Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 6

นายกิตติศกั ดิ พิริยะธัญญากรม ห้อง 288 เลขที 32

ไปสบายกับตายห่ า : ศึกษาคํารื นหูและคําต้ องห้ ามในภาษาไทย

ในชีวติ ประจําวัน การทีคนทัวไปจะสื อสารออกมาให้คนอืนเข้าใจได้นันล้วนแล้วเกิดด้วย


การใช้ภาษาทังสิ น และการทีจะประกอบออกมาเป็ นประโยคทีใช้สื อสารโดยทัวไปนันย่อมต้องใช้
หน่วยเสี ยงทีเล็กทีสุ ดทีมีความหมายในภาษาหรื อเรี ยกว่าคํามาร้อยเรี ยงประกอบสร้างกันเป็ นวลี
หรื อประโยคเพือใช้ในการสื อออกไปแก่ผฟู ้ ังเข้าใจได้

คําในภาษาเหล่านันก็มีความหมายแตกต่างกันออกไป และด้วยความหมายเหล่านันก็ทําให้
เกิดการจัดลําดับศักดิของคําขันมาตามความสุ ภาพ บางคําก็เป็ นคําทีมีความสุ ภาพกว่าคําอืนจนเป็ น
คําทีใช้ในภาษาราชการหรื อภาษาทีใช้ในพิธีการ ส่ วนคําทีมีความสุ ภาพน้อยกว่ากันก็เป็ นคําทีใช้กัน
ในภาษาทีพูดกันทัวไป หรื อแม้แต่กลายเป็ นภาษาหยาบคายทีใช้กันในกลุ่มมิตรสหายหรื อใช้ด่าทอ
กันก็แล้วแต่กรณี
ซึงในทะเลแห่งถ้อยคําจํานวนมหาศาลเหล่านันก็มีคาํ กลุ่มหนึงทีคนทัวไปไม่นาํ มาพูดกันใน
สถานการณ์ปกติทัวไป ด้วยเหตุผลในเรื องของความเหมาะสมก็ดี ความเคารพก็ดี วัฒนธรรมก็ดี
หรื อกระทังความหยาคายของคําเหล่านันก็ดี ไม่ว่าจะเนืองด้วยเหตุผลใดก็ตาม การพูดถึงคําเหล่านัน
ก็เป็ นเรื องทีผูค้ นในประชาสังคมนันหลีกเลียงทีจะไม่พูดกัน เช่นในเรื องของเพศ ชือของสัตว์บาง
ชนิด หรื อไม่พูดกันเพียงแค่ในบางสถานการณ์ เช่น ไม่พูดเรื องความตายกับคนป่ วย ไม่พูดเรื องสัตว์
ร้ายในป่ า ไม่พูดถึงสิ งศักดิสิ ทธิถ้าไม่จําเป็ น คําเหล่านีถูกเรี ยกว่า “คําต้องห้าม” โดยสามารถอธิบาย
ถึงลักษณะของคําต้องห้ามได้โดยคร่ าวดังนี
คําต้องห้าม คือ คําศัพท์ทีถือว่าไม่สุ ภาพเป็ นอย่างยิงและไม่ควรพูด ซึงเกิดจากธรรมชาติของ
มนุษย์ ทีมีความอายและความกลัว ซึงอารมณ์ความรู ้สึกทังสองของมนุษย์นันได้ก่อให้มนุษย์เกิด
ความรู ้สึกตะขิดตะขวงใจและไม่ชอบเมือได้พูดหรื อฟังคําบางคํา ดังการทีความอายของมนุษย์ทําให้
เห็นเรื องเพศเป็ นเรื องน่าอาย และคําศัพท์ทีเกียวกับเรื องเพศก็น่าอายไปด้วย อาทิ “เย็ด” ทีเป็ นคํา
กริ ยาแสดงถึงการร่ วมเพศ หรื อคําเรี ยกชืออวัยวะทีเกียวกับเรื องทางเพศก็เป็ นคําต้องห้าม
อีกตัวอย่างคือความรู ้สึกกลัวซึงการทีมีความกลัวในเรื องต่าง ๆ เช่น กลัวความตาย กลัว
ความเจ็บป่ วย กลัวสัตว์ร้าย กลัวสิ งศักดิสิ ทธิ ก็ทําให้คําต่าง ๆ ทีเชือมโยงกับความรู ้สึกเหล่านันเป็ น
คําต้องห้ามได้เช่นกัน
และทีมาสําคัญอีกอย่างของคําต้องห้ามนันเกิดจากการทีสังคมดังเดิมของมนุษย์กาํ หนด
พฤติกรรมต้องห้ามไว้ โดยเกิดจากสํานึกทางศาสนา การธํารงความปกติสุ ขของสังคม และเพือก่อ
ให้เกิดความรู ้สึกเป็ นพวกเดียวกันขึนในสังคม และพฤติกรรมเหล่านันก็ส่ งผลถึงภาษาด้วย คือ คําที
คนใช้เรี ยกพฤติกรรมต้องห้ามต่าง ๆ ก็กลายเป็ นคําต้องห้ามในทีสุ ด

