Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 14

ตอน 32 อุเบกขาบารมี

ลักขณาทิจตุกกะ
อุเบกขา หมายถึง พิจารณาโดยความเหมาะสม วางเฉยโดยความเหมาสม คือ งความ
ทุกข์ หรือความสุข งสองอย่าง แตกต่างกัน ก็ไม่เอนเอียงไปทางใด

เหมาะสม คือ ได้ดุลยภาพ ไม่เอียงไปหาสุข ไม่เอียงไปหาทุกข์

อุเบกขา นท ได้ยาก

1
ที่
นั้
ทั้

ที่
ทั้
ทานบารมี สี ลบารมี เนกขัมมะ ญญา วิริยะ ขันติ สั จจะ อธิฏฐาน เมตตาจะไม่ค่อยยาก
หรอก แต่ พอมาศึ กษาอุ เบกขาบารมี นจะยาก น เพราะอุ เบกขาเ นตั วรวมบารมีเหล่ า นไว้
งหมด

ค ว่าเฉย ไม่ใช่ ไม่ท อะไรเลย

การละ งอารมณ์ นโดยไม่พิจารณา ไม่เรียกว่าอุเบกขา เช่ น ไม่พูดกะคน นแล้ว วางเฉย


กับคน นแล้ว อย่าง ไม่ใช่ อุเบกขา เรียกว่าไม่สนใจ

แต่อุเบกขาต้องเ นไปกับ ญญา ใส่ ใจ แยกแยะ

เ อมีความทุกข์ หรือความสุข ก็เ นอันห งอันเดียวกัน ไม่แตกต่างกันเลย

รส มีอันเห็นความเสมอกัน เ นกิจ

เช่ น วางใจกับพระเทวทัตและพระราหุลเสมอกัน

เหมือนเห็นเณร 2 เณรเ ย มองไปคนห งมี ใจโอบอ้อมอารี คนห ง โกรธ ก็ไม่เอนเอียง

มองเณรเจ้าโทสะ อาฆาต พยาบาทก็ไม่โกรธ ไม่ขัดเคือง มองเณร จิตใจดี มี ใจ ก็ไม่


ก หนัด ยินดี

ปทัฏฐาน วางใจเ นกลาง เพราะมีการพิจารณาว่าสั ตว์ งหลาย มีกรรมเ นของของ


ตน เ นต้น เ นเหตุใกล้ให้เกิด

สามารถวางใจเ นกลางกับ ง 2 ได้ ว่าเณร ท อกุศลกรรม ก็จะต้องได้รับผล เ นทุกข์


เณร ท กุศลกรรม ก็จะได้รับผล ดี แต่อุเบกขา วางใจเ นกลาง ไม่เ นทุกข์ และไม่ดีใจ กระ
กระด๊า

อุเบกขา องเ าไปพิจารณาอารม นั ้น มองดูอ องเฉยมอง


เฉยเมย เ น อัญญานุเบกขา คือ เฉยด้วยโมหะ

สมมติมองไป ข้าวกล้อง ว่าไม่ค่อยสนใจ งธรรมะ งซ่ านตลอด จะต้องวางใจอย่างไร ?


ปล่อยไป ? เ องของเธอ ?

อุเบกขา จริง ๆ ก็ต้องบอกว่า ถ้าเธอไม่ ง ไม่ใส่ ใจ ไม่พิจารณา เธอก็จะต้องได้รับผล


ของความโง่ ความไม่ฉลาดเองนะ และเธอก็จะด เนินชี วิตผิด กรรม ไม่ใส่ ใจ
นก็จะตามจิกกัดเธอในทุกอัตภาพ เกิด เธอก็จะเ นคนไม่รู้เ องรู ้ราว ไม่
สามารถด เนินชี วิตตามหลักการ ควรจะเ นได้

ลักษณะ มีความเ นไปในอาการเ นกลาง เ นลักษณะ

2
นึ่
นึ่
ขึ้
นึ่
ทั้
นั้

ที่
ป็
นั้

มื่

ต้

รื่
ป็
ทิ้
ข้
ป็
นี้
ที่
ป็
ป็
นั้

ป็
ป็
นี่
ปั
ที่
ที่
ทั้
ที่
นั้
ปั
ป็
ณ์
ป็
ป็
ป็
ฟั

น้
ฟั

ป็
ที่
ป็

ยู่
ป็
ฟุ้
ต้
รื่
ทั้
ที่
ป็
ป็
ที่
ขี้
นั้
ป็
น้
ที่

ป็
นั้
ดี๊
ถาม องค์ธรรมของอุเบกขาบารมี ได้แก่อะไร ? ญญา ? เวทนา ? สั ญญา ?
วิริยะ ? สติ ? สมาธิ ?

ตอบ .....

เวลาแผ่เมตตา กับแผ่อุเบกขา ต่างกันไหม ?

แผ่เมตตา คือ ความรัก ปรารถนาดี เ ออาทร แผ่กรุ ณา คือ สงสาร คิดจะช่ วยให้พ้นทุกข์
แผ่มุทิตา คือ พลอยยินดี เ อผู็ นได้ดี

แต่อุเบกขา ต้องขับเน้น สั ตว์ งหลายมีกรรมเ นของของตน

กัมมัสสกตา สัตตา
กัมมัสสกา สั ตตา กัมมะทายาทา กัมมะโยนิ กัมมะพันธุ กัมมะปฏิสรณา

สั ตว์ งหลายมีกรรมเ นของของตน

พิจารณาว่า เงิน ทอง แก้ว แหวน ทรัพย์ หลาย ๆ ท่านส คัญว่าเ นของของเรา แต่จริง ๆ
แล้วเ นของ วคราว

แต่สุจริตกรรม และทุจริตกรรม สั ตว์ งหลายท ไว้จะเ นทรัพย์สมบัติของท่าน งหลาย

กัมมะทายาทา
เราเ นทายาทของกรรม ก็ต้องรับมรดกนะ

มรดก แท้จริง นคือกรรม

เราเ นทายาทของพ่อแม่ แล้วได้รับมรดก นเ นมรดก วคราว แต่มรดก แท้จริง คือ


การ หมู่สัตว์ งหลายต้องได้รับ งสุจริตกรรม และทุจริตกรรม

กัมมะโยนิ
โยนิ แปลว่า เหตุ

คือ กรรม นเ นเหตุแห่งสุข และเหตุแห่งทุกข์

กุศลกรรมก็เ นเหตุแห่งสุข อกุศลกรรมก็เ นเหตุแห่งทุกข์

3
ที่
ป็
ป็
ป็
ทั้
ชั่
ที่
ทั้
นั้
นี่
ป็
ป็
นั้
มื่
ป็
อื่
ที่
ทั้
ทั้
ที่
ทั้
อื้
ป็
นั้

