Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 27

เอกสาร/หลักฐานตามกฎหมายความปลอดภัยในการทางาน

ที่ สปก.ต้องจัดทาและรายงานต่อกรม
พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. ๒๕๕๔

สปก. เก็บไว้ตรวจสอบ
หลักฐานการฝึกอบรมตามมาตรา ๑๖
สิ่งที่ สปก. ต้องส่ง
มาตรา ๓๔ กรณีที่สถานประกอบกิจการเกิดอุบัติภัยร้ายแรง หรือลูกจ้างประสบอันตรายจากการ
ทางาน
➢ ลูกจ้างเสียชีวิต / สปก.ได้รับความเสียหาย /ต้องหยุดการผลิตต้องแจ้งทันที
ที่ทราบ และเป็นหนังสือภายใน ๗ วัน (ตามแบบ สปร.๕)
➢ ลูกจ้างประสบอันตราย หรือเจ็บป่วยตามกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน
เมื่อนายจ้างแจ้งต่อสานักงานประกันสังคมแล้ว ให้ส่งสาเนาต่อพนักงานตรวจความปลอดภัย
ด้วย (กท.๑๖, กท.๔๔)
กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดาเนินการด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ.
๒๕๕๕
สิ่งที่ สปก. ต้องส่ง
รายงานผลการฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนีไฟประจาปี

สปก. เก็บไว้ตรวจสอบ

* ข้อ ๔ แผนป้องกันและระงับอัคคีภัย
* ข้อ ๑๓ (๕) การตรวจสอบสภาพของเครื่องดับเพลิงให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้
* ข้อ ๑๖ ผลการตรวจสอบอุปกรณ์ดับเพลิงให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ดี ไม่น้อยกว่าเดือนละ
หนึ่งครั้งหรือตามระยะเวลาที่ผู้ผลิตกาหนด พร้อมติดป้ายแสดงผลการตรวจสอบและวันที่ทา
การตรวจสอบครั้งสุดท้ายไว้ที่อุกรณ์ดังกล่าว
กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดาเนินการด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย พ.ศ. ๒๕๕๖

สิ่งที่ สปก. ต้องส่ง


บัญชีรายชื่อสารเคมีอันตราย และรายละเอียดฯ (แบบ สอ.๑) ภายใน ๗ วันและ ภายในเดือน
มกราคมของทุกปี
ส่งรายงานผลการตรวจวัดและวิเคราะห์ระดับความเข้มข้นของสารเคมีอันตรายในบรรยากาศของ
สถานที่ทางาน และสถานที่เก็บรักษา (สอ.๓) ให้แก่อธิบดีฯ ภายใน ๑๕ วันนับแต่วันที่ทราบผลฯ
รายงานการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพ ตามหลักเกณฑ์ฯ และส่งอธิบดีภายใน ๑๕ วัน นับแต่
วันที่ทราบผลฯ (ข้อ ๓๑)
รายงานการประเมินความเสี่ยงสารเคมีอันตรายไว้ในครอบครองตามรายชื่อและปริมาณที่อธิบดี
ประกาศกาหนด อย่างน้อย 5 ปีต่อหนึ่งครั้ง ตามหลักเกณฑ์ฯ ให้ส่งรายงานต่ออธิบดีภายใน ๑๕ วันนับ
แต่วันที่ทราบผล (ข้อ ๓๒)
กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดาเนินการด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย พ.ศ. ๒๕๕๖

สปก. เก็บไว้ตรวจสอบ
ปฏิบตั เิ กีย่ วกับการขนถ่ายฯ ให้มีการฝึกอบรมและฝึกซ้อมวิธีการแก้ไขปัญหาเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน
แก่ลูกจ้างอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง ( คู่มือหรือข้อปฏิบัติในการแก้ไขปัญหากรณีฉุกเฉิน) โดยบันทึกไว้
เป็นหนังสือ พร้อมที่จะให้พนักงานตรวจความปลอดภัยตรวจสอบได้(ข้อ ๒๔ (๓))

จัดทาแผนปฏิบัติการกรณีมีเหตุฉุกเฉินของสถานประกอบกิจการตามหลักเกณฑ์
และวิธีการที่อธิบดีประกาศกาหนด และเก็บไว้ พร้อมให้พนักงานฯตรวจสอบได้ (ข้อ ๓๓)

