BSBV1C TH

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 11

V111 / V114 / V115 / V116 / V117 / 2208

V131 / V137 / V138 / V147 /


V157 / V158 / V181 / V187

V111 / V114 / V115 / V116 / V117 /


V131 / V137 / V138 / V147 /
V157 / V158 / V181 / V187
นาฬิกาพลังงานแสงอาทิตย ์ คําแนะนํ า

ขอบพระคุณเป็ นอย่างยิ่งสําหรับการเลือกใช้นาฬิกา SEIKO สารบัญ


่ ือการใช้งานนี ้ อย่างถีถ้
โปรดอ่านคําแนะนํ าในคู ม ่ วนก่อน
1 วิธีการใช้งาน 3 วิธีการรักษาคุณภาพของนาฬิกา
การใช้งานนาฬิกา SEIKO เพื่อการใช้งานที่เหมาะสม ข ้อควรระวังในการใช ้งาน .................................................... 3 แหล่งพลังงาน ................................................................... 21

และปลอดภัย ก่อนการใช ้งาน ................................................................... 7 การดูแลประจําวัน ............................................................ 23


ตรวจสอบดูวา่ ได ้ชาร ์จนาฬิกาให ้เพียงพอ ................... 7 สมรรถนะและประเภท ....................................................... 24
่ ือนี ้ ไว้ใกล้ตวั เพื่อความสะดวกในการใช้งาน
เก็บคู ม ่
ชือของชิ ้ วนต่างๆ และหน้าที่การทํางาน ....................... 8
นส่ ลูมิไบรต ์ ............................................................................ 25
เม็ดมะยม ............................................................................. 9 สมรรถนะการกันนํ า้ ......................................................... 26
* ท่านสามารถรับบริการตัดสายโลหะได ้ที่ร ้านค ้าที่จําหน่ ายนาฬิกาเรือนนี ้ หากท่านไม่สามารถ วิธก ้
ี ารตังเวลา (สําหรับรุน ่ ที่มีสองหรือสามเข็ม) ............. 10 ประสิทธิภาพการต ้านทานแม่เหล็ก ................................ 27
นํ านาฬิกาไปซ่อมกับร ้านค ้าที่จําหน่ ายนาฬิกาเรือนนี เพราะท่
้ านได ้รับนาฬิกาเป็ นของกํานัล วิธก ้
ี ารตังเวลาและวั นที่ (สําหรับรุน ่ ที่มีวน ั ที่หรือวันที่และวัน สายนาฬิกา ...................................................................... 29

หรือหากท่านได ้เปลียนแปลงที ่อยูแ่ ละไม่สะดวกต่อการเข ้ารับบริการจากร ้านค ้าดังกล่าว โปรด ในสัปดาห ์) ....................................................................... 12 การใช ้ตะขอแบบพับสามชนสํ ั้ าหรับสายหนัง
ติดต่อศูนย ์บริการลูกค ้าของ SEIKO นอกจากนี ้ ท่านยังสามารถรับบริการได ้จากร ้านค ้าอืนๆ ่ การปรับวันที่ในช่วงสินเดื ้ อนด ้วยตัวเอง ..................... 16 (ตะขอแบบพิเศษ) ............................................................ 31

โดยมีคา่ ใช ้จ่ายสําหรับการบริการ อย่างไรก็ตาม บางร ้านค ้าอาจไม่มีบริการดังกล่าว ่ั บริการหลังการขาย .......................................................... 37


2 ฟั งก ์ชนชาร ์จไฟจากพลังงานโซลาร ์
การชาร ์จแบตเตอรี่ .......................................................... 17
* หากนาฬิกาของท่านมีฟิล ์มใสกันรอยขีดข่วนนาฬิกาติดอยู่ โปรดลอกแผ่นฟิ ล ์มใสดังกล่าว 4 การแก้ปัญหา
ี าร ์จแบตเตอรี่ ........................................................ 17
ออกก่อนการสวมใส่นาฬิกาเพื่อใช ้งาน หากใช ้งานนาฬิกาโดยที่มีแผ่นฟิ ล ์มใสติดอยู่ อาจส่งผล วิธช การแก ้ปัญหา ................................................................... 39

ให ้เกิดการจับเกาะของฝุ่ นละออง คราบเหงื่อ สิงสกปรกหรื


่ ้ ้แผ่นฟิ ล ์มและอาจเป็ น
อความชืนใต คําแนะนํ าเวลาในการชาร ์จ ......................................... 18
5 ข้อมู ลจําเพาะ
สาเหตุของการเกิดสนิ มได ้ ข ้อมูลจําเพาะ ................................................................... 41

TH 1 TH 2
1 ข้อควรระวงั ในการใช้งาน b ข้อควรระวงั 1
โปรดทราบว่ามีความเสี่ยงของการบาดเจ็บเล็กน้อยหรือความเสียหายของวส
ั ดุ หากไม่ปฏิบต
ั ิตามกฎระเบียบ
วิธีการใช้งาน

วิธีการใช้งาน
ด้านความปลอดภัยต่อไปนี ้ อย่างเคร่งครัด
b คําเตือน
หลีกเลี่ยงสถานที่ต่อไปนี ้ ในการสวมใส่หรือการเก็บรักษานาฬิกา
โปรดทราบว่ามีความเสี่ยงที่จะเกิดผลกระทบร้ายแรง เช่น การบาดเจ็บสาหัส หากไม่ปฏิบต
ั ิตามข้อบังคับ ○ สถานที่ที่มีสารระเหยต่างๆ (เครื่องสําอางและสารเคมีตา่ งๆ เช่น นํ ายาล
้ ้างเล็บ ยาไล่แมลง ทินเนอร ์ เป็ นต ้น)
ความปลอดภัยต่อไปนี ้ อย่างเคร่งครัด ○ สถานที่ที่อุณหภูมิลดลงตํากว่
่ า 5°C หรือเพิ่มขึน้ ○ สถานที่ที่ได ้รับผลกระทบจากแรงสันสะเทื
่ อนรุนแรง
สูงกว่า 35°C เป็ นเวลานาน ○ สถานที่ที่มีความชืนสู้ ง
หยุดสวมใส่นาฬิกาทันทีหากเกิดกรณี ตอ ่ ไปนี ้ ○ สถานทีทีได ้รับผลกระทบจากพลังแม่เหล็กหรือ
่ ่ ○ สถานที่ที่มีฝุ่นเยอะ
○ หากตัวเรือนหรือสายนาฬิกาเกิดความแหลมคมจากการสึกหรอ ฯลฯ ไฟฟ้ าสถิตสูง
○ หากมีสลักสายยื่นออกมาจากสายนาฬิกา
หากสังเกตเห็นอาการแพ้หรือการระคายเคืองบนผิวหนัง
* โปรดติดต่อร ้านค ้าที่จําหน่ ายนาฬิกาเรือนนี หรื
้ อศูนย ์บริการลูกค ้าของ SEIKO ทันที
่ ่
โปรดหยุดใส่นาฬิกาทันที และติดต่อผูเ้ ชียวชาญเฉพาะทาง เช่น แพทย ์โรคผิวหนังหรือแพทย ์ผูเ้ ชียวชาญด ้านโรคภูมิแพ ้
โปรดเก็บนาฬิกาและอุปกรณ์เสริมให้หา ่ งจากมือเด็กเล็กและเด็กทารก ข้อควรระวงั อืนๆ ่
้ วนนาฬิกา
โปรดดูแลและป้ องกันเด็กทารกและเด็กเล็กจากการกลืนกินชินส่ ○ สําหรับการปรับความยาวของสายโลหะ จําเป็ นต ้องมีความรู ้และความเชียวชาญเฉพาะด
่ ้าน ในกรณี นี้ โปรดติดต่อ
หากเด็กทารกหรือเด็กเล็กกลืนกินแบตเตอรี่หรือชินส่
้ วนของนาฬิกาเข ้าไป โปรดติดต่อแพทย ์โดยทันที เนื่ องจากอาจ ร ้านค ้าที่จําหน่ ายนาฬิกาเรือนนี ้ หากพยายามปรับสายนาฬิกาโลหะ อาจเกิดการบาดเจ็บขึนกั ้ บมือหรือนิ วมื
้ อหรือ
เป็ นอันตรายต่อสุขภาพของเด็กทารกหรือเด็กเล็ก บางส่วนของสายโลหะอาจหายไป
○ ห ้ามแกะหรือแยกชินส่วนนาฬกา
้ ิ
อย่าถอดแบตเตอรี่สํารองออกจากนาฬิกา ○ โปรดเก็บนาฬิกาเรือนนี ให ้ ้ห่างจากเด็กเล็กและเด็กทารก ควรใช ้ความระมัดระวังเป็ นพิเศษเพื่อหลีกเลียงความเสี
่ ่ อ
ยงต่

