Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 34

1-1

บทที 1
การฝึ กทหาร
1. ภารกิจการฝึ กของกองทัพบก
1.1 เพือทีจะได้ มาและดํารงไว้ ซึงความมีประสิทธิภาพในการปฏิบตั ิการมีขีดความสามารถทีเข้ า
ประชิดข้ าศึกพร้ อมกับการสังหารโดยฉับพลัน และทนทานต่อการปฏิบตั กิ ารรบทางบกรวมทังการเข้ ายึด
การป้องกัน หรื อยึดครองพืนที โดยการปฏิบตั ิการตามลําพังหรื อร่ วมกับเหล่าทัพอืน เช่น กองทัพเรื อ
กองทัพอากาศ และในการดําเนินการปราบปรามผู้ก่อการร้ ายอย่างมีประสิทธิผล รวมทังการสนับสนุน
กําลังฝ่ ายเรา หรื อฝ่ ายสัมพันธมิตรในการปราบปรามผู้ก่อการร้ าย
1.2 ภารกิจนีจะสําเร็จได้ ก็จําเป็ นต้ องอาศัยหลักปฏิบตั ิดงั นี.-
1.2.1 การฝึ กจะต้ องดําเนินการให้ บรรลุผลถึงการพร้ อมรบ และมีประสิทธิภาพเป็ นที
เชือถือได้ ว่า หน่วยทหารมีความรู้ความสามารถในการปฏิบตั กิ ารรบ ทังในสงครามนอกแบบและตามแบบ
1.2.2 ฝึ กร่วมกับเหล่าทัพอืน ๆ เช่น กองทัพเรื อ กองทัพอากาศ รวมทังกําลัง กองอาสา
รักษาดินแดน และตํารวจภูธรชายแดน ตามความเหมาะสม
1.2.3 ฝึ กกําลังสํารองซึงได้ แก่ทหารกองหนุนสมาชิกอาสารักษาดินแดนนักศึกษาวิชาทหาร
ในสถาบันต่าง ๆ ตลอดจนการช่วยเหลือ ฝึ กอาวุธให้ แก่พลเรื อนทีได้ รับมอบ หรื อร้ องขอ
1.2.4 ทําการฝึ กในความอํานวยการของกองทัพบก ทังในการฝึ กการประลองยุทธหรื อ
การฝึ กปัญหาทีบังคับการ หรื อทังสองอย่าง รวมทังการฝึ กร่วมกับกําลัง สปอ.
2. ความมุ่งหมายในการฝึ กทหาร
ภารกิจการฝึ กของกองทัพบก และการสนับสนุนในภารกิจเฉพาะ จะสําเร็จได้ ก็ต้อง
อาศัยความมุ่งหมายในการฝึ กทหาร 8 ประการ คือ.-
2.1 วินยั ทหาร วินยั ทหาร คือ ภาวการณ์ฝึกทหารหรื อกลุม่ ทหาร ในอันทีจะสร้ างสรรค์ ทัศนคติ
ในการแก้ ไขปฏิบตั ิ หรื อเชือฟั งต่อกฎข้ อบังคับทหาร การฝึ กวินยั จะต้ องกระทําอย่างต่อเนืองตลอดชีวิตรับ
ราชการทหาร และจะต้ องเริ มฝึ กตังแต่ขนการฝึ
ั กเป็ นบุคคลและเป็ นหน่วย วินยั ทหารสามารถทีจะนําไปใช้
กับการปฏิบตั กิ ารทางทหารได้ ทกุ อย่าง และเป็ นปั จจัยทีจะกระทบกระเทือนต่อการฝึ กทุกชนิด เครื องที
จะแสดงว่าทหารหรื อหน่วยทหารนันมีวินยั ก็คือ โดยการแสดงท่าทางสง่าผ่าเผย และการปฏิบตั โิ ดยการ
แต่งกายทีสะอาดและปราณีต อาวุธยุทโธปกรณ์สะอาด โดยการแสดงความเคารพ และโดยการเชือฟั ง
และปฏิบตั ิตามคําสังหรื อคําแนะนําการปฏิบตั งิ านเป็ นชุดของเจ้ าหน้ าทีทุกคนย่อมขึนอยู่กบั วินยั เป็ นสําคัญ
2.2 สุขภาพ ความแข็งแรง และความอดทน สุขภาพ ความแข็งแรงและความอดทนนี เป็ นสิง
จําเป็ นแก่ทหารอย่างมากในเมือทหารจะต้ องเผชิญกับความยากลําบากในการรบ กองทัพทีประกอบด้ วย
ทหารทีมีสขุ ภาพดี กําลังกายดี และมีความอดทนดียอ่ มจะมีโอกาสได้ รับชัยชนะมากทีสุด สิงเหล่านี
สามารถทีจะพัฒนาและรักษาไว้ โดยอาศัยหลักอนามัยโดยการฝึ กพลศึกษาและกรี ฑา และโดยการฝึ ก
การออกกําลังกาย
1-2
2.3 ขวัญและความรักหมูค่ ณะ ขวัญและความรักหมูคณะ เป็ นสภาพทางจิตของทหาร ซึงได้ แก่
ความเชือมัน ความกล้ าหาญ ความกระตือรื อร้ น ความภาคภูมใิ จต่อหน่วย ในเวลาปกติขวัญและความ
รักหมู่คณะ จะสามารถวัดได้ จากความพอใจ และความเป็ นอยู่ ในเวลาสงครามจะวัดได้ จากความกล้ า
หาญ และความตังใจทีจะปฏิบตั ภิ ารกิจทียากลําบาก ทีได้ รับมอบโดยปราศจากความลังเลใจ ขวัญและ
ความรักหมูค่ ณะของแต่ละบุคคลจะแสดงออกด้ วยการมองในแง่ดี และการมอบความไว้ วางใจ ซึงจะ
ก่อให้ เกิดพลังขึนทังทางร่างกายและจิตใจทังสองอย่าง แม้ กําลังและอาวุธยุทโธปกรณ์เป็ นจํานวนมาก ก็
ยังไม่สามารถทีจะนํามาชดเชยขวัญภายในหน่วยทีขาดไปได้ ทงหมด ั มีปัจจัยหลายอย่างทีจะสามารถจะ
สร้ างขวัญ และความรักหมูค่ ณะให้ เกิดขึนได้ แต่สิงแรกนันได้ แก่ ความเป็ นผู้นําทีดี การฝึ กทีกระทําอย่าง
กว้ างขวางและทัวถึง ความภาคภูมิใจ ความเชือมันในตัวเองและหน่วย
2.4 ความริเริ มและการปรับตัว พลังและความสามารถทีจะปฏิบตั ิด้วยความริ เริมทันทีทนั ใดทีพบ
เหตุการณ์ใด ๆ นัน เป็ นคุณสมบัติทีจําเป็ นสําหรับทหารทุกคน ภารกิจของหนวดใด ๆ ก็ตาม มักสําเร็ จลง
ด้ วยการปฏิบตั ทิ นั ทีทนั ใด และเมือจําเป็ นทหารหรื อกลุ่มทหารอาจต้ องปฏิบตั เิ ป็ นอิสระเพราะฉะนัน การ
พัฒนาความริ เริ มและการปรับตัว จึงเป็ นปั จจัยทีสําคัญทีสุดในการฝึ ก ความริ เริมและการปรับตัวนี
สามารถพัฒนาได้ โดยฝึ กให้ ทําหน้ าทีรับผิดชอบ และโดยการฝึ กให้ ทหารไว้ ใจในการช่วยเหลือตัวเองบ่อย ๆ
2.5 ความเป็ นผู้นํา ผู้นําจะต้ องเป็ นผู้ทีมีคณ
ุ วุฒิและคุณลักษณะ ซึงทําให้ ผ้ ใู ต้ บงั คับบัญชาเกิด
ความเชือมันและจงรักภักดี คุณลักษณะทีจําเป็ นบางประการของผู้นํา เช่น ความกล้ าหาญ ซึงเป็ นความ
กล้ าหาญทังทางกาย และทางใจ และวิจารณญาณ การพัฒนาความเป็ นผู้นําจะต้ องพิจารณาเป็ นอันดับ
แรกในการฝึ กนายทหารชันสัญญาบัตร และนายทหารชันประทวน
2.6 การปฏิบตั งิ านเป็ นชุด คือ การปฏิบตั งิ านร่วมกันในบรรดากลุ่มทหาร เพือให้ บรรลุผลตาม
ความมุง่ หมาย การปฏิบตั ิงานเป็ นชุดนี จะเกิดขึนได้ โดยการฝึ กทหาร และหน่วยในบทบาทตามลําดับ
ด้ วยความระมัดระวัง และโดยการฝึ กให้ ปฏิบตั ริ ่วมกัน วินยั และขวัญ เป็ นปั จจัยทีจําเป็ นในการพัฒนาการ
ทํางานเป็ นชุด
2.7 สมรรถภาพทางเทคนิค สมรรถภาพทางเทคนิคในการใช้ อาวุธ อุปกรณ์และสิงต่าง ๆ เป็ น
สิงพึงประสงค์ของทหารและหน่วย เพือจะให้ การปฏิบตั กิ ารทางยุทธวิธีมีประสิทธิภาพ สมรรถภาพทาง
เทคนิคหมายความว่า ทหารทุกคนจะต้ องมีความรู้ และความสามารถทีจะปฏิบตั หิ น้ าทีได้ เหมาะสม และ
รักษายุทโธปกรณ์ให้ อยูใ่ นสภาพใช้ การได้
2.8 สมรรถภาพทางยุทธวิธี สมรรถภาพทางยุทธวิธี เป็ นจุดมุง่ หมายขันสุดท้ าย ของการฝึ กทหาร
สมรรถภาพทางยุทธวิธี จะเกิดขึนได้ ก็โดยการฝึ กให้ บงั เกิดผลตามความมุ่งหมาย ตังแต่ ข้ อ 2.1-2.7
ดังกล่าวแล้ วข้ างต้ น ในเวลาปกติสมรรถภาพทางยุทธวิธีของหน่วยสามารถประเมินค่าได้ จากความสามารถ
ในการทํางานตามหน้ าทีอย่างมีประสิทธิภาพ และการฝึ กในสนามทีกระทําเหมือนการรบจริง
1-3
3.แนวความคิดเบืองต้ นในการฝึ ก
เพือให้ เกิดคุณลักษณะตามข้ อ 3 การฝึ กทหารย่ อมต้ องดําเนินตามแนวคิดเบืองต้ น ดังนี.-
3.1 ไม่ เหยียดหยามเกียรติของทหาร
3.2 การฝึ กและการเป็ นผ้ ูนําทีเหมาะสมสามารถทีจะฝึ กให้ คนเป็ นทหารทีดีได้
3.3 ระบบการฝึ กทีดีทีสุด เป็ นสิงจําเป็ นทีจะต้ องนํามาใช้ ในการฝึ กทหาร
3.4 ฝึ กจากง่ ายไปหายาก และจากบุคคลไปยังการฝึ กเป็ นหน่ วย
3.5 ความชํานาญจะเกิดขึนได้ ก็โดยการปฏิบัติทมีี การกํากับดแล ู
3.6 หลักการและเทคนิค จะต้ องเป็ นมาตรฐานเดียวกันทังกองทัพบก
3.7 ผ้ ูบังคับบัญชาจะต้ องรั บผิดชอบในการฝึ กหน่ วยของตน
4.ความรับผิดชอบในการฝึ ก
4.1 ยก.ทบ. รับผิดชอบ
4.1.1 จัดทํานโยบายการฝึ กอย่างกว้ าง ๆ และออกคําสัง เพือให้ หน่วยทีเกียวข้ อง
ดําเนินการในรายระเอียด ให้ เป็ นไปตามนโยบาย
4.1.2 ประสานการปฏิบตั กิ ับส่วนราชการอืน ๆ ในทบ.เกียวกับการฝึ กในระดับ ทบ.
4.1.3 รับผิดชอบในการอํานวยการ และกํากับดูแลให้ เป็ นไปตามนโยบายทีกําหนดไว้
4.2 ยศ.ทบ. รับผิดชอบ
4.2.1 การเตรี ยมการ การอํานวยการ และกํากับดูแลอย่างใกล้ ชิดเกียวกับการฝึ กหน่วย
ใน ทบ.
4.2.2 ออกคําสัง คําชีแจงเกียวกับรายละเอียดในการฝึ ก ให้ หน่วยทีเกียวข้ องทราบเพือให้
การฝึ กดําเนินไปอย่างได้ ผล
4.2.3 กําหนดความต้ องการ และทําแผนสนับสนุนการฝึ กประจําปี ให้ ครบทุกหน่วยทุกรายการ
4.2.4 ตรวจการฝึ ก ปรับปรุงแก้ ไขข้ อบกพร่ อง ประเมินค่าขีดความสามารถและความ
พร้ อมรบของหน่วยทหารตามภารกิจทีได้ รับมอบ แล้ วรายงานให้ ทบ. ทราบตามระยะเวลา
4.3 กรม ฝ่ ายอํานวยการอืน ๆ เหล่ า หรื อสายวิทยาการ
4.3.1 เสนอแนะในด้ านการพัฒนาเกียวกับการฝึ กในเหล่า หรื อสายวิทยาการ
4.3.2 ประสานงาน อํานวยการ และกํากับดูแลเกียวกับการฝึ ก
4.3.3 กํากับดูแลและสนับสนุนการฝึ กให้ เป็ นไปตามแผนการฝึ กประจําปี ทีได้ รับอนุมตั ิไว้ แล้ ว
4.3.4 ดําเนินการฝึ กเรื องอืน ๆ ตามทีได้ รับมอบหมาย
1-4
5.นโยบายการฝึ ก
5.1 การดําเนินการฝึ กจะต้ องพิจารณากระทําในลักษณะประหยัดทังทางวัสดุและงบประมาณ
5.2 การฝึ กอืนใดทีนอกเหนือไปจากแผนการฝึ กประจําปี เว้ นการเปลียนแปลงแผน ควรให้ มี
เฉพาะทีจําเป็ นอย่างแท้ จริ ง โดยให้ มีการตรวจสอบความต้ องการจากหน่วยทีเกียวข้ องก่อน และควรได้
จัดสรรงบประมาณให้ ใหม่
5.3 การฝึ กเกียวกับการสงครามพิเศษ ได้ แก่ การฝึ กรบแบบกองโจร การต่อต้ านกองโจร การ
ปราบปรามจลาจล การปฏิบตั ิทางจิตวิทยา และการช่วยเหลือประชาชน จะต้ องถือเป็ นการฝึ กทีจําเป็ น
ตามสถานการณ์ปัจจุบนั ทุกระดับหน่วย จะต้ องสอดแทรกการฝึ กประเภทนีไว้ ในการฝึ กปกติประจําปี ของ
หน่วยให้ มากทีสุดเท่าทีจะมากได้ โดยเฉพาะเมือมีการฝึ กในสนาม
5.4 การฝึ กระดับหน่วยเล็ก หมู่ ตอน หมวด จะต้ องฝึ กให้ สามารถปฏิบตั ิการเป็ นอิสระ ตาม
สถานการณ์ได้
5.5 ผบ. หน่วยทีเกียวข้ อง จะพัฒนาประสานการปฏิบตั ิ และทําแผนการสนับสนุนทางด้ านการ