ป็
ป็
ป็

ชั่
ปั
ป็
ที่
ทั้
กัมมะพันธู
เ นเผ่าพันธ์ุ เ นมิตร เ นเ อน เ นญาติ เ นพวกพ้อง

กัมมะปฏิสรณา
มีกรรมเ น ง

5 อย่าง มีความหมายเ นอย่างเดียวกัน เ อเจริญอุเบกขา ก็ให้พิจารณาว่า

สั พเพ สั ตตา กัมมัสสกตา

สั พเพ สั ตตา กัมมะทายาทา

สั พเพ สั ตตา กัมมะโยนิ

สั พเพ สั ตตา กัมมะพันธุ

สั พเพ สั ตตา กัมมะปฏิสรณา

สั ตว์ งหลายมีกรรมเ นทรัพย์สมบัติของตน มีกรรมเ นทายาท มีกรรมเ นเหตุ มีกรรม


เ นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเ น งอาศั ย ท กรรมใดไว้ ดีหรือ ว ก็ต้องได้รับผลของกรรม น

ที องค์ธรรมของอุเบกขาบารมี ได้แก่ ตัตรมัชฌัตตตา

เ นธรรมชาติ มีความเ นกลางในสั มปยุตธรรม งหลาย เ นสภาวะธรรม ให้สัมปยุต


ธรรม เกิดพร้อมกันกับตนมีความส เสมอ ไม่ให้ งหย่อน

ถ้าบ เพ็ญเมตตาบารมี ก็ท ได้ไม่ยาก แต่อุเบกขาบารมี จะยาก น

ต้องเจริญเมตตาบารมีให้ช นาญก่อน จึงจะไปเจริญอุเบกขาบารมีได้นะ เหมือนการแผ่


เมตตา ก็ต้องท เมตตา กรุ ณา มุทิตาก่อน จึงจะเจริญอุเบกขาได้

อุเบกขา 10 ประการ
ฉ งคุเปกขา เ อมีอารมณ์ 6 มาปรากฏทางตา หู จมูก น กาย ใจ พระอรหันต์ งหลาย
ท่านจะไม่ยินดี ยินร้ายในอารมณ์ น ด้วยความ ท่านหมดกิเลส จึงวางเฉยได้
ชั ดมาก

พวกเรา ท ยากเลยนะ

เราจะไปแสดงตลกให้พระอรหันต์ท่านหัวเราะ ท่านไม่หัวเราะหรอก และท่าน


จะไม่มีอาการ ด ด

4
พึ่
พึ่
ขึ้
ป็
ฬั
ที่
ป็
ป็
นี้
ทั้

ฟึ

นี้
ป็
ฟั
ที่
ป็
ป็
มื่
ที่
ที่
นี่
ป็
ป็
ป็

ป็
นั้

พื่

ม่


ป็
ที่
มื่
ป็
ยิ่
ชั่
ทั้
ป็
ลิ้
ป็
ป็
นั้
ที่
ทั้
สมมติ งอยู่ด้วยกันเลยนะ แล้วมีคนจุดประทัดโยนไป พระอรหันต์ท่านจะไม่
ตกใจ ไม่มีอาการกลัว ท่านวางเฉยในอิฏฐารมณ์ และอนิฏฐารมณ์

ฉ งคุ เปกขา เ นการวางเฉยต่ ออารมณ์ ง 6 ดี และไม่ดี ก็ สามารถ


พิจารณาโดยความเ นกลางได้ เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทาของพระอรหันตา
เจ้า งหลาย

ท่านจะไม่วูบวาบอีกต่อไป ท่านด เนินไปตรงแล้ว เพราะกิเลสท่านหมด

พรหมวิหารุ เปกขา พิจารณาว่า สั ตว์ งหลาย ได้รับสุขและทุกข์ เ นไปตามกรรมของสั ตว์

ควรวางใจเ นกลาง อยู่อย่างมีการวางเฉยอย่างประเสริฐ เ นอุ เบกขา


พรหมวิหาร

พรหมวิหารุ เปกขา เ นอุเบกขาบารมีด้วย บุคคล เจริญอุเบกขาพรหมวิหาร


ได้ดีแล้ว จะบ เพ็ญอุเบกขาบารมีได้ดี สุด

โพชฌังคุเปกขา ธรรมบางส่ วน มีก ลังอ่อน ธรรมบางส่ วน มีก ลังเกิน เช่ น ความเพียรอ่อน


สมาธิอ่อน ติอ่อน ญญาอ่อน ก็ต้องเสริม เ ม นมา โพชฌังคุเปกขาก็จะ
ต้องมาคอยปรับ

ถ้าเ อใด ธัมมวิจยะ วิริยะ ติมากเกินไป ก็จะ ง สสั ทธิ สมาธิ อุเบกขาก็จะ
เสี ยดุล อย่าง เ นต้น

ตัตรมัชฌัตตตาต้องมาปรับให้สมดุล ให้ได้สมตา ให้ได้ความส เสมอ เ น


อุเบกขา

5
ขึ้
ทั้
ปี
นี้

ป็
ป็
ปั
ฬั
มื่
นั่
ป็
นี้
ที่
ป็
ที่
ทั้

ป็
ที่
ปี
พิ่

ทั้
ที่
ฟุ้
ป็

ปั
ที่
ที่
ม่
นี้

ป็
นี้
ป็
ถ้าพัฒนาจนถึงโพชฌังคะอันเ นส่ วนของ มรรค ได้แล้ว ธรรม งหลาย
ประกอบกันก็จะไม่ ง ไม่หย่อน เสมอกัน อย่าง เ นโพชฌังคุเปกขา คือ
สามารถประชุ มในอริยมรรคได้

