ความปลอดภัยในการติดตั้ง Solar Rooftop - คุณสุจิ คอประเสริฐศักดิ์

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 106

ความปลอดภัยในการติดตัง้

Solar Rooftop
นายสุ จ ิ คอประเสริ ฐ ศั ก ดิ ์
Solar rooftop system
Solar Rooftop system
นายสุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
ทีท่ างาน รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท ธนชา จากัด
กิจกรรมทางสั งคม
สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุสาหกรรม
กรรมการร่ างมาตรฐานเต้าเสี ยบและเต้ารับสาหรับใช้ในที่อยูอ่ าศัยและงานทัว่ ไปที่มีจุดประสงค์
คล้ายกัน(พศ.2549-2551)
วิศวกรรมสถานแห่ งประเทศไทย ในพระบรมราชู ปถัมภ์
เลขานุการ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า(พศ.2549-2550)
กรรมการ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า(พศ.2554-2565)
ประธาน ปรับปรุ งมาตรฐานระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา
กรรมการ ปรับปรุ งมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสาหรับประเทศไทย
กรรมการ มาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า
อนุกรรมการมาตรฐานการตรวจสอบและทดสอบการติดตั้งทางไฟฟ้า
นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
สภาวิศวกร
กรรมการจรรยาบรรณ (สมัยที่ 8)
อนุกรรมการ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
ผูช้ านาญการพิเศษเพื่อทดสอบความรู ้ความชานาญการประกอบวิชาชีพ ระดับภาคีวิศวกรพิเศษ
สามัญวิศวกร วุฒิวิศวกร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
สมาคมช่ างเหมาไฟฟ้ าและเครื่ องกลไทย
นายกสมาคม (พศ.2559-2560)
ที่ปรึ กษากิตติมศักดิ์(ปัจจุบนั )

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
Contents :
• Arc Fault Protection
• Rapid Shutdown System
• Protection Against Electric Shock
• Protection Against Earth Faults
• Overcurrent protection
• Protection Against Effect of Lightning and Overvoltage

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar PV Trends
Advantages of solar PV
no harmful greenhouse gas emissions supplied by nature ,free and abundant
,environmentally friendly

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar PV Trends
Advantages of solar PV

can be made available almost


anywhere there is sunlight

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar PV Trends
Advantages of solar PV
producing no noise at all; perfect solution for
urban areas and for residential applications

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar PV Trends
Advantages of solar PV
no mechanically moving parts ,operating
and maintenance costs to be low, almost
negligible, compared to costs of other
renewable energy systems

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar PV Trends

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar PV Trends

France requires all new buildings


to have green roofs or solar panels

Tokyo will require new homes


built from 2025 to have solar
panels

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar PV Trends

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Thai Electrical code
Solar Rooftop Power Supply Installation

ระดับการศึกษา
วิศวกรมือ ปวช. ปวส.
อาชีพ ปริญญาตรี โท เอก

ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
ภาคีวิศวกร
สามัญวิศวกร
วุฒวิ ิศวกร
ภาคีวิศวกรพิเศษ
นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Thai Electrical code
Solar Rooftop Power Supply Installation

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
DC side AC side

IEC 62109-2
MEA,PEA
(Zero export ,Anti
Islanding,etc.)
นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system

A block of flats in Bethnal


Green, east London, caught
fire last Sunday with around
80 firefighters attending the
scene and initial
suggestions are that the
solar panels appear to have
caught fire.
Jul 9, 2017

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system

In May of 2015, a
rooftop solar fire
was ignited on the
roof of an Apple-
owned facility in
Mesa, Arizona

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system

Walmart and Amazon Sue Tesla Over


Solar Panel Fires and Unqualified
Workers

Walmart filed a lawsuit last week


alleging that Tesla, Inc installed
dangerous rooftop electric systems
which caused rooftop fires at seven
stores in Maryland, Ohio, Colorado,
and California (2019)

Amazon disclosed that its


warehouse in Redlands, CA,
caught fire last June (2019)

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system

อ.วังทอง
จ.พิษณุโลก

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system

6 มกราคม 2567
ไฟไหม้บ้านในหมู่บ้านนารา
สิริ วัชรพล เสียชีวิต 1
บาดเจ็บ 2 ราย หลังต้นเพลิง
ติดโซลาร์เซลล์บนหลังคา

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Arc Fault Circuit Interrupter
DC Arc Fault has been found the
major cause of fire in PV system?
What does Arc Fault Occur in PV system?
1. Incompatible DC connectors
2. Broken DC connectors or PV cables.
3. Poor welding in the junction box of the PV
module

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Arc Fault Circuit Interrupter
Unbroken conductor:
The flow of current is uninhibited.