ส่งกําลังบํารุงล่วงหน้ า เพือดําเนินการจัดหา และจัดสรรงบประมาณ เพือสนับสนุนการฝึ กได้ ทนั ที
5.6 ในการฝึ กผสมระหว่าง ร.ถ.ป. ปละหน่วยทหารชาติภาคี รวมทังกําลังทางอากาศ ให้
พิจารณาจัดส่วนอํานวยการ ส่วนส่งกําลังบํารุง และบริ การเทคนิค อันได้ แก่สาย สพ. พบ. พธ. ฯลฯ
เข้ าร่วมการฝึ กปั ญหาทางยุทธวิธีด้วย
5.7 การฝึ กเวลากลางคืน โดยเฉพาะการฝึ กทางยุทธวิธีในสนามต้ องกระทําอย่างน้ อย 1ใน3 ของ
เวลาฝึ กทังหมด
5.8 ให้ มีการฝึ กพร้ อมรบตามแผน รวมทังการฝึ กแก้ ปัญหาบนแผนที การจําลองยุทธบนแผนที
และการฝึ กการเคลือนย้ ายจริงในสนาม ตามความเหมาะสมเพือให้ เป็ นทีมันใจว่า หน่วยสามารถ
ปฏิบตั ิการได้ ทนั ทีทีได้ รับคําสัง
5.9 การฝึ กร่วมกับชาติภาคี สปอ. จะได้ พิจารณาจัดขึนตามความเหมาะสม และกําลัง
งบประมาณทีมีอยู่ และถือว่าเป็ นการฝึ กในความอํานวยการของ ทบ. โดยมีกําลังภาคีร่วมด้ วยเท่านัน
5.10 ทบ. ไม่มีนโยบายทีจะให้ งดฝึ ก และตรวจสอบตามขันตอนต่าง ๆ รวมทังการฝึ กเบืองต้ น
ทัวไป และการฝึ กเบืองต้ นเฉพาะเหล่า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ผบ. หน่วยจะต้ องพิจารณา และดําเนินการแก้ ไข
ข้ อขัดข้ องและดําเนินการฝึ ก เพือให้ ทหารได้ รับความรู้ตามลําดับขันตอนให้ มากทีสุด
5.11 ให้ ปรับปรุ งระเบียบการตรวจสอบการฝึ กให้ เหมาะสมกับความจําเป็ นและสถานการณ์ ทัง
ต้ องเป็ นไปในลักษณะประหยัดด้ วย
5.12 ในกรณีพิเศษ ให้ ยศ. ทบ. พิจารณาดําเนินการฝึ ก โดยจัดตังหน่วยฝึ ก เพือการนี
โดยเฉพาะได้
1-5
5.13 สําหรับหน่วยทหารชายแดน ทีมีภารกิจทางยุทธการ ให้ ดําเนินการ ดังนี.-
5.13.1 การฝึ กและการแสดงออกซึงมีสมรรถภาพของทหาร เป็ นภาระกิจหลักของหน่วยซึง
จะต้ องปฏิบตั ใิ ห้ สอดคล้ องกับภารกิจทางยุทธการทีได้ รับมอบ รวมทังการปฏิบตั ทิ างจิตวิทยา และการ
ช่วยเหลือประชาชน
5.13.2 เมือหมดภารกิจทางยุทธการ หน่วยจะต้ องใช้ เวลาทําการฝึ กในเรื องทีไม่ได้ ฝึก
ตามทีได้ กําหนดไว้ ให้ มากทีสุด
5.13.3 จัดให้ มีการผลัดเปลียนกําลังตามระยะเวลา เพือหมุนเวียนให้ หน่วยได้ มีเวลาฝึ ก
เต็มตามทีได้ กําหนดไว้
6.วงรอบการฝึ กของกองทัพบก
6.1 กองทัพบก มีภารกิจในการฝึ กทหารใหม่ทีเรี ยกเข้ ามารับราชการ หรื อฝึ กกําลังทดแทน การ
ฝึ กเจ้ าหน้ าทีเพือบรรจุเป็ นเจ้ าหน้ าทีในหน่วยใหม่และการฝึ กเพือพัฒนาหน่วยจะสําเร็ จได้ ด้วยการฝึ ก 2 ขัน
คือ .-
6.1.1 ฝึ กให้ มีประสิทธิภาพในการรบ โดยใช้ เวลาน้ อยทีสุด และผ่านการฝึ กตามลําดับขัน
วงรอบการฝึ กปกติ
6.1.2 ดํารงความพร้ อมรบอย่างสูงสุด โดยให้ มีการฝึ กทบทวน
6.2 วงรอบการฝึ กตามลําดับขันปกติของ ทบ. มีดงั นี.-
6.2.1 การฝึ กบุคคลเบืองต้ น การฝึ กในขันนีเป็ นการฝึ กพลเรื อนทีเพิงเข้ ารับราชการทหาร
ให้ มีพืนฐานในการเป็ นทหารโดยฝึ กและสอนวิชาทหาร เกียวกับการปฐมพยาบาล พลแม่นปื น การรักษา
อาวุธยุทโธปกรณ์ และหลักยุทธวิธีเบืองต้ น ระยะเวลาในการฝึ กขันนีใช้ เวลา 8 สัปดาห์
6.2.2 การฝึ กบุคคลเบืองสูง การฝึ กบุคคลเบืองสูง เป็ นการฝึ กให้ ทหารมีความรู้ วิชาทหาร
เฉพาะเหล่า และเรี ยนรู้ ความชํานาญทีจะปฏิบตั หิ น้ าทีตามตําแหน่งของตน เช่น หน้ าทีพลขับ พลปื นเล็ก
พนักงานวิทยุ เป็ นต้ น ระยะเวลาในการฝึ กขันนี ใช้ เวลา 8 สัปดาห์
6.2.3 การฝึ กหน่วย การฝึ กหน่วยเป็ นการฝึ กทหารทีมีความชํานาญ ในการฝึ กบุคคลเบือง
สูงมาแล้ ว เพือร่วมกันปฏิบตั ใิ ห้ สําเร็จภารกิจของหน่วย และเป็ นการฝึ กทหารให้ เรี ยนรู้ถึงคุณค่าของการ
ทํางานเป็ นชุด และนําเอาความชํานาญทีได้ รับในการฝึ กบุคคลเบืองสูง มาใช้ ในการปฏิบตั ิ การฝึ กหน่วย
มีลําดับขันการฝึ ก ดังนี.-
6.2.3.1 การฝึ กโดดร่ม (เฉพาะหน่วยส่งทางอากาศ) 2 สัปดาห์
6.2.3.2 การฝึ กหน่วยเบืองต้ น (หมู่ ตอน หมวด และกองร้ อย) ใช้ เวลา 2 สัปดาห์
6.2.3.3 การฝึ กหน่วยเบืองสูง (กองพัน และกรม) ใช้ เวลา 6 สัปดาห์
(1) ฝึ กกองพัน 3 สัปดาห์
(2) ฝึ กกรม 3 สัปดาห์
1-6
6.2.4 การฝึ กแก้ ปัญหาในสนาม และการประลองยุทธ การฝึ กในขันนีเป็ นการฝึ กหน่วย
ขนาดใหญ่ ภายใต้ สภาพการรบทีคล้ ายการรบจริง
6.2.5 การฝึ กผสมเหล่า เป็ นการฝึ กรวมของเหล่าต่างๆ ให้ มีความสามารถในการรบด้ วย
ด้ วยวิธีรุก
6.2.6 การฝึ กผสมทัพ เป็ นขันตอนการฝึ กปฏิบตั กิ ารยุทธร่วมกับกองทัพอากาศ และ
ทัพเรื อ เพือให้ เกิดความสมดุลย์ในทางอํานาจเท่าทีจําเป็ น สําหรับความมีชยั ในสงคราม
6.3 ถึงแม้ การฝึ กจะได้ แบ่งขันการฝึ กไว้ แน่นอนแล้ วก็ตาม แต่มิได้ หมายความว่าการฝึ กจะต้ อง
แยกกันอย่างเด็ดขาด การฝึ กแต่ละขันอาจจะลําเข้ าหากันซึงกันอย่างเด็ดขาด การฝึ กบุคคลเบืองต้ นอาจจ
ฝึ กบุคคลเบืองสูง หรื ออาจฝึ กหน่วยเบืองต้ นร่วมไปด้ วย กองพันทาหารราบอาจฝึ กร่ วมกับทาหารปื นใหญ่
หรื อหน่วยยานเกราะ ก่อนทีจะฝึ กเป็ นกรมก็ได้
7. การฝึ กทบทวน
การฝึ กทบทวน เป็ นขันตอนการฝึ กทีกระทําหลังจากหน่วยได้ ฝึกตามลําดับขันวงรอบการฝึ กของ
ทบ. มาแล้ ว แต่ยงั มีข้อบกพร่ องอยู่ ดังนัน ความมุ่งหมายในการฝึ กนี จึงเป็ นการฝึ กเพือแก้ ไขข้ อบกพร่อง
ทีเกิดขึนในการฝึ กปกติพฒ ั นาและรักษาประสิทธิภาพการรบของหน่วยให้ อยูใ่ นระดับสูง พัฒนา
ประสิทธิภาพของหน่วยในการฝึ กพิเศษ การฝึ กทบทวนนีไม่มีขนการฝึ ั กเหมือนการฝึ กปกติ แต่อย่างไร
ก็ตามโดยธรรมดาแล้ ว ผู้บงั คับบัญชามักจะให้ หน่วยรองฝึ ก เช่นเดียวกับการฝึ กปกติ แต่อาจจะมาก
หรื อลดเวลาในการฝึ กให้ มากขึน หรื อน้ อยลง ส่วนเรื องทีจะฝึ กนัน บก.หน่วยเหนือจะเป็ นผู้กําหนดตาม
ความเหมาะสม
8. การฝึ กเป็ นบุคคล
8.1 การฝึ กทหารใหม่
8.1.1 การฝึ กทหารใหม่ มีความประสงค์ให้ เกิดความคุ้นเคยกับสิงแวดล้ อมๆ และให้ ร้ ูจกั
ความรับผิดชอบในฐานะทีเป็ นทหาร ผู้บงั คับบัญชาต้ องหมันชีแจงง่าย ๆ และสัน ๆ ว่า ทหารใหม่จะต้ อง
กระทําอะไรบ้ าง และได้ รีบความช่วยเหลือจากทางราชการในเรื องใดบ้ าง ต้ องพยายามทุกวิถีทางทีจะทํา
ให้ ทหารใหม่คลายความวืตกกังวลต่อชีวิตใหม่นี
8.1.2 ในขันต้ นทหารใหม่ จะได้ รับการอบรมกฎระเบียบข้ อบังคับ คําสังภายในกรมกอง
การเคารพและขนบธรรมเนียมประเพณีของทหาร ข้ อบังคับว่าด้ วยการแต่งกาย และระเบียบสุขาภิบาลใน
โรงทหาร ผู้บงั คับบัญชาควรจะได้ ใช้ หนังสือทีเกียวกับเรื องนีและภาพยนตร์ ฝึกเป็ นเครื องช่วยได้ ตลอดทัง
อนุศาสนาจารย์ นายทหารฝ่ ายกิจการพิเศษและนายทหารการข่าว และการศึกษาของหน่วย หน่วยกาชาด
เข้ าช่วยเหลือเพือทหารใหม่ปรับตัวเองเข้ ากับชีวิตทหารได้
1-7
8. 2 การหัด
การหัดนับว่าเป็ นการฝึ กชนิดหนึง ซึงมีทงการสอนและให้
ั ทํา เป็ นการฝึ กให้ ร้ ูจกั การ
ควบคุมวินยั การร่วมงาน และเกิดความสะดวกในการทํางาน ความประสงค์ขนต้ ั นของการหัดทหาร คือ
หัดนิสยั ให้ ทํางานเด็ดขาดแน่นอนและเป็ นระเบียบ กับทังช่วยให้ มีวินยั นอกจากนีการหัดยังทําให้ เกิด
ความชํานาญ และการประสานงาน ทําให้ สขุ ภาพร่ างกายดีขึน และเกิดความร่วมมือร่วมใจในการทํางาน
เป็ นธรรมเนียมของทหารทีจําต้ องรวมพวกกัน เพือสะดวกในการบังคับบัญชา รวมพวกเพือความร่วมมือ
ร่วมแรง และรวมพวกเพือให้ สําเร็จประโยชน์ในวัตถุประสงค์อย่างเดียวกัน ทหารทุกคนต้ องทราบและ
เข้ าใจวัตถุประสงค์ของการหัดถ้ ามิฉะนันแล้ วค่าของการหัดก็จะสูญเสียไป การหัดนีเกียวโยงไปถึงความ
ละเอียดถีถ้ วน ในการทํางาน การหัดทีสมบูรณ์เท่านันจึงจะเป็ นมาตรฐานทีใช้ ได้ เพือให้ ได้ ผลสมบูรณ์
ระยะของการหัดจึงกําหนดไว้ แน่นอน มีการหัดบ่อย ๆ ใช้ เวลาสันๆการหัดเป็ นวิธีการอันหนึงทีมีจบ แต่การ
หัดย่อมไม่มีจบในตัวเอง
8.3 การฝึ กพลศึกษา
8.3.1 เพือความสมบูรณ์ในการทํางานย่อมต้ องการทหารทีมีร่างกายสมบูรณ์เต็มที มีกําลัง
กายและความทรหดอดทน ผู้บงั คับบัญชาจะต้ องเอาใจใส่ดแู ลการฝึ กพลศึกษาของทหารอยู่เสมอ การฝึ ก
ให้ มีร่างกายสมบูรณ์ การเดินด้ วยท้ าวและการหัดจะทําให้ เกิดกําลังร่างกายและความทรหดอดทน การ
เดินและการกีฬาทําให้ สภาพของร่างกายแข็งแรงคงที การเล่นกีฬาทหารจะมีความแข็งแกร่งในทางจิตใจ
เช่นเดียวกับกําลังกาย ซึงนับเป็ นการสอนทังความเป็ นผู้นํา และ การทํางานเป็ นชุดไปด้ วยในตัว
ผู้บงั คับบัญชาควรจะเอาใจใส่การกีฬาของทหารทีสมัครเล่น เพือการบันเทิงเป็ นอย่างยิง
8.3.2 การอบรมกฎอนามัย ทีเกียวกับการฝึ กพลศึกษา ความสะอาดหมดจด การหลับสนิท
นิสยั การกินอาหารเพือสุขภาพของตนเอง และการบันเทิงเพือพลานามัย เหล่านีย่อมเป็ นสิงพึงปฏิบตั ทิ งสิ ั น
8.3.3 กําหนดการฝึ กพลศึกษาทีเหมาะสม ย่อมทําให้ เกิดท่วงทีอนั เป็ นคุณประโยชน์ตอ่
หน้ าทีของตนเองเมือทหารรู้จกั ฝึ กพละของตนดีแล้ ว ก็จะบังเกิดความเชือมันในความสามารถทีปฏิบตั ิ
ร่วมงานเป็ นชุดกันได้ และเมือมีความเชือมัน ก็ย่อมเกิดความสนใจในหน้ าทีและภายในหน่วยของตน
ความเชือมันและความสนใจนีนับว่าเป็ นคุณลักษณะของจิตใจอันประเสริ ฐ
8.3.4 การฝึ กพลศึกษา ทหารทุคนคนภายในหน่วยจะต้ องกระทําอยู่เสมอ
8.4 แนวทางทีทําให้ เกิดอุปนิสัย
ความรับผิดชอบของผู้บงั คับบัญชาย่อมรวมถึงการบํารุงขวัญทหารด้ วยไม่ว่าจะเป็ นการฝึ ก
