Unit of Living Things Lecture 1

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 11

Kingdom oflivingthings

.
.

1. Kingdom Monerq อาณา กร แบค เ ย Algae Ptotoso 9.


2. KI
ngdom Protista อาณา กรโพ สตา สาห าย ;โพรโท →

อาณา กร งใจ
→ เ ดรา ส
3. KI ngdom
Fungi ✓ ,
บทที่ 1 หน่ วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
4. Kingdom plantaev
คาถาม : อะไรคือหน่วยทีเ่ ล็กที่สุดของสิง่ มีชวี ติ ในทางชีววิทยา ?
5. kingdom Animalia ✓
เซล (
ceN.ee/l-atissue.-aorgan.-o0rgansystem-aHumaA
ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

(เ อเ อ) (อ ยวะ ) ( ระบบอ ยวะ | 1


มษ )
ในทางชีววิทยา เซลล์ ( Cell ) เป็ นโครงสร้
wu
างและหน่วยทางานที่เล็กที่สุดของสิง่ มีชวี ติ แทบทุกชนิด ในบางครัง้
อาจเรียกว่า หน่วยทีเ่ ป็ นองค์ประกอบของชีวติ ( Building blocks of life )
การแบ่งสิง่ มีชวี ติ โดยใช้ลกั ษณะของเซลล์เป็ นเกณฑ์ จะถูกแบ่งได้เป็ น 2 ประเภท ดังนี้
วนให อ ใน 1.
1. Unicellular หรือ สิง่ มีชวี ติ เซลล์เดียว ซึง่ จะมีโครงสร้างทีค่ ่อนข้างไม่ซบั ซ้อน
Parameoium , Amoeba , Eugtena
……………………………………………………………………………………………………………………………. .

2. Multicellular หรือ สิง่ มีชวี ติ หลายเซลล์ ซึง่ จะมีโครงสร้างทีค่ ่อนข้างซับซ้อน


Animatgplqht
v7
…………………………………………………………………………………………………………………………….

คาถามชวนคิด : มนุษย์เป็ นสิง่ มีชวี ติ ประเภทไหน ?


Multicellular
…………………………………………………………………………………………………………………… ,

…….
ในเรื่องของประวัตกิ ารศึกษาเซลล์ ถูกค้นพบโดย “โรเบิรต์ ฮุค” (Robert Hook) โดยได้ใช้กล้องจุลทรรศน์ท่ี
ประดิษฐ์ข้นึ ตรวจดูช้นิ ไม้คอร์กทีถ่ ูกหัน่ แผ่นบาง พบว่าชิ้นไม้
-

mn
คอร์กประกอบไปด้วยช่ องขนาดเล็กมากมาย เขาจึงตัง้ ชื่อว่า
strenght วยสารพวกเซลลูโลสและ
-


เซลล์ ซึง่ ชิ้นไม้คอร์กจะเป็ นเซลล์ทต่ี ายแล้ว เหลืออยู่ แต่ผนังเซลล์ (Cell wall) ประกอบไปด้
cell
ซูเบอริน ⑧☐ uecellwall สารไ ต ห Gllulosegfmruberin
ยmtต .

หลังจากโรเบิรต์ ฮุคได้ศึกษาลักษณะเบื้องต้นของเซลล์ ก็ได้มี ”ธีออร์ดอร์ ชววานน์ (Theodor Schwan)


และแมทเธียส ชไลเดน (Matthias Schleiden)” ได้เสนอทฤษฎีของเซลล์ (Cell theory) ซึง่ แพร่หลายมาจนถึงปัจจุบนั
นัน่ คือทฤฎีทว่ี ่า
ง ต ก ช ดประกอบ วย cell และ product ของ เซล
“................................................................................................................................................................................
\

product ะ energy gfoodg 02


................................................................................................................................................................................”
""
""
เ ยง ¥

.