วิริยุเปกขา ในการปฏิ บัติธรรมเ อจะบรรลุ มรรคผล ต้ องมีความเพียรอย่างส เสมอ


เรียกว่า ปธานสั งขาร คือ ฉันทะสมาธิและปธานสั งขาร เ นต้น

ฉันทะ วิริยะ จิตตะ ญญา ต้องมีความเพียร สร้างสรรค์เ นตัวก กับเสมอ

สภาวะ ไม่ งไม่หย่อนของวิริยะ เรียกว่า วิริยุเปกขา

เ ยโน วัน สาธยายพุทธคุณได้ 3,160 ค่ะ

ลูก ด 35,000 ค่ะ

มนต์ 16,000 ครับ

เณรเคน 20,000

ข้าวกล้อง 31,000

หมอแอน 23,000 เจ้าค่ะ

พระมหาอ นาจ 3,100 ครับ

สั งขารุ เปกขา สภาวะ เฉย ๆ ต่ออารมณ์ เ นสั งขารธรรม เรียกว่า สั งขารุ เปกขา งจะเกิด
นต่ อเ อวิ สสนาญาณแก่ กล้ าแล้ วเท่ า น จึงต้ องเอาใจใส่ ในการปหานนิว
รณธรรมอยู่ตลอด

ได้ปฐมฌานละนิวรณธรรม ได้ทุติยฌานละวิตกวิจาร เ นต้น ต้องละเ นไป


ตามล ดับ

ที สั งขารุ เปกขาญาณจะไม่เกิ ด นในฌานจิต แต่ จะเกิ ดในระดั บวิ สสนา


ญาณ ( แก่กล้าแล้วเท่า น) จึงสามารถวางเฉยต่อรู ป นาม ขันธ์ 5 ได้ ต้องละ
นิวรณ์ได้ก่อนเท่า น และพัฒนาวิ สสนาญาณมาตามล ดับ

เพราะไปเห็นขันธ์ 5 มันมีโทษ มันไม่เ ยง เ นทุกข์ เ นอนัตตา เ นหัว ถ้าไม่


ละกิเลส จิตใจเราจะวูบวาบนะ

อย่างพวกเราเ ย ละนิวรณธรรมไม่ได้ ถ้าไปเห็นคนแก่ คนเจ็บ คนตาย บางทีเราจะเครียด


เลยนะ

อ่ะ มีนักปรัชญาคนห ง มี อเสี ยง ก็ไปฆ่าตัวตาย แต่เขียนจดหมายลาตาย งไว้ว่า

6
ขึ้
นึ่
ขึ้
ซึ่
น้
ปี

ปั

มื่
ที่

ปั
นั้
ยิ่
นี่
นี้
นี้
นั้
ที่
ที่
ชื่
ยิ่
ปั
ปั
นั้
พื่
ที่
ป็
นี้
ป็
ป็

ป็
ที่
ป็
ที่
ป็
ป็
ป็
ทิ้
ป็

ทั้
ม่
ปั
ฝี

ป็
ที่
เหตุผล ข้าพเจ้าฆ่าตัวตาย ข้าพเจ้าไม่ได้มี ญหาในการหาเ ยงชี พเลย แต่
ข้าพเจ้าเห็นชี วิตว่าไม่มีสาระ ไม่มีแก่นสาร นเช้ ามาก็ต้องเข้าห้อง แต่งตัว
กินข้าว อาบ ขับถ่าย ด กวาด เช็ ด ถู ต้องมาท งาน

ถ้าแปลก็เรียกว่าไม่มีแก่นสาร แต่บางคนแปลหนักว่า เ นชี วิตเส็ งเคร็ง

คือมันไม่ นเต้น ไม่ นใจ เซ็ ง เ อหน่ายมาก มันไม่ได้อย่าง หวังอย่างแท้จริง

ก็มีคนห ง เ นเ องอกในสมอง ปวด ทรมาน ต่อมาเลยไปโรงพยาบาลในกรุ งเทพ ฯ หมอ


เลยผ่ากระโหลกออก ตัดเ องอก แล้ว ดกระโหลกเข้าไปใหม่ ต่อมาไม่นาน เ องอกก็โผล่ นมา
อีก ก็ต้องไปผ่ากระโหลก 3 รอบ ใน สุดจริง ๆ ก็ฆ่าตัวตาย

พระเองก็ฆ่าตัวตาย หลายเคสมาก ๆ

ตรง ต้องการบอกว่า บุคคล ไม่ได้สังขารุ เปกขาญาณ เ อไปเห็นความจริงของชี วิตบาง


ส่ วน คือ เห็นว่าชี วิตไม่มีแก่นสาร เห็นโทษ เห็นภัย หนักเข้า ๆๆ ก็จะเกิดภาวะไม่อยากอยู่

ถ้าผิดหวังบ่อย ๆๆๆๆ ก็จะไม่อยากอยู่

บุคคล สติ สั มปชั ญญะยังไม่แข็งแรง เ อไปเผชิ ญ ญญาจริง ๆ แล้ว ก็วางใจไม่เ น

แต่ใครได้สังขารุ เปกขาญาณ ก็จะไม่เอาใจใส่ เ นพิเศษ วางเฉยต่อรู ป นาม ขันธ์ 5 และ


เพียรพยายามเ อจะละกิเลส แม้ตอน นยังละไม่ได้อย่างเด็ดขาด ก็ไม่เดือดร้อนใจ เพราะวางใจ
เ นกลางในสั งขารธรรม มันแปรปรวนตลอดเวลาได้

งไม่ง่ายนะ ต้องพัฒนา ญญาญาณเข้าไปเห็นความจริง จึงวางเฉยได้

เวทนุเปกขา การเสวยอารมณ์ ไม่ใช่ สุข ไม่ใช่ ทุกข์ เ นอุเบกขา

วิ สสนุเปกขา อุเปกขาในวิ สสนา อัน เ นการพิจารณาขันธ์โดยความไม่เ ยง เ นทุกข์


เ นอนัตตา วางเฉยต่ออนิจจลักษณะ เรียกว่า วิ สสนุเปกขา

ท ให้เกิดวิ สสนูปกิเลส ถ้าไม่พัฒนาต่อ จะเ นเหตุให้เข้าใจผิดว่าได้บรรลุ


ธรรม

ตัตรมัชฌัตตุเปกขา สภาพ วางเฉยต่ อสั ตว์ งปวง เ นตั วอุ เบกขาพรหมวิ หาร และอุ เบกขา
บารมี