Damaged conductor (increased resistance):The current


density is increased. The temperature of the conductor rises.
The conductor melts

Interrupted conductor (failure in continuity):The conductor


is destroyed by heat.Plasma is created due to ionization.
The current flows in the form of an electric arc.
นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Arc Fault Circuit Interrupter

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Arc Fault Circuit Interrupter

50 Hz

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Arc Fault Circuit Interrupter
สาเหตุหลักมาจาก
1. การใช้ MC-4 ที่ไม่ได้มาตรฐาน (IEC 62852) ,
2. การเลือกพิกดั กระแส , แรงดันไม่ถกู ต้อง ,
3. เลือกใช้ MC-4 ที่ตวั ผูแ้ ละตัวเมีย ไม่ใช้ Module
เดียวกัน หรือมาจากผูผ้ ลิตที่แตกต่างกัน
(Difference Type , Difference Manufacturer)

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Arc Fault Circuit Interrupter

การใช้ เครื่องมือไม่ถูกต้อง ไม่ทาตามคู่มอื การใช้งาน

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Arc Fault Circuit Interrupter

Connector- MC4 (IEC 62852)


Same type
Same manufacture

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Arc Fault Circuit Interrupter
รู ปแบบของเคเบิล
เคเบิลที่ใช้ใน PV array ต้องเป็ นดังนี ้
ก. มีพิกดั อุณหภูมิท่ีเหมาะสมตามลักษณะการใช้งาน
ข. ถ้าต้องอยู่กับสิ่งแวดล้อมภายนอก ต้องเป็ นแบบทนต่อรังสีอัลตราไวโอเลต หรือ
ได้รบั การป้องกันจากแสงอัลตราไวโอเลตด้วยวิธีการที่เหมาะสม หรือต้องติดตัง้ อยู่
ภายในท่อที่มีการป้องกันรังสีอลั ตราไวโอเลต ต้องยืดหยุ่น (สายตีเกลียวหลายเส้น)
เพื่อรองรับการเคลื่อนที่ของ PV array / PV module เนื่องจากความร้อนหรือลม
ค. ต้องไม่ลามไฟ ตามมาตรฐาน IEC 60332-1-3 หรือ IEC 60332-1-2
สาหรับเคเบิลแรงต่าในทุกระบบ (string cable) ต้องเป็ นไปตามข้อกาหนด BS EN 50618 หรือ
PV2-F ตาม TUV 2 PfG 1169 หรือ UL 4703 หรือ VDE-AR-E 2283-4 หรือ IEC 62930
สาหรับระบบแรงต่า ควรใช้ทองแดงชุบดีบกุ เพื่อลดการเกิดออกไซด์ของเคเบิล
นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Arc Fault Circuit Interrupter

4.3.12 Arc Fault Circuit Interrupter


ต้องติดตัง้ AFCI ทางด้านกระแสตรงของอินเวอร์เตอร์ เพื่อป้องกันการเกิดเพลิง
ไหม้เนื่องจากความผิดพร่องจากอาร์ก (arc fault) และตัดวงจรทางด้านกระแสตรง
ภายใน 2.5 วินาทีเมื่อเกิดความผิดพร่องจากอาร์ก (arc fault)

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system

หมู่บ้านเค.ซี. การ์ เด้ นโฮม 5


ซอยนิมติ ใหม่ 40
เขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร
เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2565

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system

รถดับเพลิง ส.ด.พ.บางชัน ว.10 ที่เกิดเหตุ หน.ชุด ประเมินสถานการณ์ ตรวจสอบผูต้ ิดค้างและระบบไฟฟ้า


เมื่อได้รับการยืนยันจากการตัดไฟฟ้าจากการไฟฟ้า จึงได้จดั ทีมดับเพลิงในอาคารเข้าที่เกิดเหตุ ก่อนเข้าตัว
อาคารมีการตรวจสอบอีกครั้ง โดยใช้น้ าจากหัวฉีดดับเพลิงตามขั้นตอนการปฏิบตั ิ โดยไม่ทราบว่ามีการ
ติดตั้ง solar rooftop บนหลังคา
นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system

จุดทีโ่ ดนไฟดูด

ทีมดับเพลิงในอาคาร 2 นาย เข้าถึงด้านหน้าที่เป็ นห้องครัว พบว่า เจ้าหน้าที่ดบั เพลิง บางชัน 1-2 มีอาการชา
ที่ขาซ้าย และมีอาการปวดแสบปวดร้อนที่ขาซ้ายอย่างรุ นแรง พยายามตรวจสอบว่า สัมผัสโดนความร้อนที่
เป็ นสิ่ งของหรื อไม่ แต่ไม่พบสิ่ งของ มีแต่สายไฟฟ้าภายในบ้าน จึงได้ตดั สิ นใจถอนทีมออกจากที่เกิดเหตุ
นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system

อาการบาดเจ็บ ของเจ้าหน้าที่ดบั เพลิง


นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system

Major system components


PV module converts
sunlight into DC electricity.

Inverter converts DC
output of PV panels into a
clean AC current for AC
appliances or feed back into
grid line.

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
400- 600 1000Vdc อาคารทีอ่ ยู่อาศัย
800-1000 1500Vdc อาคารทั่วไป

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Rapid shutdown
4.3.13 อุปกรณ์หยุดทำงำนฉุ กเฉิ น (rapid shutdown)
ระบบผลิต ไฟฟ้ าจากพลัง งานแสงอาทิต ย์ท่ีติ ด ตั้ง บน
หลังคา “ควรพิจารณา”อุปกรณ์ทท่ี าหน้าทีห่ ยุดทางานฉุกเฉิน