* เกียวกับแบตเตอรี่สํารอง → แหล่งพลังงาน → หน้า 21
การบาดเจ็บ ผื่นแพ ้ หรืออาการคันที่อาจเกิดขึนเมื ้ ่อคุณสัมผัสนาฬิกา
่ ่สํารองจําเป็ นต ้องมีความรู ้และทักษะอย่างมืออาชีพ โปรดสอบถามร ้านค ้าที่จําหน่ ายนาฬิกาเรือนนี ในการ
้ ○ เมื่อต ้องการกําจัดแบตเตอรี่ที่ใช ้แล ้ว โปรดทําตามคําแนะนํ าของหน่ วยงานที่มีอาํ นาจในท ้องถิน

การเปลียนแบตเตอรี
่ ่สํารอง ○ หากนาฬิกาเป็ นแบบมีสายคล ้องหรือเป็ นแบบจีคล ้ ้องคอ สายหรือโซ่ที่ติดอยูก
่ บั นาฬิกาอาจสร ้างความเสียหายต่อ
เปลียนแบตเตอรี ้ า หรือทําให ้มือ คอ หรืออวัยวะส่วนอืนๆ ่ บาดเจ็บได ้
้ ่ซิลเวอร ์ออกไซด ์ทัวไปสามารถสร
่ เสือผ้
การติดตังแบตเตอรี ้างความร ้อนที่อาจทําให ้เกิดการระเบิดและการเผาไหมไ้ ด ้

TH 3 TH 4

1 b คําเตือน b ข้อควรระวงั 1
โปรดทราบว่ามีความเสี่ยงของการบาดเจ็บเล็กน้อยหรือความเสียหายของวส
ั ดุ หากไม่ปฏิบต
ั ิตามกฎระเบียบ
วิธีการใช้งาน

วิธีการใช้งาน
อย่าใช้นาฬิกาเพื่อดํานํ ้ าลึกหรือการดํานํ ้ าระยะยาว ด้านความปลอดภัยต่อไปนี ้ อย่างเคร่งครัด
โดยปกตินาฬิกาที่ถูกออกแบบมาสําหรับการดํานํ าลึ ้ กหรือดํานํ าระยะยาว
้ จะต ้องได ้รับการ ตรวจ
สอบภายใต ้สภาวะการทํางานที่เข ้มงวด ซึงการตรวจสอบนั
่ ้นไม่ได ้ทํากับนาฬิกากันนํ า้ ห้ามหมุนหรือดึงเม็ดมะยมออกมาขณะที่นาฬิกาเปี ยก
ประเภทที่ระบุคาํ ว่า BAR (ความดันบรรยากาศ) สําหรับการดํานํ า้ ให ้ใช ้นาฬิกาเพื่อการดํานํ า้ เนื่ องจากนํ าอาจเข
้ ้าไปในนาฬิกาได ้
โดยเฉพาะเท่านั้น ้ วด ้านในกระจกขุน
* หากพืนผิ ่ มัวเนื่ องจากการควบแน่ น หรือเกิดนํ าหยดเล็
้ กๆ เกาะอยูภ
่ ายในตัวเรือน

นาฬิกาเป็ นเวลานาน สมรรถนะการกันนํ าของนาฬ ิกาจะลดลง โปรดติดต่อร ้านค ้าที่จําหน่ ายนาฬิกา
้ อศูนย ์บริการลูกค ้าของ SEIKO ทันที
เรือนนี หรื

b ข้อควรระวงั ห้ามปล่อยให้มีความชืน ้ เหงื่อ หรือฝุ่ นเกาะบนนาฬิกาเป็ นเวลานาน


่ ่นาฬิกากันนํ าอาจทํ
ระวังความเสียงที ้ ้
าให ้ประสิทธิภาพในการกันนํ าลดลงเนื ่ องจากการเสือมสภาพ

ของกาวบนกระจกหรือปะเก็นหรือการเกิดสนิ มบนสแตนเลส

ห้ามนํ านาฬิกาโดนนํ ้ าที่ไหลจากก็อกนํ ้ าโดยตรง



แรงดันนํ าของนํ ้ อกจากก็อกนํ ามี
าก็ ้ มากพอที่จะลดสมรรถนะการกันนํ าของนาฬ
้ ้ วไป

ิกากันนํ าทั
ห้ามใส่นาฬิกาขณะอาบนํ ้ าหรืออบซาวน่ า
ไอนํ า้ สบู่ หรือส่วนประกอบอืน
่ ๆ ของนํ าพุ
้ ร ้อนอาจเร่งการเสือมสมรรถนะการกั
่ ้
นนํ าของนาฬิกา

TH 5 TH 6
1
วิธีการใช้งาน
ก่อนการใช้งาน ่
ชือของชิ ้ วนต่างๆ และหน้าที่การทํางาน
นส่ 1

วิธีการใช้งาน
■ ตรวจสอบดู วา
่ ได้ชาร ์จนาฬิกาให้เพียงพอ 1 เข็มนาที
นาฬิกาทํางานขณะกําลังชาร ์จไฟฟ้ าโดยแปลงแสงที่ได ้รับบนหน้าปัดเป็ นพลังงานไฟฟ้ า จะไม่สามารถทํางานได ้อย่างถูกต ้องเว ้นแต่ 1 ่ั
2 เข็มชวโมง
พลังงานที่เหลืออยูจ
่ ะเพียงพอ
3 เข็มวินาที
วางหรือจัดเก็บในตําแหน่ งที่ได ้รับแสง, ฯลฯ เพื่อชาร ์จไฟให ้เพียงพอ 2
4 4 วันที่และวันในสัปดาห ์
● ปริมาณพลังงานที่เก็บไว้ในนาฬิกาสามารถตรวจสอบได้โดยการเคลื่อนไหวของ 5 เม็ดมะยม
เข็มวินาที 3

* การเดินครังละสองวิ ่ ที่มีเข็มวินาที)
นาทีด ้วยเข็มวินาทีเป็ นสัญญาณว่าพลังงานของนาฬิกาใกล ้จะหมดลง (สําหรับรุน
5
● ชาร ์จแบตเตอรี่พลังงานแสงอาทิตย ์
ี าร ์จแบตเตอรี่” → หน้า 17
“วิธช
“คําแนะนํ าเวลาในการชาร ์จ” → หน้า 18

* ตําแหน่ งและรูปแบบจอแสดงผลอาจแตกต่างกันไปตามรุน ่
่ อาจไม่มีเข็มวินาทีหรือแสดงวันที่หรือวันในสัปดาห ์
* บางรุน

TH 7 TH 8

1 เม็ดมะยม ั้
วิธีการตงเวลา (สําหรับรุ่นที่มีสองหรือสามเข็ม) 1
วิธีการใช้งาน

วิธีการใช้งาน
เม็ดมะยมมี 2 แบบ คือ แบบธรรมดาและแบบล็อคด้วยสกรู รุ่นที่มีสองเข็ม รุ่นที่มีสามเข็ม
โปรดตรวจสอบประเภทของเม็ดมะยมของนาฬิกาของคุณ

ขณะกด เม็ดมะยมธรรมดา
เม็ดมะยมเข ้า เม็ดมะยม
หมุนไปตาม หมุน ั้ อไป
ดึงเม็ดมะยมออกและทําขนต่
ทิศทางที่
ลูกศรชี ้
เม็ดมะยมแบบล็อคด้วยสกรู
หลังจากใช ้งานเม็ดมะยมเสร็จ
เม็ดมะยม ปลดล็อกเม็ดมะยมก่อนใช ้งาน
ให ้ล็อกเอาไว ้
ไม่หมุน
คลายเกลียว
หมุนขณะที่กดเม็ด
มะยมเข้า

* เมื่อล็อคเม็ดมะยมแบบล็อคด ้วยสกรูไว ้ สามารถป้ องกันการใช ้งานที่ผิดพลาดและเพิ่มการกันนํ าได


้ ้
* โปรดระวังอย่าขันสกรูของเม็ดมะยมเข ้าด ้วยแรง เพราะอาจทําให ้ช่องของเม็ดมะยมเสียหายได ้

TH 9 TH 10
1 1 ดึงเม็ดมะยมออกมา
หากนาฬิกาของคุณมีสามเข็ม ให ้ดึงเม็ดมะยมออกเมื่อเข็มวินาที
ั้
วิธีการตงเวลาและว ั ที่ (สําหรับรุ่นที่มีวน
น ั ที่หรือวันที่และวัน 1
ในสัปดาห ์)
วิธีการใช้งาน