ประเภทใดในระหว่างการฝึ กจะต้ องเอาใจใส่ปลูกฝั งความประพฤติและความซือสัตย์สุจริตของทหาร ให้ อยู่
ในระดับสูง ปลูกฝั งความสํานึกในความรับผิดชอบต่อหน้ าที ความผูกพันต่อผู้ใต้ บงั คับบัญชา และการ
ปฏิบตั ทิ กุ ประการทีเกียวถึงสวัสดิภาพของหน่วยทหาร ผู้บงั คับบัญชาย่อมสนับสนุนการฝึ ก ด้ วยการแสดง
ตนเป็ นตัวอย่างประกอบทัง ความประพฤติของผู้บงั คับบัญชาชันรองทีควรนําเป็ นตัวอย่างได้ จะต้ องเอาใจ
ใส่ตอ่ วิธีการไม่วา่ ทังทางทหารและพลเรื อน เพือให้ เกิดความบันเทิง อนุศาสนาจารย์ซงมี ึ หน้ าทีช่วยเหลือ
ผู้บงั คับบัญชาจะเป็ นผู้ชกั จูงใจให้ เกิดกํ าลังนําใจ และบํารุ งขวัญของหน่วยนัน
1-8
8.5 การบันเทิง
การบันเทิงทีเกียวกับพลานามัย และความพักผ่อนหย่อนใจ นับว่าเป็ นสิงสําคัญยิงทีจะ
ทําให้ เกิดสมรรถภาพ ผู้บงั คับบัญชาควรจะจัดให้ มีการบันเทิงนอกเวลาทํางาน และอนุญาตให้ ลาพักผ่อน
ทัวทุกคนภายในหน่วย ให้ ทหารทราบว่าควรจะได้ รับความรื นเริงบันเทิงใจอย่างไรบ้ าง ตลอดจนทราบถึง
นโยบายการให้ ลา และการพักผ่อน
8.6 กําหนดการบํารุ งความร้ ูและการศึกษา
กองทัพบก ย่อมให้ ข่าวสถานการณ์ทวโลกแก่ ั ทหารในหน่วยต่าง ๆ สร้ างสมความนับถือ
และหยิงในวิชาชีพในเหล่าของตน ส่งเสริ มความรับผิดชอบ ให้ เข้ าใจในหลักประชาธิปไตย เพิมความ
เชือมันในอนาคตของประเทศ เพิมพูนกําลังนําใจ ให้ การศึกษาเพิมเติม และชักจูงให้ เอาใจใส่ตอ่ การศึกษ
ของทหาร โดยเฉพาะตามแนวการข้ าราชการในกองทัพบกดังรายการต่อไปนี .-
8.6.1 กําหนดหารบํารุงความรู้เป็ นวิธีการอันหนึงทีผู้บงั คับบัญชา ทีจะแจ้ งให้ ทหารภายใน
กองทัพทราบถึงเรื องราวต่างๆ อันเกียวกับหน้ าที และข่าวสถานการณ์ทวๆ ั ไปเพือให้ สามารถ
ประมาณคุณค่า และเข้ าใจถึงความรับผิดชอบในฐานะทีเป็ นสมาชิก ภายในกองทัพ และการเป็ น
พลเมืองของชาติ สิงสําคัญในกําหนดการนีก็คือ ปล่อยให้ เปิ ดการอภิปรายในเรื องเกียวกับทาหร และ
เรื องทัวไป ๆ คืออยู่ในรายการของชัวโมงบํารุงความรู้
8.6.2 กําหนดการศึกษาของกองทัพบก เป็ นส่วนหนึงของระบบการศึกษาในกองทัพบก
ซึงสอนวิชาทีสอนในโรงเรี ยนพลเรื อน และในสถาบันวิชาชีพ วัตถุประสงค์ของกําหนด การศึกษาของ
กองทัพบก ก็คือสนับสนุนพัฒนาการศึกษา ตามแนวการรับราชการในกองทัพบก และ จัดวิธีการเฉพาะ
สําหรับ ผู้บงั คับบัญชา เพือเปิ ดโอกาสให้ ทหารใหม่ของตนได้ รับการศึกษาต่อเนืองกัน โดยมุง่ หวังให้
ทหารได้ ปฏิบตั หิ น้ าทีเหมาะสมกับตําแหน่ง เพิมพูนความรู้ในการรับตําแหน่งหน้ าทีมีความรับผิดชอบมาก
ขึน,ทังในโอกาสว่างก็จะได้ ให้ ทาหรศึกษาเพือบังเกิดความรอบรู้ ตามความประสงค์ของตน การศึกษาของ
กองทัพบกนีแบ่งแยกกําหนดการออก เป็ นการศึกษาชันประถม,การศึกษาชันต้ น,การศึกษาชันมัธยม และ
การศึกษาทีเทียบระดับวิทยาลัย ศูนย์การศึกษานี ผู้บงั คับบัญชาชันผู้บงั คับกองพัน และผู้บงั คับทหาร
หน่วยใหญ่ขึนไปเป็ นผู้ตงขึ ั น การศึกษาในลักษณะต่างๆนี อาจจัดขึนและทําการสอนโดยครูทีมาจาก
โรงเรี ยน และวิทยาลัยซึงอยูใ่ กล้ ทีตังหน่วยทหาร หรื อครู ทีรับราชการอยูใ่ นกองทัพบก และด้ วยการเรี ยน
ทางไปรษณีย์ ตลอดจนเรี ยนด้ วยตนเองตามทีสถาบันการศึกษาของกระทรวงกลาโหมจะจัดให้
สถาบันการศึกษาของกระทรวงกลาโหมจะได้ จา่ ยตําราเรี ยน การตรวจสอบ และสิงอุปกรณ์ การศึกษาอืนๆ
ให้ แก่ศนู ย์การศึกษาของ กองทัพบท กําหนดการของกองทัพบกเป็ นการบังคับเรี ยนเฉพาะระดับ
การศึกษาชันประถมเท่านันส่วนการศึกษาชันต่อไปเป็ นการสมัครเรี ยนของทหาร ในเมือมีโอกาสว่าง เพือ
มุ่งหมายความก้ าวหน้ าของตนเอง และเป็ นการศึกษาทีเกียวกับการฝึ ก เพือให้ เหมาะกับความต้ องการของ
ราชการก็ได้ แต่ไม่ใช่เป็ นการบังคับ
1-9
8.7 การฝึ กในหน้ าทีพลเมือง
วิชาทหารทีสําคัญทีสุด ก็คือ หน้ าทีพลเมืองการฝึ กนีจัดอยูใ่ นกําหนดการบํารุงความรู้
และการศึกษาโดยตลอด เพือช่วยให้ ทหารเข้ าใจจึงความรับผิดชอบในฐานะทีตนเป็ นทหาร และเป็ น
พลเมืองของชาติ ซึงต้ องมีความจงรักภักดีตอ่ ประเทศชาติของตน
8.8 ความรับผิดชอบและความเป็ นผ้ ูนํา
จุดมุง่ หมายของการฝึ กทหาร คือ สร้ างสรรค์ให้ สํานึกต่อความรับผิดชอบ ภายในทหารทุก
หน่วยอบรมให้ ทาหารทุกคนรู้ สึกถึงความจําเป็ น ทีต้ องปฏิบตั หิ น้ าทีของตนให้ เกิดผลและเกิดประสิทธิภาพ
ตามหน้ าทีในชุด นอกจากนี ยังเปิ ดโอกาสให้ ผ้ ทู ีมีลกั ษณะเป็ นผู้นําได้ ทําหน้ าทีบังคับบัญชา หน้ าที
หลักการของการฝึ กทหาร คือ สร้ างผู้นําหน่วย ผู้ทีลักษณะดีมีไหวพริ บ และมีความปรารถนาจะเป็ นผู้นํา
ย่อมเหมาะทีจะได้ รับการอบรมให้ เป็ นผู้นําทหารทีสามารถได้ ด้วยผ่านการฝึ กตามลําดับขัน และอยูใ่ นความ
ควบคุมโดยใกล้ ชิดถึงกระนัน ตนเองก็จะต้ องเอาใจใส่ปฏิบตั ิในหลักการและทางเทคนิคของการฝึ กด้ วย
ผู้นําหน่วยซึงได้ รับการฝึ กในหน้ าทีสูงถัดขึนไปมีหวังจะครองตําแหน่งนันได้ ในยามสงคราม
8.9 การฝึ กนายสิบ
8.9.1 ผู้บงั คับบัญชาย่อมมอบความรับผิดชอบให้ แก่นายสิบตามความสามารถใน หน้ าที
สร้ างสรรค์ให้ เป็ นผู้นําหน่วยโดยการให้ ปฏิบตั ิตามความสามารถและโดยการบรรจุตําแหน่งในหน่วยนัน ๆ
8.9.2 ผู้บงั คับบัญชาใช้ หน่วยทหาร และโรงเรี ยนทีตังขึนในหน่วยเพือฝึ กอบรมนายสิบ
ตามหน้ าทีของตนและเตรี ยมให้ ปฏิบตั ิการในหน่วยใหญ่ ผู้บงั คับบัญชาย่อมจะเลือกพลทหารทีฝึ กแล้ ว
เพือเลือนฐานะขึนเป็ นนายสิบได้
8.10 การฝึ กนายทหาร
8.10.1 การฝึ กนายทหาร จะต้ องกระทําต่อเนืองตลอดเวลารับราชการ ตัวนายทหารเอง
จะต้ องเพิมพูนความรู้ และความชํานาญด้ วยการฝึ กหัดงานในหน่วย และหน้ าทีฝ่ ายอํานวยการ ด้ วยการ
ให้ ปฏิบตั งิ านในกิจการต่าง ๆ ด้ วยการให้ ประจําหน่วย และเข้ าโรงเรี ยนทีหน่วยตังขึน กับการศึกษาด้ วย
ตนเอง
8.10.2 ผู้บงั คับบัญชาย่อมเอาใจใส่ และช่วยเหลือนายทหารในหน่วย เพือให้ ก้าวหน้ าใน
วิชาชีพของตนให้ ความชัดเจนอย่างกว้ างขวาง โดยการมอบหน้ าทีทีเหมาะสมให้
8.11 แนวทางการรับราชการ และการปฏิบัติราชการ
แผนการรับราชการในกองทัพบก ย่อมจะช่วยให้ ผ้ บู งั คับบัญชาเพิมพูนความสามารถของ
นายทหาร และนายสิบ แผนการรับราชการนีกองทัพบกเป็ นผู้กําหนด ผู้บงั คับบัญชาชันรองเป็ นผู้
ดําเนินงาน เป็ นแผนทีกําหนดขึน เพือวางระบบพัฒนาการของทหารในการครองตําแหน่งหน้ าที ในการฝึ ก
และ ความก้ าวหน้ าซึงอาศัยหลักจากความสามารถในบุคคล ท่วงทีและความริ เริ ม แผนการรับราชการ
นียังช่วยให้ ใช้ กําลังพลได้ ดีทีสุด ตลอดจนเปิ ดโอกาสให้ หนทางก้ าวหน้ าตามความสามารถของบุคคลด้ วย
1-10
9. การฝึ กหน่ วยและฝึ กผสมเหล่ า
9.1 กล่ าวทัวไป
การฝึ กหน่วยและฝึ กผสมเหล่าเป็ นการเน้ นการฝึ กเพือพัฒนาการของหน่วยผสม สิงสําคัญ
ทีสุดของการฝึ กหน่วยและฝึ กผสมเหล่า ก็คือ ดําเนินการฝึ กตามหลักทางยุทธวิธี ทางเทคนิคหรื อกิจการ
ช่วยรบ และหลักการอย่างใดอย่างหนึง โดยทําให้ มีสภาพคล้ ายคลึงกับเหตุการณ์รบ เหล่านีเรี ยกว่า การ
ฝึ กทางยุทธวิธี
9.2 การฝึ กทางยุทธวิธี
9.2.1 การฝึ กทางยุทธวิธีบางอย่าง มุง่ หมายเป็ นการฝึ กทหารเบืองต้ นเพือให้ ทําหน้ าที
ภายในชุดสําหรับปั จจุบนั หรื ออนาคต การฝึ กเหล่านี คือ การแก้ ปัญหาบนโต๊ ะทราย การแก้ ปัญหาบน
แผนที การแก้ ปัญหาในภูมิประเทศ และการจําลองยุทธบนแผนที ส่วนการฝึ กยุทธวิธีอืน ๆ กําหนดไว้
เพือการฝึ กเป็ นชุดและเพือให้ เกิดความชํานาญ และทางเทคนิคอย่างสมบูรณ์ ตลอดการปฏิบตั ิ เช่น
ตัวอย่าง การฝึ กปั ญหาทีบังคับการ การฝึ กเข้ าสนามยุทธ และการประลองยุทธ เป็ นต้ น
9.2.2 การฝึ กทางยุทธวิธี ควรจะเริ มในระยะแรกของการปฏิบตั ิ และกระทําต่อเนือง
ตลอดเวลาของการฝึ ก มักจะทําบ่อย ๆ เพือเป็ นการพร้ อมรบของหน่วยด้ วย การฝึ กทางยุทธวิธียอ่ ม
ประกอบด้ วยเหตุการณ์สมจริ ง โดยให้ ปัญหาเฉพาะเพือให้ หน่วยแก้ การปฏิบตั ขิ องข้ าศึกอาจกระทําด้ วย
ข้ าศึกสมมุติ
9.2.3 คําว่า การฝึ กทางยุทธวิธี ไม่หมายถึงการใช้ เฉพาะหน่วยรบเท่านัน ยังต้ องใช้
หลักการและเทคนิคของการฝึ กทางยุทธวิธี แก่หน่วยทหารทุกเหล่าจําพวกทีรับการฝึ กด้ วย การฝึ กชนิดนี
เป็ นการเน้ นเพือให้ สามารถทนต่อสภาพการรบในยามสงครามและความยากลําบากทุกกรณีได้
9.3 การแก้ ปัญหาบนโต๊ ะทรายและภมิู ประเทศจําลอง
การฝึ กทีจะกล่าวนีเป็ นการฝึ กทางยุทธวิธี ซึงใช้ โต๊ ะทราย สนามยิงปื นจําลอง หรื อภูมิ
ประเทศจําลองอืน ๆ เป็ นเครื องสอน คือ สอนยุทธวิธีของหน่วยต่าง ๆ การฝึ กยุทธวิธีเป็ นบุคคล การ
ตรวจผลการยิง และเรื องคล้ าย ๆ กับทีกล่าวมานี ขนาดของเครื องมือทีใช้ สอนเปลียนแปลงมาตราส่วน
ตามขนาดของหน่วยทีจะแก้ ปัญหา ใช้ เครื องหมายแทนหน่วยทหารตามเหล่าทีต่างกัน
9.4 การแก้ ปัญหาบนแผนที
9.4.1 การแก้ ปัญหาบนแผนทีเป็ นการฝึ กทางยุทธวิธีโดยสมมุตปิ ั ญหาเหตุการณ์ตอ่ เนือง
ตามลําดับ และให้ แก้ ปัญหาเป็ นรายบุคคล โดยอาศัยแผนทีเป็ นหลักแทนภูมิประเทศ มีประโยชน์สําคัญ
ในการฝึ กเป็ นบุคคลในขันสูง ทีเกียวกับเทคนิคของฝ่ ายอํานวยการ การนําหน่วยทหาร และการใช้ หลัก
ยุทธวิธีของหน่วยใหญ่
1-11

