Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 27

แผนการเรียนรู้ที่ 1

วิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค 22101) ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2


ภาคเรียนที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
เวลา 8 ชั่วโมง
เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส 1
เวลา 1 ชั่วโมง

1. สาระการเรียนรู้
สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต

2. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูป
เรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิตและทฤษฎีบททางเรขาคณิต
และนำไปใช้

3. ตัวชี้วัด
ค 2.2 ม.2/5 เข้าใจและใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับในการแก้
ปั ญหาคณิตศาสตร์และปั ญหาในชีวิตจริง

4. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ด้านความรู้(K) : นักเรียนสามารถเขียนสมการแสดงความสัมพันธ์
ระหว่างความยาวของด้านทั้งสามของรูป
สามเหลี่ยมมุมฉาก
2. ด้านทักษะกระบวนการ(P) : นักเรียนสามารถเขียนหรืออธิบายเกี่ยว
กับความสัมพันธ์ระหว่างความยาวของ
ด้านทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากได้
3. ด้านคุณลักษณะ(A) : 1. นักเรียนมีความมุ่งมั่นในการทำงาน

2. นักเรียนมีวินัย

5. สาระสำคัญ
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก คือ สำหรับรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใด ๆ
กำลังสองของความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉากเท่ากับผลบวกของกำลังสอง
ของความยาวของด้านประกอบมุมฉาก ซึ่งสมบัติดังกล่าวเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า
“ทฤษฎีบทพีทาโกรัส”

6. สาระการเรียนรู้
ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับ

7. กิจกรรมการเรียนรู้
7.1 ขั้นนำ
นำเข้าสู่บทเรียนด้วยการกล่าวถึงสามเหลี่ยมมุมฉากในชีวิตจริง
โดยตั้งคำถามว่านักเรียนเคยสังเกตหรือไม่ว่าในชีวิตประจำวันนั้น เราใช้
ความรู้เกี่ยวกับสมบัติของรูปเรขาคณิตในการสร้างสิ่งปลูกสร้างมากมาย
เช่น เมื่อนักเรียนเห็นถึงประโยชน์ของรูปเขาคณิตกับชีวิตจริงแล้ว จึง
ทบทวนความรู้ก่อนเรียน ดังนี้
- รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก เป็ นรูปสามเหลี่ยมที่มีมุมหนึกมุมเป็ นมุมฉาก
เช่น

- เลขยกกำลัง เป็ นสัญลักษณ์ที่ใช้เขียนแทนจำนวนที่เกิดจากการคูณตัว


เองซ้ำกันหลาย ๆ ตัว เช่น
2 2 2
5 =5×5 8 =8×8 a =a×a

7.2 ขั้นสอน
1. แนะนำการเรียกด้านแต่ละด้านของสามเหลี่ยมมุมฉาก ดังนี้

เรียก AB ว่า ด้านตรงข้ามมุมฉาก (hypotenuse)


เรียก AC และ BC ว่า
ด้านประกอบ มุมฉาก (legs of a right
triangle)

จาก นั้นให้นักเรียนทำกิจกรรม
“ด้านไหนยาวเท่าไร” โดยขั้นตอนการทำกิจกรรม คือ กำหนดรูป
สามเหลี่ยมมุมฉากให้ทั้งหมด 6 รูป ซึ่งมี a และ b เป็ นความยาวด้าน
ประกอบมุมฉาก และ c เป็ นความยาวด้าน
ตรงข้ามมุมฉาก ให้นักเรียนวัดความยาวของด้านที่ยังไม่ทราบค่า แล้วเติม
ลงในตารางให้สมบูรณ์ (ใช้กิจกรรม
จาก หนังสือเรียน
วิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
เล่ม 1 ชั้น มัธยมศึกษาปี
ที่ 2 สสวท. หน้า 14 –
15)
รูปที่ a b c
2 2 2 2 2
a b c a +b

1 3 4 5 9 16 25 25
2 1.2 1.6 2 1.44 2.56 4 4
3 12 5 13 144 25 169 169
4 8 15 17 64 225 289 289
5 6 2.5 6.5 36 6.25 42.25 42.25
6 2.4 3.2 4 5.76 10.24 16 16

จากกิจกรรม เมื่อกำหนด ∆ABC เป็ นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่มี ^


A BC

เป็ นมุมฉาก ดังรูป


โดยที่C แทนความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก
a และ b แทนความยาวของด้าน
ประกอบมุมฉาก แต่ละด้าน
จะเห็นว่า
2 2 2
c =a +b

