้ สมาคมหรอองค์
ื การ
ทะเบียนสมาคม / มูลนิธแ
ิ ละใบส�ำคัญแสดงการจดทะเบียนแต่งตั้งกรรมการของ
สมาคม / มูลนิธ ิ (ฉบับจร ิง)
11. กรณีเป็นสถาบันการศึกษา แสดงหนังสือรับรองว ิทยฐานะสถาบัน
อุดมศึกษาเอกชน ทม.4 ใบอนุญาตให้เป็นผูบ
้ รหารสถาบั
ิ นอุดมศึกษาเอกชน ทม.11
และหนังสือแต่งตั้งอธิการบดี (ฉบับจร ิง)

62 สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

หลั กเกณฑ์ ว ธิ ี ก าร และเง อนไขการยกเลิ


ื่ กเป็นผู้ พิ มพ์ ผู้ โฆษณา
บรรณาธิการหรอเจ้
ื าของกิจการหนังสือพิมพ์
1. ผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา บรรณาธิการ หร ือเจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์ ผู้ใด
เลิกเป็นผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา บรรณาธิการ หร ือเจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์ ให้แจ้ง
พนั ก งานเจ้ า หน้ า ที่ เพื่ อ ยกเลิ ก ภายใน 30 วั น นั บ แต่ วั น ที่ เ ลิ ก เป็ น ผู้ พิ ม พ์
ผู้โฆษณา บรรณาธิการ หร ือเจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์ โดยติดต่อยื่นแบบเลิก
เป็นผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา บรรณาธิการ หร ือเจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์ (แบบ พ.3)
ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ทีน
่ ายกรัฐมนตร ีแต่งตั้งตามประกาศส�ำนักนายกรัฐมนตร ี
เรอื่ ง แต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าทีจ
่ ดแจ้งการพิมพ์ พ.ศ. 2550
2. การยื่นตามข้อ 1. ให้ยื่น ณ สถานทีด
่ ังต่อไปนี้
(1) ในกรณีทส
ี่ ำ� นักงานของหนังสือพิมพ์ตั้งอยูใ่ นเขตกรฺงเทพมหานคร
จังหวัดนนทบุร ี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดนครปฐม จังหวดสมุทรสาคร จังหวัด
สมุ ท รสงคราม และจังหวั ด สมุ ทรปราการ ให้ ยื่น ณ ส� ำ นั ก หอสมุ ด แห่ ง ชาติ
กรมศิลปากร
(2) ในกรณี ที่ ส� ำ นั ก งานของหนั ง สื อ พิ ม พ์ ตั้ ง อยู่ ใ นเขตจัง หวั ด อื่ น
นอกจากทีก
่ ำ� หนดใน (1) ให้ยน
ื่ ณ ส�ำนักศิลปากรที่ 1-12 ทีเ่ ขตอ�ำนาจในจังหวัดนั้น
3. ผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา บรรณาธิการ หร ือเจ้าของกิ จการหนังสื อพิมพ์
รายใดฝ่าฝืนไม่ด�ำเนินการแจ้งการเลิกภายในก�ำหนดระยะเวลา ต้องระวางโทษ
ปรับทางปกครองไปเกิน 30,000 บาท

สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ 63
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

ขั้นตอนการจดแจ้งการพิมพ์ตามพระราชบัญญัติจดแจ้งการพิมพ์
พุทธศักราช 2550 ผ่านระบบ e-Service

ขั้นตอนการยื่นค�ำร้องขอจดแจ้งการพิมพ์ (แบบ พ.1)


1. เข้าสู่ระบบผ่านเว็บไซต์ e-service.nlt.go.th
2. ผู้ ใ ช้ บ ร ิการคลิ ก ที่ ปุ่ ม บร ิการค� ำ ร้อ ง >> >> ค� ำ ร้อ งขอจดแจ้ ง
การพิมพ์ >> ขอจดแจ้งการพิมพ์ (แบบ พ.1)