วิธีการใช้งาน
่ ี่ตําแหน่ ง 12 นาฬิกา
อยูท
(เข็มวินาทีจะหยุดลง)
่ ที่ใช ้เม็ดมะยมแบบล็อคด ้วยสกรู กรุณาปลดล็อค
* สําหรับรุน รุ่นที่มีวน
ั ที่ รุ่นที่มีวน
ั ที่และวันในสัปดาห ์
เม็ดมะยมก่อนใช ้งาน

2 หมุนเม็ดมะยมเพื่อตงเวลา

ในการตังเวลาให
ั้
้เที่ยงตรง ให ้หมุนเข็มนาทีไป 4 ถึง 5 นาทีลว่ ง
หน้า แล ้วหมุนกลับไปที่เวลาที่ถูกต ้อง

3 ดันเม็ดมะยมกลับเข้าสู่ตาํ แหน่ งปกติ


หากนาฬิกาของคุณมีสามเข็ม ให ้กดเม็ดมะยมกลับเข ้าไปพร ้อม
กันพร ้อมสัญญาณเวลา
* บริการสัญญาณเวลาโทรศัพท ์จะมีประโยชน์สาํ หรับการตังเข็ ้ ม
วินาที
่ ที่ใช ้เม็ดมะยมแบบล็อคด ้วยสกรู กรุณาล็อคเม็ดมะยมหลัง
* สําหรับรุน
ใช ้งาน

TH 11 TH 12

1 ● การตงเวลา
้ั ● วันที่ (วันในสัปดาห ์) 1
1
นาฬิกามาพร้อมกับฟั งก ์ช ันวันที่ (วันในสัปดาห ์) และได้รบ
ั การออกแบบมาเพื่อให้วน
ั ที่เปลี่ยนทุกๆ 24 ชวโมง
่ั
ดึงเม็ดมะยมออกมาจนถึงคลิกที่สอง
วิธีการใช้งาน

วิธีการใช้งาน
วันที่ (วันในสัปดาห ์) จะเปลี่ยนประมาณ 12.00 นาฬิกาเที่ยงคืน หากตงค่
ั้ า AM/PM ไม่ถูกต้อง วันที่จะเปลี่ยน
ดึงเม็ดมะยมออกมาถึงคลิกที่สอง เมื่อเข็มวินาทีอยูท
่ ี่ตําแหน่ ง 12 เวลา 12.00 น.
นาฬิกา เข็มวินาทีหยุดลงทันที
UN
่ ที่ใช ้เม็ดมะยมแบบล็อคด ้วยสกรู กรุณาปลดล็อค
* สําหรับรุน
เม็ดมะยมก่อนใช ้งาน b ข้อควรระวงั
้ นที่ (วันในสัปดาห ์) ภายในกรอบเวลาต่อไปนี ้ การแก ้ไขวันที่ในช่วงเวลานี อาจทํ
อย่าตังวั ้ าให ้เกิดปัญหาเช่น
วันที่ไม่สามารถเปลียนในวั

2 หมุนเม็ดมะยมเพื่อตังเวลา
้ นถัดไปหรืออาจทําให ้เกิดความเสียหาย

่ ที่แสดงวันที่: 21.00 น. ถึง 01.00 น
รุน
ในการตังเวลาให ้เที่ยงตรง ให ้หมุนเข็มนาทีไป 4 ถึง 5 นาทีลว่ ง
หน้า แล ้วหมุนกลับไปที่เวลาที่ถูกต ้อง
รุน่ ที่แสดงวันที่/วันในสัปดาห ์: 21.00 น. ถึง 04.00 น
UN
* เมื่อตังเวลา
้ ้ า AM/PM อย่างถูกต ้อง
ตรวจสอบให ้แน่ ใจว่าได ้ตังค่
วันที่จะเปลียนทุ
่ ่ั
กๆ 24 ชวโมง

3 ดัสัญนเม็ญาณเวลา
ดมะยมกลับเข้าสู ่ตา
ํ แหน่ งปกติตาม

* บริการสัญญาณเวลาโทรศัพท ์จะมีประโยชน์สาํ หรับการตังเข็ ้ ม


วินาที UN
่ ที่ใช ้เม็ดมะยมแบบล็อคด ้วยสกรู กรุณาล็อคเม็ดมะยมหลัง
* สําหรับรุน
ใช ้งาน

TH 13 TH 14
1
วิธีการใช้งาน
1 ดึงเม็ดมะยมออกมาหนึ่ งคลิก
่ ที่ใช ้เม็ดมะยมแบบล็อคด ้วยสกรู กรุณาปลดล็อค
* สําหรับรุน
■ การปรับวันที่ในช่วงสินเดื
้ อนด้วยตวั เอง
มีความจําเป็ นต้องปรับวันที่เมื่อสินสุ
้ ดเดือนกุมภาพันธ ์และเดือนที่มี 30 วัน
1

วิธีการใช้งาน
เม็ดมะยมก่อนใช ้งาน
UN
ตัวอย่างเช่น เพื่อปรับวันที่ในช่วงเวลา A.M. ในว ันแรกของเดือนถัดจากเดือนที่มี 30 วัน
นาฬิกาจะแสดงเป็ นวันที่ ”31” แทนวันที่ ”1” ดึงเม็ดมะยมออกมาหนึ่ งคลิก
หมุนเม็ดมะยมตามเข็มนาฬิกาเพื่อตังวั
้ นที่เป็ น ”1” จากนั้นดันเม็ดมะยมกลับเข ้าสูต
่ าํ แหน่ งปกติ
่ ที่ใช ้เม็ดมะยมแบบล็อคด ้วยสกรู กรุณาล็อคเม็ดมะยมหลังใช ้งาน
* สําหรับรุน

2 หมุนเม็ดมะยมเพื่อตังวั
้ นที่ (วันในสัปดาห ์)
วันในสัปดาห ์สามารถแสดงเป็ นภาษาญี่ปุ่ นหรือภาษาอังกฤษได ้ วันของสัปดาห ์*
ตามที่คุณต ้องการ
UN
่ จะแสดงวันที่และวันในสัปดาห ์ในลําดับย ้อนกลับ
* บางรุน
UN

วันที่ *

3 ด ันเม็ดมะยมกลับเข้าสู่ตาํ แหน่ งปกติ


่ ที่ใช ้เม็ดมะยมแบบล็อคด ้วยสกรู กรุณาล็อคเม็ดมะยมหลัง
* สําหรับรุน ่
b ข้อควรระวงั

ใช ้งาน หลีกเลียงการแก ้ไขวันที่ภายในกรอบเวลาต่อไปนี ้ การทําเช่นนั้นอาจทําให ้เกิดความเสียหาย


UN รุน่ ที่แสดงวันที่: 21.00 น. ถึง 01.00 น
่ ที่แสดงวันที่/วันในสัปดาห ์: 21.00 น. ถึง 04.00 น
รุน

TH 15 TH 16

การชาร ์จแบตเตอรี่ ■ คําแนะนํ าเวลาในการชาร ์จ


ชาร ์จนาฬิกาโดยใช ้เวลาด ้านล่างเป็ นแนวทาง
2 ■ วิธีชาร ์จแบตเตอรี่ ตัวเลข “เวลาที่ต ้องใช ้ในการชาร ์จนาฬิกาเพื่อการเคลือนไหวเข็
่ มอย่างมั่นคง” เป็ นค่าประมาณของระยะเวลาที่จําเป็ นในการให ้
2
ให ้หน้าปัดนาฬิกาถูกแสงสว่างเพื่อชาร ์จนาฬิกา นาฬิกาที่หยุดทํางานถูกแสงและชาร ์จนาฬิกาจนกว่าจะถึงการเคลือนไหวของเข็
่ มที่นิ่ ง (สําหรับรุน
่ ที่มีเข็มวินาที: จนกว่าจะถึง ถึง
ฟั งก ์ชนชาร