ต้องติดตัง้ สัญลักษณ์ต้องเป็ น
ตัวอักษรสีขาวบนพืน้ สีแดง
นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Rapid shutdown
ระบบหยุดทางานฉุกเฉิ น (Rapid Shutdown)
(1) ลดแรงดันไฟฟ้าในบริเวณ Array boundary ให้เหลือไม่เกิน 80 โวลต์ ภายใน 30 วินาที หรือ ใช้อปุ กรณ์
ควบคุมเพื่อลดความเสี่ยงจากการเกิดไฟดูดในการเกิดอันตรายต่อพนักงานดับเพลิง ซึ่งต้องมี ผลการทดสอบ
ตามขัน้ ตอน หรือ ใบรับรอง ตามมาตรฐาน UL3741 โดยรายงานผลการทดสอบต้องออกโดยสถาบันหรือ
หน่วยงานทดสอบที่เป็ นกลาง และได้มาตรฐาน ได้แก่ TUV, VDE, Bureau Veritas, UL, CSA, InterTek หรือ
PTEC
(2) ลดแรงดันไฟฟ้าในสายเคเบิลที่อยูน่ อกบริเวณ Array boundary ให้เหลือไม่เกิน 30 โวลต์ ภายใน 30 วินาที
หมายเหตุ: Array boundary หมายถึง ขอบเขตโดยรอบ PV array เป็ นระยะ 300 มิลลิเมตร ในทุกทิศทาง
(3) ต้องมีการระบุอปุ กรณ์ท่ีทาหน้าที่หยุดทางานฉุกเฉิน โดยติดตัง้ สวิตช์เริ่มการทางานในตาแหน่งที่เจ้าหน้าที่
ดับเพลิงสามารถเข้าถึงได้ง่าย เช่น ผนังใกล้ทางเข้าอาคาร เป็ นต้น

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Rapid shutdown
ระบบหยุดทางานฉุกเฉิ น (Rapid Shutdown)
1 ลดแรงดันไฟฟ้าในบริเวณ Array
boundary ให้เหลือไม่เกิน 80
โวลต์ ภายใน 30 วินาที

2 ลดแรงดันไฟฟ้าในสายเคเบิลที่อยูน่ อก
บริเวณ Array boundary ให้เหลือไม่เกิน
30 โวลต์ ภายใน 30 วินาที

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Rapid shutdown
ระบบหยุดทางานฉุกเฉิ น (Rapid Shutdown)
3 ต้องมีการระบุอปุ กรณ์ท่ีทาหน้าที่หยุดทางาน
ฉุกเฉิน โดยติดตัง้ สวิตช์เริม่ การทางานใน
ตาแหน่งที่เจ้าหน้าที่ดบั เพลิงสามารถเข้าถึงได้
ง่าย เช่น ผนังใกล้ทางเข้าอาคาร เป็ นต้น

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Rapid shutdown

• Voltage 400 Vdc or more


• System cannot be switch
off
• การทาความสะอาด PV
- กลางวัน อันตราย
- กลางคืน ???

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Rapid shutdown

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Thai Electrical code
Solar Rooftop Power Supply Installation

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system

บทที่ 3 ประเด็นด้านความปลอดภัย
3.1 ข้อกาหนดทั่วไป
3.2 การป้องกันการเกิดไฟดูด (Protection Against Electric Shock)
3.3 การป้องกันกระแสเกิน (Overcurrent Protection)
3.4 การป้องกันความผิดพร่องลงดิน (Protection Against Earth Faults)
3.5 การป้องกันผลกระทบจากฟ้าผ่าและแรงดันเกิน (Protection Against
Effect of Lightning and Overvoltage)

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system

3.1 ข้อกำหนดทัว่ ไป

PV array ทีต่ ดิ ตัง้ ใช้งานบนอาคารต้องมีค่า VOC ARRAY สูงสุด ดังนี้

- ไม่เกิน 600 1,000 โวลต์ (DC) สาหรับอาคารประเภทบ้านอยู่อาศัย

- ไม่เกิน 1,000 1,500 โวลต์ (DC) สาหรับอาคารอืน่ ๆ ทีไ่ ม่ใช่ บ้านอยู่อาศัย

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
3.2 การป้ องกันการเกิดไฟดูด (electric shock)

สาหรับระบบไฟฟ้าแรงต่า เคเบิลและส่วนประกอบใน PV array ต้อง


ถูกป้องกันขัน้ ต่าด้วยฉนวนเสริม (reinforced insulation) ระหว่างสายตัวนาที่ Direct contact
มีไฟกับส่วนต่อลงดิน หรือส่วนเปิ ดโล่งอื่น ๆ ที่นาไฟฟ้าได้

ในระบบที่ซง่ึ เอาท์พทุ ของอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าต่อกับส่วนต่อ


ลงดินเพื่อเป็ นจุดอ้างอิง ถ้าใช้อปุ กรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าแบบไม่แยกส่วน จะ Indirect contact
ไม่อนุญาตให้มีตวั นาต่อลงดินตามหน้าที่(functional earthing)ใน
ด้านระบบกระแสตรง
นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
3.2 การป้ องกันการเกิดไฟดูด (electric shock)
การสัมผัสโดยตรง(Direct contact) การสัมผัสส่วนที่ปกติมีกระแสไฟฟ้า เช่น สายไฟฟ้า
3.2 การป้ องกันการเกิดไฟดูด (electric shock) • เคเบิลที่ใช้ใน PV arrayต้องเป็ นดังนี้

ส าหรั บ ระบบไฟฟ้ า แรงต่ า เคเบิ ล และ ก. มีพิกดั อุณหภูมทิ ่ีเหมาะสมตามลักษณะการใช้งาน