ฌานุเปกขา จตุตถฌาน

ปาริสุทธุเปกขา อุเบกขาใน ญจมฌาน หมดจดจาก ติ และสุข

ที อุเบกขาพรหมวิหาร กับอุเบกขาบารมี น เ อต่อกัน

ถ้าไม่มีอุเบกขาพรหมวิหารเ นตัวเ อหนุน การบ เพ็ญอุเบกขาบารมีก็จะไปไม่ค่อยรอด

7
ซึ่
นึ่
ขึ้
ป็
ป็
ปั
นี้
นี้
น้
ที่

พื่
ป็

นื้
ปั
ที่
นื้
ที่
ที่
ตื่
ปั
ปั
ปั
ปั
ป็
ที่
ที่
นั้
ที่
ปิ
ชื่
กื้
ที่
ตื่
ทั้
นี้
มื่
ปั
ป็
นั้

บื่
ป็
อื้
นี้
ป็

ปี
ปั
ป็
ปั
มื่
น้
ป็

ป็
ที่
นื้
ลี้
ที่
ป็
ป็
เ องพระยากระบือ
ณ กรุ งสาวัตถี

มีลิงตัวห ง เข้าไปในโรงช้ าง ก็ นไปบนหลังช้ าง

ช้ างเชื อก กมาอย่างดี มีศีลาจารวัตร เจ้าลิงโลน ก็ นไปถ่ายอุจจาระ สสาวะ เดิน


เหยียบ ไปมา เปรอะเ อน

ช้ าง นก็ไม่ได้แสดงปฏิกิริยาอย่างไร ก็วางใจเ นกลาง เฉยอยู่ ด้วยอ นาจความอดทน


ตามศี ลาจารวัตร

วันห ง ลูกช้ างดุก็มายืนอยู่ตรง ช้ าง นเคยอยู่

ลิงโลน มา โรงช้ าง ไม่ทันพิจารณา นึกว่าเ นช้ างตัวเดิม ก็กระโดด นไปถ่ายอุจจาระ


สสาวะ เล่นอยู่บนหลังช้ าง น

ช้ างดุ ใช้ งวงจับลิงมาฟาดกับ น และเหยียบจนตาย

ภิกษุได้กราบทูลเ อง แด่พระพุทธเจ้า พระองค์จึงตรัสเล่าในอดัตชาติ

สมัย เ นพระยากระบือ อาศั ยอยู่ใน าหิมพานต์

วันห ง ก็มีลิงตัวห ง เ นลิงซน ก็กระโดด นไปบนหลัง ถ่ายอุจจาระ สสาวะ เหยียบ


เปรอะเ อน วตัว กระโดดเล่นระหว่างเขา ดึงหูบ้าง ตามประสาลิงโลน

กระบือพระโพธิสัตว์ เ นผู้มีขันติ มีเมตตา มีอุเบกขา ก็ไม่ใส่ ใจการเล่นอนาจารของลิงโลน

อยู่มาวันห ง เทวดา อาศั ยอยู่ในต้นไม้ก็ปรากฏ มาถามพระโพธิสัตว์ว่า

รุ กขเทวดา ท ไมไปปล่อยให้ลิงประทุษร้าย นิสัยมันก็ไม่ดี โกงแบบ ไปอดก นท ไม ไย


ไม่ใช้ เขา ใช้ เท้า ใช้ ก ลังของท่านปหานลิง เสี ย

พระยากระบือ เราจะไปท บาป ท ปานาติบาตท ไม ถ้าเราไปกระทืบ ไปฆ่า ศี ลเราก็พัง

ลิง มีนิสัยแบบ อายุไม่ยืนหรอก ถ้าไปท กับคน น เขาไม่มีความอดทน


แบบเรา ก็โดนกระทืบตายอยู่ดี เราจะท ให้บาปเกิด นกับเราท ไม จะไปแปด
เ อนบาป อกุศลท ไม

ต่อมาวันห ง ลิง เห็นควายอีกตัวห ง ไม่ได้พิจารณาก็ไปท พิเรนอย่าง บนหลังควาย น

ควาย นเ นควายดุ ก็ขวิด และเหยียบลิง นตาย

แสดงให้เห็นว่า การมีขันติในใจ เ นตัวหนุนอุเบกขาบารมี

บุคคล จะเจริญอุเบกขาบารมีได้ ต้องมีขันติ และต้องผ่านบารมี งหลายมา งหมด เ นตัว


หนุนเ อง ไม่อย่าง นเจริญไม่รอด

อุเบกขาบารมีต้องใช้ ญญาอย่างมากนะ

8
รื่
นึ่
นึ่
นึ่
นึ่
นึ่
นึ่
ขึ้
นึ่
ขึ้
ขึ้
ขึ้
ขึ้
ปั
นี้
ปื้
นื่
ย่
ปื้

นั้
ที่
ทั่
นั้
นี้
ที่
ป็
นี้
นี้
ป็

ฝึ
นั้
ที่


ปื้
ที่
นี้
รื่
ที่
นั้
ปั
นี้
ป็
ป็

นี้
พื้
ที่

ป็

นี้
ป่
นั้
นั้
ป็

ป็
นี้


ขี้

ทั้
อื่
นี้
ที่
ปั
นี้

ทั้
ปั
ลั้

ป็
นั้
ย่

เ องนกแขกเต้า
พระโพธิสัตว์เกิดเ นนกแขกเต้า เ นหัวหน้าของฝูงนกแขกเต้า ออกไปหากินจากลานข้าว
ของชาวบ้าน

นกแขกเต้าฝูง ไปหากิน ในขณะ น ฝูงนกลงกินข้าวเปลือก

เจ้าของข้าวเปลือกมาเห็น ฝูงนกก็บินหนี ยกเว้นพระโพธิสัตว์ ไม่ได้รีบบินหนี เพราะต้องจิก


เมล็ดข้าว น ๆ และใช้ ปากคาบรวงข้าวเ อไปเ ยงดูมารดาด้วย ลูกนก ยังบินไม่ได้ด้วย และนก
พิการ ไม่สามารถหากินเองได้ด้วย