3. ปรากฏหน้ า จอค� ำ ร้อ งขอจดแจ้ ง การพิ ม พ์ ด� ำ เนิ น การคลิ ก ปุ่ ม


เครอื่ งหมายบวก (+) ด้านขวามือเพื่อยื่นค�ำร้องใหม่

4. หลังจากนั้นระบบจะปรากฏแบบฟอร์มการกรอกค�ำร้องขอจดแจ้ง
การพิ ม พ์ (พ.1) กรอกรายละเอี ย ดลงในแบบฟอร์ม ในส่ ว นของเลขที่ ค� ำ ร้อ ง
ไม่ต้องกรอกข้อมูล ระบบจะปรากฏเลขที่ค�ำร้องอั ตโนมัติ เมื่อบันทึกข้อมูลไป
จนถึงขั้นตอนที่ 4

64 สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

รายละเอียดในแบบฟอร์มประกอบด้วย
(1) จั ง หวั ด ที่ ข อจดแจ้ ง เลื อ กจั ง หวั ด โดยยึ ด ตามที่ ตั้ ง ส� ำ นั ก งาน
ของหนังสือพิมพ์ เช่น กรุงเทพมหานคร นครปฐม สมุทรปราการ
(2) สถานทีจ
่ ดแจ้งการพิมพ์ ระบบจะปรากฏข้อมูลอัตโนมัติ เช่น ทีต
่ ั้ ง
ส� ำ นั ก งานในเขตกรุ ง เทพมหานครและปร ิมณฑล ระบบจะปรากฏที่ อ ยู่
ของส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ กรณีทต
ี่ ั้งต่างจังหวัดอื่นๆ จะปรากฏทีอ
่ ยู่ของส�ำนัก
ศิลปากรที่ 1 - 12 ตามพื้นทีร่ บ
ั ผิดชอบการจดแจ้งการพิมพ์
(3) ชือ
่ หนังสือพิมพ์ วารสาร นิตยสาร ให้กรอกชือ
่ สิ่งพิมพ์ให้ครบถ้วน
ตามชื่อ ที่ ต้ อ งการใช้ยื่ น จดแจ้ง การพิ ม พ์ (ทั้ ง นี้ จะต้ อ งผ่ า นการส่ ง ชื่อ สิ่ ง พิ ม พ์
ให้ทางเจ้าหน้าทีต
่ รวจสอบข้อมูลก่อนยื่นค�ำร้อง)

(4) ที่อ ยู่ ระบบจะแสดงข้ อ มู ลให้ อั ตโนมั ติ โดยดึ ง ข้ อ มู ล มาจากช่อ ง


ทีอ
่ ยู่ส�ำนักงานของหนังสือพิมพ์
(5) ประเภท ให้เลือกประเภทของสิ่งพิมพ์ เช่น หนังสือพิมพ์ วารสาร
นิตยสาร

สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ 65
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

(6) ข้อมูลเจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์ เลือกประเภทบุคคลธรรมดา หร ือ


นิติบุคคล ทัง้ นี้ จะสัมพันธ์กับขัน
้ ตอนสมัครสมาชิกระบบ หากต้องการยืน
่ จดแจ้ง
การพิมพ์ในนามนิติบุคคล ขัน
้ ตอนสมัครสมาชิกระบบ จะต้องสมัครสมาชิกในนาม
นิติบค
ุ คลด้วย จะไม่สามารถเข้ามาเปลีย
่ นแปลงข้อมูลส่วนตัวในภายหลังได้ จากนัน

กรอกข้อมูลรายละเอียดตามแบบฟอร์ม

(7) กรณี เ ลื อ กประเภทนิ ติ บุ ค คลจะมี ร ายละเอี ย ดของนิ ติ บุ ค คล


ให้ ก รอกเพิ่ ม เติ ม ทั้ ง นี้ ให้ ก รอกข้ อ มู ล ให้ ค รบถ้ ว นตามหนั ง สื อ รับ รองการ
จดทะเบียนนิติบุคคลนั้นๆ