ตัวอย่างเซลล์ในร่างกายคน


l


เอกสารประกอบการเรียนหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ม.1
หิ
ซั
ฟั
ยี
ส่
ฑิ๊
นี้
มีชี
มีชี
สิ่
ทุ
ด้
ลำ
อ์
ห็
นื้
ม่
วั
วิ
วั
ยู่
นิ
วิ
วั
นุ
ลี
ญ่
ร่
ต์
ที
จั
จั
ยื่
ล์
ล์
จั
ย์
รี
ตัวอย่างรูปร่างของเซลล์
:O %

jdfaflagetla วยใน การเค อน


หา

อา
ของ 0M e.

immnity
.

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

1.กล้องจุลทรรศน์

กล้องจุลทรรศน์ (Microscope) ทีใ่ ช้ในระดับพื้นฐานหรือห้องปฏิบตั ิการทัว่ ไปจะเป็ น


กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงธรรมดา (Compound Light Microscope) มีขนาดทีส่ ่องวัตถุได้อยู่ในช่วง
1mm. – 100nm. ซึง่ เมือ่ นาไปส่องเซลล์หรือออร์แกเนลล์ก็ปรากฏภาพทีม่ พี ้นื หลังสีขาว และมีสที เ่ี ข้มกว่า
สีวตั ถุจริง โดยองค์ประกอบของกล้องจุลทรรศน์มดี งั นี้
1. ลากล้อง (Body tube) เป็ นส่วนทีเ่ ชื่อมโยงแยู่ระหว่างเลนส์ใกล้ตากับเลนส์ใกล้วตั ถุ มีหน้า
ป้ องกันไม่ให้แสงจากภายนอกรบกวน

อEEssa-
เอกสารประกอบการเรียนหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ม.1
ช่
งื่
ที่
ลื่
2. แขน (Arm) คือส่วนทีท่ าหน้าทีย่ ดึ ระหว่างส่วนลากล้องกับฐาน เป็ ยตาหน่งทีจ่ บั เวลายกกล้อ ง
3. แท่นวางวัตถุ (Speciment stsge) เป็ นแท่นใช้วางแผ่นสไลด์ท่ตี อ้ งการศึกษา
4. ที่หนี บสไลด์ (Stage clip) ใช้หนีบสไลด์ให้ตดิ อยู่กบั แท่นวางวัตถุ ในกล้องรุ่นหใม่จะ
มี Mechanical stage แทนเพื่อควบคุมการเลือ่ นสไลด์ให้สะดวกขึ้น
5. ฐาน (Base) เป็ นส่วนทีใ่ ช้ในการตัง้ กล้อง ทาหน้าที่รบั นา้ หนักตัวกล้องทัง้ หมด
6. กระจกเงา (Mirror) ทาหน้าที่………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
7. เลนส์รวมแสง (condenser) ทาหน้าทีร่ วมแสงให้เข้มขึ้นเพือ่ ส่งไปยังวัตถุท่ตี อ้ งการศึกษา
8. ไดอะแฟรม (diaphragm) อยู่ใต้เลนส์รวมแสงทาหน้าที่ปรับปริมาณแสงให้เข้าสู่เลนส์ในปริมาณ
ทีต่ อ้ งการ
9.ปุ่ มปรับภาพหยาบ (Coarse adjustment) ทาหน้าที…่ ……………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
10. ปุ่ มปรับภาพละเอียด (Fine adjustment) ทาหน้าที…่ ……………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
12. เลนส์ใกล้ตา (Eye piece) เป็ นเลนส์ทอ่ี ยู่บนสุดของลากล้อง โดยทัง่ ไปมี
กาลังขยาย 10x หรือ 15x ทาหน้าทีข่ ยายภาพทีไ่ ด้จากเลนส์ใกล้วตั ถุให้มขี นาดใหญ่ข้นึ ทาให้เกิดภาพที่ตาผู ้
ศึกษาสามารถมองเห็นได้ โดยภาพทีไ่ ด้เป็ นภาพเสมือนหัวกลับ
การใช้กล้องจุลทรรศน์
1. การจับกล้องและเคลือ่ นย้ายกล้อง ต้องใช้มอื หนึ่งจับทีแ่ ขนและอีกมือหนึ่งรองทีฐ่ านของกล้อง
2. ตัง้ ลากล้องให้ตรง
3. เปิ ดไฟเพือ่ ให้แสงเข้าลากล้องได้เต็มที่
4. หมุนเลนส์ใกล้วตั ถุ ให้เลนส์ท่มี กี าลังขยายตา่ สุดอยู่ในตาแหน่งแนวของลากล้อง
5. นาสไลด์ทจ่ี ะศึกษามาวางบนแท่นวางวัตถุ โดยปรับให้อยู่กลางบริเวณทีแ่ สงผ่าน
6. ค่อยๆหมุนปุ่มปรับภาพหยาบให้กล้องเลือ่ นขึ้นช้าๆเพือ่ หาระยะภาพ แต่ตอ้ งระวังไม่ให้เลนส์ใกล้วตั ถุกระทบ
กับสไลด์ตวั อย่าง เพราะจะทาให้เลนส์แตกได้
7. ปรับภาพให้ชดั เจนขึ้นด้วยปุ่มปรับภาพละเอียด ถ้าวัตถุท่ศี ึกษาไม่อยู่ตรงกลางให้เลือ่ นสไลด์ให้มาอยู่ตรงกลาง