โดยคําต้องห้ามนันล้วนแล้วแต่มีความแตกต่างกันไปตามสังคมและวัฒนธรรมของมนุษย์ที
ไม่เหมือนกัน ในวัฒนธรรมหนึงคําบางคําอาจะเป็ นคําต้องห้าม แต่อีกสังคมอาจเป็ นคําธรรมดาทีใช้
กันโดยทัวไป
เช่น ในกลุ่มสังคมของศาสนาคริ สต์นันการเอ่ยถึงพระเจ้าหรื อออกนามของพระเจ้าโดยไม่มี
เหตุผลนันถือว่าเป็ นเรื องทีต้องห้าม เพราะว่าบทบัญญัติในศาสนาคริ สต์นันได้มีการห้ามการออก
นามพระเจ้าโดยไม่มีเหตุผล จึงทําให้คําว่าพระเจ้าและพระนามของพระเจ้าเป็ นคําต้องห้าม แต่กับ
สังคมทีไม่ได้นับถือศาสนาคริ สต์นันการพูดถึงพระเจ้าก็เป็ นเรื องทัวไป มิได้เป็ นคําต้องห้ามหรื อ
อย่างใด
หรื อจะเป็ นคําต้องห้ามทีใช้เป็ นคําด่า เช่น คําว่า “ควาย” ซึงในสังคมไทยนันถือว่าเป็ นคําด่า
ทีสื อถึงความโง่ เพราะคนไทยมีความเชือว่าควายเป็ นสัตว์ทีโง่ โดยมีนิทานเล่าว่าเทวดาได้สังควาย
ให้มาบอกมนุษย์ให้กินข้าววันละมือ แต่ควายกลับมาบอกมนุษย์ให้กินข้าววันละ 3 มือ ทําให้โลก
ต้องเดือดร้อนเรื องอาหาร เทวดาจึงให้ควายชดใช้ด้วยการไถนา แต่หากเป็ นสังคมอืน เช่น สังคม
ตะวันตกจะมองว่าควายเป็ นสัตว์ทีมีความขยันขันแข็ง ไม่ได้มองว่าควายเป็ นสัตว์ทีโง่

่ คําต้องห้าม ทําให้เวลาจะสื อสารถึงสิ งทีเป็ นคําเหล่านันก็ก่อให้


และเนืองด้วยการมีอยูของ
เกิดความไม่สะดวก เพราะด้วยความเชือทีผูกแน่นกับพฤติกรรมต้องห้ามจึงนําไปสู่ ความเชือทีว่า
หากมีการกล่าวถึงสิ งต้องห้ามใด ๆ อย่างตรงไปตรงมา จะก่อผลร้ายแก่ทังผูพู้ ดและผูฟั้ ง ด้วยเหตุนี
ทําให้เกิดการประดิษฐ์สร้างสิ งทีเรี ยกว่า “คํารื นหู” ขึนมานันเอง

คํารื นหูนันมีขึนเพือใช้พูดแทนคําต้องห้าม โดยเป็ นการเปลียนแปลงความหมายเชิงลบของ


คําต้องห้ามเดิมนันให้มีความเหมาะสมมากขึน โดยจะมีการสร้างคําต้องห้ามเพือสาเหตุต่าง ๆ ดังนี
1. คํารื นหูเพือขจัดความกลัว เช่น “ตัวเหี ย” ทีเป็ นชือทีไม่ดี แสดงถึงความทราม ใช้คํารื นหูแทน
ว่า “ตัวเงินตัวทอง” ซึงมีความหมายในเชิงบวก
2. คํารื นหูเพือความเหมาะสม เช่น คําว่า “ตาย” ทีอาจจะก่อให้เกิดความสะเทือนใจ ความกลัว
และความเศร้าโศกให้แก่ผูฟั้ ง จึงเลียงไปใช้คําทีสื อว่าความตายไม่ใช่เรื องร้ายแรงน่ากลัว
อย่างคําว่า “ไปสบาย” แทน
3. คํารื นหูเพือความสุ ภาพ เช่น คําว่า “เย็ด” ซึงสื อถึงเรื องทางเพศและเป็ นคําทีไม่สุ ภาพ จึงมี
การเลียงไปใช้คาํ ว่า “มีเพศสัมพันธ์” แทน
โดยการสร้างคํารื นหูในภาษาไทยนันมักจะเกิดจากการแปลงคําต้องห้ามเองให้มีรูปแบบ
ใหม่ โดยมีตวั อย่างดังนี
1. การดัดแปลงตัวพยัญชนะในคําต้องห้าม เช่น ใช้คาํ ว่า “ตัวเอีย” แทนคําว่า “ตัวเหี ย”
2. การดึงศัพท์ต่างประเทศมาให้ เช่น “เมคเลิฟ” แทนคําว่า “เย็ด”
3. การใช้คําทีเบาลงและความหมายเป็ นกลางขึน เช่น “หน้าอก” แทนคําว่า “นม” (ในเชิงของ
เครื องเพศ)
4. การอุปลักษณ์ เช่น “ทําการบ้าน” แทนคําว่า “เย็ด”