ความสัมพันธ์ ระหว่างความยาวของ
ด้านทั้งสาม ของรูปสามเหลี่ยม
มุมฉากข้างต้น เป็ นไปตามสมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่กล่าวว่า

สำหรับรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใด ๆ กำลังสองของความยาวของ
ด้านตรงข้ามมุมฉาก
เท่ากับผลบวกของกำลังสองของความยาวของด้าน
ประกอบมุมฉาก

สมบัติข้างต้นนี้เรียกว่า ทฤษฎีบทพีทาโกรัส (Pythagorus’


theorem)
เราสามารถใช้ความสัมพันธ์ระหว่างความยาวของด้านทั้งสามของรูป
สามเหลี่ยมมุมฉากดังกล่าว หาความ
ยาวของด้านใดด้านหนึ่งของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่ต้องการทราบได้
เสมอ เมื่อทราบความยาวของด้านอีก
สองด้าน ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC ที่กำหนดให้ จงหาค่า c
B

A 6 C
วิธีทำ จากความสัมพันธ์ระหว่างความยาวของด้านทั้งสามของรูป
สามเหลี่ยมมุมฉาก
จะได้
2 2 2
c =a +b
= 36 + 64

= 100

ดังนั้น c = 10

ตอบ 10 หน่วย
ตัวอย่างที่ 2 จากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก XYZ ที่กำหนดให้ จงหาความ
ยาวของด้านที่เหลือ Y

0. x
X
2. Z
วิธีทำ จากความสัมพันธ์ระหว่างความยาวของด้านทั้งสามของรูป
สามเหลี่ยมมุมฉาก
จะได้
2 2 2
2.5 = 0.7 + x
2 2 2
x = 2.5 + 0.7

= 6.25 + 0.49

= 5.76

ดังนั้น x = 2.4

ตอบ 2.4 หน่วย

7.3 ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ ทฤษฎีพีทาโกรัส “สำหรับรูป
สามเหลี่ยมมุมฉากใด ๆ กำลังสองของ
ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉากเท่ากับผลบวกของกำลังสองของความ
ยาวของด้านประกอบมุมฉาก”
7.4 ขั้นนำไปใช้
ให้นักเรียนทำแบบฝึ กหัด 1.1 ก ในเวลาที่เหลือก่อนหมดคาบหรือมอบ
หมายเป็ นการบ้าน

8. สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้
8.1 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่
2
8.2 กิจกรรม “ด้านไหนยาวเท่าไร” (หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
คณิตศาสตร์ เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2)
8.3 แบบฝึ กหัดที่ 1.1 ก

9. การวัดและประเมินผล

จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ เครื่องมือที่ เกณฑ์การ


ประเมินผล ใช้ ประเมิน
ด้านความรู้
เขียนสมการแสดง ตรวจแบบฝึ กหัด แบบฝึ กหัดที่ ทำแบบฝึ กหัดที่
ความสัมพันธ์ระหว่าง ที่ 1.1 ก 1.1 ก 1.1 ก ได้
ความยาวของด้านทั้ง คะแนนคิดเป็ น
สามของรูปสามเหลี่ยม ร้อยละ 70 ขึ้น
มุมฉาก ไป
ด้านทักษะ
กระบวนการ ตรวจแบบฝึ กหัด แบบฝึ กหัดที่ ผ่านเกณฑ์ระดับ
เขียนหรืออธิบายเกี่ยว ที่ 1.1 ก 1.1 ก ดีขึ้นไป
กับความสัมพันธ์
ระหว่างความยาวของ
ด้านทั้งสามของรูป
สามเหลี่ยมมุมฉากได้
ด้านคุณลักษณะ
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ เครื่องมือที่ เกณฑ์การ
ประเมินผล ใช้ ประเมิน
1. มีความมุ่งมั่นในการ - สังเกต - แบบ ผ่านเกณฑ์ใน
ทำงาน พฤติกรรมในชั้น ประเมิน ระดับดี
2. มีวินัย เรียน คุณลักษณะ
- การส่งงาน

10. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
10.1 ผลการจัดการเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
10.2 อุปสรรค /ปั ญหา
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
10.3 การแก้ไขและผลการแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
10.4 ข้อเสนอแนะ /แนวทางการแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………

ลงชื่อ
นิสิต
ความคิดเห็นของครูพี่เลี้ยง ( นางสาวประถมาภรณ์ นิ
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………

ลงชื่อ…………………..……………
…………………….

2 (นางเพชรรินทร์ คนขยัน)
ครูชำนาญการ
ความคิดเห็นของผู้บริหารโรงเรีย
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………

ลงชื่อ…………………..……………
………………….
(นายสมบูรณ์ ศรีหาพล)
ผู้อำนวยการโรงเรียน
แบบประเมินจุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 1

ระดับชั้น ............... เรื่อง ........................................... วันที่ ............ เดือน

........................... พ.ศ. ..................