BEEEET
เอกสารประกอบการเรียนหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ม.1
อุ
8. ถ้าต้องการให้ภาพขยายใหญ่ข้นึ ให้หมุนเลนส์ใกล้วตั ถุทม่ี กี าลังขยายสูงกว่าเดิมมาอยู่ในตาแหน่งแนวของลา
กล้อง จากนัน้ ปรับภาพให้ชดั เจนด้วยปุ่มปรับภาพละเอียดเท่านัน้ ห้ามปรับภาพด้วยปุ่มปรับภาพหยาบเพราะ
จะทาให้ระยะของภาพ หรือจุดโฟกัสของภาพเปลีย่ นไป
9. บันทึกกาลังขยายโดยหาได้จากผลคูณของกาลังขยายของเลนส์ใกล้วตั ถุกบั กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา

ภาพแสดงการยกกล้องจุลทรรศน์ทถ่ี ูกต้อง

ภาพแสดงเลนส์ใกล้วตั ถุ

ตัวอย่างการใช้กล้องจุลทรรศน์ในการส่องเซลล์

คลอคลอง
เอกสารประกอบการเรียนหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ม.1
เพิ่มเติมกล้องจุลทรรศน์
Microscope
Light Microscope Electron Microscope
Compound Light Stereoscopic SEM TEM
Microscope Microscope

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
สูตรการหาขนาดวัตถุ
ขนาดวัตถุ = ขนาดภาพ / กาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์
กาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์ = กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา x กาลังขยายของเลนส์ใกล้วตั ถุ
ตัวอย่าง : จงบอกกาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์ท่มี กี าลังขยายเลนส์ใกล้ตา 10x และ
กาลังขยายเลนส์ใกล้วตั ถุ 10x
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ตัวอย่าง : จงบอกขนาดจริงของสาหร่ายเซลล์เดียวทีว่ ดั ขนาดภายใต้กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงได้ 100
ไมโครเมตร โดยใช้เลนส์ใกล้วตั ถุ 10x และเลนส์ใกล้ตา 10x
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

EEOEOEEET
เอกสารประกอบการเรียนหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ม.1
2. เซลล์พชื และเซลล์สตั ว์

Animqt plant
สิง่ มีชวี ติ ทุกชนิดประกอบด้วยเซลล์พชื และเซลล์สตั ว์แตกต่างกันทัง้ รูปร่างและหน้าที่ แต่ท่สี าคัญตือเซลล์ของ
ไ ไ ไ <

สิง่ มีชวี ติ มีส่วนประกอบทีส่ าคัญ 3 ส่วนทีเ่ หมือนกัน ได้แก่ นิ วเคลียส (Nucleus) ไวโทพลาสซึม (Cytoplasm) และ
whnr -

n m n

เยื่อหุม้ เซลล์ (Cell -


membrance) ซึง่ เซลล์พชื และเซลล์สตั ว์มสี ่วนประกอบบางอย่างเหมือนกันและบางอย่าง
แตกต่างกัน
Plant Cell หรือเซลล์พืช

