ch6 Queuing Model

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 25

Aj.

Pitipat Nittayakamolphun
 1. ลักษณะของระบบแถวคอย
 2. ข้อมูลการเข้ามารับบริการและการให้บริการ
 3. ตัวแบบแถวคอย
 4. ค่าใช้จ่ายของระบบถอยคอย
 5. การตัดสินใจเกี่ยวกับระบบแถวคอย
ปัจจัยที่กาหนดลักษณะพื้นฐานของระบบแถวคอยได้แก่
1.1 ลูกค้า (customers)
1.2 แถวคอย (waiting line)
1.3 หน่วยบริการ (service unit)
ผู้มารับบริการ แถวคอย หน่วยบริการ ผู้ที่ได้รับบริการแล้ว
คือจานวนประชากรและลักษณะการเข้ารับบริการของ
ลูกค้า
1) ประชากร (population)
2) ลักษณะการเข้ามารับบริการ (arrival characteristic)
- แบบคงที่ (constant)
- แบบสุ่ม (random)
คือความยาวของแถว และรูปแบบการจัดระบบแถวคอย
1) ความยาวของแถว
- จากัด (finite queue length)
- ไม่จากัด (infinite queue length)
2) รูปแบบการจัดระบบแถวคอย
- ระบบแถวคอยแบบช่องทางเดียว – ขั้นตอนเดียว
(single channel, single phase system)
- ระบบแถวคอยแบบช่องทางเดียว – หลาย
ขั้นตอน (single channel, multiple phase system)