ฟั งก ์ชนชาร

การเคลือนที ่เป็ นช่วงหนึ่ งวินาที)
่ั

่ั
ชาร ์จนาฬิกาโดยใช ้เวลาเหล่านี เป็ ้ นแนวทาง
์จไฟจากพลังงานโซลาร ์

* เวลาในการชาร ์จที่ต ้องการอาจแตกต่างกันออกไปเล็กน้อยขึนอยู


์จไฟจากพลังงานโซลาร ์

่ บ ่ ของนาฬิกา
ั รุน

● V111 / V114 / V115 / V116 / V117


เวลาที่ต้องใช้ในการ
เวลาที่ใช้ในการ
ความสว่าง เวลาที่ใช้ในการ ชาร ์จนาฬิกาเพื่อ
แหล่งกําเนิ ดแสง เงื่อนไข (ตัวอย่าง) ชาร ์จนาฬิกาเป็ น
lx (LUX) ชาร ์จนาฬิกา การเคลื่อนไหวเข็ม
่ เวลา 1 วัน
อย่างมันคง
เพื่อให ้มั่นใจถึงประสิทธิภาพที่ดีที่สุดของนาฬิกา ให ้ชาร ์จ ภายใต ้สถานการณ์ตอ ่ ไปนี ้ พลังงานของนาฬิกามีแนวโน้มที่จะ แสงไฟฟลูออเรส
700 ่
สํานักงานทัวไป - ่
60 ชัวโมง ่
3 ชัวโมง
นาฬิกาให ้เพียงพออยูเ่ สมอ หมดลง ส่งผลให ้นาฬิกาหยุดการทํางาน: เซนต ์
• นาฬิกาถูกปกปิ ดอยูภ ่ ายใต ้แขนเสือ้ แสงไฟฟลูออเรส
3,000 30W 20 ซม. ่
180 ชัวโมง ่
10 ชัวโมง 35 นาที
• นาฬิกาถูกใช ้หรือเก็บไว ้ในสภาพที่ไม่สามารถสัมผัสแสง เซนต ์
เป็ นเวลานาน 10,000 แสงแดด วันที่มีเมฆมาก ่
60 ชัวโมง ่
4 ชัวโมง 12 นาที
* ใช ้ความระมัดระวังเพื่อให ้แน่ ใจว่านาฬิกาไม่ร ้อนขณะที่ชาร ์จ (ช่วงอุณหภูมิการทํางานคือ -10°C ถึง +60°C) วันที่มีแดด (ภายใต้แสงแดด ่
* เมื่อคุณเริ่มใช ้งานนาฬิกาเป็ นครังแรกหรื
้ อเริ่มใช ้งานหลังจากที่นาฬิกาหยุดเนื่ องจากไม่มีการชาร ์จ ให ้ชาร ์จนาฬิกาให ้เพียงพอโดยใช ้
100,000 แสงแดด 10 ชัวโมง 30 นาที 2 นาที
โดยตรงในฤดูรอ้ น)
ตาราง หน้า 18 เป็ นแนวทาง

* การเดินครังละสองวิ นาทีด ้วยเข็มวินาทีเป็ นสัญญาณว่าพลังงานของนาฬิกาใกล ้จะหมดลง (สําหรับรุน ่ ที่มีเข็มวินาที)

TH 17 TH 18
● V131 / V137 / V138 ● V181
เวลาที่ต้องใช้ในการ เวลาที่ต้องใช้ในการ
เวลาที่ใช้ในการ เวลาที่ใช้ในการ
เวลาที่ใช้ในการ ชาร ์จนาฬิกาเพื่อ เวลาที่ใช้ในการ ชาร ์จนาฬิกาเพื่อ
2 ความสว่าง
lx (LUX)
แหล่งกําเนิ ดแสง เงื่อนไข (ตัวอย่าง)
ชาร ์จนาฬิกา การเคลื่อนไหวเข็ม
ชาร ์จนาฬิกาเป็ น
ความสว่าง
lx (LUX)
แหล่งกําเนิ ดแสง เงื่อนไข (ตัวอย่าง)
ชาร ์จนาฬิกา การเคลื่อนไหวเข็ม
ชาร ์จนาฬิกาเป็ น 2
่ เวลา 1 วัน ่ เวลา 1 วัน
อย่างมันคง อย่างมันคง
ฟั งก ์ชนชาร

ฟั งก ์ชนชาร
แสงไฟฟลูออเรส ่ ่ แสงไฟฟลูออเรส ่ ่ ่
700 สํานักงานทัวไป - 16 ชัวโมง 110 นาที 700 สํานักงานทัวไป 82 ชัวโมง 6 ชัวโมง 75 นาที
เซนต ์ เซนต ์
่ั

่ั
แสงไฟฟลูออเรส ่ ่ แสงไฟฟลูออเรส ่
3,000 30W 20 ซม. 90 ชัวโมง 4 ชัวโมง 30 นาที 3,000 30W 20 ซม. 20 ชัวโมง 78 นาที 18 นาที
เซนต ์ เซนต ์
์จไฟจากพลังงานโซลาร ์

์จไฟจากพลังงานโซลาร ์
10,000 แสงแดด วันที่มีเมฆมาก ่
30 ชัวโมง 72 นาที 8 นาที 10,000 แสงแดด วันที่มีเมฆมาก ่
5 ชัวโมง 18 นาที 5 นาที
วันที่มีแดด (ภายใต้แสงแดด ่ วันที่มีแดด (ภายใต้แสงแดด
100,000 แสงแดด 10 ชัวโมง 6 นาที 1 นาที 100,000 แสงแดด 126 นาที 6 นาที 2 นาที
โดยตรงในฤดูรอ้ น) โดยตรงในฤดูรอ้ น)

● V147 / V157 / V158 ● V187


เวลาที่ต้องใช้ในการ เวลาที่ต้องใช้ในการ
เวลาที่ใช้ในการ เวลาที่ใช้ในการ
ความสว่าง เวลาที่ใช้ในการ ชาร ์จนาฬิกาเพื่อ เวลาที่ใช้ในการ ชาร ์จนาฬิกาเพื่อ
แหล่งกําเนิ ดแสง เงื่อนไข (ตัวอย่าง) ชาร ์จนาฬิกาเป็ น ความสว่าง
เงื่อนไข (ตัวอย่าง)
lx (LUX) ชาร ์จนาฬิกา การเคลื่อนไหวเข็ม lx (LUX)
แหล่งกําเนิ ดแสง
ชาร ์จนาฬิกา การเคลื่อนไหวเข็ม
ชาร ์จนาฬิกาเป็ น
่ เวลา 1 วัน เวลา 1 วัน
อย่างมันคง ่
อย่างมันคง
แสงไฟฟลูออเรส ่ ่ แสงไฟฟลูออเรส
700 สํานักงานทัวไป - 25 ชัวโมง 110 นาที 700 ่
สํานักงานทัวไป ่
100 ชัวโมง ่
8 ชัวโมง 95 นาที
เซนต ์ เซนต ์
แสงไฟฟลูออเรส ่ ่ แสงไฟฟลูออเรส
3,000 30W 20 ซม. 120 ชัวโมง 6 ชัวโมง 30 นาที 3,000 30W 20 ซม. ่
25 ชัวโมง 96 นาที 23 นาที
เซนต ์ เซนต ์
10,000 แสงแดด วันที่มีเมฆมาก ่
35 ชัวโมง ่
2 ชัวโมง 10 นาที 10,000 แสงแดด วันที่มีเมฆมาก ่
7 ชัวโมง 24 นาที 6 นาที
วันที่มีแดด (ภายใต้แสงแดด ่ วันที่มีแดด (ภายใต้แสงแดด
100,000 แสงแดด 9 ชัวโมง 24 นาที 2 นาที 100,000 แสงแดด ่
3 ชัวโมง 6 นาที 3 นาที
โดยตรงในฤดูรอ้ น) โดยตรงในฤดูรอ้ น)
TH 19 TH 20

่ ั องกันการชาร ์จมากเกินไป
* ฟั งก ์ชนป้
แหล่งพลังงาน เมื่อแบตเตอรี่สํารองถู กชาร ์จเต็มแล้ว ฟั งก ์ชนการป้
่ั ั การชาร ์จเกินจะถู กเปิ ดใช้งานโดยอ ัตโนมัติเพื่อหลีกเลี่ยง
องกน
การชาร ์จเพิ่มเติม
แบตเตอรี่ที่ใช้ในนาฬิกาเรือนนี ้ เป็ นแบตเตอรี่สํารองพิเศษซึงแตกต่
่ างจากแบตเตอรี่ทัวไป ่ ทําให้ไม่จา ่
ํ เป็ นต้องกงั วลเกียวก ั ความเสียหายที่อาจเกิดจากการชาร ์จมากเกินไป ไม่วา
บ ่ จะมีการชาร ์จแบตเตอรี่
แบตเตอรี่สํารองไม่จา
ํ เป็ นต้องเปลี่ยนใหม่เป็ นระยะ ต่างจากแบตเตอรี่ซิลเวอร ์ออกไซด ์ทัวไป
่ สํารองมากเกินกว่า “เวลาที่ต้องใช้ในการชาร ์จนาฬิกาให้เต็ม”
* สําหรับเวลาที่ต ้องใช ้ในการชาร ์จแบตเตอรี่ ให ้ดูที่ “คําแนะนํ าเวลาในการชาร ์จ” → หน้า 18
3 ความจุหรือประสิทธิภาพการชาร ์จอาจค่อยๆ ลดลง เนื่ องจากการใช้งานในระยะยาวหรือสภาพแวดล้อมการ
ทํางาน
3
นอกจากนี ้ การใช้งานในระยะยาวอาจลดระยะเวลาในการชาร ์จลง เนื่ องจากการสึกหรอ, การปนเปื ้ อน, สภาพของ b คําเตือน
วิธีการรักษาคุณภาพของนาฬิกา