พระยานกแขกเต้าบินไปไม่ทัน เจ้าของนาเลยจับได้ จึงได้สนทนาด้วย

เจ้าของนา นกตัว นกินพอ มท้องแล้วก็ไป แต่เจ้า กินจน มแล้วยังคาบไปอีก ท่านคงมี


ยุ้งฉางใช่ ไหม เก็บไปทุกวัน ๆ ยังไม่เต็มอีกหรือ

หรือท่านรังเกียจอะไรเรา โกรธอะไรเรา มาเ นเวรกับเราหรือ

นกแขกเต้า ข้าพเจ้าไม่ได้เ นเวรกับท่าน ยุ้งฉางของข้าพเจ้าก็ไม่มี แต่เ อข้าพเจ้าไปถึง


ยอดไม้ วแล้วก็จะช ระห ส่ วนห ง ให้เขากู้ยืมส่ วนห ง และ งขุมทรัพย์ไว้
บนยอดไม้ ว นด้วยอีกส่ วนห ง

เจ้าของนา การให้กู้ยืมห การช ระห การ งขุมทรัพย์ของท่านเ นอย่างไร

นกแขกเต้า ท่านโกสิ ยะ ข้าพเจ้ามีลูกนกตัวเล็ก ๆ ขนและ กยังไม่งอก ลูกเล็กเหล่า เ อ


ข้าพเจ้าเ ยงแล้ว หากข้าพเจ้าแก่ไป ลูกโต นมาจะเ ยงข้าพเจ้าต่อ อย่าง
เรียกว่า ให้เขากู้ยืม

ข้าพเจ้ามีพ่อและแม่ แก่เฒ่า แต่ก่อนเคยเ ยงดูข้าพเจ้ามา ตอน พวกเขาแก่


แล้ว ข้าพเจ้ากลับไปดูแลอย่าง เรียกว่า ไปช ระห

นก ทุพพลภาพ ไม่สามารถบินได้ ข้าพเจ้าไปเ ยงดูนกพวก เรียกว่า ได้ ง


ขุมทรัพย์ไว้

เจ้าของนา นกตัวประเสร็ฐ เ นนก มีธรรมอย่างยอดเ ยม งพวกมนุษย์ไม่มี เจ้า มี


คุณธรรมแท้ ๆ

ถาม นกแขกเต้า บ เพ็ญบารมีอะไร

หมอแจง อุเบกขาบารมีเจ้าค่ะ เพราะท่านไม่ได้ยินดีและยินร้าย เห็นกรรมและผลของ


กรรมว่ า ท กรรมอย่ า งไรจะได้ ผ ลอย่ า งไร คิ ด ว่ า เข้ า ลั ก ษณะของอุ เ บกขา
บารมีเจ้าค่ะ

หมอนนท์ ตอนแรก ผมนึกว่าทานบารมี แต่ตอน อาจารย์สอนเ องอุเบกขาบารมี

ผมมองว่า ท่านรู ้ความเหมาะสม ว่าควรเ อกูลนกแต่ละประเภทอย่างไร รู ้ว่า


ควรจะเ อกูลสั ตว์ ต่างสถานะกันด้วยความเหมาะสมอย่างไร
9
รื่
นึ่
นึ่
ขึ้
นึ่
ซึ่
กื้
งิ้
ลี้
อื่

งิ้
นั้
ที่

นี้
ที่
ป็
นี้
อื่
นี่
นี้
นี้
นี้
ป็

นี้
อิ่
ที่
ที่
ป็
พื่
ที่

ป็


ที่
ลี้
นี้
นี้
ฝั
ลี้
ที่
นี้
นี่
กื้
ลี้
ฝั
ป็
ยี่
ลี้
ปี
อิ่
ที่
รื่
ป็
นี้
นี้
มื่
นี่
นี้
นี้
นี่
มื่
ฝั
ที่
อริยโพธิ จริง ๆ ท่านบ เพ็ญ ง 10 บารมี แต่ขับเน้น อุเบกขา งการใช้ ห ให้กู้ยืม
แสดงว่าท่านเ อกรรมและผลของกรรม

และเ อท่านได้ข้าว ก็ไม่ได้แสดงความดีใจ หรือเ อโดนจับได้ ก็ไม่ได้ท ความ


ขัดเคือง ความกลัวให้เกิด น ก็เลยคิดว่าเ นอุเบกขาบารมีเจ้าค่ะ

พระมหาอ นาจ แม้แต่ท่านจะโดนจับ ก็ไม่มีความกลัว และอาจหาญว่า เ อเราได้ท กรรม


เหมาะสมแล้ว ก็ไม่มีจิตใจ กลัวอะไร จึงวางเฉยได้ในทุกสถานการณ์

ท่านไนท์ บุคคล เจริญอุเบกขาได้ ต้องมาจากเมตตา กรุ ณา มุทิตามาอย่างดีแล้ว ถ้า


มองถึงพ่อแม่ ลูก นก วยไข้ พราหมณ์เจ้าของนา และตนเอง ท่านท จิตให้
เสมอกัน ไม่วูบวาบ ท ลายอคติในบุคคลเหล่า

มองเห็นว่า พ่อ แม่ก็มาจากกรรม ลูกก็มาจากกรรม นก งหลายก็มาจาก


กรรม แม้ตนเอง ก็มาจากกรรม จึงขวนขวายในหน้า ของตนเองได้อย่างดี
ปฏิบัติต่อพ่อแม่ ลูก นก วยไข้ และพราหมณ์ได้อย่างดี

พระอาจารย์ งข้อสั งเกตุตรง นิดห ง

นกแขกเต้าพระโพธิสัตว์เ ย ท่านบอกว่า

นกแขกเต้า ข้าพเจ้าต้องการบุญจึงได้ให้รวงข้าวสาลีแก่นกเหล่า น บัณฑิต งหลายกล่าว


การท บุญ นว่าเ นขุมทรัพย์

เจ้าของนา กษา มีธรรมอย่างยอดเ ยม มนุษย์บางเหล่ายังไม่มีธรรมเหล่า เลย เจ้า


พร้อม งญาติ งหมด จงกินข้าวสาลีตามความพอใจเถิด

เรายินดี ได้พบนกเช่ นเจ้า

นกแขกเต้า ข้าพเจ้าได้กิน ได้ มใน ของท่าน แต่ในเ อนบ้านของท่านไม่น่ายินดีนัก ท่าน


โกสิ ยะ ขอท่ านจงให้อภั ยทานในเหล่ าสั ตว์ ผู้วางอาชญาแล้ ว และจงเ ยงดู
มารดาบิดาผู้แก่เฒ่าเถิด