เซลล์พชื มีส่วนประกอบทีส่ าคัญและมีหน้าทีด่ งั นี้


strm-it.in
1. ผนังเซลล์ (Cell wall) เป็ นผนังทีค่ ลุมเยื่อหุม้ เซลล์ไว้ สร้างมาจากเซลลูโลส เป็ นโครงสร้างที่ทา
1ไ
ให้เซลล์พชื มีความแข็งแรง และคงรูปอยู่ได้ เช่น เนื้อไม้ เป็ นต้น

#
EOSTEEEREB
เอกสารประกอบการเรี
อง เ อม ระห าง cell
plasmodesmata ยนหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ม.1
มีก็
มีก็
ก๊
มีชี
ช่
ชื่
ด้
ม่
ม่
ด้
วิ
ว่
เ อ เ อก าน ห ดเ อก สาร เ า ออก cey
µ plasmamembrancyemhmadememtra.no
e.

2. เยื่อหุม้ เซลล์ (Cell membrance) เป็ นเยื่อบางๆล้อมรอบเซลล์ อยุ่ถดั จากผนังเซลล์เข้ามาสร้าง


จากโปรตีนและไขมัน ทาหน้าที่ ควบคุมการแลกเปลีย่ นสารระหว่างภายใน - ภายนอกเซลล์
น → ขน ง
บโปร
.

(โปร นญ
1)


"

รอ วน ชอบ า


hydrophilica
วน ไ ชอบ า hydrophobic
3. ไซโทพลาสซึม (Cytoplasm) เป็ นของเหลวซึง่ เป็ นทีร่ วมของสิง่ ต่างๆทีอ่ ยู่ภายในเซลล์
liquid_nsdid.ee
ประกอบด้วยไซโทซอล (Cytosol) และออร์แกเนลล์ (Organells) รวมทัง้ เป็ นแหล่งที่

tฐํ๊
เกิดปฏิกิริยาเคมีต่างๆทีจ่ ะช่วยให้เซลล์ดารงอยู่ได้ หรือเป็ นแหล่งทีด่ าเนินกิจกรรมต่างๆภายใน
i
กล
เซลล์ของสิง่ มีชวี ติ นัน่ เอง "


แasHd< เมา >
⇐←

ใ เ-าะ
aleucoplast ht ogh
.

Ls

chloroplast : เ ยว Organelle

chromoplast : น สดใส ER .

Organells ทีส่ าคัญทีพ่ บในเซลล์พชื


เ น แห ง
รอ แห ง บรร chlorophyll รอ photosyhthesig
:ไ
- คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) เป็ นโครงสร้างทีม่ ลี กั ษณะเป็ นเม็ดกลมๆอยู่ใน
-
↳ เ
Cytoplasm ภายในมีสารสีเขียวทีเ่ รียกว่า คลอโรฟิ ลด์ (Chlorophyll) ทาหน้าที่ดกั จับ
พลังงานแสงมาใช้ในกระบวนการสังเคราห์ดว้ ยแสง พบมากทีใ่ บ
ใน cell ใน oeltmini
- แวคิวโอล (Vacuole)ใหเป็ นช่ดองว่างภายในเซลล์ซ่งึ บรรจุของเหลวทีเ่ รียกว่า นา้ เลี้ยงเซลล์
µ
e -

อยู่ภายใน และเป็ นทีเ่ ก็บสะสมของเสียภายในเซลล์


-

tใnอ
- ไมโทคอนเดรีย (Mitochondria) เป็ นแท่งมีส่วนด้านในพับไปมา ทาหน้าที่ สร้างพลังงาน

ให้กบั เซลล์ ไป พ งงานของ ห 11 : ATP


"

- ร่างแหเอ็นโดพลาสมิคเรติคูลมั (Endoplasmic Reticulum) มี 2 ชนิด คือ


organetle
Rmyhimnm.ee ทาหน้าทีส่ งั เคราห์โปรตีน
RER (ผิ
ว ขรุ ข ระ) : มี
ไ รโบโซมมาเกาะ
smath SER (ผิวเรียบ) : สังเคราะห์ไขมัน กาจัดสารพิษ หไ ตา สบ .