วิธีการรักษาคุณภาพของนาฬิกา
สารหล่อลื่นของชินส่
้ วนกลไก ฯลฯ จําเป็ นต้องมีการซ่อมแซมเมื่อประสิทธิภาพลดลง
■ หมายเหตุเกียวกั
่ บการชาร ์จนาฬิกา
b คําเตือน • เมื่อชาร ์จนาฬิกา อย่าวางนาฬิกาไว ้ใกล ้แหล่งกําเนิ ดแสงจ ้า เช่น อุปกรณ์ให ้แสงสว่างสําหรับถ่ายภาพ,
สปอตไลท ์หรือหลอดไส ้ เนื่ องจากนาฬิกาอาจมีความร ้อนสูงเกินไปทําให ้ชินส่ ้ วนภายในเสียหายได ้
■ หมายเหตุเกียวก
่ ั การเปลี่ยนแบตเตอรี่สํารอง
บ • เมื่อชาร ์จนาฬิกาด ้วยการตากแดดโดยตรง ให ้หลีกเลียงสถานที
่ ่ที่มีอณ
ุ หภูมิสงู ได ้ง่าย เช่น แผงหน้าปัด
• อย่าถอดแบตเตอรี่สํารองออกจากนาฬิกา รถยนต ์

การเปลียนแบตเตอรี ่สํารองจําเป็ นต ้องมีความรู ้และทักษะอย่างมืออาชีพ โปรดสอบถามร ้านค ้าที่ • รักษาอุณหภูมิของนาฬิกาให ้ตํากว่
่ า 50°C เสมอ

จําหน่ ายนาฬิกาเรือนนี ในการเปลี ่
ยนแบตเตอรี ่สํารอง
• การติดตังแบตเตอรี
้ ่ซิลเวอร ์ออกไซด ์ทัวไปสามารถสร
่ ้างความร ้อนที่อาจทําให ้เกิดการระเบิดและการเผา
ไหมไ้ ด ้

TH 21 TH 22
การดู แลประจําวัน สมรรถนะและประเภท
ด้านหลังของตัวเรือนจะแสดงหมายเลขรุ่นของเครื่องและสมรรถนะของนาฬิกาของคุณ
● นาฬิกาต้องได้รบ
ั การดู แลรักษาเป็ นอย่างดีเสมอ
สมรรถนะการกันนํ า้
• ห ้ามล ้างนาฬิกาขณะที่เม็ดมะยมยื่นออกมา
3 • เช็ดคราบความชืน้ เหงื่อ หรือฝุ่ นผงออกด ้วยผา้ นิ่ ม 3
• หลังจากที่นาฬิกาโดนนํ าทะเลมา
้ ้
โปรดอย่าลืมล ้างนาฬิกาในนํ าสะอาดบริ ุ ธิ ์ และค่อยๆ เช็ดนาฬิกาให ้แห ้ง
สท
วิธีการรักษาคุณภาพของนาฬิกา

วิธีการรักษาคุณภาพของนาฬิกา
้ ่ไหลจากก๊อกนํ าโดยตรง
อย่าให ้นาฬิกาโดนนํ าที ้ ้ อนจากนั้นจึงแช่นาฬิกาไว ้ในนํ าเพื
ใส่นําลงในชามก่ ้ ่อล ้าง
* หากนาฬิกาเป็ นแบบ“ไม่กน ้
ั นํ า”หรื ้ น” กรุณาอย่านํ านาฬิกาไปล ้างนํ า้
อ“กันแค่นํากระเซ็
WATER RESISTANT 10 BAR ประสิทธิภาพการต ้านทาน
“สมรรถนะและประเภท” → หน้า 24 แม่เหล็ก
้ → หน้า 26
“สมรรถนะการกันนํ า” V131-0000 R2 AG
AT
BA

R
ER
V1 RES
I STANT
10
31
● หมุนเม็ดมะยมเป็ นครังคราว
- 0 0 0 0 R 2 AG
้ หมายเลขตัวเรือน

• โปรดหมุนเม็ดมะยมเป็ นครังคราว
้ เพื่อป้ องกันการสึกหรอของเม็ดมะยม
• ควรทําตามวิธเี ดียวกับเม็ดมะยมแบบล็อคด ้วยสกรู • สมรรถนะการกน ั นํ ้ า • ประสิทธิภาพการต้านทานแม่เหล็ก
“เม็ดมะยม” → หน้า 9 ดูรายละเอียดใน หน้า 26 ดูรายละเอียดใน หน้า 27 และ หน้า 28
• หมายเลขตวั เรือน
หมายเลขที่ใช ้ระบุประเภทนาฬิกาของคุณ

* ภาพประกอบด ้านบนมีไว ้เพื่อเป็ นตัวอย่าง ดังนั้นอาจไม่เหมือนกับนาฬิกาของคุณ

TH 23 TH 24

ลู มิไบรต ์ ั นํ ้ า
สมรรถนะการกน
หากนาฬิกามีลูมิไบรต ์ ้
ดูรายละเอียดการกันนํ าของนาฬิกาที่คุณใช ้จากตารางด ้านล่าง
ลูมิไบรต ์เป็ นสีเรืองแสงที่พัฒนาขึนมาใหม่
้ ่
ซึงสามารถดูดซ ับพลังงานแสงจากแสงแดดและอุปกรณ์สอ ้ และ
่ งสว่างในระยะเวลาสันๆ (ดูรายละเอียดใน หน้า 24)
เก็บพลังงานดังกล่าวไว ้เพื่อปล่อยแสงในความมืด ตัวอย่างเช่น หากสัมผัสกับแสงกําลังสูงกว่า 500 lux เป็ นเวลาประมาณ 10 นาที ข้อความระบุที่ด้าน
3 ลูมิไบรต ์สามารถปล่อยแสงออกมาได ้นาน 3 ถึง 5 ชวโมง ่ั อย่างไรก็ตาม โปรดทราบว่าขณะที่ลูมิไบรต ์ปล่อยแสงที่กักเก็บไว ้ออก หลังตัวเรือน
ั นํ ้ า
สมรรถนะการกน เงื่อนไขในการใช้งาน 3
มา ระดับการส่องสว่างของแสงจะค่อยๆ ลดลงเมื่อเวลาผ่านไป ระยะเวลาของแสงที่ปล่อยออกมายังอาจแตกต่างกันเล็กน้อยขึนอยู ้ ่ ไม่มีขอ้ บ่งชี ้ ั นํ า้
ไม่กน ้ อเหงื่อ
อย่าให ้โดนหยดนํ าหรื
วิธีการรักษาคุณภาพของนาฬิกา