ส่วนประกอบใน PV array ต้องถูกป้องกันขัน้ ต่าด้วย ข. ถ้าต้องอยู่กบั สิ่งแวดล้อมภายนอก ต้องเป็ นแบบทนต่อรังสีอลั ตราไวโอเลต หรือ
ได้รบั การป้องกันจากแสงอัลตราไวโอเลตด้วยวิธีการที่เหมาะสม หรือต้องติดตัง้ อยู่
ฉนวนเสริม (reinforced insulation) ระหว่างสายตัวนา ภายในท่อที่มีการป้องกันรังสีอลั ตราไวโอเลต ต้องยืดหยุ่น (สายตีเกลียวหลาย
ที่ มี ไ ฟกับ ส่ว นต่อ ลงดิน หรือ ส่ว นเปิ ดโล่ง อื่ น ๆ ที่ น า เส้น) เพื่อรองรับการเคลื่อนที่ของ PV array / PV module เนื่องจากความร้อนหรือ
ไฟฟ้าได้ ลม
ค. ต้องไม่ลามไฟ ตามมาตรฐาน IEC 60332-1-3
• สาหรับเคเบิลแรงต่าในทุกระบบ (string cable) ต้องเป็ นไปตามข้อกาหนด BS EN
50618 หรือ PV2-F ตาม TUV 2 PfG 1169 หรือ UL 4703 หรือ VDE-AR-E 2283-4
หรือ IEC 62930

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
3.2 การป้ องกันการเกิดไฟดูด (electric shock)
การสัมผัสทางอ้อม(Indirect contact) การสัมผัสส่วนที่ปกติไม่มี
กระแสไฟฟ้า เช่น โครงโลหะอุปกรณ์ไฟฟ้า

การต่อลงดิน
(Earthing)

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
3.2 การป้ องกันการเกิดไฟดูด (electric shock)
สาหรับระบบไฟฟ้าแรงต่า เคเบิลและส่วนประกอบใน PV array ต้องถูกป้องกัน
ขัน้ ต่าด้วยฉนวนเสริม (reinforced insulation) ระหว่างสายตัวนาที่มีไฟกับส่วนต่อลง
ดิน หรือส่วนเปิ ดโล่งอื่น ๆ ที่นาไฟฟ้าได้
ในระบบที่ซง่ึ เอาท์พทุ ของอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าต่อกับส่วนต่อลงดินเพื่อ
เป็ นจุดอ้างอิง ถ้าใช้อปุ กรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าแบบไม่แยกส่วน จะไม่อนุญาตให้มี
ตัวนาต่อลงดินตามหน้าที่(functional earthing)ในด้านระบบกระแสตรง

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
3.2 การป้ องกันการเกิดไฟดูด (electric shock)
มาตรฐาน EIT,NEC มาตรฐาน IEC
การต่อลงดิน(Grounding) การต่อลงดิน(Earthing)
การต่อลงดินของระบบไฟฟ้า การต่อลงดินตามหน้าที่
(System grounding) (Functional earthing, FE)
การต่อลงดินของบริภณ
ั ฑ์ไฟฟ้า การต่อลงดินของสายดินป้องกัน
(Equipment grounding) (Protective earthing,PE)
นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
Earthing system(IT)
ระบบไม่มีการต่อลงดิน แต่ยงั ต้องมี
สายดินตัวนาป้ องกัน(PE)ตัวนาที่ใช้
ในการต่อลงดินสาหรับโครงสร้าง
โลหะที่รองรับ PV array ต้องเป็ น
ตัวนาทองแดงที่มขี นาดไม่ตา่ กว่า 4
ตารางมิลลิเมตร

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
3.4 การป้ องกันความผิดพร่องลง
ดิน (Protection Against Earth
Faults)
3.4.2 อินเวอร์เตอร์ภายในไม่มหี ม้อแปลง
(Transformerless Inverter)
ห้ามต่อลงดินโดยตรงตามหน้าที(่ Functional
earthing) สาหรับตัวนาทีม่ กี ระแสไฟฟ้ าด้าน
กระแสตรง

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system

• TN System the transformer neutral is earthed


the electrical load frames are connected to neutral
• TT System the transformer neutral is earthed
the electrical load frames are also earthed
• IT System the transformer neutral is not earthed or via a high
impendence earthing connection.
the electrical load frames are earthed

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
The First Letter The Second Letter

how the Earthing is done on how the Earthing is done on


Source side (Generator / Device side (Frame connection)
Transformer). T –direct connected to the
T – (French word “Terre” earth
meaning Earth) –connected to N –connected to the neutral at
the earth the source of installation which
I – Isolated from the Earth or is connected to the earth
connected via high impedance

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system

TT System the transformer neutral is earthed


the electrical load frames are also earthed

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system

TN System the transformer neutral is earthed


the electrical load frames are connected to neutral

TN-S
TN-C

the same conductor acts as a the neutral and the protective


neutral and a protective conductor conductor are separate
นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system

TN System the transformer neutral is earthed


the electrical load frames are connected to neutral

PEN as a the neutral and


neutral and a the protective
protective conductor are
conductor separate
TN-C-s

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
IT System the transformer neutral is not earthed or via a high
impendence earthing connection.
the electrical load frames are earthed

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
มาตรฐาน EIT,NEC มาตรฐาน IEC
การต่อลงดิน(Grounding) การต่อลงดิน(Earthing)
การต่อลงดินของระบบไฟฟ้า การต่อลงดินตามหน้าที่
(System grounding) (Functional earthing, FE)
การต่อลงดินของบริภณ
ั ฑ์ไฟฟ้า การต่อลงดินของสายดินป้องกัน
(Equipment grounding) (Protective earthing,PE)