RI bosome ห ง เคาะ proteih


eeoo
เอกสารประกอบการเรียนหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ม.1
คั
ผ่
จั
ที่
ส่
ศู๋ชื้
น้
ที่
ส่
สี
น้
สี
มีฬื
มีสี
พี
สุ
บ้้
หี
ด้
ลื
ยื่
ข้
ขี
ป็
ม่
ม่
ลั
ลั
สั
ชุ
ญ่
ล่
ส่
ตี
ตี
ล่
จุ
ลื
:-.÷

๏ SER

- ไรโบโซม (Ribosome) ทาหน้าที่ สังเคราะห์โปรตีน


- นิวเคลียส (Nucleus) มีลกั ษณะกลมอยู่ในไซโทพลาสซึม เป็ นส่วนประกอบทีส่ าคัญของ
เซลล์ มีหน้าทีค่ วบคุมการทางานของเซลล์ และถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
DNA RNA
,
→ สาร
น กรรม Chromosom e.
hOไ

nEอ RER
ะ ไร
โ_mาm

/
s ER e ไ ไรโบโซมมาเกาะ


.
.

ใจกลาง ของnucleys

hp NE
ในเซลล์พชื จะมี Chloroplast และ Cell wall ซึง่ ในเซลล์สตั ว์ไม่มี

ออสโล
เอกสารประกอบการเรียนหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ม.1
พั
มี
สื่
มี
ม่
ธุ
Animal Cell หรือเซลล์สตั ว์

ในเซลล์สตั ว์จะมีโครงสร้างเหมือนกับเซลล์พชื หลายประการ แต่เซลล์สตั ว์จะไม่มี Chloroplast และ Cell


wall รวมถึงเซลล์สตั ว์ยงั มีออร์แกเนลล์ท่เี พิม่ ขึ้นมาดดยไม่พบในเซลล์พชื นัน่ คือ Centriole และ Lysosome
- เซนทริโอล (Centriole) ช่วยในการแบ่งเซลล์ พบเฉพาะในเซลล์สตั ว์และสาหร่ายเซลล์
เดียว

- ไลโซโซม (Lysosome) ทาหน้าทีย่ ่อยสลายออร์แกเนลล์ทเ่ี สือ่ มสภาพและทาลายสิง่


แปลกปลอม

ในเซลล์สตั ว์จะมี Lysosome และ Centriole ซึง่ ในเซลล์พชื ไม่มี

DEEETS
เอกสารประกอบการเรียนหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ม.1
เซลล์พชื VS เซลล์สตั ว์
เซลล์พชื เซลล์สตั ว์
มีรูปร่างเป็ นเหลีย่ ม มีรูปร่างกลมหรือรี
มีผนังเซลล์อยู่ดา้ นนอก ไม่มผี นังเซลล์แต่มสี ารเคลือบอยู่ดา้ นนอก
มีคลอโรพลาสต์ภายในเซลล์ ไม่มคี ลอโรพลาสต์
ไม่มเี ซนทริโอล มีเซนทริโอลใช้ในการแบ่งเซลล์
แวคิวโอลมีขนาดใหญ่ มองได้ชดั แวคิวโอลมีขนาดเล็ก มองได้ไม่ชดั
ไม่มไี ลโซโซม มีไลโซโซม

สรุปโครงสร้างและส่วนประกอบของเซลล์พชื และเซลล์สตั ว์

Eecooss
เอกสารประกอบการเรียนหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ม.1
ตัวอย่างเซลล์ที่เปลี่ยนรูปร่างเพือ่ ไปทาหน้าที่ต่างๆในร่างกายมนุ ษย์

ososnnttnsssthtsdltosenoodtttoooty
เอกสารประกอบการเรียนหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ม.1

You might also like