วิธีการรักษาคุณภาพของนาฬิกา
กับปัจจัยต่างๆ เช่น ความสว่างของสถานที่ที่นาฬิกาสัมผัสกับแสง และระยะห่างระหว่างแหล่งที่มาของแสงกับนาฬิกา WATER b คําเตือน
่ ่อมาจากสถานที่ที่สว่างไปยังสถานที่ที่มืด จะต ้องใช ้เวลาเพื่อให ้ดวงตาของมนุ ษย ์ปรับตัวเข ้ากับความมืด ทําให ้ยากที่จะเห็นวัตถุ ้ กน้อย
กันนํ าเล็ ้ ่กระเซ็นมาโดนเล็กน้อย
ทนนํ าที
* โดยทัวไปเมื RESISTANT อย่าใช ้ว่ายนํ า้
ในตอนแรก (การปรับตัวในที่มืด)
WATER ้
่ บและส่องแสงไฟ โดยไม่เป็ นอันตรายกับมนุ ษย ์หรือสิงแวดล
* ลูมิไบรต ์คือสีเรืองแสงซึงเก็ ่ ้อม ปราศจากวัสดุที่เป็ นพิษ เช่น สารกัมมันตภาพรังสี กันนํ าได ้บ ้างที่แรงดัน ้
RESISTANT าหรับเล่นกีฬา เช่น ว่ายนํ า้
นาฬิกานี เหมาะสํ
<ระดบ
ั ความสว่าง> 5 บาร ์
5 BAR
สภาวะ การส่องสว่าง WATER ้
กันนํ าได ้บ ้างที่แรงดัน
อากาศดี 100,000 lux RESISTANT ้
นาฬิกานี เหมาะสํ ้ ่ไม่ใช่ถงั อากาศ
าหรับการดํานํ าที
แสงแดด 10 (20) บาร ์
มีเมฆมาก 10,000 lux 10(20)BAR
อากาศดี มากกว่า 3,000 lux
ในอาคาร
มีเมฆมาก 1,000 ถึง 3,000 lux
(ด ้านหน้าต่างระหว่างช่วงกลางวัน)
ฝนตก น้อยกว่า 1,000 lux
ระยะห่างจากนาฬิกา: 1 ม. 1,000 lux
อุปกรณ์สอ่ งสว่าง ่
ระยะห่างจากนาฬิกา: 3 ม. 500 lux (การส่องสว่างเฉลียในห ้อง)
(ไฟนี ออน 40 วัตต ์ในช่วงกลางวัน)
ระยะห่างจากนาฬิกา: 4 ม. 250 lux

TH 25 TH 26
ประสิทธิภาพการต้านทานแม่เหล็ก ตวั อย่างผลิตภัณฑ ์ที่มีแม่เหล็กทัวไปที
่ ่อาจส่งผลกระทบต่อนาฬิกา

กลไกของนาฬิกาอาจเดินช้าลงหรือเร็วขึนหรื อหยุดทํางาน หากได้รบ
ั ผลกระทบจากสนามแม่เหล็กในบริเวณ
ใกล้เคียง

3 b อ ันตราย 3
ข้อความระบุที่ด้านหลังตวั เรือน สภาวะในการใช้งาน
วิธีการรักษาคุณภาพของนาฬิกา

วิธีการรักษาคุณภาพของนาฬิกา
ไม่มีขอ้ บ่งชี ้ โปรดดูแลให ้นาฬิกาอยูห
่ า่ งจากผลิตภัณฑ ์แม่เหล็กมากกว่า 10 ซม.
โปรดดูแลให ้นาฬิกาอยูห
่ า่ งจากผลิตภัณฑ ์แม่เหล็กมากกว่า 5 ซม. สมาร ์ทโฟน โทรศัพท ์มือถือ อะแดปเตอร ์ AC กระเป๋ า
(มาตรฐาน JIS ระดับ 1) แท็บเล็ตเทอร ์มินอล (ลําโพง, แม่เหล็กที่คลุม) (ที่มีหวั ปิ ดเป็ น
แม่เหล็ก)
โปรดดูแลให ้นาฬิกาอยูห
่ า่ งจากผลิตภัณฑ ์แม่เหล็กมากกว่า 1 ซม.
(มาตรฐาน JIS ระดับ 2)

หากนาฬิกากลายเป็ นแม่เหล็กและความแม่นยําลดลงเกินอัตราที่กําหนดภายใต ้การใช ้งานปกติ นาฬิกาจะต ้องถูกนํ าไปล ้างอํานาจ


แม่เหล็ก ในกรณี นี้ คุณจะถูกเรียกเก็บเงินสําหรับการล ้างอํานาจแม่เหล็กและการปรับความแม่นยําใหม่ แมว้ า่ จะเกิดขึนภายใน

ระยะเวลารับประกันก็ตาม

เหตุผลที่นาฬิกาเรือนนี ้ ได้รบั ผลกระทบจากคลื่นแม่เหล็ก


มอเตอร ์ในตัวนั้นมาพร ้อมกับแม่เหล็กซึงอาจได
่ ้รับอิทธิพลจากสนามแม่เหล็กภายนอกที่มีกาํ ลังแรง เครื่องโกนหนวด อุปกรณ์ทําอาหารที่มี วิทยุพกพา สร ้อยคอแม่เหล็ก หมอนสุขภาพ
ไฟฟ้ ากระแสสลับ แม่เหล็ก (ลําโพง) แม่เหล็ก

TH 27 TH 28

● สายหนัง
สายนาฬิกา • ่
สายหนังอาจเปลียนสี ่
และเสือมสภาพได ้เนื่ องจากความชืน้ เหงื่อและแสงแดด
สายนาฬิกาสัมผัสกับผิวหนังโดยตรงและอาจเปื ้ อนเหงื่อหรือฝุ่ นละอองได้ ดังนัน
้ การไม่ดูแลรักษาอาจทําให้ • ้
เช็ดคราบชืนและเหงื ่อออกทันทีโดยใช ้ผ ้าแห ้งซ ับอย่างอ่อนโยน
สายนาฬิกาเสื่อมสภาพเร็วขึน ้ หรือก่อให้เกิดการระคายเคืองผิวหนัง ตลอดจนทิงคราบไว้
้ บนปลายแขนเสือ้ • อย่าให ้นาฬิกาโดนแดดโดยตรงเป็ นเวลานาน
ั การดู แลเอาใจใส่อย่างมากเพื่อการใช้งานที่ยาวนาน
นาฬิกาต้องได้รบ • ระมัดระวังขณะสวมนาฬิกาที่สายสีจาง เนื่ องจากจะทําให ้เห็นคราบสกปรกได ้ง่าย
• ่
หลีกเลียงการใช ้สายหนัง ยกเว ้นสําหรับ Aqua Free ขณะอาบนํ า้ ว่ายนํ าและขณะทํ
้ ่
ากิจกรรมเกียวกั ้ ว้ า่ ตัวนาฬิกาจะ
บนํ าแม
3 ● สายโลหะ
้ กน้อย (กันนํ า้ 10 บาร ์/20 บาร ์) ก็ตาม
กันนํ าเล็ 3
วิธีการรักษาคุณภาพของนาฬิกา

วิธีการรักษาคุณภาพของนาฬิกา
• ความชืน้ เหงื่อ หรือฝุ่ นดินจะก่อให ้เกิดสนิ มแม ้จะเป็ นสายนาฬิกาแบบสเตนเลสสตีล หากไม่มีการทําความสะอาดเป็ นเวลานาน ● สายโพลียูรีเทน
• การไม่ดแู ลรักษาอาจก่อให ้เกิดคราบสีเหลืองหรือสีทองที่ปลายแขนเสือด ้ ้านล่าง
• เช็ดความชืน้ เหงื่อ หรือฝุ่ นดินออกด ้วยผา้ นิ่ มๆ ทันที • สายโพลียรู ีเทนอาจเปลียนสี ่ ได ้ง่ายเมื่อโดนแสง และอาจเสือมสภาพจากตั
่ ้
วทําละลาย หรือความชืนในบรรยากาศ
• หากต ้องการทําความสะอาดคราบดินรอบ ๆ รอยต่อของสายนาฬิกา ให ้เช็ดออกด ้วยนํ าแล ้ ้วแปรงออกด ้วยแปรงสีฟันนุ่ ม • โดยเฉพาะอย่างยิ่งสายนาฬิกาที่เป็ นสีใส สีขาว หรือสีออ ่ นสามารถดูดซึมสีอืนๆ ่ ได ้ง่าย ซึงทํ
่ าให ้เกิดการเปลียนสี
่ หรือสีตก

(ป้ องกันไม่ให ้ตัวเรือนโดนนํ าโดยใช ้ฟิ ล ์มพลาสติกห่อหุ ้มบริเวณตัวเรือนไว ้ ฯลฯ) • ล ้างฝุ่ นผงออกด ้วยนํ า้ และเช็ดด ้วยผ ้าแห ้ง
ทําความสะอาดด ้วยผ ้านุ่ ม ้
(ป้ องกันไม่ให ้ตัวเรือนโดนนํ าโดยใช ้ฟิ ล ์มพลาสติกห่อหุ ้มบริเวณตัวเรือนไว ้ ฯลฯ)
• สนิ มอาจเกิดขึนในชิ
้ ้ วนที่เป็ นสเตนเลสสตีลเนื่ องจากสายนาฬิกาขนาดใหญ่บางรุน
นส่ ่ ใช ้พินที่ทําจากสเตนเลสสตีล ซึงมี
่ ความ • เมื่อสายนาฬิกามีความยืดหยุน ่ น้อยลง ให ้เปลี่ยนสายใหม่ หากใช ้สายต่อไปทังอย่
้ างนั้น สายนาฬิกาอาจแตกหรือหักได ้เมื่อเวลา
แข็งแกร่งมาก ผ่านไป
• หากสนิ มขึน้ พินอาจยื่นออกมาหรือหลุดออก ตัวเรือนนาฬิกาอาจหลุดออกจากสายนาฬิกา หรือตะขออาจไม่เปิ ด
• หากพินยื่นออกมา อาจส่งผลให ้เกิดการบาดเจ็บต่อผูใ้ ส่ ในกรณี ดงั กล่าว ให ้หยุดใช ้นาฬิกาและส่งซ่อม ่
หมายเหตุเกียวกับการ
การระคายเคืองผิวหนังจากสายนาฬิกามีสาเหตุหลายประการ เช่น การแพ ้โลหะหรือหนัง หรือ
ระคายเคืองหรืออาการ
ั ฝุ่ นผงหรือสายนาฬิกาเอง
ปฏิกิ ริยาของผิวหนังต่อการเสียดสีกบ
แพบ้ นผิวหนัง