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system

การต่อลงดินสามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 ชนิด คือ


1) การต่อลงดินของระบบไฟฟ้า (System Grounding)
หมายถึง การต่อส่ วนใดส่ วนหนึ่งของระบบไฟฟ้าที่มีกระแสไหลผ่านลงดิน เช่น
การต่อจุดนิวทรัล (Neutral Point) ลงดิน
2) การต่อลงดินของบริ ภณ
ั ฑ์ไฟฟ้า (Equipment Grounding)
หมายถึง การต่อส่ วนที่เป็ นโลหะ ที่ไม่มีกระแสไหลผ่านของอุปกรณ์ต่าง ๆของ
อุปกรณ์ต่าง ๆ ลงดิน
นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
การต่อลงดินตามมาตรฐาน วสท.
หม้ อแปลง อาคาร
MDB
สายดิน
บริภณ
ั ฑ์

สายต่อฝากต่อถึงกัน N
ระหว่าง G
สายศูนย์และสายดิน
สายต่อ
มีการต่อลงดินที่ หลักดิน
แผงเมนไฟฟ้าเท่านั้น
N
ไม่มีการต่อถึงกันระหว่าง G
สายศูนย์และสายดิน
นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system

1 สายต่อหลักดิน(System Grounding) ตาราง 4-1(พิจารณาจาก


ขนาดของตัวนาประธาน)
2 สายดินบริภณ
ั ฑ์ไฟฟ้ า (Equipment Grounding) ตาราง 4-2
(พิจารณาจากขนาดของเครื่องป้ องกันกระแสเกิน)
3 สายต่อฝากระหว่าง สายศูนย์และสายดิน(N – G) ตาราง 4-1 +

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
การต่อลงดินตามมาตรฐานวสท.
ขนาดตัวนาประธาน ขนาดต่าสุดของสายต่อหลักดิน
(ตัวนาทองแดง) (ตัวนาทองแดง)
(ตร.มม.) (ตร.มม.)
ตารางที่ 4-1
ขนาดต่าสุดของสายต่อหลักดิน ไม่เกิน 35 10*

ของระบบไฟฟ้ ากระแสสลับ เกิน35แต่ไม่เกิน 50 16


เกิน50แต่ไม่เกิน 95 25
เกิน95แต่ไม่เกิน 185 35
เกิน185แต่ไม่เกิน 300 50
เกิน300แต่ไม่เกิน 500 70
เกิน 500 95

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
การต่อลงดินตามมาตรฐานวสท.
พิกดั หรือขนาดปรับตัง้ ของ ขนาดต่าสุดของสายดินของบริภณ
ั ฑ์ไฟฟ้า
เครื่องป้องกันกระแสเกินไม่เกิน (ตัวนาทองแดง)
(แอมแปร์) (ตร.มม.)
20 2.5*
40 4*
70 6
ตารางที่ 4-2 100 10
200 16
ขนาดต่าสุดของสายดินของบริภัณฑ์ไฟฟ้ า 400 25
500 35
800 50
1000 70
1250 95
2000 120
2500 185
4000 240
6000 400
นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
การต่อลงดินตามมาตรฐานวสท.
1
CB 800 A สายดินของบริภณ
ั ฑ์ไฟฟ้ า = 50 ตร.มม.
Main CB
1200 A CB 200 A สายดินของบริภณ
ั ฑ์ไฟฟ้ า = 16 ตร.มม.
Feeder CB
800 A G CB 50 A สายดินของบริภณ
ั ฑ์ไฟฟ้ า = 6 ตร.มม.

50 ตร.มม.
2 3
Main CB Main CB
800 A 200 A
Feeder CB Branch CB 6 ตร.มม. LOAD
200 A G 50 A G G
16 ตร.มม.

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
การต่อลงดินตามมาตรฐานวสท.
สายต่อฝากด้านไฟเข้ากรณีสายประธานเดินในช่องเดินสายเดียวกันหรือเป็ นเคเบิลเดียวกัน ต้องมี
ขนาดไม่เล็กกว่าขนาดของสายต่อหลักดินที่ได้กาหนดไว้ในตารางที่ 4-1 ถ้าสายเส้นไฟของตัวนาประธานมี
ขนาดใหญ่กว่าที่กาหนดไว้ในตารางที่ 4-1 ให้ใช้สายต่อฝากขนาดไม่เล็กกว่าร้อยละ 12.5 ของตัวนาประธาน
ขนาดใหญ่ท่ีสดุ กรณีเป็ นการเดินสายควบให้คิดพืน้ ที่หน้าตัดรวมของทุกสายเส้นไฟในเฟสเดียวกัน

ตัวอย่าง สายตัวนาประธานมีขนาด 2(400 x 3) สายต่อหลักดิน ,สายต่อฝากระหว่าง N – G


จะมีขนาดเท่าไร
สายตัวนาประธานต่อเฟสมีขนาด 2x400 = 800 มากกว่า 500 ตร.มม.
สายต่อหลักดิน (ตาราง 4-1) = 95 ตร.มม.
สายต่อฝากระหว่าง N – G จะมีขนาด = 800x12.5%= 100 ตร.มม.
= 120 ตร.มม.
นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system

TN System
the protection of persons:
-Interconnection the earthing
of exposed conductive parts
and the neutral
-Interruption for the first fault
using overcurrent protection
(circuit-breakers or fuses)