เจ้าของนอก สาธุ

นกแขกเต้าพระโพธิสัตว์ ท่านต้องวางใจ ต้องอดทน ต้องพิจารณากรรมและผลของกรรม


และ นใจในกุศล ตนเองท

การบ เพ็ญอุเบกขาบารมี ต้องเห็นว่สัตว์มีกรรมเ นของของตน แต่ไม่ใช่ ว่าตนเองไม่ท


ไม่ใช่ เฉยเมย ตนเองก็ท และ นใจ แม้ตนเองถูกฆ่า ก็จะไม่อาลัย อาวรณ์เลยนะ

ขันติ ความอดทน เ นบ่อเกิดของอุเบกขาบารมี

อุเบกขาแท้ ต้องละอภิชชาและโทมนัส แต่อุเบกขาเทียมได้แก่ โมหะ

ลักษณะ มีความเ นไปในอก

รส มีอันเห็นความเสมอกัน เ นกิจ
10
ขึ้
นึ่
มั่

ทั้

นั้

ชื่
ทั้
ที่
ป็
ตั้
ปั

ที่

ป่
ป่
มื่
ที่
ป็

ที่
นี้
ป็
ที่
มั่

นี้
ดื่
ทั้
ป็
ที่
ป็
นี้
นี่
ยี่
ที่
ป็
พื่
ที่
มื่

ลี้
นั้
ทั้
มื่
ทั้
ทั้
นี้
นี้


ที่
นี้

เ องอยู่ในราว า น่ากลัว
พระพุทธเจ้าตรัสว่า พระองค์เ นผู้ประพฤติตบะ และประพฤติตบะอย่างยอดเ ยม เ นผู้
ประพฤติเศร้าหมอง และประพฤติเศร้าหมองอย่างยอดเ ยม เ นผู้รังเกียจบาป และรังเกียจบาป
อย่างยอดเ ยม เ นผู้สงัด และสงัดอย่างยอดเ ยม

เราเข้าไปอาศั ยแนว า น่ากลัวแห่งใดแห่งห งอยู่ ผู้ใดมีราคะ เข้าไปใน า นแล้วจะเกิด


ความขนพองสยองเกล้า เราสามารถเข้าไปอยูใ่ น า น 3 เดือน 4 เดือน หรือช่ วงเวลา หิมะตก
หรืออยูใ่ น แจ้งในเวลาฤดูร้อน หรือในเวลากลางคืน

การอยู่ใน สงบ ลึกอย่าง น ต้อง กตนเองให้เข้าถึงอุเบกขาบารมี มีขันติ อดทน ระงับ


บาปได้

ความอัศจรรย์ปรากฏว่า เวลาเรานอนแอบอิงกระดูก อยูใ่ น าช้ า เราก็ไม่เกิดความกลัว


เลย วางใจเ นกลาง ว่ากระแสชี วิต ก็คือกระดูก นอนทับกระดูก แผ่นดินก็คือกองกระดูก จึงไม่
เกิดความก หนัด ขัดเคือง ขนพองสยองเกล้า ไม่หวาดกลัว

ในตอนกลางวัน เด็กเ ยงวัวเ ยงความได้เข้ามาใกล้เรา ก็ถุย ลายรดบ้าง ถ่าย สสาวะ


รดบ้าง โปรย นลงบ้าง เอาไม้แหย่หูเราบ้าง แต่ เราไม่เคยให้อกุ ศลจิตเกิ ด นแก่ เราเลย คื อ
พรหมจรรย์ เราประพฤติอยูด่ ้วยอุเบกขาของเรา เ นไปด้วยอาการแบบ

เราระงับโทสะ ความโกรธได้

อีกพวกห งมาเห็นเรา ก็ศรัทธา น ดอกไม้ อาหาร เค องบรรณาการต่าง ๆ เ นอันมากมา


ให้เรา เราก็ไม่เคยเกิดความยินดี เพลิดเพลินเลย ก็วางใจเ นกลาง

ผู้ใดน ทุกข์มาให้เรา น สุขมาให้เรา เราเ นผู้เสมอกับบุคคล งสองกลุ่ม น วางใจเสมอกัน


ไม่มีความเอ็นดูกับผู้ มาศรัทธา กราบไหว้ ไม่มีความโกรธในบุคคล มาประทุษร้าย ก นแกล้ง

อย่าง จัดเ นบารมีกลุ่มไหน ? อุเบกขาปรมัตถบารมี ยอมสละชี วิต

เราเ นผู้วางเฉยในสุขและทุกข์ ในยศและในการเ อมยศ

ยาก แต่ต้อง กนะ

บุคคล กอุเบกขาบารมีได้ เวลาเจอ ญหาชี วิตจะวางใจได้

ถาม ท่ า น งหลายเคยเห็ น บุ ค คล นอนอยู่ ต ามตรอกซอกซอย บนทางเท้ า ใต้


สะพานลอย มีคนไปรบกวน ไปกวาด เอา สาด เขาก็ขยับนิดเดียว แล้วก็
นอนต่อ เ อตัวมอมแมม แมลงวันตอมเต็มไปหมด แบบ เรียกว่า เขาเจริญ
อุเบกขาบารมีใช่ ไหม ?