ให้นายจ้างจัดให้มีการฝึกอบรมลูกจ้างที่มีหน้าที่ควบคุมและระงับเหตุอันตรายตามหลักสูตรที่
กาหนดและทาการฝึกอบรมทบทวนอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง และเก็บหลักฐานการฝึกอบรมพร้อมที่จะ
ให้นักงานตรวจความปลอดภัยตรวจสอบได้ (ข้อ ๓๔)
กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดาเนินการด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับไฟฟ้า พ.ศ. ๒๕๕๘

สิ่งที่ สปก. ต้องส่ง


(ข้อ ๔) ฝึกอบรมลูกจ้างที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า ภายใน ๑๕ วันนับแต่วันที่เสร็จสิ้นการฝึกอบรม
(ข้อ ๑๒) จัดให้มีการตรวจสอบและบารุงรักษาระบบไฟฟ้าและบริภัณฑ์ไฟฟ้าเพื่อให้ใช้งานได้อย่าง
ปลอดภัย ภายใน ๑๕ วันนับแต่วันที่ตรวจสอบ

สปก. เก็บไว้ตรวจสอบ
(ข้อ ๕) จัดให้มีและเก็บรักษาแผนวงจรไฟฟ้า
(ข้อ ๑๑) ให้นายจ้างดูแลบริภัณฑ์ไฟฟ้าและสายไฟฟ้าให้ใช้งานได้อย่างปลอดภัย หากพบว่าชารุด
หรือมีกระแสไฟฟ้ารั่ว หรืออาจก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ใช้งาน ให้ซ่อมแซมหรือดาเนินการให้อยู่ใน
สภาพใช้ ง านอย่ า งปลอดภั ย และจั ด ให้ มี ห ลั ก ฐานการด าเนิ น การเพื่ อ ให้ พ นั ก งานตรวจความ
ปลอดภัยตรวจสอบได้
กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดาเนินการด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับความร้อน แสงสว่าง และเสียง
พ.ศ. ๒๕๕๙

สิ่งที่ สปก. ต้องส่ง


** รายงานผลการตรวจวัดและวิเคราะห์สภาวะการทางาน
- ความร้อน (แบบ รสส.๑)
- แสงสว่าง (แบบ รสส. ๒)
- เสียง (แบบ รสส.๓ )
กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดาเนินการด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับความร้อน แสงสว่าง และเสียง
พ.ศ. ๒๕๕๙

สปก. เก็บไว้ตรวจสอบ
** หากระดับความความร้อนเกินมาตรฐาน ให้ปรับปรุงหรือแก้ไขทางด้านวิศวกรรม
พร้อมปิดประกาศ และเอกสารหลักฐานการปรับปรุง ข้อ ๓

** หากระดับเสียงเกินมาตรฐาน ให้ปรับปรุงหรือแก้ไขทางด้านวิศวกรรม พร้อมปิด


ประกาศ และเอกสารหลักฐานการปรับปรุง ข้อ ๙

** ผลการตรวจวัดและวิเคราะห์สภาวะการทางาน (ความร้อน แสงสว่าง เสียง )


ข้อ ๑๔
กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดาเนินการด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับที่อับอากาศ พ.ศ. ๒๕๖๒

สิ่งที่ สปก. ต้องส่ง


รายงานการฝึ ก อบรมความปลอดภั ย ในการท างานในที่ อั บ อากาศ (ผู้ อ นุ ญ าต
ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือ ผู้ปฏิบัติงานในที่อับอากาศ) ภายใน ๓๐ วันนับแต่วันที่เสร็จ
สิ้นการฝึกอบรม
กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดาเนินการด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับที่อับอากาศ พ.ศ. ๒๕๖๒

สปก. เก็บไว้ตรวจสอบ

(ข้อ ๖) เก็บบันทึกผลการตรวจวัด การประเมินสภาพอากาศ และการดาเนินการ


เพื่อให้สภาพอากาศในที่อับอากาศไม่มีบรรยากาศอันตรายไว้ ณ สถานประกอบกิจการ
หรือสถานที่ทางาน เพื่อให้ตรวจสอบได้อย่างน้อยหนึ่งปี

(ข้อ ๑๗) หนังสือมอบหมายการอนุญาตให้ลูกจ้างทางานในที่อับอากาศ


(กรณีนายจ้างมอบหมาย)
(ข้อ ๑๘) หนังสืออนุญาตให้ลูกจ้างทางานในที่อับอากาศ
กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานการตรวจสุขภาพลูกจ้างซึ่งทางานเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง
พ.ศ. ๒๕๖๓