Interruption for the first insulation fault


นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system

TT System

the protection of persons


RCD RCD -The exposed conductive
RCD
parts are earthed
-Residual current devices
(RCDs) are used
Interruption for the first insulation fault
นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
IT System :

Protection of persons:
-Interconnection and earthing of
exposed conductive parts
-Indication of the first fault by an
insulation monitoring device (IMD)
-Interruption for the second fault using
overcurrent protection (circuit-breakers
or fuses)

-Monitoring of the first insulation fault


-Mandatory location and clearing of the fault
-Interruption for two simultaneous insulation faults
นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
IT system 2nd Fault
IT system 1st Fault (1st fault not eliminated)

IT system ใช้กับระบบทีม่ คี วามปลอดภัยสูง ต้องการความต่อเนื่อง เช่น ห้องผ่าตัด แต่ราคาแพง


นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
ต้อ งมี ก ารตรวจจับ ค่ า ความต้า นทาน PV ตารางที่ 3.1 ค่าความเป็ นฉนวนต่าสุด
ระหว่าง PV array เทียบกับดิน
array โดยอุปกรณ์ตรวจวัดค่าฉนวนตาม พิกัด PV array ค่าความเป็ นฉนวนต่าสุดระหว่าง PV array

IEC 61557-2 หรือ อุปกรณ์เฝ้าตรวจฉนวน kW เทียบกับดิน


(Rlimit), k
(insulation monitoring device, IMD) ตาม  20 30
 20 ถึง  30 20
Annex C ของ IEC 61557-8  30 ถึง  50 15
 50 ถึง  100 10

หากการตรวจจับค่าความเป็ นฉนวนระหว่าง  100 ถึง  200


 200 ถึง  400
7
4
PV array เทียบกับดินมีคา่ ต่ากว่า Rlimitให้  400ถึง  500 2
 500
อินเวอร์เตอร์หยุดการทางาน (shutdown) 1

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
กำรแจ้งเตือนฉนวนผิดพร่อง (Insulation alarm) Residual current monitoring device
จะต้องมีการติดตัง้ ระบบแจ้งเตือนความผิดพร่องลงดิน ซึ่งนาไปสูก่ ารแก้ไขความผิดพร่องดังกล่าว ระบบแจ้งเตือน

จะต้องทางานซ้าอย่างน้อยทุก ๆ ชัว่ โมง จนกว่าความผิดพร่องนั้นจะได้รบั การแก้ไขเสร็จสิ้น

การแจ้งเตือนอาจอยู่ในรู ปของเสียงเตือน เพือ่ ให้เจ้าหน้าที่ หรือเจ้าของ ทีท่ างานอยู่บริเวณนั้นรับรู้ถงึ

สัญญาณเตือน หรืออาจอยู่ในรู ปแบบการสือ่ สารแจ้งเตือนแบบอืน่ ๆ เช่น จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ข้อความ

สั้น หรือ อืน่ ๆ ทีค่ ล้ายกัน เพือ่ แจ้งเตือนผู้ดูแลระบบ


นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
3.3 การป้ องกันกระแสเกิน (Overcurrent Protection)

15 A

15 A

15 A

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
3.3 การป้ องกันกระแสเกิน (Overcurrent Protection)
1.ข้อกาหนดทั่วไป
ความผิดพร่องที่เกิดจากการลัดวงจรใน PV module กล่องต่อสาย กล่องรวมสาย การต่อสายไฟใน
PV module หรือการลัดวงจรลงดินใน PV array จะทาให้เกิดกระแสเกินภายใน PV array
PV Module เป็ นแหล่งกาเนิดจากัดกระแส แต่เนื่องจาก PV module สามารถต่อขนานกับ
แหล่งกาเนิดภายนอก (เช่น แบตเตอรี)่ จึงอาจเกิดกระแสเกินเนื่องจาก
ก. PV string ข้างเคียงที่ตอ่ ขนานอยู่
ข. อุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าบางประเภทที่ PV module ต่ออยู่ หรือจากแหล่งกาเนิด
ภายนอกอื่นๆ หรือทัง้ สองส่วน
นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system

Current source Voltage source


DC 1000 V,1500 V AC 3p(1p)400 V/230 V, 50Hz
นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system

SOURCES

VOLTAGE CURRENT
SOURCES SOURCES

IDEAL PRACTICAL IDEAL PRACTICAL


VOLTAGE VOLTAGE CURRENT CURRENT
SOURCES SOURCES SOURCES SOURCES

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system

AC side
1,250 kVA

1,800 AT

3Ph 250 kVA

89
นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system

1,250 kVA
AC side
Chiller 3Ph 250 kVA
1,800 AT
Full load current = 451 A
2x(3-185 Sqmm.IEC01) ,(ในท่อ; 2x258A=516A)
3Ph 250 kVA

2x(3-185 Sqmm.IEC01)

90
นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system

AC side
1,250 kVA

Chiller 3Ph 500 kVA


Full load current = 721 A
2x(3-185 Sqmm.IEC01) ,ในท่อ; (2x258 =516 A)
1,800 AT
3x(3-240 Sqmm.IEC01) ,ในท่อ; (3x301 =903 A)
900 AT CB 900 AT
3Ph 500kVA

3x(3-240 Sqmm.IEC01)