- ระบบแถวคอยแบบหลายช่องทาง – ขั้นตอน
เดียว (multiple channel, single phase system)
- ระบบแถวคอยแบบหลายช่องทาง – หลาย
ขั้นตอน (multiple channel, multiple phase system)
คือระเบียบการให้บริการและลักษณะการให้บริการ
1) ระเบียบการให้บริการ (service discipline)
- ลูกค้าที่มาก่อนได้รับบริการก่อน
- ลูกค้าที่มาทีหลังได้รับบริการก่อน
- ลูกค้ามีความจาเป็นมากกว่าได้รับบริการก่อน
2) ลักษณะการให้บริการ (service characteristic)
- แบบคงที่ (constant)
- แบบสุ่ม (random)
ทาการเก็บข้อมูลการเข้ามารับบริการและการให้บริการ ถ้า
ข้อมูลเป็นลักษณะสุ่ม ต้องศึกษาการแจกแจงความน่าจะเป็นว่ามี
ลักษณะอย่างไร อาทิ normal distribution, Poisson
distribution หรือ exponential distribution ฯ
กรณีข้อมูลอยู่ในลักษณะจานวนลูกค้าต่อหน่วยเวลา อาทิ
arrival rate และ service rate จะเป็น Poisson distribution
กรณีข้อมูลอยู่ในลักษณะเวลา อาทิ inter arrival time
และ service time จะเป็น exponential distribution
Poisson distribution
𝛌𝑿 𝒆−𝛌
𝑷 𝑿 = , X = 1, 2, 3, ….,n
𝑿!
𝑿 = จานวนลูกค้าต่อหน่วยเวลา
𝛌 = อัตราการเข้ามารับบริการ
𝒆 = 2.7183
Exponential distribution
𝑷 𝒔𝒆𝒗𝒊𝒄𝒆 𝒕𝒊𝒎𝒆 > 𝑿 = 𝒆−𝝁𝑿 , X ≥ 0
𝝁 = อัตราการให้บริการ
𝑿 = เวลาที่ใช้ในการให้บริการ
𝒆 = 2.7183
จะใช้ตัวอักษรระบุสัญลักษณ์การเข้ามารับบริการและ
ลักษณะการให้บริการดังนี้
M – Markovian = การเข้ามารับบริการหรือให้บริการ
ลักษณะสุ่มแจกแจงแบบ Poisson หรือเวลาระหว่างการเข้ามารับ
บริการหรือเวลาในการให้บริการ แจกแจงแบบ exponential
D - Deterministic = การเข้ามารับบริการหรือการ
ให้บริการแบบคงที่
G – General = การเข้ามารับบริการหรือการให้บริการ
แจกแจงแบบทั่วไป
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการแสดงข้อมูลต่างๆ
𝛌 = อัตราการเข้ามารับบริการ 𝑳𝒔 = จานวนลูกค้าโดยเฉลี่ยที่อยู่ในระบบ
𝝁 = อัตราการให้บริการ 𝑳𝒒 = จานวนลูกค้าโดยเฉลี่ยที่อยู่ในแถวคอย
𝟏
= เวลาโดยเฉลี่ยที่ใช้ในการให้บริการลูกค้า 1 ราย
𝝁
𝝆 = ความน่าจะเป็นที่ระบบจะทางาน
𝑷𝟎 = ความน่าจะเป็นที่ระบบจะว่าง
𝑾𝒔 = เวลาโดยเฉลี่ยที่ลูกค้าแต่ละรายจะเสียไปในการรับบริการในระบบ
𝑾𝒒 = เวลาโดยเฉลี่ยที่ลูกค้าแต่ละรายจะเสียไปในการรออยู่ในแถวคอย
𝑷𝒏 = ความน่าจะเป็นที่มีลูกค้า n รายในระบบ
สาหรับข้อมูลของค่า 𝛌 และ 𝝁 จะต้องเป็นหน่วยเวลา
เดียวกัน ในบทนี้จะศึกษาตัวแบบแถวคอยดังนี้
3.1 Model M/M/1
3.2 Model M/M/s
3.3 Model M/G/1
3.4 Model M/D/1
1. อัตราการเข้ามารับบริการเป็นแบบสุ่ม มีการแจกแจงแบบ Poisson
2. เวลาในการให้บริการเป็นแบบสุ่ม มีการแจกแจงแบบ Exponential