สิ่งที่ สปก. ต้องส่ง


(ข้อ ๙) ในกรณีที่พบผลการตรวจสุขภาพลูกจ้างซึ่งทางานเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงผิดปกติ ให้นายจ้าง
ส่งผลการตรวจสุขภาพลูกจ้างที่ผิดปกติหรือที่มีอาการหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทางาน การให้
การรักษาพยาบาล และการป้องกันแก้ไขต่อพนักงานตรวจความปลอดภัย ภายในสามสิบวันนับ
แต่วันที่ทราบความผิดปกติหรือการเจ็บป่วยของลูกจ้าง ตามแบบ จผส.๑
กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานการตรวจสุขภาพลูกจ้างซึ่งทางานเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง
พ.ศ. ๒๕๖๓

สปก. เก็บไว้ตรวจสอบ

(ข้อ ๗) เก็บบันทึกผลการตรวจสุขภาพของลูกจ้างซึ่งทางานเกี่ยวกับปั จจัยเสีย่ ง รวมทัง้


ข้อมูลสุขภาพอื่นทีเ่ กีย่ วข้องไว้ ณ สถานประกอบกิจการไม่น้อยกว่าสองปี นับแต่วนั สิน้ สุด
ของการจ้างแต่ละราย
เว้นแต่ ผลการตรวจสุขภาพของลูกจ้างซึ่งทางานเกี่ยวกับปั จจัยเสี่ยงที่ อาจทาให้เกิด
โรคมะเร็งจากการทางานให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่าสิบปี นบั แต่วนั สิน้ สุดของการจ้างแต่ละราย
กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานการทางานเกี่ยวกับรังสี พ.ศ. ๒๕๖๔

สิ่งที่ สปก. ต้องส่ง

(ข้อ ๕) แจ้งประเภทต้นกาเนิดรังสี ปริมาณรังสี และสถานประกอบกิจการซึ่งต้นกาเนิดรังสีนนั้ ตัง้ อยู่


รวมทั้งแจ้งข้อมูลเกี่ยวกับการอนุญาตหรือการแจ้งการครอบครองหรือใช้ตามกฎหมายว่าด้วยพลังงาน
นิวเคลียร์เพื่อสันติภายใน ๗ วันนับแต่วันที่นาต้นกาเนิดรังสีเข้ามาในสถานประกอบกิจการ หากมีการ
เปลี่ยนแปลงข้อมูล ให้แจ้งภายใน ๑๕ วัน (แบบ กภ.ร.๑)

(ข้อ ๑๓) แจ้งปริมาณรังสีสะสมเกินปริมาณทีก่ าหนดตามกฎหมายว่าด้วยพลังงานนิวเคลียร์เพือ่ สันติ


พร้อมหาสาเหตุและการป้องกันแก้ไขภายใน ๗ วัน ตามแบบที่อธิบดีประกาศกาหนด (แบบ กภ.ร.๓)
กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานการทางานเกี่ยวกับรังสี พ.ศ. ๒๕๖๔

สปก. เก็บไว้ตรวจสอบ

(ข้อ ๑๓) เก็บเอกสารจัดทาข้อมูลเกีย่ วกับปริมาณรังสีสะสมที่ลกู จ้างซึ่งปฏิบัตงิ านเกีย่ วกับรังสีได้รับ


หรือการแจ้งปริมาณรังสีสะสมเกินไว้ไม่น้อยกว่า ๒ ปีนับแต่วันสิ้นสุดการจ้างลูกจ้างแต่ละรายไว้ ณ
สถานประกอบกิจการ (แบบ กภ.ร.๒)

(ข้อ ๑๗) แผนป้องกันและระงับอันตรายจากรังสีในกรณีเกิดเหตุฉกุ เฉินทางรังสี และต้องจัดให้มกี าร


ฝึกซ้อมตามแผนอย่างน้อยปีละครั้ง และเก็บเอกสารการฝึกซ้อมไว้

(ข้อ ๒๓) จัดให้มีการทดสอบประสิทธิภาพในการทางานของระบบสัญญาณฉุกเฉินเดือนละหนึ่งครั้ง


และเก็บเอกสารหรือหลักฐานการตรวจสอบไว้
กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานการทางานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้า พ.ศ. ๒๕๖๔

สปก. ต้องส่ง

การแจ้งตามข้อ ๔
ข้อ ๙๖ แจ้งการใช้งาน/ยกเลิกการใช้งานหม้อน้า หม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสื่อ
นาความร้อน ภาชนะรับความดัน
ข้อ ๑๐๙ ทดสอบหม้อน้า
ข้อ ๑๑๑ ทดสอบความปลอดภัยของหม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสื่อนาความร้อน
สปก. เก็บไว้ตรวจสอบ