66 สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

(8) ผู้ใช้บร ิการท�ำการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลในแบบฟอร์ม


โดยระบบจะแสดงผลเป็นแบบ พ.1

(9) กรอกรายละเอียดตามแบบฟอร์ม ข้อ (ก) ชือ


่ หนังสื อพิมพ์ระบบ
จะปรากฏข้อมูลให้อัตโนมัติ
(10) ข้อ (ข) วัตถุประสงค์ กรอกวัตถุประสงค์ในการเผยแพร่สิ่งพิมพ์
(11) ข้อ (ค) วาระการออก เลือกวาระการออกของสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง
(12) ข้อ (ง) ภาษาทีพ
่ ิมพ์ เลือกภาษาเนื้อหาของสิ่งพิมพ์ เช่น ภาษาไทย
กรณีมากกว่า 1 ภาษาให้กดปุ่มเพิ่มภาษา
(13) ข้อ (จ) ชนิดของหนังสือพิมพ์ เลือกเป็นเล่ม หร ือ เป็นแผ่น
(14) ข้อ (ฉ) ชือ
่ ส�ำนักงานของหนังสือพิมพ์ พร้อมกรอกทีต
่ ั้งส�ำนักงาน
(กรณีจดแจ้งการพิมพ์ในนามบุคคลไม่ต้องระบุชอ
ื่ ส�ำนักงานของหนังสือพิมพ์)
(15) ข้ อ (ช) ชื่อ ส� ำนั กงานของผู้ โ ฆษณา พร้อ มกรอกที่ต้ั ง ส� ำ นั ก งาน
(กรณีจดแจ้งการพิมพ์ในนามบุคคลไม่ต้องระบุชอ
ื่ ส�ำนักงานของผู้โฆษณา)

สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ 67
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

(16) ข้ อ (ซ) ชื่อ โรงพิ ม พ์ ห ร ือสถานที่ พิ ม พ์ กรอกข้ อ มู ล ชื่อ โรงพิ ม พ์


หร ือสถานทีพ
่ ิมพ์ พร้อมทีอ
่ ยู่ เบอร์โทรศัพท์ของโรงพิมพ์

(17) ข้อ (ฌ) กรอกข้อมูลรายละเอียดการจดแจ้งการพิมพ์ กรอกข้อมูล


ชือ
่ -สกุลผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา บรรณาธิการ และเจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์ พร้อม
แนบไฟล์รูปถ่าย และลายมือชือ
่ เจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์

5. จากนั้นคลิกปุ่มถัดไปขั้นตอนการตรวจสอบ (ขั้นตอนที่ 2)

68 
สำ�นั
สำ นักกหอสมุ
หอสมุดดแห่
แห่งงชาติ
ชาติ
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

6. ผู้ ใ ช้ บ ร ิการตรวจสอบความถู ก ต้ องของข้ อ มู ล ในแบบฟอร์ม


โดยระบบจะแสดงผลเป็นแบบ พ.1

7. หากข้อมูลถูกต้ องครบถ้วนแล้วคลิกปุ่มถัดไป ขั้นตอนส่งแนบไฟล์


แต่หากต้องการแก้ไขข้อมูล คลิกปุ่มย้อนกลับ ขั้นตอนกรอกแบบค�ำร้อง


สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ 69
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

8. ขั้นตอนที่ 3 ส่งแนบไฟล์ โดยแนบไฟล์เอกสารตามหัวข้อที่ก�ำหนด


เป็นไฟล์ .jpg หร ือ .pdf

9. แนบไฟล์โดยการคลิกปุ่มเพิ่ม + คลิกอัพโหลด และคลิกตกลง

70 สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

10. เมื่อแนบไฟล์เอกสารจนครบถ้ วนแล้ว คลิกถัดไปขั้นตอนบันทึก


ค�ำร้อง ค�ำร้องจะบันทึกเข้าสู่ระบบ เพื่อให้เจ้าหน้าทีต
่ รวจสอบข้อมูล

11. กดยื น ยั น เพื่ อ บั น ทึ ก ค� ำ ร้อ ง โดยค� ำ ร้อ งจะถู ก บั น ทึ ก เข้ า สู่ ร ะบบ
เพื่อให้เจ้าหน้าทีต
่ รวจสอบ

สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ 71
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

12. หลั ง จากบั น ทึ ก ค� ำ ร้อ งเร ียบร้อ ย จะปรากฏหน้ า จอพิ ม พ์ ค� ำ ร้อ ง


ผู้ใช้บร ิการรอการตรวจสอบข้อมูลจากเจ้าหน้าที่

13. เมื่ อ เจ้ า หน้ า ที่ ด� ำ เนิ น การตรวจสอบเร ียบร้อ ยแล้ ว จะแจ้ ง ให้
ผู้ใช้บร ิการผ่านทางกล่องข้อความ เพื่อเตร ียมเอกสารฉบับจร ิง มายื่นที่สถานที่
รับจดแจ้งการพิมพ์ ตามพื้นทีร่ บ
ั ผิดชอบ (ส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ หร ือส�ำนัก
ศิลปากรที่ 1-12)

14. หลังจากยื่นเอกสารฉบับจร ิง เจ้าหน้าที่จะด�ำเนินการออกหนังสือ


ราชการเพื่ อ ไปตรวจสอบประวั ติ อ าชญากรของเจ้า ของกิ จ การหนั ง สื อ พิ ม พ์
บรรณาธิการ ผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา และน�ำผลการตรวจสอบกลับมายื่นทีส
่ ถานทีร่ บ

จดแจ้ง การพิ ม พ์ ตามพื้ น ที่ ร บ
ั ผิ ด ชอบ (ส� ำ นั ก หอสมุ ด แห่ ง ชาติ หร ือส� ำ นั ก
ศิลปากรที่ 1-12)

15. ในกรณีทไี่ ม่พบประวัติอาชญากร เจ้าหน้าทีด


่ �ำเนินการอนุมัติพิมพ์
ใบช�ำระค่าธรรมเนียม ผู้ใช้บร ิการน�ำไปช�ำระเง ินผ่านธนาคาร

16. ผู้ใช้บร ิการน�ำส่งเอกสารการช�ำระค่าธรรมเนียมผ่านทางจดหมาย


อิเล็กทรอนิกส์

17. เจ้ า หน้ า ที่ ต รวจสอบเอกสารการช� ำ ระเง น


ิ ค่ า ธรรมเนี ย มและ
ออกหนังสื อส� ำคั ญแสดงการจดแจ้งการพิมพ์ (แบบ พ. 2) ให้ แก่ ผู้ขอจดแจ้ง
การพิมพ์ตามระยะเวลาที่ก�ำหนดโดยประมาณ...วัน

72 สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ
คู่มือการบร ิการ ISSN ISBN และการจดแจ้งการพิมพ์

บรรณานุกรม

กรมศิ ลปากร. ส� ำนั กหอสมุ ดแห่ งชาติ . เลขมาตรฐานสากลประจ�ำ หนั งสื อ =


International Standard Book Number (ISBN). กรุงเทพฯ:
รุง่ ศิลป์การพิมพ์, 2551.
มานิ จ สุ ขสมจิตร. ค�ำอธิบายพระราชบัญญัติจดแจ้งการพิ มพ์ พุ ทธศั กราช
2550. [ม.ป.ท.]: [ม.ป.พ.], 2550.
สุภาณี สุขอาบใจ. เลขมาตรฐานสากลประจ�ำวารสาร= ISSN International
Standard Serial Number. กรุงเทพฯ: ส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ,
2554.
International ISBN Agency. ISBN users’ manual seventh
edition. [Online]. Retrieved 20 December 2021, from:
https://www.kb.se/download/18.71dda82e160c04f1cc412b
c/1531827912246/ISBN%20International%20Users%20Man
ual%20-%207th%20edition.pdf

สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ 73

You might also like