9.4.2 แก้ ปัญหาบนแผนที ครูให้ ลําดับเหตุการณ์รบ และมีคําบ่งการในตอนท้ าย ผู้รับ


การฝึ กเป็ นตัวผู้บงั คับบัญชา หรื อนายทหารฝ่ ายอํานวยการแก้ ปัญหาตามคําบ่งการด้ วยการตกลงใจ หรื อ
วางแผนเตรี ยมทําคําสังหรื อปฏิบตั ิการรบ ตามธรรมดาผู้รับการฝึ กฝน มักแก้ ปัญหาเป็ นรายบุคคล แต่
อาจให้ ทําเป็ นพวกก็ได้ เพือประหยัดเวลาสําหรับนักเรี ยนจํานวนมาก และเพือกระตุ้นความสนใจ
ตามปกติมีการแถลงแก้ ตามคําบ่งการข้ อหนึงหรื อหลายข้ อ เมือเสร็จจากการแถลงแล้ ว ครู ให้ คําแก้ ตามบ่ง
การเพือผู้รับการฝึ กได้ ใช้ เป็ นหลักฐาน ในการแก้ ปัญหาตามคําบ่งการข้ อต่อไป
9.5 การแก้ ปัญหาในภมิู ประเทศ
การแก้ ปัญหาในภูมิประเทศ คงเช่นเดียวกับการแก้ ปัญหาบนแผนที แต่ใช้ ภมู ปิ ระเทศจริ ง
เพือแถลงถึงทีตัง และการเคลือนย้ ายหน่วยทหารทีสมมุตขิ นึ การแก้ ปัญหาในภูมิประเทศนีมีประโยชน์
เฉพาะการฝึ กผู้นําหน่วย และเจ้ าหน้ าทีฝ่ ายอํานวยการในภูมิประเทศทีปฏิบตั ิการ และเทคนิคของการ
ลาดตระเวน เพือให้ เกิดความชํานาญในการประเมินค่าของภูมปิ ระเทศการใช้ ภาพถ่ายทางอากาศหรือแผน
ทีสังเขป จะทําให้ เห็นรู ปร่างของภูมปิ ระเทศชัดเจนขึน
9.6 การจําลองยุทธบนแผนที
9.6.1 จําลองยุทธขนแผนที เป็ นการฝึ กทางยุทธวิธีซงผู ึ ้ รับการฝึ กจัดกลุ่ม เป็ นการฝ่ าย
อํานวยการเข้ าปฏิบตั กิ ารยุทธวิธีบนแผนที การฝึ กประเภทนี ผู้รับการฝึ กแสดงข้ อตกลงใจ เตรี ยมคําสัง
ใช้ หลักยุทธวิธีเข้ าบังคับบัญชาและปรับปรุ งในชุดฝ่ ายอํานวยการของตน วิจารณ์ทนั ทีเมือเสร็จจากการฝึ ก
แล้ ว ผู้อํานวยการ และกรรมการผู้ชว่ ย เป็ นผู้ควบคุมการจําลองยุทธ หน่วยทหารและทีตังของฝ่ ายตรงข้ าม
ใช้ เครื องหมาย หรื อสัญลักษณ์แทน
9.6.2 การจําลองยุทธบนแผนที อาจกระทําฝ่ ายเดียวหรื อสองฝ่ ายก็ได้
9.6.2.1 ในการจําลองยุทธ บนแผนที ฝ่ ายเดียวผู้รับการฝึ กฝนคงกําหนดให้ เป็ น
ฝ่ ายหนึงฝ่ ายใดเท่านัน ส่วนเคลือนย้ ายของข้ าศึก ผู้อํานวยการเป็ นผู้กําหนดการจําลองยุทธบนแผนทีฝ่ าย
เดียวนีมีประโยชน์ ก็คือ ผู้อํานวยการสามารถควบคุมการปฏิบตั ิ และให้ หลักการปฏิบตั ิโดยเฉพาะได้
การจําลองยุทธบนแผนทีฝ่ ายเดียว นับว่าเป็ นขันแรกของการจําลองยุทธบนแผนทีสองฝ่ าย
9.6.2.2 การจําลองยุทธบนแผนทีสองฝัง ผู้นบั การฝึ กทังหมดต้ องแบ่งแยกกัน
ทําหน้ าทีทังสองฝัง วิธีนีนับว่าผู้รับการฝึ กมีอิสระในการใช้ ความคิดมากกว่าการกระทําเพียงฝ่ ายเดียว และ
เพิมความสนใจมากขึน
9.7 การฝึ กปั ญหาทีบังคับการ
9.7.1 การฝึ กปัญหาทีบังคับการ เป็ นการฝึ กทางยุทธวิธีซงประกอบด้
ึ วย เจ้ าหน้ าทีทุกส่วน
หรื อบางส่วนในหน่วย เจ้ าหน้ าทีฝ่ ายอํานวยการ เจ้ าหน้ าทีในกองบังคับการ และเจ้ าหน้ าทีติดต่อสือสาร
ส่วนหน่วยและยุทโธปกรณ์อืนใช้ สมมุตขิ นึ ความมุ่งหมายของการฝึ กปั ญหาทีบังคับการ ก็เอพัฒนาการ
ทํางานเป็ นชุด ปรับความชํานาญและทางเทคนิคเป็ นบุคคล และสอบทดลองแผนซึงกําหนดไว้ ตลอดจน
สอบวิธีดําเนินงานในแผนการยุทธ หรื อการประลองยุทธทีได้ วางแผนไว้ แล้ ว
1-12
9.7.2 การฝึ กปัญหาทีบังคับการ อาจแตกต่างกันออกไปได้ หลายแบบ แบบทีควรใช้ คือ
เป็ นแบบทีผสมการจําลองยุทธบนแผนทีเข้ ากับการฝึ กปั ญหาทีบังคับการในตําบลใดตําบลหนึง ในกรณี
เช่นนี กรรมการกําหนดเวลาทีใช้ ในการติดต่อสือสารตามปกติอีกแบบหนึง แยกทีบังคับการออกไปตาม
ระยะเท่าทีเป็ นจริ ง จัดเจ้ าหน้ าทีกองบังคับการ และหน่วยสือสารให้ มีจํานวนพอ เพือตังและโยกย้ ายที
บังคับการและการติดต่อสือสาร
9.7.3 การฝึ กปัญหาทีบังคับการ อาจทําฝ่ ายเดียวหรื อสองฝ่ ายก็ได้ ในการฝึ กฝ่ ายเดียว
เจ้ าหน้ าทีผู้รับการฝึ กแสดงเป็ นทหารฝ่ ายเดียวกัน กรรมการแสดงเป็ นฝ่ ายข้ าศึก ถ้ าเป็ นการแสดงสองฝ่ าย
เจ้ าหน้ าทีผู้รับการฝึ กเป็ นทังทหารฝ่ ายเดียวกัน และฝ่ ายข้ าศึกส่วนกรรมการเป็ นผู้ตดั สินการปฏิบตั ิ
9.8 การฝึ กเข้ าสนามยุทธ
การฝึ กเข้ าสนามยุทธ เป็ นการฝึ กยุทธวิธีในภูมิประเทศทีปรับให้ เข้ ากับเหตุการณ์รบ ใช้
หน่วยทหารและยุทโธปกรณ์ ด้วยกําลังจริ งทังหมด หรื อบางส่วนก็ได้ เป็ นฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง ส่วนหน่วยทหาร
และทีตังของอีกฝ่ ายหนึงสมมุติขนึ หรื อวางเป็ นโครง หรือใช้ เครื องหมายทดแทน ความมุ่งหมายของการ
ฝึ กเข้ าสนามยุทธนีเพือฝึ กทหารฝ่ ายเดียวกัน หน่วยทีเข้ าทําการฝึ กมีเสรี ในการปฏิบตั ิ ภายในระยะเวลา
เท่าทีควร มีขีดขันการใช้ ภมู ิประเทศ จํากัดความมุ่งหมายของการฝึ กและตามหัวข้ ออืน ๆ ผู้อํานวยการ
และกรรมการทีเป็ นผู้ชว่ ยเข้ าควบคุมการฝึ ก การปฏิบตั ขิ องข้ าศึก สมมุตนิ บั ว่าเป็ นเครื องช่วยฝึ กอย่างหนึง
ดังนันจําเป็ นจะต้ องมีการเตรี ยมแผนไว้ ล่วงหน้ าเพือบรรลุจดุ ประสงค์ของการฝึ ก อาจจัดกําลังส่วนหนึงเป็ น
ข้ าศึกสมมุตไิ ด้
9.9 การประลองยุทธ
การประลองยุทธเป็ นการฝึ กทางยุทธวิธีในภูมิประเทศทีปรับให้ เข้ ากับเหตุการณ์รบ ใช้
หน่วยทหารและทีตังทังสองฝ่ ายด้ วยกําลังจริ งทังหมด หรือเพียงบางส่วน ความมุ่งหมายของการประลอง
ยุทธนี คือ ฝึ กหน่วยทีเข้ าปฏิบตั ิการทังหมด ทังสองฝ่ ายมีเสรี ในการปฏิบตั ภิ ายในขอบเขตทีพึงจะทําได้
ผู้อํานวยการและกรรมการ ทีเป็ นผู้ชว่ ย ควบคุมการประลองยุทธ กําลังฝ่ ายหนึงอาจจัดกําลัง เช่น อย่าง
ข้ าศึกฝ่ าย รุกรานก็ได้ การประลองยุทธนับว่าเป็ นการฝึ กทีคล้ ายคลึงสภาพการรบมากทีสุด
9.10 การฝึ กผสมทัพ
การฝึ กผสมทัพเป็ นการฝึ กทีต้ องใช้ กําลังพลตังแต่สองกองทัพหรื อมากกว่านัน (กองทัพบก
กองทัพเรื อ และกองทัพอากาศ) เข้ าร่วมการฝึ ก
2-1
บทที 2
การเตรียมการฝึ ก
1. การจัดตังหน่ วยฝึ ก
การจัดตังหน่วยฝึ กทหารใหม่มีความมุง่ หมายเพือให้ มีคณะบุคคลคณะหนึง ดําเนินการฝึ ก อบรม
อํานวยการ กํากับดูแล และรวมถึงการเตรี ยมการด้ านธุรการ หรื ออืน ๆ ทีเกียวข้ องกับการฝึ กทหารใหม่
เพือให้ บรรลุผลทีจะให้ พลทหารใหม่เป็ นรายบุคคลในทุกเหล่าของกองทัพบกได้ รับการฝึ กศึกษา ในวิชาการ
ทหารเบืองต้ นเป็ นมาตรฐานเดียวกัน และเป็ นพืนฐานทีเหมาะสมในการรับการฝึ ก ศึกษาในหลักสูตรการ
ฝึ กเบืองสูง ของแต่ละเหล่าต่อไปได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
หน่วยระดับกองพันหรื อเทียบเท่าขึนไป หรื อกองร้ อยอิสระ ทีสามารถจัดตังหน่วยฝึ กทหารใหม่ ได้
โดยการจัดตังหน่วยฝึ กทหารใหม่ (วิทยุ ยศ.ทบ. ที กห 0461/0063 ลง 28 ม.ค.41) จะต้ องมีคณ ุ สมบัติ
ดังต่อไปนี
1.1 จะต้ องได้ รับทหารใหม่ตงแต่
ั 40 คน ขึนไป ต่อหนึงผลัด
1.2 หากมีทหารใหม่ตํากว่า 40 คนต่อผลัด ให้ ฝากฝึ กกับหน่วยทหารทีเป็ นหลักใกล้ เคียง รวมทัง
ฝากฝึ กครูทหารใหม่ด้วย (ระยะทาง 50 - 80 ก.ม. หน่วยสามารถฝากฝึ กได้ ) ตัวอย่างเช่น หน่วยฝึ ก
ทหารใหม่ ร.1 รอ. มียอดทหารใหม่ 100 นาย, หน่วยฝากฝึ กทหารใหม่ คือ ดย.ทบ. มียอดทหารใหม่
30 นาย รวมหน่วยฝึ กทหารใหม่ทงสิ ั น 130 นาย
1.3 หน่วยฝึ กทีมีทหารใหม่เกิน 200 นาย ให้ จดั ตังเป็ น 2 หน่วยฝึ ก ตัวอย่างเช่นหน่วย
พัน.ร.รร.จปร. มียอดทหารใหม่ 370 นาย ต้ องจัดให้ มีหน่วยฝึ กทหารใหม่ 2 หน่วยฝึ ก เป็ นต้ น
2. เจ้ าหน้ าทีในหน่ วยฝึ กทหารใหม่
ประกอบด้ วย ผบ.หน่วยฝึ ก, เจ้ าหน้ าที ธุรการประจําหน่วยฝึ ก, ผู้ฝึก, ผู้ชว่ ยผู้ฝึก, ครูนายสิบ
และครูทหารใหม่
2.1 ผบ.หน่ วยฝึ ก
จัดจากนายทหารชันสัญญาบัตรภายในหน่วย ทีมีความอาวุโสด้ วยคุณวุฒิ โดยปกติแล้ ว
ควรจะเป็ น ผู้บงั คับกองร้ อย หรื อบุคคลทีมียศสูงกว่าผู้ฝึก
หน้ าที ผบ.หน่วยฝึ ก มีหน้ าทีอํานวยการ และกํากับดูแลให้ การฝึ กเป็ นไปตามความมุง่
หมาย และเจตนารมณ์ของหน่วย และดําเนินการด้ านธุรการ การสนับสนุนสิงอุปกรณ์ ต่าง ๆ รวมถึง
การจัดเตรี ยมสิงอุปกรณ์, เครื องช่วยฝึ ก, และสนามฝึ ก เพือให้ การฝึ กมี ประสิทธิภาพสูงสุด
2.2 เจ้ าหน้ าทีประจําหน่ วยฝึ ก
จัดจากกําลังพลภายในหน่วย จัดขึนเพือช่วยเหลือ และเป็ นลูกมือให้ กบั ผบ.หน่วยฝึ ก
เพือปฏิบตั งิ านด้ านธุรการและการสนับสนุนการฝึ กทหารใหม่รวมถึงงานการบริ การและการรักษาความ
ปลอดภัยด้ วย
2-2
2.3 ผ้ ูฝึก
จัดจาก ผบ.มว.อาวุโสทีมีประสบการณ์ในการฝึ ก หรื ออย่างน้ อยได้ ผ่านการทําหน้ าทีเป็ น
ผู้ชว่ ยผู้ฝึกมาแล้ ว โดยมีหน้ าทีเป็ นผู้รับผิดชอบการฝึ ก และทําหน้ าทีปกครองทหารใหม่พร้ อม ๆ กันไปด้ วย
2.4 ผ้ ูช่วยผ้ ูฝึก
จัดจาก ผบ.มว. ทีมีอาวุโสตํากว่าผู้ฝึก หรื อ จ.ส.อ.อาวุโสทีมี ประสบการณ์ในการฝึ ก
ทหารใหม่มาแล้ ว การกําหนดจํานวนผู้ชว่ ยผู้ฝึก ขึนอยูก่ บั จํานวนทหารใหม่ทีได้ รับ กล่าวคือ หน่วยฝึ ก
ทหารใหม่ ทีมีจํานวนทหารใหม่ 40 - 149 นาย ให้ จดั ผู้ชว่ ยผู้ฝึกตามความเหมาะสมกับจํานวนทีได้ รับ
และหากหน่วยฝึ กใดทีมีจํานวนทหารใหม่ 150-200 นายให้ จดั ผู้ชว่ ย ผู้ฝึกทีเป็ นนายทหารอย่างน้ อย 2 นาย
2.5 ครนายสิ
ู บ
จัดจาก นายสิบทีมีความรู้ ความสามารถ มีลกั ษณะท่าทางดี เพือทําหน้ าทีฝึ กโดย
ใกล้ ชิด หรื อตามวิชาทีได้ รับมอบ โดยให้ จดั ครูนายสิบ 1 นาย ต่อครูทหารใหม่ 2 นาย เช่น ครู ทหาร
ใหม่ทงสิั นจํานวน 15 นาย ให้ จดั ครูนายสิบจํานวน 8 นาย (เศษของจํานวนให้ ปัดเป็ นจํานวนเต็ม)
2.6 ครทหารใหม่

จัดจาก พลทหารทีสําเร็ จหลักสูตรครูทหารใหม่เพือทําหน้ าทีช่วยเหลือครูนายสิบ โดย
จํานวนครูทหารใหม่ให้ ถือเกณฑ์จํานวนทหารใหม่ 8 นาย ต่อครูทหารใหม่ 1 นาย เศษให้ ตดั ทิง และให้ มี
ยอดอะไหล่ 20% ของจํานวนครูทหารใหม่ของหน่วย
ตัวอย่ าง หน่วยฝึ กทหารใหม่ ร.19 พัน.1 มีจํานวนทหารใหม่ 127 นาย ต้ องจัดให้ มีครูทหารใหม่
จํานวน 18 นาย เท่านัน (127  8 = 15.87 เศษตัดทิง เหลือ 15 + ยอดอะไหล่จํานวน 20% = 15 + 3
= 18) และจะต้ องมีครูชนนายสิ
ั บ จํานวน 9 นาย (18  2 = 9)
3. คุณลักษณะพึงประสงค์ ของผ้ ูฝึก, ครนายสิ
ู บ และครทหารใหม่