หมวดเครื่องจักร
* การประกอบ ติดตั้ง ทดสอบ การใช้ การซ่อมแซม การบารุงรักษา ตรวจสอบ รื้อถอน หรือการเคลื่อนย้าย
เครื่องจักร รถยก ลิฟต์ เครื่องจักรสาหรับใช้ในการยกคนขึ้นทางานบนที่สูง นายจ้างต้องปฏิบัติตามรายละเอียด
คุณลักษณะและคู่มือการใช้งานที่ผู้ผลิตกาหนดไว้ หากไม่มีต้องให้วิศวกรเป็นผู้จัดทา (ข้อ ๘)

* เอกสารการตรวจสอบเครื่องจักรประจาปี (ข้อ ๙)
สปก. เก็บไว้ตรวจสอบ

ลิฟต์
-สาเนาการตรวจสอบความพร้อมของลิฟต์ (ข้อ ๔๓ (๒))

-สาเนาเอกสารการทดสอบชิ้นส่วนและอุปกรณ์ของลิฟต์หลังจากติดตั้ง และเมื่อมีการใช้งานอย่างน้อยปีละหนึ่ง
ครั้ง (ข้อ ๔๕)
-สาเนาการตรวจสอบระบบความปลอดภัยและระบบการทางานของลิฟต์เป็นประจาทุกเดือน (ข้อ ๔๖)
สปก. เก็บไว้ตรวจสอบ

เครื่องจักรสาหรับใช้ในการยกคนขึ้นทางานบนที่สูง
- สาเนาการตรวจสอบเครื่องจักรสาหรับใช้ในการยกคนทางานบนที่สูงและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องให้มีสภาพใช้งานได้
อย่างปลอดภัยก่อนการใช้งานทุกครั้ง (ข้อ ๔๙ (๓))
- สาเนาการทดสอบชิ้นส่วนและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องของเครื่องจักรสาหรับใช้ในการยกคนทางานบนที่สูงแบบ
แขวน (ข้อ ๕๔ (๑))
สปก. เก็บไว้ตรวจสอบ

รอก
- สาเนาการตรวจสอบความพร้อมของรอก (ข้อ ๕๕ (๒))

- กรณีรอกที่มีขนาดพิกัดน้าหนักยกตั้งแต่ ๑ ตัน ขึ้นไป สาเนาการทดสอบส่วนประกอบและอุปกรณ์ของรอก


(ข้อ ๕๔ (๘))
สปก. เก็บไว้ตรวจสอบ

ปั้นจั่น
การประกอบ ติดตั้ง ทดสอบ การใช้ การซ่อมแซม การบารุงรักษา ตรวจสอบ รื้อถอนปั่นจั่นหรืออุปกรณ์อื่น
ของปั้นจั่น นายจ้างต้องปฏิบัติตามรายละเอียดคุณลักษณะและคู่มือการใช้งานที่ผู้ผลิตกาหนดไว้ หากไม่มีต้องให้
วิศวกรเป็นผู้จัดทา (ข้อ ๕๖)
สาเนาการทดสอบการติดตั้งปั้นจั่นเมื่อติดตั้งเสร็จ (ข้อ ๕๗ )
- สาเนาการทดสอบส่วนประกอบและอุปกรณ์ของปั้นจั่นอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง (ข้อ ๕๘ )
กรณีมีการแก้ไขดัดแปลง เก็บสาเนาการทดสอบและการคานวณทางวิศวกรรมดังกล่าว (ข้อ ๖๓ )
สปก. เก็บไว้ตรวจสอบ

รถปั้นจั่นและเรือปั้นจั่น
สาเนาการยึดปั้นจั่นไว้กับรถ เรือ แพ โป๊ะ หรือยานพาหนะลอยน้า โดยวิศวกรควบคุมการดาเนินการจนแล้วเสร็จ
(ข้อ ๘๒ (๑))

สาเนาแผนการยก (ข้อ ๘๕ )
อุปกรณ์ที่ใช้เกี่ยวกับปั้นจั่น

สาเนาการคานวณแรงรับน้าหนักของอุปกรณ์สาหรับการผูก มัด หรือยึดโยงเพื่อให้เกิดความปลอดภัยโดยผู้


ควบคุมการใช้ปั้นจั่น (ข้อ ๘๕ )
สปก. เก็บไว้ตรวจสอบ

หม้อน้า หม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสื่อนาความร้อน ภาชนะรับความดัน และภาชนะบรรจุก๊าซทนความดัน