หมายเหตุเกียวกั

โปรดปรับสายให ้หลวมจากข ้อมือเพื่อให ้อากาศสามารถผ่านได ้เวลาใส่นาฬิกา
ความยาวของสาย ้ อเข ้าไประหว่างสายนาฬิกาและข ้อมือของท่านได ้
ิ โปรดเหลือช่องว่างให ้สามารถสอดนิ วมื
นาฬกา

TH 29 TH 30
้ าหรับสายหนัง (ตะขอแบบพิเศษ)
การใช้ตะขอแบบพับสามชันสํ A A Type
้ ่อปลดล็อค ่
ตะขอชนิ ดพิเศษมีอยู ่ 3 แบบดงั นี ้ 1 ยกตะขอขึนเพื
3 ถอดพินออกจากรูปรับความยาว เลือนสายไปด ้านซ ้าย
และขวา แล ้วสอดพินเข ้าที่รูปรับความยาวให ้ได ้ระยะที่
หากตะขอนาฬิกาที่มาพร้อมกับนาฬิกาที่คุณซือจ
้ ัดอยู ่ในประเภทที่นํ าเสนอนี ้ สามารถแยกประเภทได้จากข้อมู ล เหมาะสม
ที่แจ้งกํากับ หัวกดล็อค

3 A A Type → หน้า 32 C C Type → หน้า 34


พิน
รูปรับความยาว
3
ห่วงที่เลือนไม่
่ ได ้ แผ่นปิ ด
วิธีการรักษาคุณภาพของนาฬิกา

วิธีการรักษาคุณภาพของนาฬิกา
ห่วงที่เคลือนที
่ ่ได ้

2 เปิ ดตัวแผ่นปิ ด
4 ยึดแผ่นปิ ด

B B Type → หน้า 33 * อย่าดันแผ่นปิ ดแรงเกินไป

* ขณะยึดตะขอ ให ้สอดปลายสายเข ้าที่ห่วงที่เคลือนที่ ่ได ้และ


ห่วงที่เลือนไม่
่ ได ้ จากนั้นยึดหัวล็อคให ้แน่ น

TH 31 TH 32

B B Type C C Type

3 3
วิธีการรักษาคุณภาพของนาฬิกา

วิธีการรักษาคุณภาพของนาฬิกา
ในขณะที่กดปุ่ มกดทังสองด
้ ้านของแผ่นปิ ด ให ้ยกขึน้ ่
1 เพื่อเปิ ดตะขอ
2 ถอดพินออกจากรูปรับความยาว เลือนสายไปด ้านซ ้าย
และขวา แล ้วสอดพินกลับเข ้าที่รูปรับความยาวให ้ได ้ ● การสวมใส่และถอดนาฬิกา
ระยะที่เหมาะสม กดหัวล็อคแล ้วยึดตะขอ
ปุ่ มกด ในขณะที่กดปุ่ มกดทังสองด
้ ให ้ปลายสายเข ้าไปอยูใ่ นห่วงที่เคลือนที
่ ่ได ้และห่วงที่
หัวกดล็อค 1 รัดออกจากห่วงที่เคลือนที

้านของแผ่นปิ ด ให ้ดึงสาย
่ได ้และห่วงที่เคลือนที
่ ่ไม่ได่ ้ 2 ่
เลือนไม่ ได ้ จากนั้นยึดตัวล็อคโดยกดที่ตะขอ

จากนันเปิ ดตะขอ
รูปรับความยาว
หัวกดล็อค

ห่วงที่เลือนไม่
่ ได ้ ปุ่ มกด
พิน ห่วงที่เคลือนที
่ ่ได ้
แผ่นปิ ด

TH 33 TH 34
ดึงพินออกจากรูปรับความยาวที่ตัวสาย เลือนสายเพื
่ ่อ
● การปรับความยาวสาย
3 ปรับความยาวและค ้นหารูที่เหมาะสม กดพินเข ้าที่รู
4 ยึดแผ่นปิ ด

พิน
ในขณะที่กดปุ่ มกดทังสองด
้ ้ ่อปลดขาตะขอ
1 รัดออกจากห่วงที่เคลือนที

้านของแผ่นปิ ด ให ้ดึงสาย
่ได ้และห่วงที่เคลือนที
่ ่ไม่ได่ ้ 2 กดปุ่ มกดอีกครังเพื รูปรับความยาว


จากนันเปิ ดตะขอ
3 หัวกดล็อค
3
วิธีการรักษาคุณภาพของนาฬิกา

วิธีการรักษาคุณภาพของนาฬิกา
ห่วงที่เลือนไม่
่ ได ้ ปุ่ มกด

ห่วงที่เคลือนที
่ ่ได ้
แผ่นปิ ด รูปรับความยาว
พิน

TH 35 TH 36

● การตรวจสอบและการปรับเปลี่ยนโดยการแยกชินส่
้ วนและทําความสะอาด
บริการหลังการขาย (การล้างเครื่อง)
• ขอแนะนํ าให ้มีการตรวจสอบและการปรับเปลียนโดยการแยกชิ
่ ้ วนและทําความสะอาด (การยกเครื่อง) เป็ นระยะๆ ทุก 3 ถึง 4
นส่
● หมายเหตุเกียวก
่ บ
ั การรับประก ันและการซ่อม ปี โดยประมาณเพื่อรักษาประสิทธิภาพสูงสุดของนาฬิกาไว ้ในระยะยาว ตามสภาวะการใช ้งาน นํ ามั ้ นที่รักษาสภาพของชินส่้ วน
กลไกของนาฬิกาอาจเสือมสภาพ่ ้ วนอาจเกิดการขีดข่วนเนื่ องจากนํ ามั
ชินส่ ้ นปนเปื ้ อน ซึงอาจส่
่ งผลให ้นาฬิกาหยุดเดินในที่สุด
• ติดต่อร ้านค ้าที่จําหน่ ายนาฬิกาเรือนนี หรื
้ อศูนย ์บริการลูกค ้าของ SEIKO สําหรับการซ่อมหรือการล ้างเครื่อง
เนื่ องจากชินส่
้ วนต่างๆ เช่น ยางกันรัว่ อาจเสือมสภาพ
่ ้ ่ องจากการแทรกซึมของเหงื่อและ
3 • หากอยูภ่ ายในระยะเวลารับประกัน โปรดแสดงใบรับรองการรับประกันเพื่อรับบริการซ่อมแซม
ความชืน้
สมรรถนะการกันนํ าอาจลดลงเนื
3
• ขอบเขตของการรับประกันจะระบุไว ้ในใบรับรองการรับประกัน
โปรดติดต่อร ้านค ้าที่จําหน่ ายนาฬิกาเรือนนี สํ
้ าหรับการตรวจสอบและการปรับเปลียนโดยการแยกชิ
่ ้ วนและทําความสะอาด
นส่
วิธีการรักษาคุณภาพของนาฬิกา

วิธีการรักษาคุณภาพของนาฬิกา
โปรดอ่านใบรับรองดังกล่าวอย่างละเอียดและเก็บไว ้ให ้ดี (การยกเครื่อง) สําหรับการเปลียนชิ
่ ้ วนโปรดระบุ “ชินส่
นส่ ้ วนอะไหล่ SEIKO ของแท ้” เวลาขอการตรวจสอบและการปรับเปลียน ่
• สําหรับบริการซ่อมแซมหลังจากระยะเวลารับประกันหมดอายุ หากสามารถคืนค่าฟังก ์ช ันของนาฬิกาได ้ด ้วยการซ่อมแซม โดยการแยกชินส่ ้ วนและทําความสะอาด (การยกเครื่อง) โปรดตรวจสอบว่ามีการเปลียนยางกั ่ ่
นรัวและพิ นกดใหม่ด ้วย
เราจะดําเนิ นการซ่อมแซมให ้เมื่อได ้รับคําขอและการชําระเงินแล ้ว • เมือนาฬิกาได ้รับการตรวจสอบและการปรับเปลียนโดยการแยกชินส่วนและทําความสะอาด (การล ้างเครือง) แล ้ว นาฬิกาอาจ
่ ่ ้ ่

