Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 1

หลักฐานทางประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์

1
มีการแบ่งเป็ น 2 วิธี ได้แก่ ประกอบไปด้วย 5 ขั้นตอน ดังนี้

แบ่งตามความสำคัญ หลักฐานและวิธีการ 1) การกําหนดปั ญหาหรืิอเรื่องที่ต้องการศึกษา


โดยการตั้งคําถามตามลักษณะดังนี้
1.1 หลักฐานชั้นต้นหรือปฐมภูมิ

ทางประวัติศาสตร์
•ใคร •อะไร •ที่ไหน •เมื่อไร •ทําไม •อย่างไร
หลักฐานที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์หรือช่วง 2) การรวบรวมหลักฐาน
เวลานั้น เช่น คำบอกเล่าคนในเหตุการณ์ ผู้ศึกษาเรื่องราวในอดีตต้องตรวจสอบว่าเรื่องราวที่
ต้องการค้นหามจะต้องมีหลักฐานอะไรบ้าง
1.2 หลักฐานชั้นรองหรือทุติยภูมิ
หลักฐานที่สร้างขึ้นภายหลังเหตุการณ์ที่ 3) การตรวจสอบและประเมินค่าหลักฐาน
ผู้ศึกษาเรื่องราวในอดีตต้องตรวจสอบว่าเรื่องราวที่

2
ผ่านพ้นไปแล้ว เช่น หนังสือวิชาประวัติฯ ต้องการค้นหามจะต้องมีหลักฐานอะไรบ้าง

แหล่งอ้างอิง 4) การตีความหลักฐาน
แบ่งตามรูปลักษณะ •การตีความขั้นต้น เป็ นการตีความตามตัวอักษรเพื่อให้ได้ข้อมูล
2.1 หลักฐานที่เป็ นลายลักษณ์อักษร หนังสือเรียน รายวิชาพื้ นฐาน จากหลักฐานที่ศึกษา
•การตีความขั้นลึก เป็ นการตีความเพื่อหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่
หลักฐานที่เขียนขึ้นเป็ นตัวหนังสือ เช่น ประวัติศาสตร์ ม.3 แฝงอยู่ในหลักฐาน
พระราชพงศาวดาร จดหมายเหตุ
5) การเรียบเรียงและนําเสนอ
2.2 หลักฐานที่ไม่เป็ นลายลักษณ์อักษร เป็ นการตอบคำถามที่ตั้งไว้ตั้งแต่ขั้นตอนที่ 1 ด้วยการนําข้อมูลทีี
หลักฐานที่ไม่ปรากฏเป็ นตัวหนังสือ เช่น ม.3/4 ด.ช.ณัฐพงษ์ ติมินทระ เลขที่ 3 ผ่านการตีความความมาเรียบเรียงเป็ นเรื่องราวที่น่าอ่าน เข้าใจ
โบราณสถาน โบราณวัตถุ ด.ช.พุทธ ธนากรกานต์ เลขที่ 10 ง่าย มีเหตุมีผล และมีความถูกต้อง

You might also like