การประกอบ ติดตั้ง ทดสอบ การใช้ การซ่อมแซม การบารุงรักษา ตรวจสอบหม้อน้า หม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสื่อ
นาความร้อน หรือภาชนะรับความดัน นายจ้างต้องปฏิบัติตามรายละเอียดคุณลักษณะและคู่มือการใช้งานที่ผู้ผลิต
กาหนดไว้ หากไม่มีต้องให้วิศวกรเป็นผู้จัดทา (ข้อ ๙๗)

กรณีมีการซ่อมแซมหรือดัดแปลงส่วนหนึ่งส่วนใดของหม้อน้าโดยวิศวกร ให้เก็บสาเนาการออกแบบ ควบคุม


และติดตั้ง พร้อมจัดให้มีการทดสอบ (ข้อ ๑๐๕ )
สปก. เก็บไว้ตรวจสอบ

หม้อน้า
สาเนาเอกสารการทดสอบการใช้งานหม้อน้า (ข้อ ๑๐๗)

หม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสื่อนาความร้อน
สาเนาเอกสารการทดสอบการใช้งาน หม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสื่อนาความร้อน (ข้อ ๑๑๐)
สปก. เก็บไว้ตรวจสอบ

ภาชนะรับความดัน
สาเนาเอกสารการทดสอบภาชนะรับความดัน (ข้อ ๑๑๓)

สาเนาเอกสารการทดสอบภาชนะรับความดัน (ข้อ ๑๑๔)

สาเนาเอกสารการทดสอบภาชนะรับความดัน (ข้อ ๑๑๕)


กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานเกี่ยบกับระบบการจัดการด้านความปลอดภัย
พ.ศ. ๒๕๖๕

เอกสารหรือหลักฐานเก็บไว้ให้พนักงานตรวจความปลอดภัยตรวจสอบ

√ เอกสารเกี่ยวกับระบบการจัดการด้านความปลอดภัยที่เป็นปัจจุบัน เก็บไว้ไม่น้อยกว่า ๒
ปี นับแต่วันที่จัดทา
กฎกระทรวงการจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางาน บุคลากร หน่วยงาน หรือคณะ
บุคคลเพื่อดาเนินการด้านความปลอดภัยในสถานประกอบกิจการ พ.ศ. ๒๕๖๕

เอกสารหรือหลักฐานที่นายจ้างต้องส่ง

√ ส่งสาเนาคาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการความปลอดภัยหรือกรรมการความปลอดภัยต่อ
อธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมาย ภายใน ๑๕ วันนับแต่วันที่มีคาสั่งแต่งตั้ง (ข้อ ๔๖)

√ ส่งรายงานผลการดาเนินงานของจป. เทคนิค เทคนิคขั้นสูง และวิชาชีพ ต่ออธิบดีหรือผู้ซึ่ง


อธิบดีมอบหมาย ๒ ครั้ง โดย
ครั้งที่ ๑ ภายใน ๓๐ วันนับแต่วันที่ ๓๐ มิถุนายน
ครั้งที่ ๒ ภายใน ๓๐ วันนับแต่วันที่ ๓๑ ธันวาคม
ของทุกปี ทั้งนี้ ตามแบบที่อธิบดีประกาศกาหนด (ข้อ ๔๗)
กฎกระทรวงการจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางาน บุคลากร หน่วยงาน หรือคณะ
บุคคลเพื่อดาเนินการด้านความปลอดภัยในสถานประกอบกิจการ พ.ศ. ๒๕๖๕

เอกสารหรือหลักฐานเก็บไว้ให้พนักงานตรวจความปลอดภัยตรวจสอบ
√ สาเนาบันทึกรายงานผลการดาเนินงานหรือรายงานการประชุมเกี่ยวกับการดาเนินการของ
คณะกรรมการความปลอดภัย เก็บไว้ในสถานประกอบกิจการเป็นเวลาไม่น้อยกว่า ๒ ปีนับแต่
วันจัดทา (ข้อ ๓๕)

√ หลักฐานการเปลี่ยนแปลงกรรมการและเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางาน รวมทั้งหน้าที่
รับ ผิ ด ชอบของคณะกรรมการความปลอดภั ย และเจ้ า หน้ า ที่ ค วามปลอดภั ยในการท างาน
ดังกล่าวไว้ในสถานประกอบกิจการเป็นเวลาไม่น้อยกว่า ๒ ปี (ข้อ ๓๖)

จัดเก็บในรูปแบบข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ก็ได้

You might also like