โยมแจ๊ค ไม่ ใ ช่ ครั บ เพราะอุ เ บกขาต้ อ งใช้ ญญามากครั บ ถ้ า ไม่ ใ ช้ ญญาจะวาง


อุเบกขาได้ยากครับ

11
รื่
ที่
นึ่
นึ่
ขึ้
ที่
นื้
ยี่

ป็
ที่
ป็

นี้
ที่
ฝุ่
ฝึ
ป็
ที่
ป็
ฝึ
ที่
ป่
ที่
ทั้
ป่
ลี้

ที่
นั้
นี้
ลี้
ป็

ฝึ
น้
ปั

ยี่
ป็
ป่
ที่
ป็
นั้
ปั
สื่
ยี่
ป็
นี้
รื่
ป็
ที่
ทั้
ป่
น้

นี้
ที่
นั้
ป่
ปั
นั้
ป็
ลั่
ยี่
ที่
ปั
ป็
นี้
พระโพธิสต
ั ว์ค้นหาอุเบกขา
ครัง้ นั ้นเมื่อเรา นหาอ ไ เห็นอุเบกขาบารมีเป็ น อที่ 10 ที่ แสวงหาคุณอัน
ยิ่งให ทัง้ หลายในปาง อนไ อบรมสั ่ งสมมา จึงเตือนตัวเอง า าน ! จงยึด
อุเบกขาบารมี น อที่ 10 นี ้ บ เพ็ญใ มัน่ คง อน

านเป็ น มีอุเบกขาบารมีที่ตรง จักบรรลุสัมมาสั มโพธิญาณไ

ธรรมดาพืน
้ แ นดิน อมวางเฉย เมื่อเขาทิง้ ของสะอาด และไ สะอาด เ นความ
โกรธ และความยินดี แ ฉั นใด านก็ฉันนั ้นเหมือนกัน จงมี จที่เที่ยงตรงกะสุข
และทุก นกาลทุกเมื่อ

เมื่อบ เพ็ญอุเบกขาบารมีแ ว จักเป็ นปั จจัยใ บรรลุพระสั มมาสั มโพธิญาณ


ท่านให้ท ใจเหมือนแผ่นดิน ใครเอาของสะอาด ไม่สะอาดมาเท มาราด มารด แผ่นดินก็ไม่
ห นไหว ไม่สะทกสะท้าน ท่าน งหลายได้รับสุขและทุกข์ก็ดี จิตใจก็ไม่วูบวาบต่อสุขและทุกข์ แต่
ไม่ใช่ ไม่รู้เ อง

บุคคลเร่รอ
่ น งหลายเขาไม่รูเ้ อง สะอาดไม่สะอาดก็ไม่รู้ สุขทุกข์ก็ไม่รู้ เ นอัญญานุเปกขา

แต่บุคคล บ เพ็ญอุเบกขาบารมี งหลาย ต้องรู ้ แต่ไม่ห นไหว ไม่สะทกสะท้าน กับเสี ยงชม


และเสี ยงด่า ขจัดความยินดี และขัดเคืองได้

ตรง ยาก แต่ต้องท เพราะหากไม่เข้าถึงอุเบกขาบารมีแล้ว ก็ไม่มีจุด จะสามารถหลอม


รวมบารมี งหมดให้มาประชุ มกันได้ เพราะอุเบกขาบารมีเ นมัชฌิมาปฏิปทา จะท ให้บารมี ง
หลายได้ดุลยภาพ

บารมีทงั ้ หมด องมาหลอมรวมที่อุเบกขาบารมี

อุเบกขา...เก็บกด
วัน เราอยู่ในสภาพร่างกาย น่ายินดี โลภะก็เกิดง่าย

วันใดเราแก่เฒ่า จะได้ยินแต่เสี ยงด่า เสี ยงต หนิ นินทาว่าร้าย โทสะก็เกิดง่าย

ในวัน เราก็ต้องก จัดอภิชชา ต้องละความยินดี ไม่ให้ความยินดีมากลุ้มรุ ม เพราะตอน


กุศลกรรมก ลังให้ผล จะไม่วูบวาบ ไม่เพลิดเพลิน ไม่ยินดี ไม่สนุกสนาน แต่จะวางใจเ นกลาง ให้
ตัตรมัชฌัตตตามาคอยก กับ ว่า ตอน กุศลกรรมก ลังให้ผลหนอ
12
ท่
วั่
ญ่

ข์
รื่
ทั้
นี้
ผู้

นี้

นี้

ผ่
ต้
ที่

ค้

ทั้
ข้
ย่


ยู่
ก่

ม้
ทั้
ด้
ล้
ด้
ที่
รื่

นี้
ท่
ทั้
ห้


ห้
ก่

ด้
ป็
ข้
วั่
ว่
ม่
ด้
ผู้

ท่
ป็
ที่
ที่

ป็
ว้
ทั้
นี้
ทางทวารตา หู จมูก น กาย และใจ ได้รับอารมณ์ ดี กุศลกรรมก ลังให้ผลเราอยู่หนอ
จะไม่หลง ไม่เพลิน ไม่ระเริงกับ งเหล่า

แต่วันใด อกุศลกรรมให้ผล เจ็บ วย ทรมาน แก่ สติสัมปชั ญญะเ ม นเ อนเลือนหลง ก็


จะไม่ให้ความเครียด ความโกรธมาครอบง จะพิจารณาว่า ตอน อกุศลกรรมให้ผลหนอ

สั ตว์ งหลายมีกรรมเ นของของตน มีกรรมเ นทายาท มีกรรมเ นเหตุแห่งสุขและทุกข์ มี


กรรมเ นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเ น งอาศั ย สั ตว์ท กรรมอันใดไว้ ดีหรือ ว ก็ต้องได้รับผลของกรรม

แม้เราก็ก ลังเ นไปตามกรรมจริง ๆ จักท จิตใจไม่ห นไหว ไม่สะทกสะท้าน ประดุจดัง


แผ่นดิน ไม่ห นไหวต่อของสะอาดและไม่สะอาด คูธบ้าง มูตรบ้าง หอม หรือดอกไม้ แผ่นดิน
นก็ไม่เคยวูบวาบเลย เธอปรารถนาจะบ เพ็ญอุเบกขาบารมี เ อเ น จจัยแก่การพ้นทุกข์ ก็ต้อง
กอุเบกขาให้เกิด น

แต่พวกเราเ ย เจอ งไม่ดี ป ก็เฉยจริง แต่เก็บไว้

เฉย...เก็บ เฉย...เก็บ เฉย...เก็บ

แต่พอได้เหตุ จจัย...ระเบิดเลย กดไม่อยู่

แสดงว่า ผ่านมาเ นเหมือนลูกโ ง บีบด้านห ง ก็มาปูดอีกด้านห ง แทน จะระงับไม่ให้


โทสะเกิด ก็เก็บไว้

อย่าระเบิดเลย...อายเขา อย่าละเบิดเลย...ไม่สมควร อย่าระเบิดเลย...ยังไม่ถึงเวลา ก็เก็บ ๆๆ