และเมือมีการสร้างคําใหม่แล้ว ย่อมก่อให้เกิดความหมายใหม่ โดยคํารื นหูนันก็มีทังทีมีความ


่ ว หรื อคํารื นหูทีหน่วยคําไม่ได้มีความหมายอะไรในตัว ซึง
หมายตรงจากหน่วยคําของคํารื นหูอยูแล้
คํารื นหูทีมีความหมายในหน่วยคํานันมีทังความหมายโดยตรงและความหมายแฝง ความหมาย
โดยตรงมักจะอ้างถึงสิ งทีเป็ นสิ งแวดล้อมรอบตัวมนุษย์ หรื อมีความเกียวข้องกับวิถีชีวติ ของมนุษย์
ในสังคม เช่น การใช้คาํ ว่า “นกเขา” แทนอวัยวะเพศชาย
และความหมายแฝงของคํารื นหูนันมักจะเป็ นความหมายทีสื อไปในทางทีดี น่าพอใจและน่า
ปรารถนา เช่น ความสุ ข ในคําว่า “ไปสบาย” ซึงใช้แทนคําว่า “ตาย” หรื อ ความมังคัง เช่น “ตัวเงิน
ตัวทอง” ทีใช้แทนคําว่า “ตัวเหี ย” ซึงสังเกตได้ว่า คํารื นหูและคําต้องห้ามมีความสัมพันธ์ทางความ
หมายในลักษณะตรงข้ามก็วา่ ได้

การเลือกคําใดมาเป็ นคํารื นหูนนก็


ั สามารถทีจะสะท้อนให้เห็นถึงค่านิยมในสังคมและ
วัฒนธรรมของสังคมทีใช้คํารื นหูเหล่านัน อย่างทีเห็นในภาษาไทยซึงคํารื นหูนันมักมีความหมายที
เกียวข้องกับความมังคัง อํานาจ ความสุ ข ความรัก ความสุ ภาพ ความดี ความสําคัญ เรื องของศาสนา
และสิ งเหนือธรรมชาติ รวมไปถึงลักษณะการมองโลกทีสําคัญคือความสัมพันธ์ระหว่างชายและ
หญิง ทีมีการให้ความสําคัญกัเพศชายมากกว่า เช่น คําว่า “เจ้าโลก” ทีใช้กับการเรี ยกอวัยวะเพศชาย
แต่ไม่พบคําทีมีอุปลักษณ์เชิงอํานาจเหมือนกัในการเรี ยกแทนอวัยวะเพศหญิง กับอีกเรื องคือบุญและ
บาป ซึงสังคมไทยให้ความสําคัญเป็ นอย่างมาก อย่างการใช้คําว่า “หมดบุญ” “พ้นทุกข์” “หมดเวร
หมดกรรม” ซึงล้วนแล้วแต่เป็ นคํารื นหูของคําว่า “ตาย” ทังสิ น

ดังนันจึงสรุ ปได้วา่ ทังคํารื นหูและคําต้องห้ามก็ลว้ นแล้วแต่เป็ นเครื องบ่งชีทีสําคัญทาง


วัฒนธรรมและสังคมของกลุ่มชนทีใช้ภาษาเหล่านันว่ามีความเชือในเรื องใดเป็ นสําคัญ สิ งใดป็ นสิ ง
ทีต้องห้ามในสังคมนัน สิ งใดเป็ นสิ งดีงามในสังคมนัน ค่านิยมของสังคมนันเป็ นเช่นไร หรื อความ
เชือด้านโลกทัศน์ของคนในสังคมนัน ซึงแสดงออกมาผ่านการกําหนดว่าคําใดเป็ นคําต้องห้ามและ
ใช้คาํ ใดเป็ นคํารื นหูแทนนันเอง
บรรณานุกรม

แก้วใจ จันทร์เจริ ญ. (2533). คํารื นหู ในภาษาไทย (ปริ ญญานิพนธ์มหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์


มหาวิทยาลัย, กทมฯ.
รัชดา ธิยะใจ. (2536). คํารื นหู ในภาษาไทย : การวิเคราะห์ ค่านิยม (ปริ ญญานิพนธ์มหาบัณฑิต).
มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์, สงขลา.
พิพฒั น์ กระแจะจันทร์. (2563). แจกของลับ ตอกกลับด้วยความหยาบคาย เจาะลึกฟังก์ชนั ของคําด่า
ทีทังสะท้อนชนชันและสร้างความเสมอภาคให้สงั คม. สื บค้นจาก
thestandard.co/thai-profanity-definition-function/

You might also like