91
นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
AC side
1,250 kVA

3.3 การป้ องกันกระแสเกิน


สาหรับวงจรย่ อย และสายป้ อน
1,800 AT

• วงจรย่อย และสายป้อน ต้องมีการ


500 AT
3Ph 250 kVA ป้องกันกระแสเกิน
• เป็ นฟิ วส์ หรื อเซอร์กิตเบรกเกอร์
2x(3-185 Sqmm.IEC01) (CBs)ก็ได้

92
นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
3.3 การป้ องกันกระแสเกิน (Overcurrent Protection)
1.ข้อกาหนดทั่วไป
ความผิดพร่องที่เกิดจากการลัดวงจรใน PV module กล่องต่อสาย กล่องรวมสาย การต่อสายไฟใน
PV module หรือการลัดวงจรลงดินใน PV array จะทาให้เกิดกระแสเกินภายใน PV array
PV Module เป็ นแหล่งกาเนิดจากัดกระแส แต่เนื่องจาก PV module สามารถต่อขนานกับ
แหล่งกาเนิดภายนอก (เช่น แบตเตอรี)่ จึงอาจเกิดกระแสเกินเนื่องจาก
ก. PV string ข้างเคียงที่ตอ่ ขนานอยู่
ข. อุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าบางประเภทที่ PV module ต่ออยู่ หรือจากแหล่งกาเนิด
ภายนอกอื่นๆ หรือทัง้ สองส่วน
นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system

Isc=9.05 A
Pmpp
Imp=8.46 A

Vmp Voc
37.85 V 46.56 V

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system

Imax=9.05 A
PV 2x2.5 𝑚𝑚2 (1/2”)(16 amp)
Load

Isc=9.05 A
Imp=8.46 A
Pmpp

Vmp Voc
37.85 V 46.56 V
นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
3.3 การป้ องกันกระแสเกิน (Overcurrent Protection)

Imax=9.05 A 10A
PV 2x2.5 𝑚𝑚2 (1/2”)(16 amp)

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system

การป้ องกันกระแสเกินใน PV string


ต้องมีการป้ องกันกระแสเกินใน PV string ถ้า
((SA-1) x ISC MOD) > IMOD MAX OCPR

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
3.3 การป้ องกันกระแสเกิน (Overcurrent Protection)
ความผิดพร่องที่เกิดจากการลัดวงจรใน PV module กล่องต่อสาย กล่องรวมสาย การต่อสายไฟ
ใน PV module หรือการลัดวงจรลงดินใน PV array จะทาให้เกิดกระแสเกินภายใน PV array
PV Module เป็ นแหล่งกาเนิดจากัดกระแส แต่เนื่องจาก PV module สามารถต่อขนานกับ
แหล่งกาเนิดภายนอก (เช่น แบตเตอรี)่ จึงอาจเกิดกระแสเกินเนื่องจาก
ก.PV string ข้างเคียงที่ตอ่ ขนานอยู่
ข.อุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าบางประเภทที่ PV module ต่ออยู่ หรือจากแหล่งกาเนิดภายนอก
อื่นๆ หรือทัง้ สองส่วน
นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
3.3การป้ องกันกระแสเกิน
การป้ องกันกระแสเกินใน PV string
ต้องมีการป้ องกันกระแสเกินใน PV string ถ้า
(SA-1) x ISC MOD) > IMOD MAX OCPR

(SA-1) x ISC MOD) < IMOD MAX OCPR


ถ้ากระแสสูงสุดที่ไหลผ่าน PV module ภายใน
PV string นั้นมีค่าตา่ กว่าค่า กระแสสูงสุดที่ PV
module รับได้(ข้อมูลจากผูผ้ ลิต) PV string
นั้นไม่ตอ้ งติดตัง้ อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
3.3การป้ องกันกระแสเกิน
การป้ องกันกระแสเกินใน PV string ต้องมีการป้ องกันกระแสเกินใน PV string ถ้า
((SA-1) x ISC MOD) > IMOD MAX OCPR
Short cct.

9.05 A

9.05 A Max.fuse rate 15 A


นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
3.3การป้ องกันกระแสเกิน
Short cct.

9.05 A

9.05 A Max.fuse rate 15 A


นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
3.3การป้ องกันกระแสเกิน
Short cct. 15 A
9.05 A

18.1 A 15 A

9.05 A 15 A

18.1 A Max.fuse rate 15 A


นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
3.3การป้ องกันกระแสเกิน

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system

Current source Voltage source


DC 1000 V,1500 V AC 3p(1p)400 V/230 V, 50Hz
Ungrounded system(IT) Grounded system(TN-C-S)
Cannot be switch off Can be switch off
นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
3.5 การป้ องกันผลกระทบจากฟ้ าผ่าและแรงดันเกิน
(Protection Against Effect of Lightning and Overvoltage)
ฟ้ าผ่าลงดินอาจเป็ นอันตรายต่อ
โครงสร้างและสายทีต่ อ่ เชื่อม วิธีการ
หลักทีม่ ีประสิทธิภาพทีส่ ุดสาหรับการ
ป้ องกันความเสียหายต่อโครงสร้าง
คือ การใช้ระบบป้ องกันฟ้ าผ่า ซึง่
ประกอบด้วย
ระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายนอก
ระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายภายใน
ควรต่อเชื่อมระบบ solar
rooftopกับระบบล่อฟ้า หรือไม่ นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
3.5 การป้ องกันผลกระทบจากฟ้ าผ่าและแรงดันเกิน
(Protection Against Effect of Lightning and Overvoltage)
ระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายนอก
อาคารทีไ่ ม่มรี ะบบล่อฟ้ า
การติดตัง้ PV array บนอาคาร มีความเสี่ยงที่จะถูกฟ้าผ่าโดยตรง
ค่อนข้างต่า ถึงแม้วา่ อาคารนัน้ ไม่มีระบบป้องกันฟ้าผ่าอยู่ ก็ไม่มีความ
จาเป็ นที่จะต้องติดตัง้ ระบบป้องกันฟ้าผ่าเพิ่มเติม