เ อยเลย ถึงวันห งระเบิดออกมา

โยมเ ร์น วัน นน่าจะลืมก หนดเจ้าค่ะ พอได้เหตุ จจัย สติมันไปดึงกุศลมาระลึกไม่ทัน


อโยนิโสมนสิ การมันเกิดเร็วมาก โทสะก็เกิดเลย มันไม่ทัน งตัว พรวดออกมา
เลยเจ้าค่ะพระอาจารย์

พระอาจารย์ มีโยมคนห ง เธอก็ไปมา ๆๆ บ่อย เ นคนอ่อนน้อม เรียบร้อยมาก พูดแต่ละ


ค งประนมมือตลอด เจ้าคะเจ้าขา ใครเห็นก็รู้สึกว่า โยมคน จะมีความโกรธ
ไหมเ ย

มีเ องห งใช่ ไหม คือ พระนางเวเทหิกา มีคนใช้ อ กาลี คนใช้ ต้องการ
พิสูจน์ว่าเธอไม่มีความโกรธดังค ลือจริงไหม ก็เลยนอน นสาย ต้องการ
จะรู ้ว่า เจ้านายละความโกรธได้ หรือ ไม่โกรธเพราะเราท งานดีกันแน่

ก็นอน นสาย นเ อย ๆ เจ้านายก็เ มเสี ยงดัง ๆ

ใน สุดจริง ๆ ทนไม่ไหว ก็เอา มประตูขว้างหัวเธอแตกเลย อย่าง เ นต้น

จะเล่าให้ ง คือ โยมคน ก็มีอยู่ค งห ง ไป สถาน ปฏิบัติธรรม เธอก็ได้


เหตุ จจัย ท ให้เธอขัดเคือง พอพูดออกมา เ นคนละคนเลย ทุกคนตกใจ
หมดเลย

เคยท อะไรให้พระมา งหมด แต่พระใช้ บ้าง ไม่ใช้ บ้าง เธอพูดหมดเลย

13
นึ่
ขึ้
นึ่
นึ่
พึ่
ขึ้
นึ่
นึ่
นึ่
นั้
นั้
ฝึ
รื่
รั้
ปั
ฟิ
นี่
ป็
ที่
ที่
ทั้

วั่
ที่
ที่

นี่
ปั
ที่
ที่
ป็
รื่
ที่
นั้
ป็
ตื่
ป็

สิ่
ป็
ลิ้
ที่
ฟั

สิ่
ปุ๊
ล่


ที่
รื่
นี้
ป่
ป่


ทั้
ที่
นี่
นี้
ป็


ลิ่
ป็
รั้
ริ่
ป็
ตั้

ตื่
ที่
ปั
นี้
วั่
พื่
นี้
นี้
ป็
ที่
น้
ชั่
ปั

ชื่
ป็
ที่
ริ่
ฟั่

ฟื
ที่
ที่
นี้
ป็
ฉะ น การกระท ใด ๆ ไม่ช ระตนเอง แต่เก็บไว้ กดไว้ วันห งพรวดออกมาเ น ไหล
เลย ใครก็เอาไม่อยู่

พระเลยพากันกลัว ไม่กล้าเข้าใกล้เลย อาตมาก็ดู คือ ต้องการจะรู ้ว่า กิเลสมนุษย์จะเกิดได้


มากขนาดไหน เธอก็ระบายออกมา งหมดเลย ชี วิตครอบครัวต่าง ๆ ก็ระบายออกมาหมด พูดอยู่
ค ง วโมงกว่า เกือบเ น วโมง พูดไปก็ร้องไห้ไป

อาการแบบ เห็นชั ดว่าพวกเราประพฤติธรรมกันด้วยระบบเก็บกด แสดงว่า ไม่เ นสติ


ฏฐานจริง ๆ ถ้าเ นสติ ฏฐานจริง ๆ จะไม่มีอาการอย่าง เลย ถ้าเ นอุเบกขาจริง ๆ เ นขันติ
จริง ๆ ต้องไม่ใช่ เก็บกดนะ

แล้วไม่ใช่ แค่ นนะ คน จะเจริญอุเบกขาบารมี เขาเห็นโดยความเ นรู ป นาม ขันธ์ 5 จริง


ด้วย จึงไม่รู้สึกห นไหว ไม่สะทกสะท้านในสั ตว์ และสั งขารเลย

ถ้าคนเจริญอุเบกขาบารมีกลัวเสื อ กลัวตุ๊กแก กลัวแมลงสาบ ไม่ใช่ แล้ว เพราะเขาเห็นโดย


ความเ นรู ป นาม ขันธ์ 5 เข้าใจกรรมและผลของกรรมนะ

คนเจริญอุเบกขาบารมีจะไม่กลัว แต่รู้นะว่า สั ตว์เหล่า มีพิษ หรือไม่มีพิษ รู ้ว่าสามารถไป


สั มพันธ์เ ยวข้องได้แค่ไหน แต่เขาวางใจเ นกลาง ไม่คิดเบียดเบียนเขา ไม่คิดประทุษร้ายเขา

และจะไม่กลัวผี

บางคนปฏิบัติธรรมนอนคนเดียวไม่ได้เลย

คนเจริญอุเบกขาบารมีเจ๋งมาก ๆ จะมองคนดี คนไม่ดี คนมีศีล ไม่มีศีล อยู่ ดี ไม่ดี ก็จะ


ไม่มีจิต วูบวาบเลย กล้าเดินออกไปสู่ คนเคารพ และไม่เคารพ วางใจเ นกลางได้ เพราะเข้าใจ
เหตุ ผล กรรมและผลของกรรม

ในยาม บาปให้ผลก็วางใจได้ ยาม บุญให้ผลก็ไม่หลงระเริง

อยู่กับใครก็แล้วแต่ บางวันเขาพูดดีกับเรา พูดไม่ดีกับเรา ไหว้บ้าง ไม่ไหว้บ้าง ก็วางใจเ น


กลางได้ ไม่ยึดติดกับ งเหล่า ฉลาดในการวางท่าทีทางใจ

14
รึ่
นึ่
ปั
ชั่
ป็
ที่
นี่
กี่
นั้
ที่
วั่
ป็
นั้
นี้
ป็
สิ่

ชั่
ปั
นี้
ที่
ที่
ทั้

ที่
ที่
ป็
ที่
นี้
นี้
นี่
ป็
ป็
ป็
ที่
ที่
ป็
ป็
น้
ป็

ป็

You might also like