คำชี้แจง ครูสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนแล้วเขียนคะแนนลงในช่อง
รายการสังเกตตามเกณฑ์ที่กำหนด

จุดประสงค์ จุดประสงค์ จุดประสงค์


ด้านความรู้ ด้านทักษะ ด้าน
(K) กระบวนกา คุณลักษณะ
เล ร (P) (A) หมายเห
ชื่อ - สกุล
ขที่ คะแ ร้อย คะแ ระดั คะแน ระดั ตุ
นน( ละ นน( บ น(10 บ
12) 5) คุณภ ) คุณภ
าพ าพ
จุดประสงค์ จุดประสงค์ จุดประสงค์
ด้านความรู้ ด้านทักษะ ด้าน
เล หมายเห
ชื่อ - สกุล (K) กระบวนกา คุณลักษณะ
ขที่ ตุ
ร (P) (A)

ลงชื่อ…………………………………………….ผู้ประเมิน

(………………………………………………….)
วันที่……..เดือน………………………
พ.ศ. ……….
เกณฑ์การให้คะแนน ทักษะการสื่อสารและสื่อความหมายทาง
คณิตศาสตร์แบบฝึ กหัดที่ 1.1 ก

คะแนนเต็ม 5 คะแนน โดยมีเกณฑ์ ดังนี้

ระดับ
คำอธิบายคุณภาพ
คะแนน

5 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์เกี่ยวกับทฤษฎีบทพีทา
โกรัสได้ถูกต้อง หาคำตอบได้ถูกต้อง และนำเสนอแนวคิดในการ
หาคำตอบได้อย่างเป็ นระบบ กระชับ ชัดเจน มีรายละเอียดที่
สมบูรณ์

ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์เกี่ยวกับทฤษฎีบทพีทา
4 โกรัสได้ถูกต้อง หาคำตอบได้ถูกต้อง นำเสนอแนวคิดในการหา
คำตอบได้อย่างเป็ นระบบ แต่ยังขาดรายละเอียดที่สมบูรณ์

ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์เกี่ยวกับทฤษฎีบทพีทา
3 โกรัสได้ หาคำตอบได้ แต่นำเสนอแนวคิดในการหาคำตอบได้
บางส่วน

ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์เกี่ยวกับทฤษฎีบทพีทา
2 โกรัสได้ หาคำตอบได้ แต่การนำเสนอแนวคิดในการหาคำตอบ
ไม่มีความเป็ นระบบ ไม่ชัดเจน

ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์เกี่ยวกับทฤษฎีบทพีทา
โกรัสได้ หาคำตอบไม่ได้ แต่ยังมีการนำเสนอแนวคิดในการหา
1
คำตอบบางส่วนหรือหาคำตอบได้แต่ไม่มีการเขียนนำเสนอ
แนวคิด

** ประเมินจากภาพรวมของการทำแบบฝึ กหัด

เกณฑ์การประเมินด้านทักษะและกระบวนการ
5 หมายถึง ดีมาก
4 หมายถึง ดี
3 หมายถึง พอใช้
1 – 2 หมายถึง ควรปรับปรุง

แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1

ระดับชั้น ............... เรื่อง ........................................... วันที่ ............ เดือน

........................... พ.ศ. ..................

คำชี้แจง ครูสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนแล้วเขียนคะแนนลงในช่อง
รายการสังเกตตามเกณฑ์ที่กำหนด
รายการประเมิน สรุป
รวม
เลข ชื่อ - สกุล มุ่งมั่นในการ
มีวินัย (10 คะ

ไม่ผ่าน
ผ่าน
ที่ ทำงาน
(5 คะแนน) แนน)
(5 คะแนน)
ลงชื่อ………………………………………
……….ผู้ประเมิน

(…………………………………………………)
วัน
ที่……../.………………./………..
เกณฑ์การให้คะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนนการมีความมุ่งมั่นในการทำงาน (5
คะแนน)
การมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม

ระดับ คำอธิบายคุณภาพ
คะแนน
3 ให้ความร่วมในการทำกิจกรรม โดยปฏิบัติตามทุกขั้นตอน
อย่างถูกต้อง
2 ให้ความร่วมในการทำกิจกรรม แต่ไม่ค่อยตั้งใจฟั ง ไม่
ปฏิบัติตามขั้นตอนอย่างถูกต้อง
1 ไม่ค่อยให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม

ลักษณะการทำงาน

ระดับ คำอธิบายคุณภาพ
คะแนน
2 ทำงานเสร็จเรียบร้อย มีรายละเอียดครบถ้วน

1 ทำงานเสร็จ แต่รายละเอียดไม่ครบถ้วน

2. รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนนความมีวินัย (5 คะแนน)
ลักษณะพฤติกรรม

ระดับ คำอธิบายคุณภาพ
คะแนน
3 สมุดงาน ชิ้นงาน มีความเรียบร้อย และปฏิบัติตนตามข้อ
ตกลงที่กำหนดไว้ร่วมกันทุกครั้ง
2 สมุดงาน ชิ้นงาน ส่วนใหญ่มีความเรียบร้อย ปฏิบัติตน
ตามข้อตกลงที่กำหนดไว้ร่วมกันเป็ นส่วนใหญ่
1 สมุดงาน ชิ้นงาน ไม่ค่อยเรียบร้อย ปฏิบัติตนตามข้อ
ตกลงที่กำหนดไว้ร่วมกันเป็ นบางครั้ง ต้องอาศัยการ
แนะนำหรือการตักเตือน

ความรับผิดชอบ

ระดับ คำอธิบายคุณภาพ
คะแนน
2 ส่งแบบฝึ กหัดภายในเวลาที่กำหนด

1 ส่งแบบฝึ กหัดช้ากว่ากำหนดส่ง

เกณฑ์การประเมินด้านคุณลักษณะ
8 – 10 หมายถึง ดีมาก
6 – 7 หมายถึง ดี
3–5 หมายถึง พอใช้
1–2 หมายถึง ควรปรับปรุง
แบบฝึ กหัด 1.1 ก

1. จงหาความสัมพันธ์ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากต่อไปนี้
การบ้าน
รูปที่ 1 ไม่ส่ง
y x
z
ด้านตรงข้ามมุมฉาก คือ….………..

ความสัมพันธ์ของสามเหลี่ยมมุมฉากที่ได้ คือ……………………………

รูปที่ 2

e g

f
ด้านตรงข้ามมุมฉาก คือ……….

ความสัมพันธ์ของสามเหลี่ยมมุมฉากที่ได้ คือ…………………

รูปที่ 3 n

d l

ด้านตรงข้ามมุมฉาก คือ………
ความสัมพันธ์ของสามเหลี่ยมมุมฉากที่ได้ คือ……….
2. สำหรับรูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่กำหนดให้ในตะละข้อต่อไปนี้ จงหาความ
ยาวของด้านที่เหลือ

1)
2.1 2.9

วิธีทำ
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………

2)
20 12
วิธีทำ

…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………

เฉลยแบบฝึ กหัด 1.1 ก


1. จงหาความสัมพันธ์ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากต่อไปนี้
การบ้าน
รูปที่ 1 ไม่ส่ง
y x
z

ด้านตรงข้ามมุมฉากคือ z (1 คะแนน)

ความสัมพันธ์ของสามเหลี่ยมมุมฉากที่ได้คือ (1 คะแนน)
2 2 2
z = x +y

รูปที่ 2

e g

f
ด้านตรงข้ามมุมฉากคือ f (1 คะแนน)

ความสัมพันธ์ของสามเหลี่ยมมุมฉากที่ได้คือ (1 คะแนน)
2 2 2
f =g +e

รูปที่ 3 n

d l
ด้านตรงข้ามมุมฉากคือ l (1 คะแนน)

ความสัมพันธ์ของสามเหลี่ยมมุมฉากที่ได้คือ (1 คะแนน)
2 2 2
l =d +n

2. สำหรับรูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่กำหนดให้ในตะละข้อต่อไปนี้ จงหาความ
ยาวของด้านที่เหลือ

1)
2.1 2.9

วิธีทำ จากความสัมพันธ์ระหว่างความยาวของด้านทั้งสามของรูป
สามเหลี่ยมมุมฉาก คือ
2 2 2
c =a +b

เมื่อ c แทนความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก และ b แทน


ความยาวของด้านประกอบมุมฉาก
จะได้
2 2 2
a = 2.1 + a
2 2 2
a = 2.9 - 2.1

= 8.41 - 4.41

= 4

a =2

ตอบ 2 หน่วย (3 คะแนน)


2)
20 12

วิธีทำ จากความสัมพันธ์ระหว่างความยาวของด้านทั้งสามของรูป
สามเหลี่ยมมุมฉาก คือ
2 2 2
m =d +n

เมื่อ m แทนความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก
d และ n แทนความยาวของด้านประกอบมุมฉาก
จะได้ 2 0
2 2 2
= d + 12
2 2 2
d = 2 0 - 12

= 400 - 144

= 256

d = 16

ตอบ 16 หน่วย (3 คะแนน)

You might also like