3.1 ผ้ ูฝึก จะต้ อง
3.1.1 มีลกั ษณะท่าทางกระตือรื อร้ น ไว้ ผมอย่างเรี ยบร้ อยสมลักษณะทหาร
3.1.2 การแต่งกายเรี ยบร้ อยถูกต้ องตามระเบียบและเหมาะสมแม้ ขณะออก
กําลังกาย ไม่เอาเปรี ยบทหาร
3.1.3 มีความรู้ความสามารถในการฝึ ก
3.1.4 มีความเคร่งครัดรัดกุม จริ งจัง จริ งใจ ตังใจในการฝึ ก
3.1.5 มีการควบคุมบังคับบัญชาครูฝึกอย่างแน่นแฟ้น คุ้นเคย และเป็ นอันหนึง
อันเดียวกัน
3.1.6 อยูใ่ กล้ ชิดทหารตลอดเวลา ดูแลทุกข์สขุ ของทหารอย่างทัวถึง เอาใจใส่
ในการเจ็บป่ วยของทหาร
3.1.7 มีการเตรี ยมการในการฝึ กสอนเป็ นอย่างดี และพร้ อมทีจะแก้ ไขปัญหาข้ อ
ขัดข้ องต่าง ๆ ให้ ลลุ ่วงไป
3.1.8 มีความเข้ าใจในการฝึ กทีมุ่งเน้ นผลการปฏิบตั ิ
2-3
3.1.9 มีระเบียบวินยั ทีดีงาม เป็ นตัวอย่างทีดีแก่ครูฝึกและทหารใหม่
3.2 ครูนายสิบ และครูทหารใหม่ ต้ องปฏิบตั ิเช่นเดียวกับผู้ฝึก
4. การจัดเตรียมเครื องช่ วยฝึ ก, แผ่ นภาพเครื องช่ วยฝึ ก และอุปกรณ์ การฝึ ก
หน่วยฝึ กทหารใหม่จะต้ องเบิก – รับเครื องช่วยฝึ ก, แผ่นภาพเครื องช่วยฝึ ก และอุปกรณ์การฝึ กให้
เรี ยบร้ อยก่อนดําเนินการฝึ ก โดยให้ ปฏิบตั ิดงั นี
4.1 เตรียมไว้ พอเพียงกับการใช้ ในการฝึ กทหารใหม่ ทุกวิชาทุกเรื อง
4.2 มีสภาพเรี ยบร้ อย มีการเก็บรักษาทีเหมาะสม และมีการซ่อมบํารุง
4.3 มีบญั ชีคมุ และสมุดยืมเรี ยบร้ อย
4.4 นํามาใช้ ให้ เกิดประโยชน์อย่างแท้ จริ งโดยนํามาตังแสดงในการฝึ กหรื อสอนทุกครัง
5. สนามฝึ ก
สนามฝึ กต่าง ๆ หน่วยฝึ กทหารใหม่จะต้ องเตรี ยมไว้ ให้ อยู่ในสภาพทีเรี ยบร้ อย สะดวกในการฝึ ก
และมีความปลอดภัยเมือใช้ ทําการฝึ ก สนามฝึ กทีใช้ ฝึกมีดงั นีคือ
5.1 สนามฝึ กบุคคลเบืองต้ น และแถวชิด
5.2 สนามฝึ กกายบริหาร
5.2.1 ราวดึงข้ อ
5.2.2 สนามฝึ กวิงรวมระยะทางแล้ วได้ 2,000 เมตร (ไม่มีการจราจรพลุกพล่าน)
5.3 สนามฝึ กเล็งปื น
5.4 สนามฝึ กยุทธวิธี ดัดแปลงพืนทีทีมีอยู่ให้ เหมาะสมเพียงพอ ให้ มีความกว้ างและความลึก
5.5 สนามฝึ กยิงปื น 1,000 นิว (ระยะ 25 เมตร)
5.6 สนามฝึ กขว้ างลูกระเบิด
5.7 สนามฝึ กกรใช้ ดาบปลายปื น
5.8 สนามฝึ กเดินทางด้ วยเข็มทิศ (ย่อระยะ)
6. การจัดทําคําสังการฝึ ก
หน่วยทีรับผิดชอบการฝึ กทหารใหม่ จําดําเนินการจัดทําคําสังการฝึ กของหน่วยเพือให้ ส่วนที
เกียวข้ องปฏิบตั ิ และประสานการปฏิบตั ิ ซึงควรบ่งในรายละเอียดดังต่อไปนี (ตามตัวอย่าง)
6.1 คําสังการฝึ กประจําปี ของ ทบ.
6.2 หลักฐานการฝึ กต่าง ๆ ทีต้ องใช้ ในการฝึ กทหารใหม่ ให้ จดั ไว้ เป็ นผนวก ประกอบเป็ นคําสัง
อย่างถูกต้ อง แน่นอน ชัดเจน และครบถ้ วน เพือสะดวกต่อการนํามาใช้ และผู้ฝึกจะต้ องดําเนินการเบิก –
รับ และจัดเตรี ยมหลักฐานการฝึ กทหารใหม่ให้ เรี ยบร้ อย ก่อนดําเนินการฝึ ก ดังนี
6.2.1 มีครบตามทีจะต้ องใช้ ในการสอนอบรม
6.2.2 มีสภาพเรี ยบร้ อย, มีการเก็บรักษาทีดี เหมาะสม ค้ นหาง่าย
6.2.3 มีบญ
ั ชีคมุ และสมุดยืม แยกกัน และคุมเฉพาะหลักสูตรการฝึ กทหารใหม่
2-4
6.3 กําหนดวันเริ มและวันจบการฝึ กโดยแน่นอน
6.4 กําหนดเจ้ าหน้ าทีในการฝึ ก ซึงประกอบด้ วย ผอ.ฝึ ก, รอง ผอ.ฝึ ก, ผู้ชว่ ย ผอ.ฝึ ก., ผบ.หน่วย
ฝึ ก, เจ้ าหน้ าทีประจําหน่วยฝึ ก, ผู้ฝึก, ผู้ชว่ ยผู้ฝึก, ครูนายสิบและครูทหารใหม่
6.5 กําหนดตารางกําหนดการฝึ กเป็ นสัปดาห์ หรื อตารางกําหนดการฝึ กหลัก โดยมีรายละเอียดดังนี
6.5.1 เรื องและวิชาทีทําการฝึ กสอนอบรม มีครบตามระเบียบหลักสูตรทีกําหนดไว้
6.5.2 จํานวนเวลาชัวโมง ของแต่ละเรื องทีทําการฝึ กครบตามจํานวนทีระเบียบหลักสูตร
กําหนดไว้
6.5.3 การนับวงรอบสัปดาห์ เพือกําหนดการฝึ กเป็ นสัปดาห์ ให้ นบั ตามวงรอบสัปดาห์
สากล (เริ มต้ นวันอาทิตย์ ถึงวันสุดท้ ายสัปดาห์วนั เสาร์ ) หากในสัปดาห์ใดมีวนั หยุดราชการให้ พกั ชัวโมงการ
ฝึ กในวันนันออกไป ฉะนัน การฝึ กในหนึงสัปดาห์จะมีชวโมงการฝึ ั ก 45 ชัวโมง หรือน้ อยกว่า ถ้ ามี
วันหยุดราชการในสัปดาห์นนั ๆ
6.5.4 จํานวน ชม. รวมช่องสุดท้ าย ถูกต้ องตามเวลาการฝึ กทีมีอยูใ่ นสัปดาห์นนั ๆ การ
กําหนดในแต่ละสัปดาห์จะมี ชม. การฝึ กเท่าใดนัน ขอให้ หน่วยพิจารณาดังนี
วันจันทร์ - วันพฤหัสบดี วันละ 9 ชม. ฝึ ก ดังนี
0800-1200(4 ชม.), 1300 - 1600(3 ชม.), 1600 - 1700(1 ชม.), 1900–2000(1 ชม.)
การฝึ กประจําวัน การบริ หาร การสอนอบรม
และการฝึ กกลางคืน
วันศุกร์ 9 ชม. ฝึ กดังนี
0800-1200(4 ชม.), 1300 - 1500(2 ชม.), 1500 - 1700(2 ชม.), 1900–2000(1 ชม.)
การฝึ กประจําวัน การทดสอบ การอบรม
สมรรถภาพร่างกาย
วันเสาร์ 0800 -1000 การปรนนิบัตบิ าํ รุ งอาวุธยุทโธปกรณ์ , คลัง, อาคารและทีพัก
1000 - 1200 เวลาผ้ ูบังคับบัญชา
ดังนัน ในแต่ละสัปดาห์ทีไม่มีวนั หยุดราชการ (จันทร์ – ศุกร์ ) จะมี ชม. การฝึ กรวม 45 ชม.แต่ถ้ามี
วันหยุดราชการ จํานวน ชม. ของการฝึ กสัปดาห์นนั ๆ จะลดลงไปจาก 45 ชม. (จํานวน ชม. ทีขาดหายไป
จะเลือนไปอยู่ในสัปดาห์ตอ่ ไป) อนึง ในสัปดาห์ที 1 ถ้ าเริมการฝึ กไม่ตรงกับวันจันทร์ จํานวน ชม. การฝึ ก
จะลดไป เช่น เริ มฝึ กวันอังคาร จํานวน ชม. การฝึ กจะมีเพียง 36 ชม. ในสัปดาห์แรกการฝึ กเรานิยมให้ อยู่ใน
สัปดาห์เดียวกัน ตังแต่วนั จันทร์ ถึงวันศุกร์ ทุกสัปดาห์ ซึงจะไม่จบในวันศุกร์ ก็ได้ ในเมือ ชม. การฝึ กของ
หลักสูตรนันครบในวันอืน
2-5
การฝึ กทหารใหม่ทีกําหนดไว้ 8 สัปดาห์ คือ สัปดาห์เต็ม ๆ ถ้ าสัปดาห์ใดมีวนั หยุดราชการสัปดาห์
นันเวลาการฝึ กก็ไม่ครบ จึงต้ องมีสปั ดาห์ที 9, 10 สําหรับเวลาทีขาดไปเราไม่นิยมทีจะดึงวันในสัปดาห์อืน
มาคร่อมกันเพือให้ ครบ 45 ชม. เพราะจะมีความยุง่ ยาก และไม่เหมาะสม การจัดตารางกําหนดการฝึ ก
เป็ นสัปดาห์นี มีความสําคัญมาก เพราะจะให้ ทราบว่าสัปดาห์ใดมี ชม. การฝึ กกีชม. จะฝึ กเรื องอะไรเป็ น
เวลาเท่าใด จะครอบคลุมให้ จดั การฝึ กครบทุกวิชาทุกเรื อง มีจํานวน ชม. ถูกต้ องตามระเบียบหลักสูตร
ก่อนการจัดตารางกําหนดการฝึ กเป็ นสัปดาห์ และตารางกําหนดการฝึ กประจําสัปดาห์ จึงต้ องมีการวาง
แผนการฝึ กขึน ตามตัวอย่างท้ ายคูม่ ือการฝึ กทหารใหม่นี
6.6 กําหนดตารางกําหนดการฝึ กประจําสัปดาห์ (จากแผนการจัดการฝึ กทีวางไว้ ) (ตามตัวอย่าง)
6.6.1 แบบของตารางใช้ ตามระเบียบและหลักสูตรการฝึ กฯ
6.6.2 ถูกต้ องและตรงกันกับตารางกําหนดการฝึ กเป็ นสัปดาห์ (หรื อตารางกําหนดการฝึ กหลัก)
6.6.3 รายการสอน กําหนดรายละเอียดของวิชาเป็ น ท่า และเรื องทีจะให้ สอนอบรม เช่น
- การฝึ กบุคคลท่ามือเปล่า - ท่าตรง, ท่าพัก
- การติดต่อสือสาร - เรื องหลักการติดต่อสือสาร
- การอบรมแบบธรรมเนียมของทหาร - เรื องการรักษาการณ์ ฯลฯ
6.6.4 หลักฐาน จะต้ องกําหนดให้ ละเอียด สมบูรณ์ ชัดเจน ง่ายต่อการค้ นหามาใช้ ใน
การสอนอบรม
6.6.5 ทุกช่อง จะต้ องละเอียด ถูกต้ อง เรี ยบร้ อย
6.6.6 เวลาการฝึ ก จะต้ องเป็ นไปตามคําสังการฝึ กประจําปี ของ ทบ. เป็ นหลักโดย
ออกไว้ ในคําสังการฝึ กของหน่วยด้ วย
6.6.7 ในกรณีทีหน่วยจัดตังสถานีฝึก เพือหมุนเวียนการฝึ กนัน ให้ หน่วยกําหนดลงใน
ตารางการฝึ กประจําสัปดาห์ และแยกออกเป็ นสถานีในแต่ละวัน โดยทีชัวโมงการฝึ กรายวิชาทีทหารใหม่
แต่ละคนเข้ ารับการฝึ ก ต้ องเท่ากับจํานวนชัวโมงทีกําหนดไว้ ในตารางกําหนดการฝึ กเป็ นสัปดาห์ (ตาราง
กําหนดการฝึ กหลัก)
6.7กําหนดตารางกําหนดการฝึ กเมือสภาพอากาศเปลียนแปลง (ตามตัวอย่าง) ฝ่ ายยุทธการ
และการฝึ กของหน่วยเป็ นผู้จดั ทํา
6.7.1 แบบของตาราง ใช้ ตามระเบียบหลักสูตรการศึกษา
6.7.2 วิชาทีเปลียนแปลงใหม่ ไม่ให้ กําหนดเรื องทีสอนหรืออบรมในห้ องเรี ยนอยูแ่ ล้ วใน
วันเดียวกัน
6.7.3 เป็ นตารางกําหนดการฝึ กฯ ทีออกมาพร้ อมกับตารางกําหนดการฝึ กประจําสัปดาห์
6.8 กําหนดเจ้ าหน้ าทีตรวจการฝึ กแทน ผบ.หน่ วย (เป็ นมาตรการ) การกํากับดูแลของ ผบ.
หน่วย (แยกเป็ นผนวก)
2-6
6.9 กําหนดการใช้ สป.5 และวัตถุระเบิด อย่างเหมาะสม (แยกเป็ นผนวก)
การกําหนดตารางกําหนดการฝึ กประจําสัปดาห์นนหน่ ั วยทีรับผิดชอบการฝึ กทหารใหม่ จะต้ อง
จัดทําให้ เรี ยบร้ อยแล้ วแจ้ งให้ ผ้ ฝู ึ กทราบอย่างน้ อย 7 วัน และผู้ฝึกจะต้ องจัดทําตารางกํ าหนดการฝึ ก
ประจําวัน (ตามตัวอย่าง) ให้ เรี ยบร้ อยและแจ้ งให้ ครูฝึกและหน่วยบังคับบัญชาทราบล่วงหน้ าก่อนวันทํา
การฝึ ก ดังนี
6.9.1 แบบตาราง ใช้ ตามระเบียบหลักสูตรการฝึ กฯ
6.9.2 รายการตรงกันกับ ตารางกําหนดการฝึ กประจําสัปดาห์
6.9.3 แยกเป็ นแต่ละ ชม.(แยกเนือหาของวิชาเป็ นราย ชม.เช่น 0800–0900, 0900–1000)
7. การฝึ กทหารใหม่ เฉพาะหน้ าที
ทหารทุกเหล่าทีกองทัพบกกํ าหนดให้ ทหารใหม่ต้องรับการฝึ กเฉพาะหน้ าที ตามระเบียบและ
หลักสูตรการฝึ กทหารใหม่เฉพาะหน้ าที (ทุกเหล่า 1 สัปดาห์ เว้ นเหล่าแพทย์ 8 สัปดาห์) ของเหล่าให้
ดําเนินการ ดังนี
7.1 กระทําการฝึ กต่อจากการฝึ กตามระเบียบ และ หลักสูตรการฝึ กทหารใหม่เบืองต้ นทัวไป
(8 สัปดาห์) ณ หน่วยฝึ กทีจัดตังขึน โดยต้ องไม่เกินห้ วงการฝึ กที ทบ.กําหนด ตามคําสัง ทบ.(เฉพาะ) ที
931/43 ลง 25 ส.ค. 43 เรื อง การฝึ กประจําปี 2544
7.2 การจัดทําคําสังการฝึ กทหารใหม่เฉพาะหน้ าทีหน่วยต้ องจัดทําคําสังแยกจากคําสังการฝึ กทหาร
ใหม่ (ดังตัวอย่าง)
7.3 หน่วยจะต้ องจัดทําบัญชีบรรจุกําลังทหารใหม่ตามตําแหน่งหน้ าที และจัดทหารใหม่รับการฝึ ก
ในวิชาทีกําหนดตาม ชกท.นัน ๆ โดยปฏิบตั ิตามระเบียบและหลักสูตรการฝึ กทหารใหม่ เฉพาะหน้ าทีของ
เหล่า
8. การวางแผน การจัดทํา ตารางกําหนดการฝึ กเป็ นสัปดาห์
การวางแผนการจัดทําตารางกําหนดการฝึ กเป็ นสัปดาห์ และการกํ าหนดวันทําการฝึ กในแต่ละ
สัปดาห์ของการฝึ กทหารใหม่ ผลัดที 2/43
เงือนไข
1. ทหารใหม่รายงานตัว ณ หน่วยฝึ กทหารใหม่ ครบทังสินในวันพุธที 1 พ.ย. 43
2. วันหยุดราชการคือ วันอังคารที 5 ธ.ค.43, วันจันทร์ ที 11 ธ.ค.43 (วันหยุดชดเชย)
วันรัฐธรรมนูญและวันอังคารที 2 ม.ค.44 (วันหยุดชดเชยวันขึนปี ใหม่)
3. การดําเนินกรรมวิธีกําหนดใช้ ดังนี
3.1 วันที 1 พ.ย. จัดทําประวัติฯ, แจกจ่ายสิงของ และเครื องแต่งกาย
3.2 วันที 2 พ.ย. นําทหารใหม่ตรวจโรค และตรวจสารเสพติดในร่ างกายโดยแพทย์
3.3 วันที 3 พ.ย. แนะนํา ผบช., สถานที ชีแจงนโยบาย วัตถุประสงค์ของการฝึ กระเบียบ
คําสังทีเกียวข้ อง
2-7

ตารางที 2.1 เดือน พ.ย. 43


อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัส ศุกร์ เสาร์
1 2 3 4
5 6 7 8 9 10 11
12 13 14 15 16 17 18
19 20 21 22 23 24 25
26 27 28 29 30

สัปดาห์ที 1 ชม.การฝึ ก -
สัปดาห์ที 2 ชม.การฝึ ก 45 ชม.
สัปดาห์ที 3 ชม.การฝึ ก 45 ชม.
สัปดาห์ที 4 ชม.การฝึ ก 45 ชม.
สัปดาห์ที 5 ชม.การฝึ ก 45 ชม.