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
ระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายนอก
อาคารที่มีระบบล่อฟ้ า

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
ระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายนอก
เมื่อPV array ได้รบั การป้องกันด้วย
อาคารที่มีระบบล่อฟ้ า ระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอก ควรต้อง
คงระยะการแยกต่าสุดระหว่างส่วนนา
ไฟฟ้าของ PV array และระบบป้องกัน
ฟ้าผ่าภายนอกไว้ให้ได้ เพื่อป้องกัน
กระแสฟ้าผ่าบางส่วน ไหลผ่านส่วนที่
เป็ นโลหะของ PV array

ระยะการแยก “S” เกิดจากระบบ


ป้องกันฟ้าผ่าภายนอกที่แยกอิสระจาก
PV array
นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
ระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายนอก
อาคารที่มีระบบล่อฟ้ า PV arrayที่ติดตัง้ บนหลังคาของ
อาคาร และไม่สามารถรักษาระยะ
การแยกได้ เนื่องจากพืน้ ที่จากัด
จาเป็ นจะต้องต่ออุปกรณ์ปอ้ งกัน
ฟ้าผ่ากับส่วนโลหะของPV module
เข้าด้วยกันโดยตรง

ระยะการแยก “S” เกิดจากระบบ


ป้องกันฟ้าผ่าภายนอกที่แยกอิสระ
จาก PV array

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
ต่อลงดินด้วยขนาดตัวนาเป็ นไป
ตามมาตรฐานการติดตัง้ ทาง
ไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย ขนาด
ตา่ สุด 16 ตร.มม.

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
การพิจารณาระยะการแยก (Separation distance)
𝑘 𝑖 x 𝑘𝑐 L คือ ความยาวของตัวนาล่อฟ้ า และตัวนาลงดิน หน่วย
S= xL ่ จิ ารณาระยะการแยกกับจุดทีม่ กี าร
เป็ นเมตร วัดจากจุด ทีพ
𝑘𝑚
ประสานให้ศักย์เท่ากัน หรือ รากสายดิน ทีใ่ กล้ทสี่ ุด

𝑘𝑐 คือ ค่าสัมประสิทธิก์ ระแส


𝑘𝑖 คือ ค่าสัมประสิทธิข์ องการ 𝑘𝑚 คือ ค่าสัมประสิทธิข์ องวัสดุ ฟ้ าผ่า ทีไ่ หลในตัวนาล่อฟ้ า และ
เลือกชั้นของระบบป้ องกันฟ้ าผ่า ทีใ่ ช้เป็ นฉนวนไฟฟ้ า ตัวนาลงดิน
ชั้นของระบบป้ องกัน 𝑘𝑖 วัสดุ 𝑘𝑚 จานวนตัวนาลงดิน 𝑘𝑐
I 0.08 1 1
อากาศ 1
Ⅱ 0.06 2 0.66
คอนกรีต อิฐ ไม้ 0.5
Ⅲ และ Ⅳ 0.04 ตัง้ แต่ 3 ขึน้ ไป 0.44
นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
ระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายภายใน

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
ระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายภายใน
อุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์ ด้านอินพุต
อุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์ ด้านรับ
การป้ องกันฟ้ าผ่า และเอาท์พุตของอุปกรณ์แปลงผัน
ไฟฟ้ ากระแสสลับจากภายนอก
กาลังไฟฟ้ า
ไม่มรี ะบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายนอก อุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์ อุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์
class II ทีถ่ กู ทดสอบ class II ทีถ่ กู ทดสอบ
ระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายนอก อุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์ อุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์
ทีร่ ักษาระยะการแยก “S” ไว้ได้ class II ทีถ่ กู ทดสอบ class I ทีถ่ กู ทดสอบ
ระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายนอก อุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์ อุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์
ทีร่ ักษาระยะการแยก “S”ไว้ไม่ได้ class I ทีถ่ กู ทดสอบ class I ทีถ่ กู ทดสอบ

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
3.5 การป้ องกันผลกระทบจากฟ้ าผ่าและแรงดันเกิน
(Protection Against Effect of Lightning and Overvoltage)
กำรเดินสำยเป็ นวงรอบ (wiring loops)

เพื่อ ลดขนาดของแรงดัน เกิน เหนี่ ย วนาจาก


ฟ้ าผ่า การเดินสายของ PV array ควรมีพ้นื ที่
วงรอบของตัวนาไฟฟ้ าน้อยทีส่ ุด

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
Solar Rooftop system
ระบบ Solar Rooftop ทีป่ ลอดภัย
การออกแบบ

การเลือกใช้อุปกรณ์

การติดตัง้

การบารุ งรักษา

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์
ขอบคุณครับ

นาย สุ จิ คอประเสริฐศักดิ์

You might also like