ได ้รับการเปลียนกลไก
● การเปลี่ยนชินส่
้ วนที่ใช้งานได้
• โปรดทราบว่าหากชินส่
้ วนเดิมไม่มีแล ้ว จะมีการแทนที่ด ้วยชินส่
้ วนอืนที
่ ่อาจมีรป
ู ลักษณ์ภายนอกต่างจากของเดิม

TH 37 TH 38
การแก้ปัญหา ปั ญหา
วันที่มีการ
่ นไปได้
สาเหตุทีเป็ วิธีการแก้ไข อ้างอิง

เปลี่ยนแปลง ณ เวลา
ปั ญหา สาเหตุที่เป็ นไปได้ วิธีการแก้ไข อ้างอิง ้ า AM/PM ไม่ถก ่ ่ั
12:00 น. ตังค่ ู ต ้อง เลือนเวลาไปอี ก 12 ชวโมง หน้า 12
นาฬิกาหยุดเดิน ชาร ์จแบตเตอรี่ให ้เพียงพอจนกว่าจะถึงการ (สําหรับรุ่นที่มีการ
พลังงานหมดลงอย่างสมบูรณ์หรือตํา่ ่
่ เกิ
้ ด เคลือนไหวของมื อที่มั่นคง แสดงวันที่)
เข็มวินาทีจะเดินทุก หากคุณสวมใส่นาฬิกาทุกวันและสิงนี
เมื่อคุณสวมใส่นาฬิกา พยายามตรวจสอบ
สองวินาที ขึน้ สาเหตุที่เป็ นไปได ้มากที่สุดคือนาฬิกา หน้า 17 ้ มาณเล็กน้อยเข ้าไปในนาฬิกา
มีนําปริ
้ อเสือผ ้ ้าอืนๆ
่ ให ้แน่ ใจว่านาฬิกาไม่ได ้ถูกปกปิ ดไว ้ภายใต ้ หน้าปั ดมีอาการเบลอ ่ ่ ให ้ติดต่อร ้านค ้าที่จําหน่ ายนาฬิกาเรือนนี ้ -
(สําหรับรุ่นที่มีเข็ม ถูกปกปิ ดภายใต ้แขนเสือหรื ้ อเสือผ้
้ าอืน ่ ๆ นอกจากนี เมื้ ่อคุณ เนื องจากการเสือมสภาพของยางกันรัว่ ฯลฯ
แขนเสือหรื
4 วินาที) เมื่อคุณสวมใส่และไม่ได ้รับแสงเพียงพอ
ถอดนาฬิกา ให ้วางไว ้ในที่ๆ มีแสงสว่าง * ติดต่อผูค้ ้าปลีกที่ซือนาฬ
้ ่ ที่มี
ิกาสําหรับปัญหาอืนๆ 4
หากนาฬิกากลับไปที่อุณหภูมิห ้อง ความ
การแก้ปัญหา

การแก้ปัญหา
นาฬิกาถูกทิงไว ุ ภูมิสงู หรือ เที่ยงตรงจะกลับสูส
้ ้ในสถานที่ที่มีอณ ้ ม
่ ถานะดังเดิ
่ ้ ม ให ้ติดต่อร ้านค ้า -
ตํามากเป็ นเวลานาน หากไม่กลับสูส ่ ถานะดังเดิ
ที่จําหน่ ายนาฬิกาเรือนนี ้
ความแม่นยําตามปกติจะกลับมาทํางานอีก
นาฬิกาเดินเร็ว/เดิน ้ ่อนาฬิกาอยูห
ครังเมื ่ า่ งจากการสัมผัสใกล ้
ิ ่
นาฬกาวางไว ้ใกล ้กับวัตถุทีมีสนามแม่เหล็ก
่ั
ช้าไปชวขณะ ชิดกับแหล่งแม่เหล็ก หากเกิดกรณี นีขึ ้ น้ -
แรงมาก
บ่อยๆ โปรดติดต่อร ้านค ้าที่จําหน่ ายนาฬิกา
เรือนนี ้
คุณทํานาฬิกาตก กระแทกกับพืนผิ ้ วแข็ง

หลังจากตังเวลาแล ้วนาฬิกายังคงเดินไม่ตรง
หรือสวมใส่ในขณะที่เล่นกีฬา -
่ ให ้ติดต่อร ้านค ้าที่จําหน่ ายนาฬิกาเรือนนี ้
นาฬิกาได ้รับแรงสันสะเทื อนรุนแรง

TH 39 TH 40

ข้อมู ลจําเพาะ หมายเลขเครื่อง


1. คุณสมบัติ ้
นาฬิกาพืนฐานสามเข็
V181

ม (เข็มชัวโมง นาที และวินาที)

2. ความถีของคริ สตัล
V114/V115/ V111/V117/ V147/V157/ 32,768 Hz (Hz = Hertz รอบต่อวินาที)
หมายเลขเครื่อง V137/V138 V187 ออสซิลเลเตอร ์
V116 V131 V158

นาฬิกาพืนฐานสอง ้
นาฬิกาพืนฐานสาม 3. การเดินช้า/เดินเร็ว ่

นาฬิกาพืนฐานสามเข็ ่
ม (เข็มชัวโมง นาที และวินาที) การแสดง เฉลียการเดื นช ้า/เดินเร็วต่อเดือน ±20 วินาที (หากสวมใส่บนข ้อมือในช่วงอุณหภูมิ 5 °C ถึง 35 °C)
1. คุณสมบัติ ่
เข็ม (เข็มชัวโมงและ ่
เข็ม (เข็มชัวโมง (อัตราต่อเดือน)
วันที่ 4. ช่วงอุณหภู มิในการ
เข็มนาที) นาที และวินาที) -5 °C ~ +50 °C

2. ความถีของคริ สตัล ใช้งาน
32,768 Hz (Hz = Hertz รอบต่อวินาที) มอเตอร ์การเดืน
ออสซิลเลเตอร ์ 5. ระบบข ับเคลื่อน ่
(เข็มชัวโมง นาที และวินาที)
3. การเดินช้า/เดินเร็ว ่
เฉลียการเดื นช ้า/เดินเร็วต่อเดือน ±15 วินาที (หากสวมใส่บนข ้อมือในช่วงอุณหภูมิ 5 °C ถึง 35 °C)
5 (อัตราต่อเดือน) 6. แหล่งที่มาของ
พลังงาน
แบตเตอรี่สํารอง 1 ก ้อน 5
4. ช่วงอุณหภู มิในการ
-10 °C ~ +60 °C
ข้อมู ลจําเพาะ

ข้อมู ลจําเพาะ
ใช้งาน 7. อัตราการสํารอง
ประมาณ 2 เดือน
มอเตอร ์การเดืน มอเตอร ์การเดืน ลาน
5. ระบบข ับเคลื่อน ่
(เข็มชัวโมงและเข็ม ่
(เข็มชัวโมง นาที ่
มอเตอร ์การเดืน (เข็มชัวโมง นาที และวินาที) การแสดงวันที่ 8. IC (วงจรรวม) ออสซิลเลเตอร ์ ตัวแบ่งความถี่ และวงจรขับเคลือน
่ C-MOSIC, 1 ชิน้
นาที) และวินาที) ่
* ข ้อมูลจําเพาะอาจเปลียนแปลงได ้โดยไม่ต ้องแจ ้งให ้ทราบล่วงหน้าเนื่ องจากการปรับปรุงผลิตภัณฑ ์
6. แหล่งที่มาของ
แบตเตอรี่สํารอง 1 ก ้อน
พลังงาน
7. อัตราการสํารอง
ประมาณ 12 เดือน ประมาณ 6 เดือน ประมาณ 10 เดือน ประมาณ 2 เดือน
ลาน
8. IC (วงจรรวม) ออสซิลเลเตอร ์ ตัวแบ่งความถี่ และวงจรขับเคลือน
่ C-MOSIC, 1 ชิน้

* ข ้อมูลจําเพาะอาจเปลียนแปลงได ้โดยไม่ต ้องแจ ้งให ้ทราบล่วงหน้าเนื่ องจากการปรับปรุงผลิตภัณฑ ์

TH 41 TH 42

You might also like