ตารางที 2.2 เดือน ธ.ค. 43


อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัส ศุกร์ เสาร์
1 2
3 4 5 6 7 8 9
10 11 12 13 14 15 16
17 18 19 20 21 22 23
24 25 26 27 28 29 30
31

สัปดาห์ที 6 ชม.การฝึ ก 36 ชม.


สัปดาห์ที 7 ชม.การฝึ ก 36 ชม.
สัปดาห์ที 8 ชม.การฝึ ก 45 ชม.
สัปดาห์ที 9 ชม.การฝึ ก 45 ชม.
2-8

ตารางที 2.3 เดือน ม.ค. 44


อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัส ศุกร์ เสาร์
1 2 3 4 5 6
7 8 9 10 11 12 13
14 15 16 17 18 19 20
21 22 23 24 25 26 27
28 29 30 31

สัปดาห์ที 10 ชม.การฝึ ก 18 ชม.

สรุป การจัดการฝึ กทหารใหม่ ผลัดที 2/43 ตามเงือนไขทีกําหนดข้ างต้ นได้ ดงั นี


1. วันทีมีผลบังคับใช้ (ตามคําสัง) คือวันที 1 พ.ย. 43 - 4 ม.ค. 44
2. การดําเนินกรรมวิธี กระทําในวันที 1 - 3 พ.ย. 43
3. วันที 6 พ.ย.43 เป็ นวันแรกของการฝึ กตามเนือหาทีกําหนดในระเบียบหลักสูตร
2-9

ตัวอย่ าง 2.1 คําสังการฝึ กทหารใหม่


คําสังกองพันทหาร……………..ที…………กรมทหาร…………..ที………….
ที………………./………………….
เรื อง การฝึ กทหารใหม่ ผลัดที………………./………………..
1. วันมีผลบังคับใช้ ..1 พ.ย. 43 ..ถึง.. 4 ม.ค. 44 ..
2. หลักฐาน ตามผนวก ก
3. ความมุง่ หมายในการฝึ ก
3.1 เพือให้ ทหารใหม่เป็ นรายบุคคลในทุกเหล่าของกองทัพบก ได้ รับการฝึ กศึกษาในวิชาการทหาร
เบืองต้ น สําหรับนําไปใช้ เข้ ารับการฝึ กศึกษาในการฝึ กขันสูงต่อไป จนมีประสิทธิภาพ ทําการรบตามหน้ าที
ของทหารแต่ละเหล่าได้
3.2 เพือปรับสภาพร่างกายและจิตใจของทหารใหม่ จากการดําเนินชีวิตแบบพลเรื อนมาดําเนิน
ชีวิตแบบทหาร
3.3 เพือปลูกฝั งลักษณะทหาร
3.4 เพือปลูกฝั งให้ เกิดทัศนคติทีดีงามต่อกองทัพบก
4. ระบบการฝึ ก ใช้ ทงระบบรวมการและแยกการ
ั ดังนี
4.1 ใช้ ระบบรวมการ ในการฝึ กสอนอบรม ดังต่อไปนี
4.1.1 การฝึ กแถวชิด
4.1.2 การสอนอบรม
4.2 ใช้ ระบบแยกการฝึ กต่อไปนี โดยการจัดการฝึ กหมุนเวียน
4.2.1 การฝึ กเบืองต้ น (เว้ นการฝึ กแถวชิด)
4.2.2 วิชาทหารทัวไป
4.2.3 การฝึ กใช้ อาวุธ
4.2.4 การฝึ กทางยุทธวิธี
5. เจ้ าหน้ าทีฝึ กทหารใหม่
6. วันทําการฝึ ก ตังแต่……….……….ถึง……………..(ตามตารางกําหนดการฝึ กประจําสัปดาห์ เมือทหาร
ใหม่เข้ าหน่วย)
6.1 จันทร์ – ศุกร์ ฝึ กวันละ 9 ชัวโมง
6.2 วันเสาร์ ถือว่าเป็ นเวลานอกหลักสูตร
6.3 การประเมินผล 24 ชม. ถือว่าเป็ นเวลาในหลักสูตร
2-10

7. มาตรฐานการฝึ ก
ผลการฝึ กเป็ นรายวิชา จะต้ องได้ ตามเกณฑ์ทีกําหนดไว้ ในระเบียบหลักสูตรการฝึ ก การฝึ กทหาร
ใหม่สําหรับทหารทุกเหล่าของ ทบ. (8 สัปดาห์) พ.ศ.2542 และคูม่ ือการฝึ กของ ทบ.ว่าด้ วยมาตรฐาน
การฝึ กเป็ นบุคคล สําหรับทหารทุกเหล่าของ ทบ. พ.ศ.2529
การประเมินผลการฝึ กทหารใหม่ จะต้ องดําเนินการตามคูม่ ือการฝึ กว่าด้ วยการประเมินผลการฝึ ก
ทหารใหม่ สําหรับทหารทุกเหล่าของ ทบ. พ.ศ. 2542
8. สนามฝึ กต่าง ๆ ให้ ………………………………จัดเตรี ยมให้ เรี ยบร้ อย ดังนี
8.1 สนามการฝึ กเบืองต้ น
8.2 ราวเดียว 5 ช่อง
8.3 สนามฝึ กการใช้ ดาบปลายปื น
8.4 สนามฝึ กขว้ างลูกระเบิดซ้ อมขว้ าง
8.5 สนามฝึ กเล็งปื น
8.6 สนามฝึ กยุทธวิธี
8.7 สนามฝึ กยิงปื น 25 เมตร
8.8 สนามฝึ กเดินทางด้ วยเข็มทิศ (ย่อระยะ)
9. เครื องช่วยฝึ กต่าง ๆ รวมทังแผ่นภาพเครื องช่วยฝึ ก ให้ …………………………..เตรี ยมไว้ ให้ เรี ยบร้ อย
10. ตารางกําหนดการฝึ ก
10.1 ตารางกําหนดการฝึ กเป็ นสัปดาห์ (หรื อตารางกําหนดการฝึ กหลัก) ตามระเบียบหลักสูตรการ
ฝึ กการฝึ กทหารใหม่ สําหรับทหารทุกเหล่า (8 สัปดาห์) พ.ศ. 2542 (ตามผนวก ค)
10.2 ตารางกําหนดการฝึ กประจําสัปดาห์ (ตามผนวก ง)
10.3 ตารางกําหนดการฝึ กเมือสภาพอากาศเปลียนแปลง (อนุผนวก 1 ประกอบ ผนวก ง)
10.4 ตารางกําหนดการฝึ กประจําวัน,ตารางกําหนดการฝึ กเมือสภาพอากาศเปลียนแปลง กําหนด
ขึนให้ สอดคล้ องกับตารางกําหนดการฝึ กประจําสัปดาห์
11. การตรวจการฝึ ก
11.1 ผบ.พัน จะตรวจการฝึ กหรื อมอบหมายให้ ผ้ อู ืน หรื อ ฝอ.ตรวจอย่างไม่เป็ นทางการได้ ทุกวัน
11.2 เจ้ าหน้ าทีตรวจการฝึ กทหารใหม่ (ตามผนวก จ)
11.3 การตรวจการฝึ ก ผู้ตรวจจะต้ องบันทึกผลการตรวจการฝึ กทหารใหม่ในสมุดรับตรวจรายงาน
ให้ ผบ.พัน ทราบทุกวัน
12. บันทึกและรายงาน ให้ ดําเนินการตามระเบียบหลักสูตรโดยเคร่งครัด
2-11

13. คําแนะนําการฝึ ก
13.1 ให้ ใช้ ห้องเรี ยนนอกอาคาร มากกว่าห้ องเรี ยนในอาคาร
13.2 ให้ ทหารใหม่ได้ มีการฝึ กปฏิบตั มิ ากกว่าการสอนด้ วยการบรรยาย
13.3 การฝึ กยิงปื น เมือทหารใหม่ส่วนหนึงเข้ าแนวยิงแล้ ว ส่วนทีเหลือให้ ทําการฝึ ก
ทบทวนเรื องต่าง ๆ ของวิชาใช้ อาวุธประจํากาย เพือให้ เกิดความชํานาญและต้ องใช้ กระสุน………นัด/คน
13.4 การฝึ กหมูท่ างยุทธวิธี จะต้ องพยายามให้ ทหารใหม่ปฏิบตั ไิ ด้ ทกุ เรื องทีได้ รับ
การฝึ กสอนมาแล้ ว
14. การสนับสนุน
14.1 ให้ ฝอ.4 สนับสนุน กระสุน ปลย. ขนาด 5.56 มม. จํานวน…………...นัด
14.2 มว.สร. จัดเจ้ าหน้ าทีเสนารักษ์ ประจําหน่วยฝึ กทหารใหม่ พร้ อมเวชภัณฑ์
14.3 ยานพาหนะ ให้ ผ้ ฝู ึ ก ประสานกับ ฝอ.4 โดยตรง เมือจําเป็ นต้ องใช้ ทังนี ตังแต่วนั มีผล
บังคับใช้ เป็ นต้ นไป

สัง ณ วันที………ตุลาคม 25……….


พ.ท.
(…………………………..)
ผบ……………..พัน……………
2-12

ตัวอย่ างที 2.2 ตารางกําหนดการฝึ กเป็ นสัปดาห์ ประกอบ……………………………………..


ลํา เวลา สัปดาห์
เรื องทีทําการฝึ กสอน
ดับ (ชม.) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
ก. การฝึ กเบืองต้ น (46) .
1. การฝึ กบุคคลท่าเบืองต้ น (46) - 34 2 2 2 2 2 2 - -
ข. ความสมบูรณ์แข็งแรงทางร่างกาย (36)
2. กายบริหาร 22 - 2 4 4 4 2 2 - 4 -
3. การทดสอบความสมบูรณ์แข็งแรงทางร่างกาย 14 - 2 2 2 2 2 2 2 - -
ค. วิชาทหารทัวไป (40)
4. การติดต่อสือสาร 6 - - 6 - - - - - - -
5. การอ่านแผนทีและการใช้ เข็มทิศ 10 - - 6 4 - - - - - -
6. การปฐมพยาบาลและสุขวิทยาอนามัย 12 - - 6 4 2 - - - - -
7. การข่ายเบืองต้ น 4 - - 4 - - - - - - -
8. การระเบิดทําลาย ทุนระเบิดและกับระเบิด 6 - - 6 - - - - - - -
9. การป้องกันนิวเคลียร์ ชีวะ และเคมี เป็ นบุคคล 2 - 2 - - - - - - - -
ง. การฝึ กการใช้ อาวุธ (78)
10. การฝึ กใช้ อาวุธประจํากาย ปลย.ขนาด 58 - - 4 12 10 10 10 8 4 -
5.56 มม. และการปรนนิบตั ิบํารุง
11. การใช้ ลกู ระเบิดขว้ าง 8 - - - 4 4 - - - - -
12. การใช้ ดาบปลายปื น 12 - - - 4 4 4 - - - -
จ. การฝึ กทางยุทธวิธี (96)
13. การกําบังและการซ่อนพราง 8 - - - 4 4 - - - - -
14. การฝึ กบุคคลทําการรบในเวลากลางวัน 30 - - - - 4 4 8 8 6 -
15. การฝึ กบุคคลทําการรบในเวลากลางคืน 10 - - - - - - - 4 6 -
16. ป้อมสนาม 8 - - - - 4 4 - - - -
17. เครื องกีดขวาง 6 - - - - - 4 2 - - -
18. การฝึ กหมูท่ างยุทธวิธี 16 - - - - - - - 8 8 -
19. การลาดตระเวน 10 - - - - - - 4 4 2 -
20. การเดินทางไกลและการพักแรมในสนาม 8 - - - - - - 2 4 2 -
2-13

ลํา เวลา สัปดาห์


เรื องทีทําการฝึ กสอน
ดับ (ชม.) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
ฉ. การอบรม (40) .
21. คุณลักษณะของทหาร 2 - 2 - - - - - - - -
22, แบบธรรมเนียมของทหาร 7 - 2 2 2 1 - - - - -
23. คุณธรรมของทหาร 7 - 1 2 2 2 - - - - -
24. มารยาทและวินยั ของทหาร 4 - - 1 1 1 1 - - - -
25. หน้ าทีพลเมืองดี 2 - - - - 1 1 - - - -
26. ความรักและการป้องกันประเทศชาติ 2 - - - - - - - - - 2
27. การปกครองระบอบประชาธิปไตย 1 - - - - - 1 - - - -
28. พระมหากษัตริย์ไทยในระบอบประชาธิปไตย 1 - - - - - 1 - - - -
29. การเสริ มสร้ างการปลูกฝั งอุดมการณ์ 2 - - - - - - 2 - - -
ทางการเมืองในหน่วยทหาร
30. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2 - - - - - - - 1 1 -
พ.ศ.2540
31. ประวัติศาสตร์ ชาติไทย 10 - - - - - - 2 4 4 -
ช. การตรวจสอบ (24)
32. การตรวจสอบ 24 - - - - - - - - 8 16
รวม 360 - 45 45 45 45 36 36 45 45 18