(หรืออัตราการให้บริการเป็นแบบสุ่ม มีการแจกแจงแบบ Poisson)
3. เป็นการให้บริการแบบช่องทางเดียว ขั้นตอนเดียว
4. ไม่จากัดความยาวของแถวคอย
5. จานวนประชากรมากราย
6. มีระเบียบการให้บริการแบบมาก่อนได้รับบริการก่อน
สมมติฐาน คือ อัตราการเข้ามารับบริการน้อยกว่าอัตราการ
ให้บริการ (𝛌< 𝝁)
M/M/1 มีสูตรดังนี้
𝛌 𝛌𝟐
𝑳𝒔 = 𝑳𝒒 =
𝝁−𝛌 𝝁(𝝁−𝛌)
𝟏 𝛌
𝑾𝒔 = 𝑾𝒒 =
𝝁−𝛌 𝝁(𝝁−𝛌)
𝛌 𝛌
𝝆= 𝑷𝟎 = 𝟏 −
𝝁 𝝁
𝛌 𝒏
𝑷𝒏 = 𝑷𝟎 ( )
𝝁
ตัวอย่าง 8.1 จะได้ 𝛌 = 20 ราย/ชั่วโมง, 𝝁 = 30 ราย/ชั่วโมง
𝑳𝒔 = 2 ราย 𝑳𝒒 = 1.33 ราย
𝑾𝒔 = 1/10 ชั่วโมง 𝑾𝒒 = 1/15 ชั่วโมง
𝝆 = 0.67
𝑷𝟎 = 0.33
1. อัตราการเข้ามารับบริการเป็นแบบสุ่ม มีการแจกแจงแบบ Poisson
2. เวลาในการให้บริการเป็นแบบสุ่ม มีการแจกแจงแบบ Exponential
(หรืออัตราการให้บริการเป็นแบบสุ่ม มีการแจกแจงแบบ Poisson)
3. multiple channel, single phase system
4. ไม่จากัดความยาวของแถวคอย
5. จานวนประชากรมากราย
6. First come, First serve
สมมติฐาน คือ อัตราการเข้ามารับบริการน้อยกว่าอัตราการ
ให้บริการ (𝛌< 𝒔𝝁)
M/M/s มีสูตรดังนี้
𝛌 𝒔
𝛌 𝝁
𝝆
𝑳𝒔 = 𝑳𝒒 + 𝑳𝒒 = 𝑷𝟎
𝝁 𝒔!(𝟏−𝝆)𝟐
𝟏 𝑳𝒒
𝑾 𝒔 = 𝑾𝒒 + 𝑾𝒒 =
𝝁 𝛌
𝛌
𝝆=
𝒔𝝁
𝟏
𝑷𝟎 = 𝛌 𝒏 𝛌 𝒔
𝒔−𝟏 𝝁 + 𝝁 (𝒔𝝁)
𝒏=𝟎 𝒏! ×
𝒔! (𝒔𝝁−𝛌)
1. อัตราการเข้ามารับบริการเป็นแบบสุ่ม มีการแจกแจงแบบ Poisson
2. เวลาในการให้บริการเป็นแบบสุ่ม มีการแจกแจงแบบ General
3. single channel, single phase system
4. ไม่จากัดความยาวของแถวคอย
5. จานวนประชากรมากราย
6. First come, First serve
สมมติฐาน คือ อัตราการเข้ามารับบริการน้อยกว่าอัตราการ
ให้บริการ (𝛌< 𝝁)
M/G/1 มีสูตรดังนี้
𝟐 𝟐 𝛌 𝟐
𝛌 𝝈 + 𝝁
𝑳𝒔 = 𝛌𝑾𝒔 𝑳𝒒 = 𝛌
𝟐 𝟏−
𝝁
𝟏 𝑳𝒒
𝑾 𝒔 = 𝑾𝒒 + 𝑾𝒒 =
𝝁 𝛌
𝛌 𝛌
𝝆= 𝑷𝟎 = 𝟏 −
𝝁 𝝁
𝛌 𝒏
𝑷𝒏 = 𝑷𝟎 ( )
𝝁
หมายเหตุ 𝝈 คือค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของเวลาในการให้บริการ
1. อัตราการเข้ามารับบริการเป็นแบบสุ่ม มีการแจกแจงแบบ Poisson
2. เวลาในการให้บริการเป็นแบบคงที่ (constant)
3. single channel, single phase system
4. ไม่จากัดความยาวของแถวคอย
5. จานวนประชากรมากราย
6. First come, First serve
สมมติฐาน คือ อัตราการเข้ามารับบริการน้อยกว่าอัตราการ
ให้บริการ (𝛌< 𝝁)
M/D/1 มีสูตรดังนี้
𝛌 𝛌𝟐
𝑳𝒔 = 𝑳𝒒 + 𝑳𝒒 =
𝝁 𝟐𝝁(𝝁−𝛌)
𝟏 𝛌
𝑾𝒔 = 𝑾𝒒 + 𝑾𝒒 =
𝝁 𝟐𝝁(𝝁−𝛌)
𝛌 𝛌
𝝆= 𝑷𝟎 = 𝟏 −
𝝁 𝝁
ประกอบด้วย 2 ส่วน
1. ค่าใช้จ่ายในการให้บริการ (service cost, 𝑪𝒔 )
2. ค่าใช้จ่ายในการเสียเวลาของลูกค้าหรือค่าใช้จ่ายในการ
รอ (waiting cost, 𝑪𝒘 )
ดังนั้นค่าใช้จ่ายรวม
𝐓𝐂 = 𝐬 𝑪𝒔 + 𝑳𝒔 (𝑪𝒘 )
5.1 การตัดสินใจกาหนดจานวนหน่วยให้บริการ
5.2 การตัดสินใจจัดรูปแบบแถวคอย
5.3 การตัดสินใจเลือกหน่วยให้บริการ
5.4 การเพิ่มประสิทธิภาพหน่วยให้บริการ

You might also like