ตรวจถูกต้ อง
พ.ต.
ฝอ.3………………………………

หมายเหตุ
1. เนืองจากทหารใหม่ได้ รายงานตัวเข้ าหน่วยใน วันพุธที 1 พ.ย.43 หน่วยได้ ดําเนินกรรมวิธีตอ่
ทหารใหม่เป็ นเวลา 3 วัน ดังนันในสัปดาห์ที 1 จะสังเกตได้ ว่า ไม่มีชวโมงการฝึ
ั กแต่กําหนดให้ เป็ นสัปดาห์
การฝึ กหลัก เพือเป็ นการควบคุมการปฏิบตั ิตงแต่
ั ทหารใหม่เข้ าหน่วยของผู้บงั คับบัญชา เป็ นการแบ่งมอบ
ความรับผิดชอบในการจัดการกําลังคน และเตรี ยมกําลังพลให้ พร้ อมรับการฝึ ก
2. วันหยุดราชการคือ วันอังคารที 5 ธ.ค.43,วันจันทร์ ที 11 ธ.ค.43 (วันหยุดชดเชยวันรัฐธรรมนูญ)
และวันอังคารที 2 ม.ค.44 (วันหยุดชดเชยวันขึนปี ใหม่) ทําให้ ชวโมงการฝึ
ั กในสัปดาห์การฝึ กที 6 และ 7 มี
จํานวนลดลง เหลือสัปดาห์ละ 36 ชัวโมง ดังนันชัวโมงการฝึ กจึงต้ องขยายไปจนถึงสัปดาห์ที 10 ซึงมี
จํานวน 18 ชัวโมง
3-1
บทที 3
การดําเนินการฝึ ก
1. รปแบบและลั
ู กษณะการฝึ ก
1.1 การฝึ กทหารใหม่ จะดําเนินการด้วยวิธีใดนัน ผูฝ้ ึ กทหารใหมจะต้
่ องใช้ดุลยพินิจในการกาหนด ํ
ั านวนทหารใหม่ จํานวนเครื องชวยฝึ
วิธีการฝึ กให้เหมาะสมกบจํ ่ ก และจํานวนครู ฝึกทีมีอยูเ่ พือป้องกนมิ
ั ให้
ทหารต้องรอคอยการฝึ กอันเนืองมาจากความจํากดของเครื ั ่ ก และครู ซึง ผูฝ้ ึ กสามารถทําการฝึ ก
องชวยฝึ
ได้ 3 แบบ คือ
1.1.1 การฝึ กแบบรวมการฝึ ก เชน่ วิชาการสอนอบรม, การฝึ กแถวชิด
1.1.2 การฝึ กแบบแยกการฝึ ก (การฝึ กหมุนเวียน แยกเป็ นสถานีฝึก)
1.1.3 หรื อผูฝ้ ึ ก อาจใช้ทงั สองแบบผสมกนั

1.2 การฝึ กหมุนเวียน เป็ นวิธีการฝึ กทีดีมากทําให้ทหารเกดความสนใจ และมีความชํานาญ ทหาร
่ กอยางทั
ได้มีโอกาสใช้เครื องชวยฝึ ่ วถึง ทหารไมเกดความเบื
่ ิ อหนาย่ โดยจัดทหารแบงออกเป็
่ นกลุ่ม หรื อ
พวกฯ ให้มีจาํ นวนใกล้เคียงกนั จํานวนกลุ่มทีเหมาะสมคือ 4 กลุ่ม เพือรับการฝึ กสอนหมุนเวียน 4 วิชา ๆ
ละ 2 ชม. ในแตละวั ่ นหรื ออาจแบงเป็ ่ น 8 กลุ่มวิชา ๆ ละ 1 ชม. ทําการฝึ กอยูใ่ นบริ เวณไมหางไกลกน
่ ่ ั
เรื องทีสามารถนํามาจัดการฝึ กหมุนเวียนได้ คือ
1.2.1 การฝึ กแบบรวมการฝึ ก
่ องต้น
1.2.2 การขาวเบื
1.2.3 การป้องกนั นชค.
1.2.4 การพรางและการซอนพราง ่
1.2.5 การเดินทางไกลและพักแรม

1.2.6 การอานแผนที
1.2.7 การใช้อาวุธประจํากาย
1.2.8 ลูกระเบิดขว้าง
1.2.9 การปฐมพยาบาล ฯ
1.2.10 การระเบิดทําลาย
1.2.11 การฝึ กบุคคลทําการรบในเวลากลางวัน
1.2.12 ป้อมสนาม
1.2.13 การฝึ กหมูท่ างยุทธวิธี

1.2.14 เครื องกดขวาง

แตเวลาการฝึ กสอนของแตละวิ ่ ชาไมเทากน
่ ่ ั การจัดการฝึ กหมุนเวียน จะต้องกาหนดให้
ํ ดี เมือ

กาหนดเวลาของวิ ชานัน ๆ แล้วกเอาวิ ็ ชาอืนมาแทนตอไป ่
3-2

1.3 รู ปแบบการฝึ กจะเป็ นแบบใดกตามการดํ าเนิ นการฝึ กนัน ผูฝ้ ึ กและครู ฝึกจะต้องปฏิบติั ใน
ลักษณะดังนี
1.3.1 มุง่ เน้นการปฏิบตั ิมากกวาการบรรยาย


1.3.2 ฝึ กจากงายไปหายาก

1.3.3 เป็ นไปตามตารางกาหนดการฝึ ก
1.3.4 มีการประเมินผลตลอดเวลา
1.3.5 ไมมี่ การแจกจายเอกสารฝึ
่ ก ให้ทหารใหมนํ่ าไปทองจํ
่ า
่ กมาใช้อยางเหมาะสม
1.3.6 นําเครื องชวยฝึ ่
1.3.7 ไมมี่ การบอกให้ทหารจด
1.3.8 มีการแกไขทั ้ นที เมือทหารใหมปฏิ ่ บตั ิผิดในการฝึ ก
1.3.9 เมือฝึ กจบจะต้องมีการประเมินผล
2. การฝึ กทีเน้ นผลการปฏิบตั ิ
ลักษณะของการฝึ กทีเน้นผลการปฏิบตั ิ ต้องมีวตั ถุประสงค์การฝึ กทีแนชั่ ด วัตถุประสงค์การฝึ กที
่ ดแจ้งวาทหารจะต้
ระบุไว้อยางชั ่ องมีขีดความสามารถทําอะไรได้บา้ งเมือจบการฝึ ก โดยวัตถุประสงค์การฝึ ก
ทีมีโครงสร้างอันถูกต้องจะต้องประกอบด้วยสวนตาง ่ ่ ๆ สามสวน ่ คือ
2.1 กิจเฉพาะ คือ เรื องทีจะต้องปฏิบตั ิให้สาํ เร็ จลุล่วงไป (ผูฝ้ ึ กทราบได้จากระเบียบ หลักสู ตร
การฝึ กทหารใหม่ 8 สัปดาห์ พ.ศ. 2542 แถลงหลักสู ตรการฝึ กหัวข้อ เรื องและรายละเอียดทีฝึ กสอน)
2.2 เงือนไข คือ เรื องทีจะต้องปฏิบตั ินนั จะต้องกระทําให้สาํ เร็ จลุล่วงไป ภายใต้เงือนไขอยางใด ่ (ผู ้
ฝึ กทราบได้จาก คู่มือการประเมินผลการฝึ กทหาร ใหม่ 8 สัปดาห์ พ.ศ. 2542)
2.3 มาตรฐานการฝึ ก คือ มาตรฐานของการปฏิบตั ิทียอมรับแล้ว (ผูฝ้ ึ กทราบได้จากคูม่ ือการ
ประเมินผลการฝึ กทหารใหม่ 8 สัปดาห์ พ.ศ. 2542)
การทีระบุ กิจเฉพาะ, เงือนไข และมาตรฐานการฝึ กไว้ในวัตถุประสงค์การฝึ กโดยชัดแจ้งนัน

ยอมจะทํ าให้ทหารมีความเข้าใจวา่ ถ้าตนสามารถปฏิบตั ิงานได้สาํ เร็ จเรี ยบร้อยตามมาตรฐานทีกาหนดนั ํ นก็
่ ได้ แตถ้่ าไมสามารถปฏิ
แสดงวาใช้ ่ ็
บตั ิได้ ทหารกจะทราบได้ ่
เองวาตนจะต้ องเรี ยนรู ้ในสิ งใดอีกจึงจะบรรลุ
ถึงซึ งมาตรฐานนัน ฉะนันในทุกครังทีทําการฝึ กจึงมีความจําเป็ นต้องทําให้ทหารมีสภาวการณ์ของการเรี ยน

คือ มีความสํานึกงาตนต้ องรับการฝึ ก และมีความเข้าใจวาจะต้ ่ องเรี ยนรู ้ในเรื องอะไรบ้าง

3. การประเมินผลการฝึ กโดยต่ อเนือง


จากผลของการทีจัดให้มีการเน้นหนักในเรื อง “การเรี ยนโดยการปฏิบตั ิ” นัน ผูฝ้ ึ กจึงมีโอกาสได้
ทราบถึงความคืบหน้าของสิ งทีได้ทาํ การฝึ กไปโดยตอเนื ่ อง และทราบถึงประสิ ทธิผลของการฝึ กไปโดย
ลําดับด้วย ผูฝ้ ึ กจึงไมจํ่ าเป็ นต้องรอคอยดูผลการทดสอบเมือตอนจบการฝึ ก การทีรอคอยให้การฝึ กจบสิ นลง
ไปเป็ นบทเรี ยน ๆ แล้วจึงค้นหาวามี ่ ผใู ้ ดรู ้เรื องเล็กน้อยหรื อมีผใู ้ ดไมรู่ ้เรื องเลยนัน จะเป็ นการเสี ยเวลามาก
3-3

อันทีจริ งแล้วในขณะทีทหารทีรับการฝึ กแสดงให้เห็นถึงความดีเดนของบทบาทในการปฏิ บตั ิงานทังปวงใน
่ ฝึ กหัดนัน กยอมจะเป็
ระหวางที ็่ ่ ให้ผฝู ้ ึ กได้ทราบได้ในทันทีแล้ววา่
นเครื องบงชี ทหารเหลานั่ นมีความ

คืบหน้าในการฝึ กเป็ นผลดีเพียงไร และในทํานองเดียวกนทหารเหลานั ่ นกไมจํ
็ ่ าเป็ นต้องคอยให้การฝึ กจบลง
่ แล้วจึงค้นหาวาตนสามารถทํ
เสี ยกอน ่ าอะไรได้ดีเพียงไร เนืองจากวาในวั่ ตถุประสงค์การฝึ กของแตละเรื ่ อง

ทีฝึ กนันได้กาหนดมาตรฐานการฝึ กไว้แล้ว ทหารจะสามารถทราบผลการปฏิบตั ิงานของตนและพยายามทีจะ
่ ดความสามารถของตนให้บรรลุถึงซึงเป้ าหมายนันเอง
เรงขี
4. เรื องทีทําการฝึ ก
4.1 การฝึ กเบืองต้ น (จํานวน 46 ชม.)
4.1.1 การฝึ กบุคคลทามื ่ อเปลา่ จํานวน 18 ชม. ในชวงเวลาการฝึ
่ ก 0800 – 1200 ,
1300 – 1600 การฝึ กบุคคลทามื ่ อเปลา่ ควรสอดแทรกด้วยการฝึ กแถวชิ ด
4.1.2 การฝึ กบุคคลทาอาวุ ่ ธ จํานวน 16 ชม. ใช้ช่วงเวลาการฝึ ก 0800 –1200 ,
1300–1600
4.1.3 การฝึ กแถวชิ ด จํานวน 12 ชม. ใช้ช่วงเวลา 0800–1200 การฝึ กแถวชิดหนวย ่
สามารถฝึ กสอดแทรกได้ตลอดเวลา เมือมีการรวมหรื อการเข้าแถว
4.2 การทดสอบความสมบรณ์ ู ของร่ างกาย (จํานวน 14 ชม.)
- การทดสอบความสมบูรณ์ แข็งแรงของรางกาย ่ จํานวน 14 ชม. ใช้เวลา
1500–1700 ของวันศุกร์ สัปดาห์ละ 2 ชม. (เว้นสัปดาห์ที 8)
4.3 การฝึ กวิชาทหารทัวไป (จํานวน 40 ชม.)
4.3.1 วิชาการติดตอสื ่ อสาร จํานวน 6 ชม.

4.3.2 วิชาการอานแผนที และการใช้เข็มทิศ จํานวน 10 ชม.
4.3.3 วิชาการปฐมพยาบาล และสุ ขอนามัย จํานวน 12 ชม.
4.3.4 วิชาการขาว ่ สารเบืองต้น จํานวน 4 ชม.
4.3.5 วิชาทุ่นระเบิดกบระเบิ ั ด จํานวน 6 ชม.
4.3.6 วิชาการป้องกนนิ ั วเคลียร์ เคมี ชีวะ จํานวน 2 ชม.
4.4 การฝึ กใช้ อาวธุ (จํานวน 78 ชม.)
4.4.1 การฝึ กใช้อาวุธประจํากาย ปลย.เอ็ม16 หรื อ ปลย.11 และการปรนนิบตั ิบาํ รุ ง
(จํานวน 58 ชม.)
4.4.2 การใช้ลูกระเบิดขว้าง (จํานวน 8 ชม.)
4.4.3 การใช้ดาบปลายปื น (จํานวน 12 ชม.)
4.5 การฝึ กทางยทธวิ
ุ ธี (จํานวน 96 ชม.)
4.5.1 การกาบั ํ งและการซอมพราง
่ (จํานวน 8 ชม.)
4.5.2 การฝึ กบุคคลทําการรบในเวลากลางวัน (จํานวน 30 ชม.)
3-4
4.5.3 การฝึ กบุคคลทําการรบในเวลากลางคืน (จํานวน 10 ชม.)
4.5.4 การฝึ ก เรื องป้ อมสนาม (จํานวน 8 ชม.)

4.5.5 การฝึ ก เรื องเครื องกดขวาง (จํานวน 6 ชม.)
4.5.6 การฝึ กหมูท่ างยุทธวิธี (จํานวน 16 ชม.)
4.5.6.1 สอนและฝึ กปฏิบตั ิเป็ นหมู่ ตามอัตราการจัดกาลัํ ง หมู่ ปล.ใน
่ หรื อในภูมิประเทศทีเหมาะสมใกล้เคียงหนวย
สนามฝึ กยุทธวิธีของหนวย ่
4.5.6.2 จะต้องครอบคลุมลักษณะทางยุทธวิธีตอไปนี ่ ่
อยางครบถ้ วนทุกขันตอน คือ

4.5.6.2.1 ระยะเคียงระยะตอระหวางบุ ่ คคลและหนวย ่ ทีถูกต้องและ
เหมาะสม (การรักษาทิศทางในการเข้าตี)
ํ งและการซอนพราง
4.5.6.2.2 การกาบั ่

4.5.6.2.3 ป้อมสนาม - เครื องกดขวาง
4.5.6.2.4 บุคคลทําการรบในเวลากลางคืนและกลางวัน ทุกเรื อง
่ อสาร , การอานแผน
4.5.6.2.5 การติดตอสื ่ ่ องต้น,
ที, การขาวเบื
การปฐมพยาบาล
4.5.6.2.6 การระเบิดทําลาย, การใช้ลูกระเบิดขว้าง และ การใช้ ดาบ
ปลายปื น
4.5.7 การลาดตระเวน (จํานวน 10 ชม.)
4.5.8 การฝึ กเดิ นทางไกลและพักแรม (จํานวน 8 ชม.)
5. การอบรม จํานวน 40 ชม. ใช้เวลา 1900–2000 ของวันจันทร์ -ศุกร์ ไมควรจั
่ ดไว้ในเวลากลางวัน
นอกจากจําเป็ น และการอบรมวิชาประวัติศาสตร์ ชาติไทย ให้หนวยมุ่ ง่ เน้นการปฏิบตั ิตามหนังสื อ ยศ.ทบ.

ดวนมาก ที กห 0461/0311 ลง 4 พ.ค.43 โดยการนําทหารใหมเยี ่ ยมชมพิพิธภัณฑ์ และสถานทีสําคัญ
่ นหยุดราชการ โดยไมนั่ บเป็ นชัวโมงการฝึ กอบรม เพือให้ทหารใหม่
ทางประวัติศาสตร์ ให้กระทําในชวงวั
ได้เห็นวีรกรรม หรื อสถานทีตาง ่ ๆ ทีสําคัญทางประวัติศาสตร์ เพือจะได้รู้วาวี
่ รกษัตริ ย์ วีรชน และ

บรรพบุรุษ ได้ปกป้ องประเทศชาติมาอยางไร
5.1 คุณลักษณะทหาร จํานวน 2 ชม.
5.2 แบบธรรมเนียมทหาร จํานวน 7 ชม.
5.3 คุณธรรมของทหาร จํานวน 7 ชม.
5.4 มารยาทและวินยั ทหาร จํานวน 4 ชม.
5.5 หน้าทีพลเมืองดี จํานวน 2 ชม.

5.6 ความรับและการป้องกนประเทศชาติ จํานวน 2 ชม.
5.7 การปกครองระบอบประชาธิปไตย จํานวน 1 ชม.
5.8 พระมหากษัตริ ยไ์ ทยในระบอบประชาธิ ปไตย จํานวน 1 ชม.
3-5
5.9 การเสริ มสร้างการปลูกฝังอุดมการณ์ทางการเมือง จํานวน 2 ชม.

ในหนวยทหาร

5.10 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจั กรไทย พุทธศักราช 2540 จํานวน 2 ชม.
5.11 ประวัติศาสตร์ ชาติไทย จํานวน 10 ชม.
6. การฝึ กในเวลากลางคืน เรื องทีจะต้องดําเนินการฝึ กในเวลากลางคืน ได้แก่ การฝึ กบุคคลทํา การรบ
ในเวลากลางคืน และการฝึ กเดินทางด้วยเข็มทิศในเวลากลางคืน โดยมีรายละเอียดดังนี
6.1 การฝึ กบุคคลทําการรบในเวลากลางคืน (มีการฝึ กในเวลากลางคืน จํานวน 4 ชัวโมง)
6.1.1 การฟังเสี ยง การสู ดกลิน การสัมผัส และการรักษาสายตาให้เห็นในเวลากลางคืน
โดยให้นาํ ทหารออกทําการฝึ กในเวลากลางคืน เรื องการฟังเสี ยง, การสู ดกลิน, การสัมผัส โดยเน้นถึงการ
ถอดประกอบอาวุธประจํากายในความมืด การคลําเพือพิสูจน์ทราบสิ งของ ตาง ่ ๆ และการรักษาสายตาให้
เห็นในเวลากลางคืน จํานวน 1 ชัวโมง
6.1.2 การฝึ กการใช้สายตาในเวลากลางคืน ให้นาํ ทหารทําการฝึ กในเวลากลางคืน ในเรื อง
การพิสูจน์ทราบสิ งตาง่ ๆ โดยการตรวจการณ์ในทีมืด จํานวน 1 ชัวโมง

6.1.3 การฝึ กการใช้ทีซอนพราง , การหาทิศ, การเคลือนที และการปฏิบตั ิ เมือมีการใช้
พลุส่ องแสง ให้นาํ ทหารทําการฝึ กในเวลากลางคืน, การเคลือนทีในเวลากลางคืน, และการหาทิศโดยการดู
ดาวเหนือ จํานวน 2 ชัวโมง
6.2 การฝึ กเดินทางด้วยเข็มทิศในเวลากลางคืน : ให้นาํ ทหารฝึ กปฏิบตั ิเดินทางด้วยเข็มทิศในเวลา

กลางคืนในสนามฝึ กเดินทางด้วยเข็มทิศรนระยะในกรณี ่ ่ สนามฝึ กฯ
ทีหนวยไมมี ให้พิจารณาใช้พืนทีใน

หนวยหรื ่ โดยใช้เวลานอกหลักสู ตร ตังแต่ 2000–2200
อพืนทีใกล้เคียงหนวย
7. การยิงปื นของทหารใหม่ : ด้วยภาวะข้อจํากดด้
ั วยงบประมาณ และการจัดทําเป้ า ทําให้การยิงปื น
ด้วยกระสุ นจริ ง ตามระเบียบและหลักสู ตรการฝึ กทหารใหม่ 8 สัปดาห์ พ.ศ. 2542 ประสบปัญหา
่ กทหารใหมทุ่ กหนวยปฏิ
ข้อขัดข้อง จึงให้หนวยฝึ ่ ่
บตั ิตาม วิทยุ ยศ.ทบ. ดวนมาก ที กห 0461/0317 ลง
10 พ.ค. 43 กลาวคื่ อ
7.1 การฝึ กยิงปื นทหารใหม่ ให้ใช้กระสุ นทังสิ น จํานวน 88 นัด จําแนกได้ดงั นี
7.2 การยิงสอนและการยิงฝึ ก ใช้กระสุ น 54 นัด
7.3 การยิงบันทึกผล ใช้กระสุ น 34 นัด คะแนนเต็ม 125 คะแนน ดังนี
7.3.1 ยิงปรับปื น 9 นัด ไมจํ่ ากดทา
ั ่ ครังละ 3 นัด จํานวน 3 ครัง
7.3.2 นอนยิง 5 นัด คะแนนเต็ม 25 คะแนน
7.3.3 นังราบยิง 5 นัด คะแนนเต็ม 25 คะแนน
7.3.4 นังสู งยิง 5 นัด คะแนนเต็ม 25 คะแนน
3-6
่ ง 5 นัด
7.3.5 นังคุกเขายิ คะแนนเต็ม 25 คะแนน
7.3.6 ยืนยิง 5 นัด คะแนนเต็ม 25 คะแนน
7.4 ใช้เป้ า ปลย.ก. ทังในการยิงปรับปื น, การยิงสอน, การยิงฝึ ก และการยิงบันทึกผล
8. เวลาผู้บังคับบัญชา (ใช้หว้ งเวลา 1000–1200 ทุกสัปดาห์ของวันเสาร์ )
8.1 เวลาผูบ้ งั คับบัญชานี ใช้สาํ หรับผูบ้ งั คับบัญชามาพบปะทหาร เพือการชีแจงหรื อสร้าง

ความสัมพันธ์ทางจิตใจกบทหารใหม ่

8.2 การอบรมของ อศจ. ซึ งถ้ากาหนดให้ อบรมเรื องทีมีอยูใ่ นหลักสู ตรบางเรื องได้ก็จะดีมาก
8.3 ควรจัดเป็ นการรื นเริ งของทหารให้มากทีสุ ด เพือทหารใหมได้่ มีการแสดงออกซึงความ
่ าเพือนฝูงและผูบ้ งั คับบัญชา เพือลดภาวะความเครี ยดทางจิตใจ
สนุกสนานบ้าง ตอหน้
9. การดําเนินกรรมวิธีด้านธรการ


การดําเนินกรรมวิธีดา้ นธุ รการตอทหารใหม ่ หรื อการปฐมนิเทศทหารใหมที่ กาหนดไว้
ํ ในระเบียบ
่ กทหารใหมดํ่ าเนินการ ดังนี
หลักสู ตร ให้หนวยฝึ

9.1 ในห้วงระยะเวลา 1-3 วันแรก ตังแตทหารใหมเข้ ่ ารายงานตัว ณ หนวยฝึ่ กทหารใหม่ ให้ถือ
่ นเวลาธุ รการนอกระเบียบหลักสู ตร
วาเป็
่ ่ ทหารใหมเข้
ตัวอยางเชน ่ ารายงานตัว ณ หนวยฝึ ่ กฯ วันพุธที 1 พ.ย.43 การดําเนินกรรมวิธี
คือ ห้วงวันพุธที 1 พ.ย.43 ถึง วันศุกร์ ที 3 พ.ย.43 เพราะฉะนัน วันแรกทีเป็ นการฝึ กตามระเบียบ
หลักสู ตร คือ วันจันทร์ ที 6 พ.ย.43 (เนืองจากวันที 4 และ 5 พ.ย. เป็ นวันหยุดราชการ) หรื อทหารใหม่
่ กฯ วันอังคารที 1 พ.ค. 44 การดําเนินกรรมวิธี คือห้วงวันอังคารที 1 พ.ค.44
เข้ารายงานตัว ณ หนวยฝึ
ถึงวันพฤหัสบดีที 3 พ.ค.44 เพราะฉะนันวันแรกทีเป็ นการฝึ กตามระเบียบหลักสู ตร วันศุกร์ ที 4 พ.ค.44
เป็ นต้น
9.2 ํ
การกาหนดห้ วงการฝึ กทหารใหมให้ ่ นบั ตังแตวั่ นทีทหารใหมเข้
่ ารายงานตัวจนสิ นสุ ดการ
ตรวจสอบการฝึ กทหารใหม่

9.3 การจัดทําตารางกาหนดการฝึ กเป็ นสัปดาห์ ให้จดั ทําสัปดาห์ที 1 คือ สัปดาห์ทีทหารใหมเข้ ่ า
รายงานตัว ถึงแม้ในสัปดาห์แรกไมมี่ การฝึ ก กให้ ็ กาหนดไว้
ํ ่ ปดาห์ที 1 เป็ นการดําเนิน
เพือให้ทราบวาสั
กรรมวิธีทงั หมด
ก-1
ผนวก ก (หลักฐาน) ประกอบคําสั ง กองพันทหาร…..ที….กรมทหาร…..ที
ที……./…….ลงวันที………เดือน…………...พ.ศ…………
คําสั ง ทบ.
คําสัง ทบ.(เฉพาะ) ที.931/43 ลง 25 ส.ค. 43 เรื อง การฝึ กประจําปี 2544
ระเบียบและหลักสตรการฝึ
ู ก
1. ระเบียบและหลักสู ตรการฝึ กการฝึ กทหารใหม่ สําหรับทหารทุกเหลา่ ของ ทบ. (8 สัปดาห์)
พ.ศ.
2542
2. ระเบียบและหลักสู ตรการฝึ กยิงปื นทหาร การฝึ กยิงปื นเล็กยาวประจําปี สําหรับทหารทุกเหลา่
ของกองทัพบก พ.ศ. 2530
คู่มือ
1. คู่มือการฝึ ก วาด้
่ วยแบบฝึ กบุคคลทามื ่ อเปลา่ พ.ศ. 2542 (คฝ. 7 - 6)
2. คู่มือการฝึ ก วาด้
่ วยแบบฝึ กบุคคลทาอาวุ ่ ธ พ.ศ. 2542 (คฝ. 7 - 5)
3. คู่มือการฝึ ก วาด้
่ วยการประเมินผลการฝึ กทหารใหม่ สําหรับทหารทุกเหลาของกอง ่
ทัพบก พ.ศ. 2542
4. คู่มือการฝึ กทหารใหม่ กรมยุทธศึกษาทหารบก พ.ศ. 2543
คู่มือราชการสนาม
1. คู่มือราชการทหาร วาด้ ่ วยการฝึ กทหาร (รส.21-5) พ.ศ.2512 จัดพิมพ์ใหมเพิ ่ มเติม
พ.ศ. 2538
2. คู่มือราชการทหาร วาด้ ่ วยวิธีเตรี ยมการและดําเนิ นการฝึ กทีเน้นผลการปฏิบตั ิ (รส.21- 6)
พ.ศ. 2531
3. คู่มือราชการสนาม วาด้ ่ วย ปลย.เอ็ม.16 (รส.23-9) พ.ศ. 2541
4. คู่มือราชการสนาม วาด้ ่ วย ปลย.เอ็ช.เค.33 หรื อ ปลย..11 (รส.23-9-1) พ.ศ.2516
5. คู่มือราชการสนาม วาด้ ่ วย การพรางบุคคง และอาวุธ (รส.5–20) พ.ศ.2522
6. คู่มือราชการสนาม วาด้ ่ วย ป้ อมสนาม (รส.5–15) พ.ศ.2512
7. คู่มือราชการสนาม วาด้ ่ วย ทัศนสัญญาณ (รส.21–60) พ.ศ.2512
8. คู่มือราชการสนาม วาด้ ่ วย หมูป่ ื นเล็ก (รส. 7-8) พ.ศ. 2542
9. คู่มือราชการสนาม วาด้ ่ วย การติดตอสื ่ อสาร (รส.24-5) พ.ศ. 2513
10. คู่มือราชการสนาม วาด้ ่ วย การอานแผนที
่ และการใช้เข็มทิศ (รส.21–26) พ.ศ.2515
11. คู่มือราชการสนาม วาด้ ่ วย การปฐมพยาบาลสําหรับพลทหาร (รส.21–11) พ.ศ. 2533
12. คู่มือราชการสนาม วาด้ ่ วย การฝึ กบุคคลทําการรบและการลาดตระเวน (รส.21–75) พ.ศ. 2522
ก-2
13. คู่มือราชการสนาม วาด้ ่ วย ลูกระเบิดขว้าง และพลุสัญญาณ (รส.23 - 30) พ.ศ. 2530
14. คู่มือราชการสนาม วาด้ ่ วย วัตถุระเบิดและการทําลาย (รส.5–25) พ.ศ. 2512
15. คู่มือราชการสนาม วาด้ ่ วย การป้ องกนนิั วเคลียร์ ชี วะและเคมี เป็ นบุคคล (รส.3–10)
พ.ศ.2515 (มี รส. 21–40)
16. คู่มือราชการสนาม วาด้ ่ วย การปฏิบตั ิการในสนาม พ.ศ. 2516
17. คู่มือราชการสนาม วาด้ ่ วย การเล็ดลอด และการหลบหนี (รส.21–48) พ.ศ. 2516
18. คู่มือราชการสนาม วาด้ ่ วย การฝึ กกายบริ หาร (รส.21–20) พ.ศ. 25
คู่มือพลทหาร
1. คู่มือพลทหาร วาด้ ่ วย เรื องทีทหารใหมควรทราบ ่ พ.ศ. 2527
2. คู่มือพลทหาร วาด้ ่ วย การปฏิบตั ิในเวลาปกติ พ.ศ. 2516
3. คู่มือพลทหาร วาด้ ่ วย การปฏิบตั ิการในสนาม พ.ศ. 2516
4. คู่มือสอนอบรม วาด้ ่ วย การปลูกฝังอุดมการณ์ทางการเมืองในหนวยทหาร ่ พ.ศ.2525 เลม่ 1, 2
5. คู่มือการอบรมวิชาประวัติศาสตร์ ชาติไทย ยก.ทบ. พ.ศ. 2543
6. คู่มือเรื องทีทหารใหมควรทราบ

หลักฐานเตรียมการฝึ กทหารใหม่ ของ ทบ. เรื องตาง
่ ๆ ดังนี
่ องต้น พ.ศ. 2516, 2522
1. การขาวเบื

2. เครื องกดขวาง พ.ศ. 2512
3. การฝึ กหมูท่ างยุทธวิธี พ.ศ. 2512
4. ป้อมสนาม พ.ศ. 2512
5. การลาดตระเวน พ.ศ. 2522
6. การฝึ กบุคคลทําการรบในเวลากลางวัน พ.ศ. 2522

พ.ต.
(………………………………)
ฝอ.3…………………………
ข-1
ผนวก ข. (เจ้ าหน้ าทีฝึ กทหารใหม่ ผลัดที………../…………) ประกอบ
คําสัง กองพันทหาร…..ที….กรมทหาร…..ที…./……ลงวันที………เดือน………...พ.ศ…………
1. ผูอ้ าํ นวยการฝึ ก (ควรเป็ น ผบ.หนวย่ )
2. รองผูอ้ าํ นวยการฝึ ก (ควรเป็ น รอง ผบ.หนวย่ )
3. ผูช้ ่วยผูอ้ าํ นวยการฝึ ก (ควรเป็ น ฝอ.3)
4. ผบ.หนวยฝึ ่ ก (ควรเป็ น ผบ.ร้อย)
5. เจ้าหน้าทีประจําหนวยฝึ ่ ก (จํานวนเจ้าหน้าที ตามความเหมาะสม)
6. ผูฝ้ ึ ก
7. ผูช้ ่วยผูฝ้ ึ ก
8. ครู นายสิ บ
……………………………………………….
………………………………………………..
………………………………………………..
…………………………………………………
…………………………………………………
9. ครู ทหารใหม่ (พลทหาร)
……………………………………………….
………………………………………………..
………………………………………………..
…………………………………………………
…………………………………………………
…………………………………………………
………………………………………………..
………………………………………………..
…………………………………………………
…………………………………………………

พ.ต. (………………………………..)
ฝอ. 3 …………………………

You might also like